17
ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วิชาหลักเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC211) ภาค 2/2556 . ลอยลม ประเสริฐศรี เคาโครงการบรรยาย หัวขอที3 ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายรับรวม ความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ วันพุธ ที20 พฤศจิกายน .. 2556 ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา STUDENT Version ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร .ลอยลม ประเสริฐศรี 2 ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา คำถาม : ระหวางทางที่ลาดชันมาก กับทางเรียบ รถยนตจะ เคลื่อนที่ในเสนทางไหน ไดเร็วกวากัน? เร็วกวากันเพียงใด? ประโยชนของความยืดหยุ: การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ ชวยใหทราบถึงเพียงทิศทางการเปลี่ยนแปลง แต คาความยืดหยุนชวยใหสามารถ คำนวณขนาดของการเปลี่ยนแปลง

EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิชาหลักเศรษฐศาสตรจุลภาค (EC211) ภาค 2/2556 อ.ลอยลม ประเสริฐศรี

เคาโครงการบรรยาย

หัวขอที่ 3ความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายรับรวม

ความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ

วันพุธ ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา STUDENT Version

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี2

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

คำถาม: ระหวางทางที่ลาดชันมาก กับทางเรียบ รถยนตจะเคลื่อนที่ในเสนทางไหน ไดเร็วกวากัน? เร็วกวากันเพียงใด?

ประโยชนของความยืดหยุน: การวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพชวยใหทราบถึงเพียงทิศทางการเปลี่ยนแปลง

แตคาความยืดหยุนชวยใหสามารถคำนวณขนาดของการเปลี่ยนแปลง

Page 2: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี3

ความหมายของความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

สินคา X คือ อาหาร สินคา Y คือ เสื้อผา

PX QX ΔQX

4 6 -2$2 8 -

PY QY ΔQY

4 2 -2$2 4 -

เราควรสรุปวาอุปสงคของสินคาทั้งสองชนิด

ตอบสนองตอราคาเทากันไหม

ลองพิจารณาการเปลี่ยนแปลง:เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงทางดานราคา:

เปอรเซ็นตการเปลี่ยนแปลงทาง

ดานปริมาณ:

จะพบวา เมื่อคิดเปนเปอรเซ็นตของการเปลี่ยนแปลงจะมีคาไมเทากัน นั่นคือ ควรเปรียบเทียบดวยสัดสวนของการเปลี่ยนแปลง

คาความยืดหยุน (Elasticity) คืออะไร?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี4

ความหมายของความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

“ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรใชในการวัดอัตราการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของราคา”

คาความยืดหยุน (Elasticity) คืออะไร?

Price Elasticity of Demand: “อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงคของสินคาชนิดนั้น ตอการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาชนิดนั้น”

Ed =ΔQ QΔP P

Ed =ΔQΔP

× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ตัวอยางที่ 3.1: ถาหาก มธ. ปรับคาหนวยกิตเพิ่มขึ้น 10% สงผลใหปริมาณการลงทะเบียน ลดลงไป 20% ถามวา Price Elasticity of Demand มีคาเทาใด?วิธีทำ

สูตรการคำนวน ความยืดหยุนแบบจุด:

Ed =%Δ in Q demanded

%Δ in price

Elastic: Ed >1

Inelastic: Ed <1

Unitary elastic: Ed = 1

แปลความหมาย: ปริมาณการลงทะเบียน ลดลงไป 2% ถาหาก มธ. ปรับคาหนวยกิตเพิ่มขึ้น 1% (ในทิศทางตรงกันขาม)

Page 3: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี5

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ตัวอยางที่ 3.2: กำหนดให ผูโดยสารบนเครื่องบินประกอบดวยนักทองเที่ยว กับ นักธุรกิจ มีปริมาณความตองการตั๋วเครื่องบิน เพื่อเดินทางจากกรุงเทพถึงเชียงใหม ดังขอมูลในตาราง

