31
ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 . ลอยลม ประเสริฐศรี เคาโครงการบรรยาย หัวขอที2 ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค Consumer Preferences อรรถประโยชน (Utility) ขีดจำกัดดานงบประมาณ (Budget Constraint) ดุลยภาพการบริโภค (Optimal Choice) ทฤษฎีอุปสงค (Demand Theory) บทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ วันพฤหัสบดี ที6 มิถุนายน .. 2556 STUDENT Version ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร .ลอยลม ประเสริฐศรี 2 คำนิยามที่สำคัญ Preference Relation 2.1 Consumer Preferences กลุมของสินคา (Consumption Bundles) หมายถึง ตะกราของสินคาที่ประกอบดวยสินคา ตั้งแตสองชนิดขึ้นไป (market basket or combination of goods) ตัวอยาง ตะกราสินคา A ประกอบดวย สินคา x=2 หนวย และสินคา y=3 หนวย ตะกราสินคา B ประกอบดวย สินคา x=5 หนวย และสินคา y=4 หนวย โดยที่ตะกราสินคา A แทนดวยสัญลักษณ ........................... โดยที่ตะกราสินคา B แทนดวยสัญลักษณ ........................... สัญลักษณ หมายถึง พอใจมากกวา (Strictly Preferred)” เชน .................................................................. สัญลักษณ หมายถึง พอใจไมนอยกวา (Weakly Preferred)” เชน ............................................................. สัญลักษณ หมายถึง พอใจเทากัน (Indifference)” เชน .............................................................................

EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาทฤษฎีเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC311) Sec030003 ภาค 1/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 2ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค

Consumer Preferences

อรรถประโยชน (Utility)

ขีดจำกัดดานงบประมาณ (Budget Constraint)

ดุลยภาพการบริโภค (Optimal Choice)

ทฤษฎีอุปสงค (Demand Theory)

บทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ

วันพฤหัสบด ีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556

STUDENT Version

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

คำนิยามที่สำคัญ

Preference Relation2.1 Consumer Preferences

กลุมของสินคา (Consumption Bundles) หมายถึง ตะกราของสินคาที่ประกอบดวยสินคาตั้งแตสองชนิดขึ้นไป (market basket or combination of goods)

ตัวอยาง ตะกราสินคา A ประกอบดวย สินคา x=2 หนวย และสินคา y=3 หนวย

ตะกราสินคา B ประกอบดวย สินคา x=5 หนวย และสินคา y=4 หนวย

โดยที่ตะกราสินคา A แทนดวยสัญลักษณ ...........................

โดยที่ตะกราสินคา B แทนดวยสัญลักษณ ...........................

สัญลักษณ หมายถึง “พอใจมากกวา (Strictly Preferred)” เชน ..................................................................

สัญลักษณ หมายถึง “พอใจไมนอยกวา (Weakly Preferred)” เชน ............................................................. สัญลักษณ หมายถึง “พอใจเทากัน (Indifference)” เชน .............................................................................

Page 2: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ขอสมมติที่ 1.2: กลุมสินคาเดียวกันตองใหความพอใจไมแตกตางกัน (Reflexive) นั่นคือ กรณีที่กลุมสินคา จะตองไมเกิดขึ้น A xA , yA( ) A xA , yA( )

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

Preference Relation

ขอสมมติเบื้องตนเกี่ยวกับความพอใจ

ขอสมมติที่ 1.1: ความสมบูรณ (Completeness) หมายถึง ผูบริโภคสามารถจัดลำดับความพอใจของตนเองไดวา ชอบสิ่งใดมากกวาสิ่งใด หรือ ชอบทั้งสองสิ่งเทากัน เปนตนตัวอยาง พอใจตะกรา A ไมนอยกวา B :......................................................

พอใจตะกรา B มากกวา A :.......................................................

พอใจตะกรา A เทากับ B :.......................................................

ตัวอยาง พอใจตะกรา A ไมแตกตางจาก A :.........................................หรือ พอใจตะกรา B ไมแตกตางจาก B:.........................................

ขอสมมติที่ 1: ผูบริโภคเปนคนที่มีเหตุมีผล (Rational Man): การมีเหตุมีผลของผูบริโภค จะตองประกอบดวยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ Completeness, Reflexive และ Transitivity

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

Preference Relation

ขอสมมติเบื้องตนเกี่ยวกับความพอใจ

ขอสมมติที่ 1.3: การสงผาน (Transitivity) หมายถึง ผูบริโภคมีความคงเสนคงวา (consistency) ในการเลือกบริโภคสินคา

ตัวอยาง ถาพอใจตะกรา A ไมนอยกวา B :.................................................

ขอสมมติที่ 2: การบริโภคยิ่งมากยิ่งดี (More is preferred to less): ผูบริโภคปรารถนาที่จะไดบริโภคในปริมาณมาก “ไมรูจักอิ่ม ยิ่งมากยิ่งดี” ซึ่งขอสมมตินี้เปนการจำกัดกรอบการวิเคราะหวาจะพิจารณาเฉพาะสินคาที่เปนสินคาด ี(good)

และพอใจตะกรา B ไมนอยกวา C :.................................................

แสดงวา พอใจตะกรา A ไมนอยกวา C ดวย:................................................

