42
แบบจําลองการสื่อสาร Communication Model . ประกาศิษย พรหมกิ่งแกว

Communication Model 1

  • Upload
    grid-g

  • View
    6.369

  • Download
    10

Embed Size (px)

Citation preview

แบบจําลองการสื่อสาร

Communication Model

อ. ประกาศิษย พรหมกิ่งแกว

13 แบบจําลองพื้นฐานทางการสื่อสาร• แบบจาํลองอริสโตเติล

• แบบจาํลองลาสเวลล

• แบบจาํลองนอรเบิรต วีนเนอร

• แบบจาํลองแชนนนัและวีเวอร

• แบบจาํลองธโีอดอร นิวคอมบ

• แบบจาํลองออสกูด

• แบบจาํลองวิลเบอร ชแรมม

• แบบจาํลองเวสเลยและแมคลนี

• แบบจาํลองเดวิด เบอรโล

• แบบจาํลองเดอ เฟลอร

• แบบจาํลองแฟรงค ดานซ

• แบบจาํลองแม็คเลดิและเชฟฟ

• แบบจาํลองจอรจ เกิรบเนอร

แบบจําลองของอริสโตเติลAristotel

“การจูงใจจะสัมฤทธิ์เมื่อผูฟงถูกเรา ใหเกิดความรูสกึรวมจากคําพูดของผูพูด”

นักปรัชญาชาวกรีก “บิดาดานวาทวิทยา”

แบบจําลองของอริสโตเติล เนนอารมณความรูสึก

ที่ถกูเราจากคําพูดผูสงสาร

อริสโตเติล

แบบจําลองของอริสโตเติล

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

วิธีการเขาถึง

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ทักษะการสื่อสาร

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

วิธีการเขาถึง

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ทักษะการสื่อสาร

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

วิธีการเขาถึง

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ทักษะการสื่อสาร

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

วิธีการเขาถึง

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ทักษะการสื่อสาร

ความรู

ประสบการณ

คานิยม

ความรูสึก

ทักษะในการสื่อสาร

การเรียบเรียง

การสงสาร

กรอบความคิด

ภาษา

การยกตัวอยาง

แบบจําลองของอริสโตเติล

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

โนบิตะกระซิบบอกชิซกูะวา “เสตก็ลูกววัอรอย”

โนบิตะกระซิบบอกชิซูกะวาหลังจากชิ้นเนื้อเสต็กเนื้อลูกวัวไดเขาปาก ก็รบัรูถึง

รสสัมผัสของน้ําซอสที่ปลายลิ้น กลิ่นพริกไทยยิ่งทําใหเจริญอาหารมากยิ่งขึ้น

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

Speaker Speech AudienceEthos Pathos Logos

แบบจําลองการสื่อสารลาสเวลล

Harold Lasswell

ลาสเวลล“นักรัฐศาสตร” สนใจศึกษาการสื่อสารจากการ

โฆษณาชวนเชื่อ และไดทําการวิจัยในเรื่องการ

สื่อสารมวลชนไวในป พ.ศ. 2491 โดยคิดสูตร

การสื่อสารไว

แบบจําลองของลาสเวลล มุงอธิบายกระบวนการสื่อสาร

ความสัมพันธขององคประกอบการสื่อสาร จากคําถามที่วา ใคร

กลาวอะไร ผานชองทางใด กับใคร ดวยผลประการใด เปน

กระบวนการสื่อสารแบบงายๆ ระหวางบุคคลซึ่งตองกระทําตอหนา

และมีการคาดหวังผลจากการสื่อสารในเวลาเดียวกัน แตไมมีการ

ตรวจสอบผลสะทอนกลับ

องคประกอบแบบจําลองการสื่อสารลาสเวลล

Says what

In which channel

To Whom

With what effect

Who

Says what

In which channel

To Whom

With what effect

Who

เจระเบียบจัด มีปากเสียงทะเลาะกับกิ๊กหนุม

อยางรุนแรง เจตะโกนออกไปวา “พอกันที ไป

ตายซะ” กิ๊กหนุมเสียใจมาก ตัดสินใจกระโดด

ลงจากรถทันที

เจระเบียบจัด

กิ๊กหนุม

“พอกันที ไปตายซะ”