ราคาตั๋วเครื่องบินปริมาณที่ตองการ

(นักธุรกิจ)$150200250300

2,100 tickets2,0001,9001,800

ปริมาณที่ตองการ

(นักทองเที่ยว)

600400

8001,000 tickets

จากตาราง: ถาหากราคาสินคาปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 200 บาทเปน 250 บาท จงหาคา Price Elasticity of Demand สำหรับบุคคลสองกลุม

วิธีทำ

แปลความหมาย: : ปริมาณการจองตั๋ว-เครื่องบิน ลดลงไป 0.2% ถาหากปรับราคาคาตั๋วเพิ่มขึ้น 1%

Ed = 0.2 แปลความหมาย: : ปริมาณการจองตั๋ว-เครื่องบิน ลดลงไป 1% ถาหากปรับราคาคาตั๋วเพิ่มขึ้น 1%

Ed = 1.0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี6

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ปญหาของความยืดหยุนแบบจุด: “เมื่อเคลื่อนที่ไปตามเสนอุปสงคระหวางสองจุด คาความยืดหยุนที่วัดได กรณีราคาเพิ่มกับราคาลดจะมีคาไมเทากัน”

Q0

P

D1

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

คาความยืดหยุน ณ จุด A:

คาความยืดหยุน ณ จุด B:

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

Page 4: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี7

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

คาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา(แบบจุด) บนเสนอุปสงคเสนเดียวกันมีคาไมเทากัน :

สามารถแกไขปญหาการคำนวณคาความยืดหยุนของ

อุปสงคแบบจุดดวย การหา Arc Price elasticity

EdA = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=

Note: (1) การหาคาความยืดหยุน ณ จุดไหน ใหจุดนั้นเปน P1, Q1

(2) สมมติจุดอื่นจุดไหนก็ไดเปน P2, Q2

EdB = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=

EdC = Q2 −Q1

P2 − P1× P1Q1

=D1

B

A

C

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี8

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา: ความยืดหยุนแบบชวงความยืดหยุนแบบชวง (Arc Price elasticity)

Q0

P

D1

104

0.50 B

2.00 A

Ed =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2สูตรการคำนวณ:

คาความยืดหยุน ณ จุด A:Ed =

Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

คาความยืดหยุน ณ จุด B:Ed =

Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

Key Points: ความยืดหยุนแบบชวงไมวาจะคำนวณ ณ จุดใด จะใหคาเทากัน

Page 5: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี9

Bonus Tip: การหาความยืดหยุนโดยวิธีเรขาคณิต

Q0

P

D1

A

B

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

=

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

Ed =P1Q1

× 1ΔP ΔQ

Ed =

Slope มาก ==> หยุนนอย

Slope นอย ==> หยุนมากQ1

P1 R

หมายเหตุ: ระวัง หามทองแบบนี้

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี10

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11

อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค มากกวา %Δ ของราคา

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค นอยกวา %Δ ของราคา

Page 6: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี11

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11 อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค มากกวา %Δ ของราคา

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค นอยกวา %Δ ของราคา

Q0

P

5020

D120 B30 A

Q0

P

D1

2520

30 A

20 B

ยกตัวอยางเชน เฟอรนิเจอร =-1.2, ไฟฟา =-1.3 หรือ รถยนต = -2.1

ยกตัวอยางเชน น้ำตาล =-0.3, อาหาร =-0.4 หรือ เบนซิน = -0.6

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

D1

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี12

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

ความยืดหยุนเทากับหนึ่ง: Ed = 13

เกิดเมื่อ %Δ ของปริมาณอุปสงค เทากับ %Δ ของราคา

ยกตัวอยางเชน เนื้อวัว หรือเบียร

Q0

P

10

20

15

D1

30 A

BEd =

ΔQΔP

× P1Q1

=

Page 7: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี13

การแบงประเภทอุปสงคดวยความยืดหยุน

Perfectly Elastic: Ed = ∞5

เกิดเมื่อ %Δ ของราคา ทำใหการเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค มีคาเทากับคาอนันต

Q0

P

D120

At a price above 20, quantity demanded is zero.

