14
อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 543 เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย - มาเลเซีย Boundaries of Siam/Thailand - Malaysia: the Conditions of Achievement อรอนงค ทพยพมล ธนศกด สายจำาปา การเก ดข นของร ฐชาต ในภูม ภาคเอเช ยตะว นออกเฉ ยงใต ทำาให เส นเขตแดนม ความสำาค ญ ม ความหมายและม ความ ศกดสทธ ทงๆ ทมนเปนเพยงเสนสมมตและเปนมรดกของยุคอาณานคมทขดเสนแบงเขตแดนใหกบประเทศตางๆ เพอผล ประโยชนทางการปกครองและการปกปองผลประโยชนของดนแดนภายใตอาณานคมของตนเอง การปกปนและการจดทำาหลกเขตแดนระหวางประเทศไทยกบประเทศเพอนบานทมเขตแดนตดตอกนทงสดานอน ไดแกดานลาว กมพูชา พมา และมาเลเซย ยงคงเปนปญหาตอเนองยาวนานจนถงปจจุบนและยงไมสามารถกลาวไดวาไดม การจ ดทำ าหล กเขตแดนสำ าเร จเร ยบร อยลงด วยด แม แต านเด ยว แต อย างไรก ตาม การจ ดทำ าหล กเขตแดนด านท ประสบความ สำาเรจมากทสุดนนคอดานเขตแดนระหวางไทยกบมาเลเซยทมการจดทำาหลกเขตแดนทางบกเกอบจะเสรจสมบูรณ ยงเหลอ งไม สามารถตกลงก นได เพ ยง 2 หล กเท าน น ส วนข อพ พาทเร องเขตแดนทางทะเลในอ าวไทยน นในป จจุบ นท งสองประเทศ ได ตกลงใช ประโยชน จากพ นท พาทน นร วมก น ภายใต อความร วมม อไทย-มาเลเซ ยในการพ ฒนาพ นท เขตไหล ทว ปท บซ อน ในอาวไทย ( Joint Development Area: JDA) ในขณะทปญหาเขตแดนระหวางมาเลเซยกบประเทศเพอนบานอน เชน อนโดนเซยและสงคโปร กมขอพพาทเรอง เขตแดนเชนกน (Gullick, 1967, p. 28-29) หากแตกรณดงกลาวยงไมมททาวาจะไมจบลงไดอยางสวยงามเฉกเชนกรณ ญหาเขตแดนระหว างมาเลเซ ยก บไทย จ งน าสนใจว าเพราะเหตุใดการป กป นและการจ ดทำ าเขตแดนระหว างไทยก บมาเลเซ จงประสบความสำาเรจทงๆ ทภาษาราชการของทงสองประเทศตางๆ กน แตในทางกลบกน การเจรจาเรองการปกปนและจด ทำาหลกเขตแดนระหวางประเทศทมใกลเคยงกนทางดานวฒนธรรมและภาษา หรออาจจะกลาวไดวาเปนภาษาเดยวกนกลบ ไมประสบความสำาเรจในการเจรจา 1. การปักปันและกำาหนดเส้นเขตแดนระหว่างไทย - มาเลเซีย แนวพรมแดนทางบกระหวางประเทศไทยกบมาเลเซย มความยาวประมาณ 647 กโลเมตร ประกอบดวย สนปนน ำา 552 กโลเมตร และลำาน ำา 95 กโลเมตร จากฝงทะเลดานชองแคบมะละกาทางดานตะวนตกไปจนจดฝงทะเลดาน อาวไทยทางดานตะวนออก ทางดานตะวนตกและตอนกลางแนวพรมแดนทอดไปตามสนปนน ำา สวนทางดานตะวนออก กำาหนดใหทอดไปตามรองน ำาลกของแมน ำาสุไหงโก-ลก การปกปนเขตแดนระหวางไทยกบมาเลเซยเปนผลจาก “สญญาในระหวางกรุงสยามกบกรุงองกฤษ ค.ศ. 1909” และ “สญญาวาดวยเขตรแดนตดทายหนงสอสญญา ค.ศ. 1909” ระหวางสยามกบองกฤษทไดทำาสญญาในป พ.ศ. 2452 1 (ค.ศ. 1909) โดยสญญาฉบบนประเทศไทยยอมยกสทธการปกครองและบงคบบญชาเหนอเมองกลนตน ตรงกานู ไทรบุร และปะลส ตลอดจนเกาะทอยูใกลเคยงเมองเหลานนใหแกองกฤษ โดยฝายองกฤษรบรองวาจะใหรฐบาลสหพนธรฐมลายู จดการหนสนทรฐเหลานนมกบรฐบาลสยามใหเรยบรอย และเพอแลกกบการยกเลกสทธสภาพนอกอาณาเขตและอำานาจ กงสุลในสยาม (สายจตต เหมนทร, 2507, หนา 314-315) และทสำาคญซงเปนประโยชนกบสยามเปนอยางยงกคอการท งกฤษยอมร บการม อำานาจอธ ปไตยของสยามบร เวณตอนเหน อพรมแดนไทย-มาเลเซ ยหร อห วเม องซ งเป นร ฐปาตาน ในอด กบสตูลซงแยกออกจากเมองไทรบุร

Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment อรอนงค์ ทิพย์พิมล/Onanong Thippimpl ธนศักดิ์ สายจำปา/Thanasak Saijampa

Citation preview

Page 1: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 543

เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย - มาเลเซียBoundaries of Siam/Thailand - Malaysia:

the Conditions of Achievement

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

ธนศักดิ์ สายจำาปา

การเกดิขึน้ของรฐัชาตใินภมูภิาคเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใตท้ำาใหเ้สน้เขตแดนมคีวามสำาคญัมคีวามหมายและมคีวามศักดิ์สิทธิ์ทั้งๆที่มันเป็นเพียงเส้นสมมติและเป็นมรดกของยุคอาณานิคมที่ขีดเส้นแบ่งเขตแดนให้กับประเทศต่างๆเพื่อผลประโยชน์ทางการปกครองและการปกป้องผลประโยชน์ของดินแดนภายใต้อาณานิคมของตนเอง การปักปันและการจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีเขตแดนติดต่อกันทั้งสี่ด้านอันได้แก่ด้านลาวกัมพูชาพม่าและมาเลเซียยังคงเป็นปัญหาต่อเนื่องยาวนานจนถึงปัจจุบันและยังไม่สามารถกล่าวได้ว่าได้มีการจดัทำาหลกัเขตแดนสำาเรจ็เรยีบรอ้ยลงดว้ยดแีมแ้ตด่า้นเดยีวแตอ่ยา่งไรกต็ามการจดัทำาหลกัเขตแดนดา้นทีป่ระสบความสำาเร็จมากที่สุดนั้นคือด้านเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียที่มีการจัดทำาหลักเขตแดนทางบกเกือบจะเสร็จสมบูรณ์ยังเหลือทีย่งัไมส่ามารถตกลงกนัไดเ้พยีง2หลกัเทา่นัน้สว่นขอ้พพิาทเรือ่งเขตแดนทางทะเลในอา่วไทยนัน้ในปจัจบุนัทัง้สองประเทศไดต้กลงใชป้ระโยชนจ์ากพืน้ทีพ่พิาทนัน้รว่มกนัภายใตช้ือ่ความรว่มมอืไทย-มาเลเซยีในการพฒันาพืน้ทีเ่ขตไหลท่วปีทบัซอ้นในอ่าวไทย( Joint Development Area: JDA) ในขณะที่ปัญหาเขตแดนระหว่างมาเลเซียกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นเช่นอินโดนีเซียและสิงคโปร์ก็มีข้อพิพาทเรื่องเขตแดนเช่นกัน (Gullick, 1967, p. 28-29)หากแต่กรณีดังกล่าวยังไม่มีทีท่าว่าจะไม่จบลงได้อย่างสวยงามเฉกเช่นกรณีปญัหาเขตแดนระหวา่งมาเลเซยีกบัไทยจงึนา่สนใจวา่เพราะเหตใุดการปกัปนัและการจดัทำาเขตแดนระหวา่งไทยกบัมาเลเซยีจึงประสบความสำาเร็จทั้งๆที่ภาษาราชการของทั้งสองประเทศต่างๆกันแต่ในทางกลับกันการเจรจาเรื่องการปักปันและจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างประเทศที่มีใกล้เคียงกันทางด้านวัฒนธรรมและภาษาหรืออาจจะกล่าวได้ว่าเป็นภาษาเดียวกันกลับไม่ประสบความสำาเร็จในการเจรจา