อากาศ

เสียใจ กระโดดรถ

ขอสังเกตุ: แบบจําลองการสื่อสารลาสเวลล

• ขาด Feedback

• มองการสื่อสารในเชิงพฤติกรรม เนนทีผ่ลกระทบ Effect ที่สามารถทําใหผูรบัสารมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป

• เปนการอธิบายการสื่อสารแบบเห็นหนา

• มีการแบงองคประกอบทางการสื่อสาร ทําใหสามารถนําไปกําหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้

– การวิเคราะหแหลงสาร

– การวิเคราะหเนือ้หา

– การวิเคราะหสือ่

– การวิเคราะหผูรับสาร

– ผลของการสื่อสาร

แบบจําลองของนอรเบิรต วีนเนอรNorbert Wiener

นอรเบิรต วีนเนอร

“วีนเนอร” เปนนักวิทยาศาสตรที่เชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร

และมีผลงานเกี่ยวกับ electroniccomputer มากมาย

• คิดแบบจําลองซึ่งนําแนวคิดมาจาก

– พื้นฐานทางสถิติของการสื่อสาร

– ขอมลูปอนกลับ (Feedback)

แบบจําลองของนอรเบิรต วีนเนอร

“รางกายมนุษยทํางานเหมือนเครื่องจักรที่มนุษยสรางขึ้น ดังนั้น

มนุษยจะสามารถทําการควบคุมการสื่อสารได เหมือนกับที่

ควบคมุเครื่องจักรได”

ปญญาเขียนโปรแกรมใหคอมพิวเตอร แลวคอมพิวเตอรก็ประมวลผล

ขอมูลใหเหมือนกับที่ปญญาสั่งใหนายหม่ําทํางานให และนายหม่ําก็ทํา

ตาม

ขอสังเกตุ: แบบจําลองของนอรเบิรต วีนเนอร

• ขาดการพิจารณาถึงองคประกอบความเปนมนษุย เพราะมุง

อธิบายกระบวนการสื่อสารของเครื่องจักร

• เนนเรื่องประสิทธิภาพของการถายทอดขอมูล ขาวสาร

• ไมเกี่ยวของกับความหมายหรือสาระของขาวสาร แตเปนเรื่อง

ของเทคนิคในการถายทอด การเขาและถอดรหัสเนื้อหา

ขาวสาร

แบบจําลองของแชนนอนและวีเวอรShannon and Weaver

Claude Elwood Shannon & Warren Weaver

“กระบวนการสื่อสาร จะเกิดขึ้นได จะตองประกอบดวย 5 ประการ”– แหลงขอมูลขาวสาร (Source)

– เครื่องสงสาร (Transmetter)

– เครื่องรับ (Receiver)

– จุดหมายปลายทาง (Destination)

– เนื้อหาขาวสาร (Message)

แบบจําลองของแชนนอนและวีเวอร

“แบบจําลองนี้ กลาวถึงพฤติกรรมการสื่อสารที่มีลักษณะเปนเสนตรงเหมือนเครื่องจักร แตการสื่อสารของมนุษยจะมีลักษณะเปนวงกลม “

ระหวางเครื่องแปลงสัญญาณภาคสง กับเครื่องแปลงสัญญาณภาครับ อาจเกิด

ปญหาและอุปสรรคทําใหสัญญาณสูญเสีย อาจตองมีการสงสัญญาณซ้ํา หรือเพิ่ม

แรงสงของสัญญาณ

แบบจําลองของแชนนอนและวีเวอร

Noise

Source Transmitter Receiver Destination

Message Signal Received Signal Message

การสื่อสารเปนกระบวนการที่เริ่มตนจากแหลงสาร (source) จะเลือกสาร (message) ถายทอดไป

(transmitted) ในรูปแบบของสัญญาณ (signal) ผานชองทางการสื่อสาร (channel) ไปยัง

เครื่องรับ (receive) ซึ่งแปลงสัญญาณเปนสารสําหรับจุดหมายปลายทาง (destination) ใน

กระบวนการนี้อาจมีสิ่งรบกวนหรือแทรกแซง (noise or interference) ซึ่งทําใหสารที่สงกับสารที่