At a price below 20, quantity demanded is infinite.

At a price exactly 20, consumer will by any quantity.

Perfectly Inelastic: Ed = 04

กรณีนี้ ปริมาณอุปสงคไมเปลี่ยนแปลงเลยจากการที่ราคาเปลี่ยนแปลง

Q0

P

D1

30 A

B20

10

ในโลกแหงความเปนจริง คงไมมีสินคาใด ที่ผูขายสามารถขึ้นราคาไดอยางไมสิ้นสุด

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี14

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งหาสินคาทดแทนไดงาย ผูบริโภคยิ่งออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของราคา และยิ่งมีความยืดหยุนสูง

หาสิ่งทดแทนไดงายหรือยาก

การทองเที่ยวอวกาศ การทองเที่ยวชายหาด

Page 8: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี15

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งมีเวลาปรับตัวนาน ก็ยิ่งหาสิ่งทดแทนไดงาย อุปสงคยิ่งยืดหยุนสูง

ระยะเวลาในการปรับตัว

ระยะสั้น ระยะยาว

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี16

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งสินคามีความจำเปนมากเทาไหร ความยืดหยุนก็จะย่ิงต่ำ ในทางตรงกันขาม กรณีที่เปนสินคาฟุมเฟอยความยืดหยุนจะคอนขางมาก

จำเปนหรือฟุมเฟอย

สินคาจำเปน สินคาฟุมเฟอย

Page 9: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี17

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา

ยิ่งสัดสวนรายจายสูง การเปลี่ยนแปลงของราคายิ่งม ีผลกระทบมาก ผูบริโภคจึงยิ่งมีความยืดหยุนตอราคาสูง เมื่อสินคานั้นมีสัดสวนรายจายสูง

สัดสวนรายจาย

สัดสวนคาใชจายสูง

Price=$1,000

สัดสวนคาใชจายต่ำ

Price=$10

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี18

ขอควรระวัง: ความเขาใจผิดเกี่ยวกับความชันและความยืดหยุน

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= OQ1

AP1× OP1OQ1

= −OP1AP1

Ed =P1Q1

× 1slope

Ed1G = −OP1

AP1=

Ed2H = −OP1

AP1=1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

5101520253035404550

Q0

P

D1

D2

Page 10: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี19

ขอควรระวัง: ความเขาใจผิดเกี่ยวกับความชันและความยืดหยุน

Ed =ΔQΔP

× P1Q1

= OQ1

AP1× OP1OQ1

= −OP1AP1

Ed =P1Q1

× 1slope

Ed1G = −OP1

AP1=

Ed2H = −OP1

AP1=Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

D1D2

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี20

Q0

P

D1

รายจายของผูบริโภค ในอีกมิติหนึ่งคือรายรับของผูขาย เทากับ พื้นที่สี่เหลี่ยมที่แรเงา ในกรณีนี้ รายรับมีคาเทากับ TR=PxQ=30x100= 3,000

ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคากับรายรับรวม

Page 11: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี21

อุปสงคที่มีความยืดหยุนมาก: Ed >11 อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอย: Ed <12

Q0

P

D1

50

20 B

20

30 A

Q0

P

D1

20

30 A

25

20 B

กำหนดให มีการเพิ่มราคาสินคา จาก P1=20 เปน P2=30

ความยืดหยุนของอุปสงคกับรายรับ

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี22

ความยืดหยุนของอุปสงคกับรายรับ

$0

Price Quantity demanded

Total revenue

12345678910

109876543210

$09

1621242524211690

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1012345678910

Q0

TR

0

9

16212425

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

Page 12: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ตัวอยางที่ 3.3: ปจจุบันนางสาวยิ่งรัก มีเงินเดือน 20,000 บาท เธอบริโภคกาแฟ 30 แกว/เดือน และบริโภคซาลาเปา 30 กอน ตอมา เงินเดือนเพิ่มเปน 30,000 บาท เธอปรับการบริโภค โดยบริโภคกาแฟ 60 แกว/เดือน และบริโภคซาลาเปา 15 กอน จงระบุวากาแฟกับซาลาเปาเปนสินคาประเภทใด?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี23

ความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได (Income elasticity of demand) เปนความออนไหวของอุปสงคของสินคาหนึ่ง ตอการเปลี่ยนแปลงของรายได

สินคาปกติ (normal) income elasticity of demand มีคาเปนบวก หรือ EI > 0

สินคาดอย (inferior) income elasticity of demand มีคาเปนลบ หรือ EI < 0

ผลการคำนวนแปลความได ดังนี้:-

EI =%Δ in Q demanded%Δ in income

= ΔQΔI

× IQ

สูตรการคำนวน:

วิธีทำ

EI =ΔQΔI

× IQ

=

EI =ΔQΔI

× IQ

=

สรุป กรณีของผูบริโภคทานนี ้กาแฟเปนสินคาปกติ สวนซาลาเปาเปนสินคาดอย

ตัวอยางที่ 3.4: เดิมราคาน้ำมันเบนซินอยูที่ 30 บาทตอลิตร ยอดขายรถยนตอยูที่ 5,000 คันตอเดือน ตอมา เกิดภาวะน้ำมันแพง ราคาน้ำมันเบนซิน เพิ่มเปน 50 บาทตอลิตร ยอดขายรถยนตลดลงเหลือ 1,000 คันตอเดือน จงระบุวาน้ำมันกับรถยนตเปนสินคาประเภทใด?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี24

ความยืดหยุนไขว ความยืดหยุนไขว (Cross price elasticity of demand) ความออนไหวของอุปสงคของสินคาหนึ่งที่เกิดจากราคาของสินคาอื่นเปลี่ยนไป

EXY =%Δ in QX

%Δ in PY= ΔQX

ΔPY× PYQX

สูตรการคำนวน:

เมื่อเปนสินคาประกอบกัน (Complementary Goods) cross-elasticity ติดลบ หรือ EXY < 0

เมื่อเปนสินคาทดแทนกัน (Substitution Goods) cross-elasticity เปนบวก หรือ EXY > 0

ผลการคำนวนแปลความได ดังนี้:-

วิธีทำ กำหนดให X=รถยนต, Y=น้ำมัน

EXY =%Δ in QX

%Δ in PY= ΔQX

ΔPY× PYQX

EXY =

EXY =

ดังนั้น สามารถสรุปไดวาน้ำมันเบนซินกับรถยนตเปนสินคาประกอบกัน

Page 13: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี25

สรุป ประเด็นความยืดหยุนของอุปสงคชนิดอื่นๆ

X และ Y ประกอบกันX และ Y ทดแทนกัน Normal Goods Inferior Goods

พิจารณา ความยืดหยุนของอุปสงคไขว หรือ EXY

พิจารณา ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได หรือ EI

Q0

P

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี26

ความยืดหยุนของอุปทานตอราคา Price Elasticity of Supply:

“สัดสวน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปทาน ตอ การเปลี่ยนแปลงของราคา”

ตัวอยางที่ 3.5: จากกราฟดานลาง จงแสดงวิธีการหาความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ES =%Δ in Q Supplied%Δ in price

สูตรการคำนวน ความยืดหยุนแบบจุด:

ความยืดหยุนแบบชวง (Arc Price elasticity)

ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2สูตรการคำนวณ:

S130 B

20 A

30 50วิธีทำ

ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

ES =

Page 14: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี27

ความยืดหยุนของอุปทาน: แบบจุด VS แบบชวงตัวอยางที่ 3.6: จากกราฟดานลาง จงแสดงวิธีการหาความยืดหยุนของอุปทานตอราคาทั้งแบบจุดและแบบชวง