1. การปักปันและกำาหนดเส้นเขตแดนระหว่างไทย - มาเลเซีย

แนวพรมแดนทางบกระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย มีความยาวประมาณ 647 กิโลเมตร ประกอบด้วย สันปันน้ำา552กิโลเมตรและลำาน้ำา95กิโลเมตรจากฝั่งทะเลด้านช่องแคบมะละกาทางด้านตะวันตกไปจนจดฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยทางด้านตะวันออก ทางด้านตะวันตกและตอนกลางแนวพรมแดนทอดไปตามสันปันน้ำา ส่วนทางด้านตะวันออกกำาหนดให้ทอดไปตามร่องน้ำาลึกของแม่น้ำาสุไหงโก-ลก การปักปันเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียเป็นผลจาก “สัญญาในระหว่างกรุงสยามกับกรุงอังกฤษ ค.ศ. 1909” และ“สัญญาว่าด้วยเขตรแดนติดท้ายหนังสือสัญญา ค.ศ. 1909”ระหว่างสยามกับอังกฤษที่ได้ทำาสัญญาในปีพ.ศ. 24521 (ค.ศ. 1909)โดยสัญญาฉบับนี้ประเทศไทยยอมยกสิทธิการปกครองและบังคับบัญชาเหนือเมืองกลันตันตรังกานูไทรบุรีและปะลิส ตลอดจนเกาะที่อยู่ใกล้เคียงเมืองเหล่านั้นให้แก่อังกฤษ โดยฝ่ายอังกฤษรับรองว่าจะให้รัฐบาลสหพันธรัฐมลายูจัดการหนี้สินที่รัฐเหล่านั้นมีกับรัฐบาลสยามให้เรียบร้อย และเพื่อแลกกับการยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและอำานาจกงสุลในสยาม (สายจิตต์ เหมินทร์, 2507,หน้า 314-315) และที่สำาคัญซึ่งเป็นประโยชน์กับสยามเป็นอย่างยิ่งก็คือการที่องักฤษยอมรบัการมอีำานาจอธปิไตยของสยามบรเิวณตอนเหนอืพรมแดนไทย-มาเลเซยีหรอืหวัเมอืงซึง่เปน็รฐัปาตานใีนอดตีกับสตูลซึ่งแยกออกจากเมืองไทรบุรี

Page 2: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

544 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

หลังจากการลงนามในสัญญาดังกล่าว จึงได้มีการดำาเนินการปักปันและจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนสยามกับสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษซึ่งประกอบไปด้วยคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนของสยามและอังกฤษในปีถัดไป แม้ว่าประเทศมาเลเซียจะเพิ่งเป็นเอกราชและเริ่มมีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับประเทศไทยเมื่อวันที่31สิงหาคมพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)แต่เส้นเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสองถือกำาเนิดขึ้นกว่าหนึ่งร้อยปีมาแล้ว