รับแตกตางกันได

แบบจําลองของแชนนอนและวีเวอร

Noise

Source Transmitter Receiver Destination

ในวันรับปริญญาของ ABAC ออม พิยดาเปนคนแรกที่โทรศพัทไปแสดงความยินดี

กับซันนี่แตเนื่องจากที่งานรับปริญญามีเสียงดัง และคลื่นสัญญาณไมดี จึงทําให ซันนี่

ไมไดยนิเสียงออม

ออม ซันนี่

พูด

มือถือแปลสัญญาณคําพูด

คลื่นความถี่

ตัวแปลสัญญาณความถี่เปนคําพูด

เสียงดัง คลื่นไมดี

รับสัญญาณความถี่ เสียงพูดของออม

แบบจําลองของแชนนอนและวีเวอร

Noise

Source Transmitter Receiver Destination

ระหวางที่นัทมีเรียใหสัมภาษณวิลลี่ในรายการ ชมดาว เดอะวิลลี่ นัทนั่งเหมอลอยใจ

ไมอยูกับเนื้อกับตัวในชวงระหวางวิลลี่กําลังถามเรื่องอัลบั้มเพลงชุดใหม ทําใหนัทไมได

ยินคําถามและตอบแบบอ้ําอึ้ง จนตองอัดเทป ถายซอมกันหลายครั้ง เบื้องหลังทีมงาน

เปดเผยวานัท กําลังเศราสุดๆเพราะเพิ่งไปหยากับเตาที่อําเภอมาเมื่อวานนี้

วิลลี่

พูด

ความเศราโศก

นัทมีเรีย

เขารหัสดวยภาษา คาํพูด

“อัลบั้มใหมขายดีมั้ย”

ถอดรหัสดวยการตีความหมาย

“อะ..อะ...ไร ....นะ”

สิ่งรบกวนสาร (Noise)

1. สิ่งรบกวนสารทางกายภาพ สิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดลอมภายนอกขณะที่บุคคลกําลังสื่อสาร

เสียงอึกทึก อากาศรอนหนาว แสงสวาง ขนาดหองใหญ

2. สิ่งรบกวนสารทางจิตใจ

สิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล

ปญหาสุขภาพ เจ็บไขไดปวย อารมณโกรธ เสียใจ เศรา

ปญหาดานการสื่อสาร

1. ปญหาดานความหมายการใชคําศัพทเฉพาะกลุม ศัพทแสลง ศัพทวิชาการ

เชน อัพ ดาวน เบเบ คึดฮอต

2. ปญหาดานเทคนิคเกิดจากเครื่องมือดานเทคนิค หรือ ชองทางการสื่อสาร เชน

เครื่องรับสัญญาณ ลบเลือน สัญญาณขาดหาย เสียงไมชัดเจน

3. ปญหาดานประสิทธิภาพ เกดิจากการสื่อสารไมเปนไปตามวัตถุประสงค หรือ ไมตรง

ตามความตองการผูรับสาร

แบบจําลองของธีโอดอร นิวคอมบTheodore Newcomb

ธีโอดอร นิวคอมบ

เปนนักจิตวิทยา ผูคิดคนทฤษฎีแบบจําลอง ABX

มีแนวคิดหลักคือ “การสื่อสารเกิดขึ้นเพราะมนุษย

ตองการความเหมือนกันทางความคิด ทัศนคติ และการ

สื่อสารชวยใหเกิดการยอมรับในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

เหมือนกัน”

แบบจําลองของธีโอดอร นิวคอมบX

BA

การสื่อสารจะเกิดขึ้นไดเพราะมนุษยตองการใหเกิดความสมดุลทางความคิด ทัศนคติ

และพฤติกรรมตางๆ โดยการสื่อสารจะเปนเครื่องมือชวยใหยอมรับในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