ขอสมมติที่ 3: ผูบริโภคชอบความหลากหลาย (Variety is preferred to extreme ): ชอบกลุมสินคาที่มีความหลากหลาย มากกวากลุมสินคาที่มีเพียงชนิดใด ชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียว เชน บนโตะอาหารมีกับขาวอยู 5 อยางที่แตกตางกัน ยอมดีกวา ทั้ง 5 จานเปนกับขาวชนิดเดียวกันหมด

Page 3: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

ทฤษฎีความพอใจเทากันการหาเสนความพอใจเทากัน

คำถาม: (จากภาพดานลาง) หากตองการหาสวนประสมการบริโภคที่ใหความพอใจเทากับจุด A ตองเลือกบริโภคในจำนวนใด

พิจารณา ปริมาณการบริโภค ณ จุด ณ จุดจากขอสมมติ “More is preferred to less”แสดงวา ขณะเดียวกัน ดวยดังนั้น .........................................................................

E A

A = ox1 , oy1 E = ox2 , oy2

A G

พิจารณา Quadrant ที่ I , IV โดยเสนที่ลากผาน จุด B และ จุด D จะทำใหไดความพอใจเทากับจุด A และจากขอสมมติ “Reflexive” แสดงวา เสน ICควรจะลากผานตัวมันเองดวย นั่นคือ .........................

x1

y1

I II

III IV

x0

y0

y2

x2

y

x0

D

B

G

E

A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

ทฤษฎีความพอใจเทากันการหาเสนความพอใจเทากัน

y

x0 x1

y1

I II

III IV

G

x0

y0

Ey2

x2

DA

B

พิจารณา เมื่อทำการเชื่อมจุด B, A และ D เขาดวยกัน จะไดเสน “Indifference Curve” แทนดวย U1

โดยเสน U1 บอกเราวา การบริโภคสินคาในตะกราสินคา B, A และ D ใหความพอใจเทากัน นั่นคือ..................................................................

Page 4: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

พิสูจน กำหนดให “เสน IC เปนเสนทอดขึ้น”

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

x0

y

U2

B(8,7)

A (4,5)

คุณสมบัติขอที่ 1: เสนความพอใจเทากันมีความชันเปนลบ

1) ตะกราสินคา A(4,5) กับ B (8,7) ใหความพอใจเทากัน เนื่องจาก ..................................................

2) จากขอสมมติ More is preferred to less ทำใหทราบวา ...................................................................................................................................

ขอความในขอ (1) และ (2) ไมสามารถเปนจริงไดในคราวเดียวกัน นั่นคือ จะเกิดการ Contradict หากเสน IC เปนเสนทอดขึ้น (Upward sloping) จึงสรุปไดวา ............................................................

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี8

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

x1

y1

I II

III IV

x0

y0

y2

x2

คุณสมบัติขอที่ 2: เสนความพอใจเทากันที่อยูทางขวามือและดานบนใหความพอใจที่สูงกวา

E

A

G

B

D

พิจารณา คุณสมบัติ “More is preferred to less” จะไดวา เสน IC ที่อยูทางดานขวามือใหความพอใจมากกวา นั่นคือ...........................

โดยที่ .............................................................................................

Page 5: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

I II

III

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

x1

y1

คำถาม: เสน IC ที่ลากผาน Quadrant ที่ I , IV ซึ่งอาจมีรูปรางได 3 ลักษณะ คือ U0, U1 และ U2 ดังภาพ แตภายใตขอสมมติเกี่ยวกับความพอใจ รูปรางของเสน IC จะเปนแบบใด?

A

IV

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี10

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

y1

พิจารณา กรณี Concave to the origin

พิจารณา หากผูบริโภคเลือกบริโภคเฉพาะสินคา y (บริโภค ณ จุด a) หรือเลือกบริโภคเฉพาะสินคา x (บริโภค ณ จุด b) ทั้งจุด a และ b ใหความพอใจสูงกวา การบริโภคผสมกันระหวาง x1 และ y1 (บริโภค ณ จุด A) บนเสนความพอใจ U0 แสดงวา ...............................................................................

นั่นคือ หากเสนความพอใจ เปนเสน U0 ซึ่งมี

ลักษณะโคงออกจากจุดกำเนิด (Concave to the origin) จะขัดตอขอสมมติวาดวย ......................................................................................................

x1

A

Page 6: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

พิจารณา กรณีเปนเสนตรง (Linear)

พิจารณา หากผูบริโภคเลือกบริโภคเฉพาะสินคา y (บริโภค ณ จุด a) หรือเลือกบริโภคเฉพาะสินคา x (บริโภค ณ จุด b) ทั้งจุด a และ b ใหความพอใจ เทากับ การบริโภคผสมกันระหวาง x1 และ y1 (บริโภค ณ จุด A) บนเสนความพอใจ U1 แสดงวา ................................................................................

นั่นคือ จากขอความขางตน แสดงใหเห็นวา เสน IC ซึ่งมีลักษณะเปนเสนตรง (Linear) ขัดตอขอสมมติวาดวย .....................................................................

หมายเหต ุกรณีที่เสน IC เปน Concave หรือ Linear มีโอกาสเกิดขึ้นได แตขัดตอ Variety is preferred to extreme

x1

y1 A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

พิจารณา กรณี Convex to the origin

พิจารณา หากผูบริโภคเลือกบริโภคเฉพาะสินคา y (บริโภค ณ จุด a) หรือเลือกบริโภคเฉพาะสินคา x (บริโภค ณ จุด b) ทั้งจุด a และ b ใหความพอใจนอยกวา การบริโภคผสมกันระหวาง x1 และ y1 (บริโภค ณ จุด A) บนเสนความพอใจ U2 แสดงวา การบริโภคแบบหลากหลายใหความพอใจมากกวา

นั่นคือ หากเสนความพอใจ เปนเสน U2 ซึ่งมีลักษณะ

โคงเขาหาจุดกำเนิด (Convex to the origin) จะเปนไปตามขอสมมติวาดวย .................................................................................................................