การกำาหนดเส้นเขตแดนทางบกโดยสันปันน้ำาและร่องน้ำาลึกระหว่างไทย - มาเลเซีย การปักปันและจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียแบ่งได้เป็น3ยุคได้แก่ 1.ยุคแรกพ.ศ. 2453-55(ค.ศ. 1910-12) 2.ยุคที่สองพ.ศ.2516-28(ค.ศ.1973-85)และ 3.ยุคที่สามพ.ศ.2536-53(ค.ศ.1993-2010) (ดูรายละเอียดในอรอนงค์ทิพย์พิมลและธนศักดิ์สายจำาปา,2554,หน้า29-44.) ในยคุแรกนัน้รฐัสยามและองักฤษไดแ้ตง่ตัง้คณะขา้หลวงปกัปนัเขตแดนประกอบดว้ยคณะกองขา้หลวงของทัง้สองฝา่ยซึง่ไดท้ำาการปกัปนัและจดัทำาหลกัเขตแดนเพือ่แบง่เขตระหวา่งอาณาเขตในอำานาจการปกครองขององักฤษกบัอาณาเขตของสยามคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนร่วมได้มีการสร้างหลักเขตแดนไว้72หลักหลักเสริม35หลักและหมุดหลักฐานทางแผนที่อีก2หลักรวม109หลักยุคแรกนี้ถือว่าเป็น“ยุคสำารวจและปักปันเขตแดน” ต่อมาเมื่อมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษเมื่อวันที่31สิงหาคมพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)มาเลเซียเผชิญหน้ากับการขยายตัวของพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาจึงได้ดำาเนินนโยบายปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์อย่างหนักและที่ทำาให้ไทยถกูดงึเขา้ไปเกีย่วขอ้งกบันโยบายของมาเลเซยีในชว่งนีก้ค็อืการทีพ่รรคคอมมวินสิตม์าลายาถอยรน่เขา้มาอยูใ่นแนวชายแดนระหว่างไทยกับมาเลเซีย ทำาให้ทั้งสองประเทศเห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องมีการเร่งรัดจัดทำาแนวเขตแดนระหว่างประเทศให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้หลักเขตแดนที่ได้จัดทำาขึ้นตั้งแต่ยุคแรกโดยคณะกรรมการปักปันเขตแดนร่วมระหว่างสยามกบัองักฤษยงัมปีญัหาอยูห่ลายประการเชน่หลกัเขตแดนบางหลกัมรีะยะหา่งมากเกนิไปชำารดุเสยีหายทัง้โดยตามธรรมชาติและการกระทำาของมนุษย์ความไม่ชัดเจนของสนธิสัญญาและแผนที่ต่อท้ายสัญญาเขตแดนปีพ.ศ. 2452(ค.ศ. 1909)ที่ทำาให้เกิดการตีความต่างกันเป็นต้น จึงได้มีความพยายามในการจัดตั้งคณะกรรมการจัดทำาหลักเขตแดนร่วมระหว่างไทย-มาเลเซียขึ้นในปีพ.ศ. 2513(ค.ศ. 1970) จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) รัฐบาลไทยกับมาเลเซียจึงได้ลงนามบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการสำารวจเขตแดนทางบกและการปกัหลกัเขตแดนรว่มกนัเพือ่ใหเ้สน้เขตแดนมคีวามชดัเจนแนน่อนยิง่ขึน้และมกีารจดัตัง้คณะกรรมการการจัดทำาหลักเขตแดนร่วมไทย-มาเลเซีย( Joint Thailand – Malaysia Land Boundary Committee : LBC) โดยฝา่ยไทยมผีูบ้ญัชาการทหารสงูสดุเปน็ประธานดงันัน้การสำารวจและจดัทำาหลกัเขตแดนดา้นไทยกบัมาเลเซยีจงึเปน็อำานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของกรมแผนที่ทหารภายใต้กองบัญชาการทหารสูงสุดกระทรวงกลาโหม การทำางานร่วมกันของคณะกรรมการจัดทำาหลักเขตแดนร่วมระหว่างไทย-มาเลเซียได้มีการดำาเนินการสำารวจและปักปันเขตแดนร่วมกันโดยสามารถจัดทำาหลักเขตแดนเพิ่มได้ถึง12,169หลักซึ่งในยุคที่สองของการสำารวจและการจัดทำาหลักเขตแดนนี้เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2516-28(ค.ศ. 1973-85)และถือได้ว่าเป็น“ยุคสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดน” พันโท ชัยรัตน์ชัยดำารงโรจน์หนึ่งในคณะสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนในยุคที่สองได้กล่าวถึงการสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนในยุคที่สองว่าเป็นไปด้วยความยากลำาบากหากเป็นพื้นที่ในเขตภูเขาพวกนายทหารที่จัดทำาหลักเขตจะต้องแบกหินปูนทรายและหลักเขต(โดยมากจะเป็นหลักแบบCและD)2ขึ้นไปทำาการหล่อและหลักเขตแดนบนเขานอกจากนี้ในช่วงยุคที่สองยังเป็นช่วงที่ยังมีภัยคอมมิวนิสต์และผู้ก่อความไม่สงบ ทำาให้การสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนมีความ เสี่ยงอันตรายเพิ่มยิ่งขึ้นเคยมีเหตุการณ์ที่ทหารในทีมจัดทำาหลักเขตแดนถูกระเบิดที่มีผู้ก่อความไม่สงบลอบวางเอาไว้หรือในบางครั้งเพื่อความปลอดภัยพวกทหารจะข้ามไปพักแรมในฝั่งมาเลเซียแทนที่จะพักแรมในฝั่งไทย เป็นต้น (สัมภาษณ์ พันโท ชัยรัตน์ชัยดำารงโรจน์,30สิงหาคม2553)