เหมือนๆ กัน การสื่อสารจะทําใหบุคคล ตั้งแต 2 คนขึ้นไป (A กับ B) สามารถดํารงและ

รักษาความเขาใจในสิ่งที่สื่อสารกัน

แบบจําลองของธีโอดอร นิวคอมบ เรื่องของเข็ม

เมย อั้ม

เมยเลาเรื่องของเข็มใหอัม้ฟง เราสามารถคาดคะเนผลของการสื่อสารไดวา

อั้มจะรับรูเรื่องราวของเข็มคลายๆกับที่เมยรู และเปนไปไดสูงวา

ถาเมยไมชอบเข็ม อั้มก็จะไมชอบดวย

แบบจําลองของธีโอดอร นิวคอมบ

• เปนแบบจําลองเชิงจิตวิทยาการสื่อสาร

• ใชอธิบายความสัมพันธทางการสื่อสารระหวางบุคคล 2 คน

• ใหแนวคิดดานการสรางประชามติ และโฆษณาชวนชื่น

แบบจําลองของออสกูดCharles E. Osgood

ชารลส อี. ออสกูด กลาววา "ความหมายโดยทั่วไป การ

สื่อสารจะเกิดขึ้นเมื่อฝายหนึ่งคือผูสง

สารมีอิทธิพลตออีกฝายหนึ่งคือผูรับ

สาร โดยใชสัญลักษณตางๆ ซึ่งถูก

สงผานสื่อที่เชื่อมระหวางสองฝาย

แบบจําลองของออสกูด เนนถึงการกระทําของผูสง

และผูรบัซึ่งอาจเปนคนๆเดียวกัน และเปลีย่น

บทบาทกันไปมาในการเขารหัสและถอดรหัสสาร

แบบจําลองของชารลส ออสกูด

บุคคลคนเดียวสามารถเปนทั้งผูสง - รบัสาร โดยทําหนาที่เปนผูรับสารผานการถอดรหัสกอน เพื่อเรียบเรียงใหตนเองเขาใจ จากนั้นก็นํา

ขอมูลมาเขารหัส เพื่อสงสารไปยังปลายทาง

Communication unit หนวยสื่อสาร

ขอมูลสงเขา เครื่องรับขอมูล ผูรับสาร แหลงสาร เครื่องสงสาร ผล

Input receiver destination source transmitter Output

ถอดรหัส

decoding

เขารหัส

encoding

แบบจําลองของชารลส ออสกูดCommunication unit หนวยสื่อสาร

ขอมูลสงเขา เครื่องรับขอมูล ผูรับสาร แหลงสาร เครื่องสงสาร ผล

Input receiver destination source transmitter Output

ถอดรหัส

decoding

เขารหัส

encoding

แปง sms ชวนเมยไปเที่ยวบาหลี เมยตอบกลับไปวาไมวาง: เมยไดรับ

sms จากแปง จึงก็ทําการถอดรหัสและทราบวาแปงชวนไปเที่ยวบาหลี

จากนั้นเมยนําขอมูลมาใสรหัส เพื่อสง sms กลับไปวา “ขอโทษนะ ไมได

ไปหรอก ไมวาง”

เมยขอความจากแปง i Phone ไมไป ไมวางi Phone

ทําความเขาใจวาแปงชวน เรียบเรียงขอความสงกลับ

smssmsเมย

แบบจําลองของชารลส ออสกูด

การเขาและถอดรหัสตองอาศัยความรูดานตางๆ ดังเชนแสดงในภาพ

Source unit หนวยผูสงสาร

Receiver เครื่องรับสาร

Encoding การเขารหัส

Destination unit หนวยผูรับสาร

Receiver เครื่องรับสาร

Decoding การถอดรหัสInput OutputOutput Input

Message

Psychoacoustics จิตวิทยาเสียง Phonetics สทัศาสตร

Microlinguistics ภาษาศาสตรจุลภาค

Exolinguistics ภาษาศาสตร

Psycholinguistics จิตวิทยาภาษาศาสตร

Social Sciences สังคมศาสตร

Communication การสื่อสาร

แบบจําลองการสื่อสารของแชรมมWilbur L. Schramm

วิลแบอร แอล. ชแรมม แบบจําลองของชแรมมอิงแนวคิดของ“ออสกูด”

“กระบวนการสื่อสารในทางเทคนิค คือกลไก

การทํางานของเครื่องจักรที่นํามาปรับใช

กับการกระทําการสื่อสารของมนุษย”

แบบจําลองของชแรมม มี 3 แบบ

- การสื่อสารเครื่องจักรกล

- การสื่อสารที่อาศัยประสบการณรวม

- การสื่อสารเชิงวงกลม

แหลงสาร

(Source)

เขารหัส

(Encoder)

สัญญาณ

(Signal)

เครื่องถอดรหัส

(Decoder)

จุดหมายปลายทาง

(Destination)

แบบจําลองแบบที่ 1 แชรมมมองวาการสื่อสารเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นเพื่อ