คุณสมบัติขอที่ 3: เสนความพอใจเทากันมีลักษณะ Convex to the Origin

x1

y1 A

Page 7: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

U2B

U1

E

A

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

คุณสมบัติขอที่ 4: เสนความพอใจเทากันไมตัดกัน (Indifference curves cannot cross)

พิสูจน กำหนดใหเรามีตระกราสินคาอยู 3 ตะกรา ไดแก ตระกรา A (อยูบนเสนความพอใจ U1) ตะกรา B (อยูบนเสนความพอใจ U2)

This contradicts the assumption that.......................................................................

1) ...................................................................

2) ...................................................................

3) ...................................................................

พิสูจน กำหนดให “เสน IC เปนเสนหนา”

y

x0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

คุณสมบัติขอที่ 5: เสนความพอใจเทากันเปนเสนบาง (Indifference curves is a thin line)

1) ตะกราสินคา A(5,5) กับ B (6,7) ใหความพอใจเทากัน เนื่องจาก...................................................

2) จากขอสมมติ More is preferred to less ทำใหทราบวา ......................................................................................................................................

จะเห็นไดวา ขอความในขอ (1) และ (2) ไมสามารถเปนจริงไดในคราวเดียวกัน นั่นคือ จะเกิดการ Contradict หากเสน IC เปนเสนหนา (Thick) จึงสรุปไดวา ..............................................

Page 8: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

U1

ทฤษฎีความพอใจเทากันคุณสมบัติของเสนความพอใจเทากัน

y

x0

คุณสมบัติขอที่ 6: เสนความพอใจเทากันเปนเสนตอเนื่อง ไมขาดตอน

เสนความพอใจเทากันเปนเสนตอเนื่อง ไมขาดตอน นั่นคือ ณ จุดที่ เสน IC ขาดชวง ขัดตอขอสมมติวาดวย ความสมบูรณ (Completeness) หมายความวา ........................................................................................................................................................................................................................................

1 2 3 4 5 6

2468

1012141618

8

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

อัตราการทดแทนสวนเพิ่ม (Marginal Rate of Substitution)

y

x0

ทฤษฎีความพอใจเทากัน

MRSx,y =Δ yΔ x

U

1

-8

1-3

1-2

1-1

A

BC

DE

MRS หมายถึง อัตราสูงสุดที่ผูบริโภคยินดีที่จะเสียสละการบริโภคสินคา y เพื่อใหไดบริโภคสินคา x เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหนวย แลวยังคงไดรับความพอใจเทาเดิม

โดยที ่MRS คือ คาความชันของเสน IC นั่นเอง

Page 9: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

ทฤษฎีความพอใจเทากันMRS และความโนมเอียงของความชอบ

ชอบความสงบy

x0ความสงบ

ความโลดโผน

ชอบความโลดโผนy

x0 ความสงบความโลดโผน

U1

U1

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

ทฤษฎีความพอใจเทากันลักษณะของเสนของเสนความพอใจเทากัน

y

x0

y

x0

x is a Bad and y is a Good x is Good and y is Bad

Page 10: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

y

x0

y

x0

19

ทฤษฎีความพอใจเทากันลักษณะของเสนของเสนความพอใจเทากัน

x and y are Bad

x is a Badx is a Goody

is a

Good

y is

a Ba

d

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากัน2.2 อรรถประโยชน (Utility)

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function), U(x,y) ซึ่งเปนตัวแทน Preference Relation, ก็ตอเมื่อ:

x y ⇔

y x ⇔

x y ⇔

ระดับของอรรถประโยชน (Utility Level)

ขอสังเกต: การวัดระดับของอรรถประโยชน (Utility Level) เปนการวัดแบบจัดอันดับ (Ordinal) หรือมาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) สามารถบอกไดวา สิ่งหนึ่งสิ่งใดมากกวากัน แตบอกไมไดวามากกวากันมากนอยเพียงใด เชน เกรด A มากกวา เกรด B แตถาหากวา ใหความพอใจ U(A)=6 และ U(B)=2 ไมไดหมายความวา เกรด A มากกวา เกรด B สามเทา

Page 11: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

y

x2 60

1

3

5

1 3 4 5

2

4

6

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

สมมติวา กลุมของสินคา (bundles) ประกอบดวย(2,5), (2,3) และ (6,1)

กำหนดให (2,5) (2,3) (6,1) เมื่อเราแทนกลุมของสินคาดวยระดับของอรรถประโยชน (Utility Levels)จะไดวา U(2,5)=10 > [U(2,3)=U(6,1)=6]

นั่นคือ กลุมของสินคาทั้งหมด ที่อยูบนเสนความพอใจเทากัน (Indifference Curve) เดียวกัน จะไดรับอรรถประโยชนเทากัน

==> กลุมของสินคา (2,3) และ (6,1) จะใหอรรถประโยชน เทากับ 6==> กลุมของสินคา (2,5) จะใหอรรถประโยชน เทากับ 10 ซึ่งอยูบนเสนความพอใจเทากันที่สูงกวา

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากันระดับของอรรถประโยชน (Utility Level)

2

5

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

Utility

0

x

y

6

1

3

6

10

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากันเปรียบเทียบอรรถประโยชน กับ เสนความพอใจเทากัน