Page 3: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 545

การสำารวจและจดัทำาหลกัเขตแดนในยคุทีส่องไดม้คีวามกา้วหนา้ในการจดัทำาหลกัเขตแดนไปไดเ้กอืบตลอดแนวและทำาให้เส้นเขตแดนทางบกที่ใช้สันปันน้ำาของเทือกเขาสันกาลาคีรีเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซียมีความชัดเจนมากขึ้นโดยแนวทางในการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทย-มาเลเซียนั้นได้มีการดำาเนินการผ่านกลไกรัฐในหลายระดับและพยายามแสวงหาแนวทางในการยุติข้อพิพาทตามแนวทางสันติวิธี ผ่านการเจรจาและดำาเนินการในระดับต่างๆ จนปัญหาการลุกล้ำาเขตแดนและพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทย-มาเลเซีย สามารถสำาเร็จลุล่วงลงได้อย่างสันติ อาทิเช่น การแก้ไขปัญหากรณีพื้นที ่โนแมนส์แลนด์(No man’s Land)ซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2523(ค.ศ. 1980)ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้มีความร่วมมือกันในการจัดทำารั้วเดี่ยวขึ้นบนเส้นเขตแดนไทย-มาเลเซีย ที่ได้มีการปักปันและจัดทำาหลักเขตไว้ก่อนหน้านี้ หากแต่เมื่อมีการสำารวจแนวเขตแดนเพื่อจัดทำารั้วเดี่ยวบริเวณปาดังเบซาร์นั้น กลับพบว่าทางฝั่งไทยมีการสร้าง สิง่ปลกูสรา้งล้ำาเสน้เขตแดนมาเลเซยีใน3บรเิวณคอืบรเิวณศาลเจา้แมก่วนอมิศาลเจา้ฮกเตก็และดา่นศลุกากรปาดงัเบซาร์ การดำาเนินการแก้ไขปัญหาโน แมนส์ แลนด์ และการที่ไทยสร้างสิ่งปลูกสร้างล้ำาเส้นเขตแดนนั้น สามารถหาข้อยุติได้ภายหลังการประชุมระหว่างนายกรัฐมนตรีของทั้งสองประเทศเมื่อวันที่22เมษายนพ.ศ. 2541(ค.ศ. 1998)โดยกำาหนดใหม้กีารแลกเปลีย่นพืน้ทีท่ีม่กีารกอ่สรา้งล้ำาแดนซึง่ฝา่ยไทยจะไดร้บัพืน้ทีท่ีฝ่า่ยไทยกอ่สรา้งล้ำาแดนเขา้ไปในดนิแดนของมาเลเซีย3จุดคือบริเวณศาลเจ้าแม่กวนอิม(71.95ตารางเมตร)ศาลเจ้าฮกเต็ก(1,500.25ตารางเมตร)และด่านศุลกากรปาดังเบซาร์ (571.84 ตารางเมตร) ในขณะที่ฝ่ายมาเลเซียจะได้พื้นที่ของไทยบริเวณริมทางรถไฟเป็นจำานวนพื้นที่2,144.04ตารางกิโลเมตรดังนั้นจึงเป็นการแลกเปลี่ยนพื้นที่ในจำานวนที่เท่ากัน การดำาเนินการแก้ไขปัญหาการสร้างสิ่งปลูกสร้างรุกล้ำาเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซีย ในลักษณะดังกล่าว