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

S1

A

B

วิธีทำ ES =Q2 −Q1P2 − P1

×P1 + P2( ) 2Q1 +Q2( ) 2

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ความยืดหยุน ณ จุด A:

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

ความยืดหยุน ณ จุด B:

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

-3 -2 -1

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี28

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1

A

Es =ΔQS

ΔP× PQ

=

Es =RQ1OQ1

=

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดแกนราคา จะไดวา Es >1

Page 15: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี29

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1A

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= −RQ1−OP1

× OP1OQ1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดแกนปริมาณ จะไดวา Es <1

จุดตัดแกนนี้ อธิบายในทางเศรษฐศาสตรวาอยางไร?

Q0

P

1 2 3 4 5 6 7 8 9 105

101520253035404550

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี30

ความยืดหยุนของอุปทานแบบตาง ๆ

S1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= −RQ1−OP1

× OP1OQ1

Es =ΔQS

ΔP× PQ

= Q2 −Q1P2 − P1

× P1Q1

สรุป หากเสนอุปทานตัดจุดกำเนิด จะไดวา Es = 1

S0S2

A B C

Page 16: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี31

ปจจัยที่เปนตัวคาความยืดหยุนของอุปทานตอราคา

ยิ่งสามารถปรับไปผลิตสินคาอื่นไดงาย ยิ่งมีความยืดหยุนสูง

เปลี่ยนไปผลิตสินคาอื่นไดงายหรือยาก

ยิ่งตนทุนการผลิตเพิ่มขึ้นเร็วตามปริมาณการผลิตที่

เพิ่มขึ้นเสนอุปทานยิ่งยืดหยุนนอย

ตนทุนสวนเพิ่ม

ระยะเวลาปรับตัวที่เพิ่มขึ้นก็ยิ่งมีโอกาสปรับไปผลิต

สินคาอื่นไดงายขึ้น ความยืดหยุนก็ยิ่งสูงขึ้น

ระยะเวลาในการปรับตัว

คำถาม: สินคาเกษตรกับสินคาอุตสาหกรรม สินคาชนิดใด มีความยืดหยุนของอุปทานตอราคามากกวากัน?

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี32

คำถามในชั้นเรียน ครั้งที่ 2คำถาม: ไขไก กับ เนื้อไก เปนสินคาที่จำเปนตอการบริโภคของประชาชนเหมือนกัน ทานคิดวา สินคาสองชนิดนี้มีความยืดหยุนของอุปทานตอราคาใกลเคียงกันหรือไม โดยวาดกราฟอุปทานของไขไก และอุปทานของเนื้อไก เพื่อประกอบการอธิบายวามีความแตกตางกันหรือไม ประการใด

Q0

P

Q0

P

คำตอบ ไกเนื้อมีความยืดหยุนมากกวา เนื่องจากรอบการผลิตไกเนื้อคอนขางสั้น ประมาณ 45 วัน ในขณะที่ไขไก อายุการใหไขฟองแรกจะอยูที่ประมาณ 19-20 สัปดาห

Page 17: EC211-3 Elasticity STecon.tu.ac.th/.../EC211-3_Elasticity_ST.pdf · Price Elasticity of Demand: ... ความยืดหยุ นแบบช วง (Arc Price elasticity) 0

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี33

Supply periods and time

Q0

PS0: Very short run

S1: Short run

S2: Long run

S3: Very Long run

S0: Very short runPerfectly inelastic supply = fixed supply

S1: Short runModerately inelastic.

S2: Long runMore elastic

S3: Very Long runPerfectly elastic supply

ลิขสิทธิ์ของ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร อ.ลอยลม ประเสริฐศรี34

The downward sloping supply curve

Q0

P

Falling long run SUPPLY curve

The downward sloping supply curve in the long run is already familiar to you: computers, scanners, TV sets, digital cameras, DVD players and discs, CD players and discs….. Most if not all of the products of modern hi-tech industry fall into this category. As the years go by, they get better and a lot cheaper.