จากภาพสามมิติ:

แกนตั้ง แทนระดับอรรถประโยชน

สวนสินคา x และ y อยูในแกนนอน ดานขวาและดานซาย ตามลำดับ

กลุมของสินคา ที่อยูบนเสนความพอใจเทากัน ที่เหนือกวา แสดงวาใหอรรถประโยชนมากกวา จากภาพ U1 > U0

หรือ U(2,5)=10 > [U(2,3)=U(6,1)=6]

Page 12: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

1 2

63

5

0สินคา, x

สินคา, y

ระดับอรรถประโยชน,

U

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากันเปรียบเทียบอรรถประโยชน กับ เสนความพอใจเทากัน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

อรรถประโยชนและอรรถประโยชนสวนเพิ่ม

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากันTU

xMU

x0

จากภาพสามมิติกอนหนานี้: เมื่อเราตัดภาพในแนวตั้ง จะไดภาพสองมิต ิ ซึ่งแกนตั้งแทนอรรถประโยชน และแกนนอนแทนปริมาณการบริโภคสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง ในที่นี้คือ x1

อรรถประโยชนรวม (Total Utility) คือ อรรถประโยชนทั้งหมดที่ผู บริโภคไดรับจากการบริโภคสินคา ตั้งแตหนวยแรกจนถึงหนวยสุดทาย แทนดวยสัญลักษณ TU โดยที ่ TU นี้ สามารถวัดเปนหนวยนับได (Cardinal)

อรรถประโยชน ส วนเพ ิ ่ม (Marginal Utility) คือ อรรถประโยชนที่ผูบริโภคไดรับเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากการไดบริโภคสินคาหรือบริการหนวยสุดทาย แทนดวยสูตร

MUx =dTUdx

Page 13: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

อรรถประโยชนและอรรถประโยชนสวนเพิ่ม

อรรถประโยชนและเสนความพอใจเทากัน

ทฤษฎีอรรถประโยชน อยูบนขอสมมติฐานที่สำคัญวาดวย “กฎการลดนอยถอยลงของอรรถประโยชนสวนเพิ่ม (Law of diminishing marginal utility)”

ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อผูบริโภคไดบริโภคสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยใหการบริโภคสินคาอื่นคงเดิม อรรถประโยชนสวนเพิ่ม (Marginal Utility) จากการบริโภคสินคานั้น จะคอย ๆ ลดลง ตามลำดับ

จากภาพ เมื่อบริโภคสินคา (x) เกินกวาระดับ x0 จะพบวา คา MU ติดลบ (หรือ คาอรรถประโยชนที่ไดรับลดลง นั่นเอง)

Utility

MU x

x

TU

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี26

กำหนดให ฟงกชันอรรถประโยชน ซึ่งแทน Preference Relation คือ

U x,y( ) = xy.

ดังนั้น ฟงกชันอรรถประโยชน, U(x,y) เปนตัวแทน Preference Relationนั่นคือ (2,5) (2,3) (6,1)

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Functions)ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Functions)

จะไดวา

พิจารณา กลุมสินคา (bundles): (2,5), (2,3) และ (6,1)

การแปลงคาอรรถประโยชน (Monotonic transformation) เปนวิธีการแปลงคาอรรถประโยชน โดยรักษาระดับความพอใจคงเดิม

==> ........................................==> ........................................==> ........................................

==> ........................................วิธีการ

หลักการ ถา U คือ ฟงกชันอรรถประโยชน ซึ่งเปนตัวแทน Preference Relation, และ f เปนฟงกชันเพิ่ม

จะไดวา V=f(U) เปนตัวแทน Preference Relation, เดียวกัน

u1 > u2 → f u1( ) > f u2( )⎡⎣ ⎤⎦...................................................

...................................................

...................................................

Page 14: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี27

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Functions)การแปลงคาอรรถประโยชน (Monotonic transformation)

กำหนดให V =U 2.

ตัวอยาง ฟงกชันอรรถประโยชน คือU x,y( ) = xy.

ซึ่งเปนตัวแทนกลุมสินคา (bundles): (2,5), (2,3) และ (6,1)

จะไดวา V = x2y2

นั่นคือ คาของอรรถประโยชนU 2,5( ) =U 2,3( ) =U 6,1( ) =จะไดวา (2,5) (2,3) (6,1)

สรุป V มีการเรียงอรรถประโยชนเหมือนกับ Uนั่นคือ V เปนตัวแทน Preference เดียวกัน

กำหนดให W = 2U + 2.จะไดวา W = 2xy + 2

นั่นคือ คาของอรรถประโยชน

U 2,5( ) =U 2,3( ) =U 6,1( ) =จะไดวา (2,5) (2,3) (6,1)

สรุป W มีการเรียงอรรถประโยชนเหมือนกับ Uนั่นคือ W เปนตัวแทน Preference เดียวกัน

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี28

MRS กับ MU

พิสูจนทางคณิตศาสตร

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Functions)

Total Differential of U :

กำหนดให Utility Function: U x, y( )

dU = ∂U∂x

dx + ∂U∂y

dy

เมื่อ U เปนคาคงที่ นั่นคือ dU=0:

− dydx

= ∂U ∂x∂U ∂y

= MUx

MUy

Page 15: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี29

Cobb-Douglas Utility Function

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function)

สมการรูปทั่วไป: U x, y( ) = Axα yβ

โดยที่ และ คือ คาคงที่ ซ่ึงมากกวาศูนยA,α β

คุณสมบัติของ Cobb-Douglas Utility Function:

(1) MU มีคามากกวาศูนยในสินคาทั้งสองชนิดMUx =MUy =

(2) IC มีความชันเปนลบ

(3) MRS มีลักษณะลดนอยถอยลง (ทำใหเสน IC มีลักษณะโคงเขาหาจุดกำเนิด)

ตัวอยาง กำหนดให ผูบริโภคมีความพอใจตอสินคาสองชนิดคือ สินคา x กับ y แทนดวยฟงกชันอรรถประโยชน: U x, y( ) = xyy

x0

6

8

Note: MRSx,y diminishes as x increases

12

4

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี30

Linear Utility Function (or Perfect Substitutes)

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function)

สมการรูปทั่วไป: U x, y( ) = ax + by

MRSx,y = − MUx

MUy

= − ∂U ∂x∂U ∂y

=

ตัวอยาง กำหนดให การบริโภคพิซซาระหวาง The Pizza (T) กับ Pizza Hut (H) ของนายเอก แทนดวยฟงกชัน

U T ,H( ) = 2T + H

H

T0ปริมาณ The Pizza, T (ถาดตอเดือน)

ปริมาณ

Pizz

a Hu

t, H

(ถาดตอเดือน

)

MRST , H = − ∂U ∂T∂U ∂H

=

Page 16: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

y

x0

ปริมาณยางลบ, x (กอนตอป)

ปริมาณดินสอ

, y (กลองตอป)

ตัวอยาง กำหนดให การใชดินสอ (y) กับยางลบ (x) ของ น.ส.แอน แทนดวยฟงกชัน

U x, y( ) = min 2x, y{ }

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี31

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function)

Leontief Utility Function (or Perfect Complements)

สมการรูปทั่วไป: U x, y( ) = min ax,by{ }หมายเหตุ: ในกรณีเสน IC มีลักษณะ “L-Shape”ไมสามารถหาคา MRS ได

จะได คาอรรถประโยชน กรณีตะกราสินคา ที่แตกตางกัน ดังนี้ 1) x=1, y=22) x=2, y=23) x=2, y=44) x=2, y=6

สัดสวนการบริโภค x1 ตอ x2: เทากับ b:a => 1:2

y

x0รสชาติของอาหาร

ความสวยงามของการจัดอาหาร

1 2 3 4 5

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี32

กรณีสินคาที่เปนกลาง (Neuter)

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function)

สมการรูปทั่วไป: U x, y( ) = ax x is a good and y is a neuter

ตัวอยาง กำหนดให ผูบริโภคสนใจแตรสชาติของอาหาร (x) แตไมสนใจความสวยงามของการจัดอาหาร (y) แทนดวย U x, y( ) = 2x

Page 17: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี33

ขอควรระวังและขอสังเกต เกี่ยวกับการแปลความหมายคาอรรถประโยชน

ฟงกชันอรรถประโยชน (Utility Function)

ฟงกชันอรรถประโยชนเปนตัวแทนความพอใจ โดยคาอรรถประโยชนเปนเพียงการจัดลำดับ ความพึงพอใจ (a preference ordering)

คาระดับของอรรถประโยชนไมมีความหมาย (No intrinsic meaning) เชน สามารถบอกได วา U1=10 มากกวา U2=5 แตไมสามารถบอกไดวามากกวาเปนสองเทา

การวิเคราะหพฤติกรรมการตัดสินใจ (Choice Behavior) ไมจำเปนตองทราบขอมูล โดยละเอียดวาชอบตะกราไหนมากนอยเพียงใด เพียงแตทราบวาผูบริโภคชอบตะกราสินคา ใดมากกวากัน หรือตะกราสินคาใดใหอรรถประโยชนมากกวา ก็เพียงพอแลว

ในการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior) ในที่นี ้เนนทางดาน Ordinal Approach เปนดานหลัก นั่นคือ เปนวิเคราะหพฤติกรรมการตัดสินใจ ซึ่งไมจำเปนตอง วัดคาอรรถประโยชนเปนหนวยนับ (Cardinal)

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี34

y

x0

Budget Constraint: pxx+pyy=m,Slope : - px/py

เสนงบประมาณ (Budget Line)2.3 ขีดจำกัดดานงบประมาณ

กำหนดให สมการขีดจำกัดดานงบประมาณในกรณีสินคา 2 ชนิด กำหนดโดย

จัดรูปสมการใหม

Budget Constraint: pxx + pyy = m

สมการเสนงบประมาณ

Page 18: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

Original Budget Set

y

x0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี35

y

x0

เสนงบประมาณเดิมและเสนงบประมาณใหม ที่ขนานกัน (ความชันเทากัน)

เสนงบประมาณหมุน (pivot) โดยมีความชันมากขึ้น จาก เปน โดยที่ − px ′py

− px py′py < py

การเปลี่ยนแปลงเสนงบประมาณ

การเปลี่ยนแปลง BL เมื่อรายไดเปลี่ยนแปลง

m py

mpx

BL0Original

Budget Set

m py

mpx

BL0

การเปลี่ยนแปลง BL เมื่อราคาเปลี่ยนแปลง

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี36

เงื่อนไขการบริโภคภายใตอรรถประโยชนสูงสุด2.4 ดุลยภาพการบริโภค

ดุลยภาพการบริโภค กรณี Interior Solution

maxx,y{ }

U x, y( )subject to: pxx + pyy = m

UMP

The Lagrangian Function:

The First-order Necessary Conditions:(Interior optimum with x>0, y>0)