นับได้ว่าเป็นมิติใหม่ของการแก้ไขปัญหาเขตแดนที่น่าสนใจมากเนื่องด้วยเป็นการแก้ไขปัญหาตามหลักการ“ไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้เปรียบซึ่งกันและกัน(No Gain No Loss)”เพราะนอกจากจะไม่กระทบความสัมพันธ์ระหว่างไทย-มาเลเซียแล้วนั้นยังไม่ก่อให้เกิดการต่อต้านหรือสร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนในบริเวณดังกล่าวอีกด้วย(ดูรายละเอียดในอรอนงค์ทิพย์พิมลและธนศักด์สายจำาปา,2554,หน้า58-66) ดังนั้น การจัดทำาหลักเขตแดนทางบกระหว่างไทยกับมาเลเซียจึงนับได้ว่าดำาเนินการแล้วเสร็จเกือบสมบูรณ์แล้วยกเว้นบริเวณหลักเขตที่ 69-72 บนเขาเยลีหรือบริเวณต้นน้ำาของแม่น้ำาโก-ลก ซึ่งทางฝ่ายไทยและมาเลเซียยังไม่สามารถตกลงกันได้ในจุดที่จะปักหลักเขตแดนในหลักที่70และ71ทำาให้ทั้งสองฝ่ายยังไม่สามารถให้สัตยาบันรับรองเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ในยคุทีส่ามไมไ่ดม้กีารปกัปนัเขตแดนและจดัทำาหลกัเขตแดนทางบกเพิม่เตมิแตม่กีารดำาเนนิการสำารวจซอ่มแซมบำารุงรักษาและสร้างหลักเขตแดนทดแทนหลักเขตแดนที่ชำารุดเสียหายถูกทำาลายหรือตั้งไม่ตรงตำาแหน่งซึ่งได้ดำาเนินการมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2536(ค.ศ. 1993)จนถึงปัจจุบัน สำาหรับการกำาหนดเส้นเขตแดนทางบกโดยใช้ร่องน้ำาลึกของแม่น้ำาโก-ลกเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซียนั้นเนือ่งจากแมน้่ำาโก-ลกมคีวามเชีย่วกรากและมกีารเปลีย่นทางเดนิน้ำาอยา่งตอ่เนือ่งโดยเฉพาะในชว่งหนา้น้ำาหลากและบรเิวณที่แม่น้ำาไหลลงสู่อ่าวไทยทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและไม่ชัดเจนของเส้นเขตแดนคณะกรรมการการจัดทำาหลักเขตแดนร่วมไทย-มาเลเซีย( Joint Thailand – Malaysia Land Boundary Committee: LBC) ได้ประชุมและตกลงร่วมกันที่จะสำารวจและจัดทำาเขตแดนคงที่(fixed boundary)บริเวณริมแม่น้ำาโก-ลกทั้งสองฝั่งเมื่อปีพ.ศ. 2536(ค.ศ. 1993)และได้มีการจัดทำาแผนแม่บทและข้อกำาหนดอำานาจหน้าที่ในการสำารวจและปักปันเขตแดนแบบคงที่ตามลำาน้ำาโก-ลก โดยได้เริ่มการสำารวจในปีงบประมาณพ.ศ. 2543(ค.ศ. 2000)และได้ดำาเนินการแล้วเสร็จในปีพ.ศ. 2553(ค.ศ. 2010)โดยได้มีการจัดทำาหลักอ้างอิงเขตแดนและหลักอ้างอิงเสริมในสองข้างฝั่งแม่น้ำาโก-ลกจำานวนอย่างละ1,550หลักหรือ1,550แนว