จุดประสงคใดจุดประสงค หนึ่งโดยเฉพาะ

แบบจําลองการสื่อสารของแชรมม แบบที่ 1

กระบวนการสื่อสาร - เครือ่งจักรกล

แบบจําลองการสื่อสารของแชรมม แบบที่ 1

กระบวนการสื่อสาร- เครื่องจักรกล

แหลงสาร

(Source)

เขารหัส

(Encoder)

สัญญาณ

(Signal)

เครื่องถอดรหัส

(Decoder)

จุดหมายปลายทาง

(Destination)

โนบิตะสง SMS ผานมือถือโนเกียหาโดราเอมอนวา

“วันนี้ทําขอสอบไมไดเลย ไปดร็อบหลักการสื่อสารดีกวา”

โนบิตะ โดราเอมอนพิมพขอความ SMS

แปลงสัญญาณ

แปลงสัญญาณ

เพื่อรับขอความSMS

สัญญาณดิจิตอล

แหลงสาร

(Source) เขารหัส

(Encoder)

สัญญาณ

(Signal)

ถอดรหัส

(Decoder)จุดหมายปลายทาง

(Destination)

สนามแหงประสบการณ

Field of Experience

สนามแหงประสบการณ

Field of Experience

แบบจําลองการสื่อสารของแชรมม แบบที่ 2

ประสบการณรวมของผูรับสารและผูสงสาร

แบบจําลองที่ 2 ภาษา ภูมิหลัง วัฒนธรรม การใชชีวิตเปนสวนสนับสนุนใหการแปล

ความหมายของสารเปนไปอยางแมนยํามากยิ่งขึน้

แหลงสาร

(Source)

เขารหัส

(Encoder)

สัญญาณ

(Signal)

ถอดรหัส

(Decoder)

จุดหมายปลายทาง

(Destination)

สนามแหงประสบการณ

ภาษา และ วัฒนธรรม

สนามแหงประสบการณ

ภาษา และ วัฒนธรรม

โนบิตะพูดกับโดราเอมอนวา “ไมมีใครรูใจฉันเทานายอีกแลว

เราชางเขากันไดจริงๆ ” ทั้งสองกลายเปนเพื่อนสนิทกันอยาง

รวดเร็วภายในเวลา 2 วัน เนื่องจากพูดภาษาญี่ปุนเหมือนกัน

กินอาหารญี่ปุนเหมือนกัน และกิจกรรมยามวางไปเที่ยวทะเล

เหมือนกัน

โนบิตะ โดราเอมอน

ภาษา คําพูด

ตีความหมายสรางความหมาย

แบบจําลองที่ 3 แชรมมมีแนวคิดวากระบวนการสื่อสารไมมีจุดเริ่มตนหรือจุดสิ้นสุด

ที่ชัดเจน แบบจําลองนี้อธิบายถึงธรรมชาติการสื่อสารที่ทั้งสองฝายผลัดเปลี่ยนบทบาท

ของการเปนผูสงสาร/เขารหัสและผูรับสาร/ถอดรหัส

ขาวสาร

Message

ขาวสาร

Message

เขารหัส

Encoder

แปล-เรียบเรียง

Interpreter

ถอดรหัส

Decoder

ถอดรหัส

Decoder

แปล-เรียบเรียง

Interpreter

เขารหัส

Encoder

แบบจําลองการสื่อสารของแชรมม แบบที่ 3การปฏิสัมพันธและปฎิกริยาตอบกลับ แบบวงกลม

Feedback

ขาวสาร

ขาวสาร

เขารหัส

แปล-เรียบเรียง

ถอดรหัส

ถอดรหัส

แปล-เรียบเรียง

เขารหัส

Feedback

ดช. มดดํามาโรงเรียนสายโดนคุณครูบอลลูนดาวาอยางหยาบคายและให

เขกโตะ 20 ที ดวยความคับแคนใจเด็กชายมดดําตะโกนเสียงดังใสหนาครู

บอลลูนวา “สาวทรงโตไรสมอง” ครูบอลลูนและ ดช.มดดําไดมีวาทะ

อยางรุนแรงโตตอบไปมานาน 20 นาที จนลุกลามบานปลายถึงขั้น......

ดาคาํหยาบคาย

“สาวทรงโตไรสมอง”

PART 1END