∂Λ∂x

= 0⇒

∂Λ∂y

= 0⇒

∂Λ∂λ

= 0⇒

นำสมการที่ (2) / (3):

จะไดเงื่อนไข Rational Spending Rule:

MUx

MUy

= PxPy

5

Page 19: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

y

x0 40

20

BL

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี37

20

5

10

118

16

U2

U3

ดุลยภาพการบริโภค กรณี Interior Solution

ตัวอยาง นายเอก มีเงินอยู 800 บาทเขาตองการซื้ออาหาร (x) และเสื้อผา (y)โดยราคาอาหาร=20 และเสื้อผา= 40 บาท

MUx =Solution

MUy =

แทนในสมการงบประมาณ จะได

mPy

= 80040

= 20

mPx

= 80020

= 40

Budget Line BL Slope = − 12

คำถาม: เหตุใดที่จุด B, C และ D จึงไมใช Optimal Choice?

เงื่อนไขการบริโภคภายใตอรรถประโยชนสูงสุด

maxx,y{ }

U x, y( ) = xys.t : 20x + 40y = 800

U1

D

A

B

EC

y

x0 40

20

BL

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี38

8 11

16

U1

U2

U3

D

20

10 A

ดุลยภาพการบริโภค กรณี Interior Solution

Budget Line BL Slope = − 12

คำถาม: เหตุใดที่จุด B, C และ D จึงไมใช Optimal Choice?

เงื่อนไขการบริโภคภายใตอรรถประโยชนสูงสุด

MRSx,y >PxPy

MUx

Px>MUy

PyMUx

Px>MUy

Pyบริโภคสินคา x เพิ่มขึ้น และบริโภคสินคา y ลดลง

C

B

E

Page 20: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

Slope of IC at any basket= − MUx

MUy

Slope of BL = − pxpy

พิจารณาจุด S: ความชันของ U1 มากกวา ความชันของเสนงบประมาณ ความหมาย คือ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี39

ดุลยภาพการบริโภคในกรณีพิเศษดุลยภาพการบริโภค กรณี Corner Solution

y

x0

PreferenceDirection

U3U2U1BL

MUx

Px>MUy

Py

BL

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี40

Corner Solution: Perfect Substitutesy

x0

PreferenceDirections

BL

y

x0

Corner Solution: Useless Good

ดุลยภาพการบริโภคในกรณีพิเศษ

Page 21: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

y

x0y

is a

Good

x is a Bad

y

x0

y is

a Ba

d

x is a Good

BL

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี41

Corner Solution with Economic Bad

BL

ดุลยภาพการบริโภคในกรณีพิเศษ

BL

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี42

Perfect Complementsy

x0

y

x0

Concave Preferences

U1 U3U2

Optimal Choice

BL

U1

U2

U3

Optimal Choice

ดุลยภาพการบริโภคในกรณีพิเศษ

Note: กรณี สินคาเปน Bad ทั้งคู เหมือนหรือตางจากกรณี Concave Preference อยางไร?

Page 22: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี43

P

X0

Y

X0X0

PX2<PX1<PX0

mPY

mPX0

U0

A

U0<U1<U2

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจากราคา2.5 ทฤษฎีอุปสงค

การสรางเสนอุปสงคสวนบุคคล

เสนอุปสงคสวนบุคคล (Individual Demand): เปนเสนแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณการ

บริโภคสินคาชนิดหนึ่ง ที่ผูบริโภคนั้นยินดีซื้อ ณ ระดับราคาตาง ๆ (โดยสมมติใหราคาสินคาชนิดอื่น ๆ และรายไดคงที่ )

สมการอุปสงคตอสินคาชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 คือ:

อุปสงคตอสินคาชนิดที่ 1:

อุปสงคตอสินคาชนิดที่ 2:

กฎของอุปสงค คือ:

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี44

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจากราคาเสน PCC กับความยืดหยุนของอุปสงค

Y

X0

M

X0

BL0

m p0

m py

BL0

m p0

m py

U0 U0

p0

x0

′A

A

x0

A

ε x >1

X และ Y ทดแทนกันY

X0

M

X0

X และ Y ประกอบกัน

ε x <1

U0<U1 U0<U1

p0 ′A

Page 23: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

PX0

X0

A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี45

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจากราคาเสน PCC กับความยืดหยุนของอุปสงค

P

X0

Y

X0X0

PX2<PX1<PX0

mPY

mPX0

U0

A

U0<U1<U2

PX0A

X0

P

X0

Y

X0X0

PX2<PX1<PX0

mPY

mPX0

U0<U1<U2

A

U0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี46

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากรายไดสินคาปกติ VS สินคาดอย

BL0

m0 px

m0 py

BL0

m0 px

m0 py

U0 U0

ICC

x0

A

x0

A

Y

X0

M

X0

Normal GoodsY

X0

M

X0

Inferior Goods

εm > 0 εm < 0m0 ′A m0 ′A

Page 24: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี47

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากรายได

BL0

m0 px

m0 py

BL0

m0 px

m0 py

U0

U1

x0

A

x0

A

Y

X0

M

X0

LuxuriesY

X0

M

X0

Necessities

εm >1

สินคาฟุมเฟอย VS สินคาจำเปน

0< εm <1

m0 ′A m0 ′A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี48

กรณี Quasilinear Preferences

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพเนื่องจากรายได

สมการรูปทั่วไป: U x, y( ) = v x( )+by

โดยที่ b คือ คาคงที่ซ่ึงมากกวาศูนย คือ ฟงกชัน ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อ เพิ่มขึ้น เชน หรือ v x( ) = x2v x( )

v x( ) = xx

U0

x0

ความชันของ Indifference Curve ณ ตะกราสินคา A, B และ C เทากัน

BL0

A

y

x0M

x0

m2 ′C

Page 25: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี49

สรุป การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ

การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจากราคา การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจากรายได

X และ Y ประกอบกันX และ Y ทดแทนกัน Normal Goods Inferior Goods

Necessities Luxuries

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี50

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายได

Y

X0BL0

U0

A

xA

ขั้นตอนการวิเคราะหผลดานการทดแทนและผลทางดานรายไดStep 1: Find the initial basket A. Step 2: Find the final basket C. Step 3: Find the decomposition

basket B.Y

X0BL0

U0

A

xA

Slope of BL0 = −px0py

Slope of BL0 = −px0py

U0

Y

X0BL0

A

xA

Slope of BL0 = −px0py

Slope of BL1 = −px1py

Slope of BLd = −px1py

Slope of BL1 = −px1py

SE: เปนการเปลี่ยนการบริโภค เนื่องจากราคาเพียงตัวเดียว

IE: เปนการเปลี่ยนการบริโภค เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอำนาจซื้อ

Page 26: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี51

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายไดสมมติวา ในการบริโภคสินคาสองชนิดคือไขไกกับเสื้อผา แตตอมาราคาไขไกลดลง จะสงผลใหเกิดผลทั้ง ผลทางดานรายได (Income Effect) และ ผลดานการทดแทน (Substitution Effect) ดังนี้

BL0

U0

A

xA

εm > 0

y

x0

Normal Goods

ไขไก

เสื้อผา

เดิม จุดดุลยภาพอยูที่จุด A, ณ จุดสัมผัสระหวางเสนความพอใจเทากัน U0 กับเสนงบประมาณ BL0

ตอมา ราคาไขไกลดลง ทำใหเสนงบประมาณหมุนจากเสน BL0 เปนเสน BL1 ไปสัมผัสกับเสน IC เสนใหม คือ U1 จะได ดุลยภาพใหม ที่จุด Cณ จุดดุลยภาพที่ จุด C: มีการบริโภคไขไกเพิ่มขึ้น จาก เปน เรียกผลนี้วา Total Price EffectxA xC

SE: เปนการเปลี่ยนการบริโภค เนื่องจาก ราคาเพียงตัวเดียว โดยอยูบนเสนความพอใจเสนเดิม ในกรณีนี้ จะบริโภคไขไก เพิ่มขึ้นทดแทนเสื้อผา ที่มีราคาถูกโดยเปรียบเทียบ แสดงดวยการเคลื่อนจากจุด A ไปจุด B บริโภคไขไกเพิ่มขึ้นจาก ไปxA xC

IE: เปนการเปลี่ยนการบริโภค เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงอำนาจซื้อ โดยจะบริโภคเพิ่มหรือลดจากจุด B ขึ้นอยูกับ ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได ในกรณีนี้ จะบริโภคไขไกเพิ่มขึ้น จาก ไปเปน ตามทิศทางของเสน ICC (สินคาปกต)ิxA xC

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี52

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายไดสินคาปกติและสินคาดอย

BL0

U0

A

xABL0

U0

A

xA

εm > 0y

x0

Normal Goods y

x0

εm < 0

Inferior Goods

Page 27: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี53

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายไดPerfect Complements VS Perfect Substitutes

BL0

U0A

xA

y

x0

Perfect Complementsy

x0

Perfect Substitutes

BL0

U0

A

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี54

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายไดHicks และ Slutsky Substitution Effect

BL0

U0

A

xABL0

U0

A

xA

y

x0

Hicks SE y

x0

Slutsky SE

Hicks SE: การเปลี่ยนแปลงอุปสงคสืบเนื่องจากราคาเปลี่ยน โดยที่ ผูบริโภคมีความพอใจเทาเดิม

Slutsky SE: การเปลี่ยนแปลงอุปสงคสืบเนื่องจากราคาเปลี่ยน โดยที่ ผูบริโภคสามารถซื้อ original bundle กอนการเปลี่ยนแปลงราคาได

Page 28: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี55

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายได

BL0 U0

A

xA

y

x0

วิธีของ Slutsky: ในการหาขนาดของรายไดที่ทำใหอำนาจซื้อของผูบริโภคคงเดิม ทำไดโดย การชดเชยรายไดจนทำใหสามารถซื้อสินคากลุมเดิมได (Original Bundle) นั่นคือ ลากเสน BL2 ผานจุด A

ปญหาของการวิเคราะหแบบ Hick คือ ในขอเท็จจริงไมมีใครทราบรูปรางของเสน IC จึงไมทราบวาตองชดเชยเทาใด เพื่อใหมีความพอใจเทาเดิม

ภายหลังการชดเชยรายได: ทำใหผูบริโภคสามารถบริโภคสินคากลุมใหม ณ จุดสัมผัสระหวางเสน BL2 กับ U2 นั่นคือ ที่จุด ′B

′Bณ จุด : จะพบวา ผูบริโภคสามารถบริโภคสินคา x ไดเพิ่มขึ้นจาก เปน เรียกวา Slutsky SExA ′xBการเปลี่ยนแปลงการบริโภคจาก เปน โดยบริโภค x เพิ่มขึ้นจาก เปน เปนผลของ IE

′B C′xB xC

หมายเหต:ุ ขนาดของผลการทดแทนระหวาง Hick กับ Slutsky มักจะไมเทากัน

Slutsky Substitution Effect: การเปลี่ยนแปลงอุปสงคสืบเนื่องจากราคาเปลี่ยน โดยที ่ผูบริโภคสามารถซื้อ original bundle กอนการเปลี่ยนแปลงราคาได

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี56

ผลทางดานการทดแทนและผลทางดานรายไดInferior Goods: Giffen VS Non-Giffen inferior good

BL0 U0

A

xA

y

x0

Non-Giffen inferior goodThe Giffen casey

x0BL0

U0

A

xA

Page 29: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

U0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี57

อุปสงคแบบมารแชลและแบบฮิกสการสรางเสนอุปสงคแบบฮิกส (Hicksian Demand Curve)

P

X0

Y

X0

PX2<PX1<PX0

ในการสรางเสน “อุปสงคสามัญ (Ordinary Demand Curve)” หรือ Marshallian demand อยูภายใตขอสมมติที่สำคัญ คือ รายไดที่เปนตัวเงินและราคาสินคาชนิดอื่นคงที่ เสนอุปสงคจึงอาจมีความชันเปนบวก กรณีสินคา Giffen

เสน “อุปสงคแบบชดเชย (Compensated Demand Curve)” หรือ Hicksian demand จะขจัดอิทธิพลของรายได หรือ มีการชดเชยรายไดที่แทจริงแลว โดยมีขอสังเกต ดังนี้

สรางโดยกำหนดใหความพอใจคงที่

เสนอุปสงคแบบชดเชยจะมีความชันเปนลบเสมอ

มีความเหมาะสมในการวัดสวัสดิการมากกวา

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี58

อุปสงคแบบมารแชลและแบบฮิกสเปรียบเทียบอุปสงคแบบมารแชลและแบบฮิกส

Y

X0BL0

U0

P

X0

A

xABL0

U0

A

xA

Normal GoodsY

X0

P

X0

Inferior Goods

Page 30: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี59

2.6 บทสงทาย: ตัวอยางการคำนวณ

maxx1,x2{ }

U x1, x2( ) = x1x2subject to: p1x1 + p2x2 = m

UMP

กำหนดให อรรถประโยชนของผูบริโภค แทนดวย Cobb-Douglas utility function: โดยมีขอจำกัดดานงบประมาณ เทากับ จากขอมูลนี ้เราสามารถหาสมการอุปสงคและพิสูจนคุณสมบัติตาง ๆ ไดดังนี้

U x1, x2( ) = x1x2 p1x1+p2x2 = m

The Lagrangian Function:Λ x1, x2,λ( ) = x1x2 + λ m − p1x1 − p2x2( ) 1

The First-order Necessary Conditions: (Interior optimum with x1>0, x2>0)∂Λ∂x1

= 0⇒ x2 − λ p1 = 0 ⇒ x2 = λ p1 2∂Λ∂x2

= 0⇒ x1 − λ p2 = 0 ⇒ x1 = λ p2 3

∂Λ∂λ

= 0⇒ p1x1 + p2x2 = m 4

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี60

ตัวอยางการคำนวณนำสมการที่ (2) / (3):

5x2x1

= p1p2

⇒ x2 =p1p2x1

Income Consumption Curve:ICC

นำสมการที่ (5) แทนใน (4):

p1x1* + p2

p1p2x1*⎛

⎝⎜⎞⎠⎟= m ⇒ x1

* = m2p1

6

นำสมการที่ (6) แทนใน (5):

x2* = p1

p2

m2p1

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

⇒ x2* = m

2p2

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟

7

จากสมการที่ (6) และ (7) สมการอุปสงคตอสินคาชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 คือ:

x1* p,m( ) = m

2p1อุปสงคตอสินคาชนิดที่ 1:

x2* p,m( ) = m

2p2อุปสงคตอสินคาชนิดที่ 2:

Page 31: EC311-2 Consumer Choice STecon.tu.ac.th/class/archan/Loylom/EC311-1-2556... · ข อสมมติที่ 1.2: กลุ มสินค าเดียวกันต องให

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี61

ตัวอยางการคำนวณ

Bordered Hessian Sufficient Condition:

H =

0 − ∂2Λ∂Λ∂x1

− ∂2Λ∂Λ∂x2

− ∂2Λ∂x∂Λ1

∂2Λ∂x1 ∂x1

∂2Λ∂x1 ∂x2

− ∂2Λ∂x2 ∂Λ

∂2Λ∂x2 ∂x1

∂2Λ∂x2 ∂x2

=

H > 0⇒Max.

H < 0⇒Min.

H =

0 − − p1( ) − − p2( )− − p1( ) 0 1

− − p2( ) 1 0

= 2p1p2 > 0⇒Utility is Max.

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี62

ตัวอยางการคำนวณ

พิสูจนคุณสมบัติตาง ๆ ของสมการอุปสงค

1) พิสูจนวาเปน Normal หรือ Inferior goods: ∂x1

* p,m( )∂m

= ∂∂m

m2p1

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟= 12p1

> 0⇒ x1*

2) พิสูจนวาเปนไปตามกฎอุปสงค: ∂x2

* p,m( )∂p2

= ∂∂p2

m2p2

⎛⎝⎜

⎞⎠⎟= − m

2p22 < 0⇒ x2

*เปนไปตามกฎอุปสงค

เปน Normal Goods