การกำาหนดเส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทย - มาเลเซีย ในสว่นของเขตแดนทางทะเลระหวา่งไทย-มาเลเซยีนัน้เปน็ผลสบืเนือ่งโดยตรงจากการปกัปนัเขตแดนทางบกเนือ่งดว้ยการปกัปนัเขตแดนทางทะเลไดใ้ชห้ลกัเขตแดนทางบกตามสญัญาวา่ดว้ยเขตแดนฯบรเิวณ“ตัง้แตร่มิทเลทีฝ่ัง่เหนอืของปากน้ำาปลศิ...ตอ่ไปตามแนวกลางลำาน้ำาโกลกจนถงึทเลทีต่ำาบลปากน้ำาตะไบ”ดงันัน้การกำาหนดเขตแดนทางทะเลฝัง่อนัดามนัจงึถอืเอาหลกัเขตแดนหลกัที่1ระหวา่งไทย-มาเลเซยีเปน็จดุเริม่ตน้ของเขตแดนทางทะเลในขณะทีฝ่ัง่อา่วไทยใชจ้ดุทีแ่มน่้ำา

Page 4: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

546 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

การเปลี่ยนทางเดินน้ำาของแม่น้ำาโก-ลก บริเวณอำาเภอตากใบ หรือปากน้ำาตาบา

โก-ลกไหลลงสูอ่า่วไทยเปน็จดุเริม่ตน้ของเขตแดนทางทะเลซึง่ความมุง่ประสงคห์ลกัของการปกัปนัเขตแดนตามสนธสิญัญาสยาม-องักฤษค.ศ. 1909นัน้มขีึน้เพือ่กำาหนดเขตแดนทางบกเปน็สำาคญัดงันัน้เสน้เขตแดนบรเิวณปากแมน่้ำาโก-ลกจงึกลา่วถึงเพียงว่า“...ถือเอาร่องน้ำาลึกของแม่น้ำาโก-ลกเป็นเส้นเขตแดนจนบรรจบทะเลเปิด...”ซึ่งหากพิจารณาจากแผนที่แนบท้ายสัญญาแล้วนั้นจะพบว่าแม่น้ำาโก-ลกได้ไหลขึ้นไปทางเหนือตามแนวสันทรายที่ทอดยาวมาจากฝั่งมาเลเซียเส้นเขตแดนจะทอดยาวตามร่องน้ำาลึกระหว่างสันทรายกับฝั่งขึ้นไปประมาณ4กิโลเมตรแล้วจึงวกไปทางตะวันออกไปบรรจบกับทะเลเปิดหรืออ่าวไทยในแนวตั้งฉากกับฝั่ง ต่อมาภายหลังแม่น้ำาโก-ลกได้เจาะทะลุออกไปบรรจบอ่าวไทยโดยไม่หักขึ้นไปทางเหนือตามแนวเดิมอีก3 หากแต่ในระหว่างการปักปันเขตแดนนั้นมาเลเซียยังคงยึดเส้นเขตแดนปากแม่น้ำาโก-ลกตามแนวเดิมคือประมาณเส้นตั้งฉากกับฝั่งบริเวณหน้าที่ว่าการอำาเภอตากใบและมีการจับกุมเรือไทยที่เข้าไปจับปลาเหนือปากแม่น้ำาโก-ลกตามแนวลำาน้ำาใหม่เนื่องด้วยมาเลเซียยังคงถือว่าพื้นที่บริเวณดังกล่าวยังคงเป็นอาณาเขตของมาเลเซีย รวมถึงตลอดลำาน้ำาโก-ลก จนกระทั่งถึงหน้าที่ว่าการอำาเภอตากใบ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวได้นำาไปสู่การเจรจาเรื่องเส้นเขตแดนทางทะเลบริเวณปากแม่น้ำาโก-ลก และต่อเนื่องออกไปในทะเลอาณาเขตและเขตไหล่ทวีปดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวทางการไทยและมาเลเซียจึงได้จัดให้มีการประชุมร่วมกันขึ้นเมื่อวันที่ 5-6กันยายนพ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972)ณกระทรวงการต่างประเทศกรุงเทพมหานครบรรยากาศการเจรจาเป็นไปด้วยดีและยังผลให้การเจรจาดังกล่าวสามารถบรรลุข้อตกลงร่วมกันกล่าวคือมาเลเซียตกลงยอมเลื่อนเส้นเขตแดนบริเวณปากแม่น้ำาโก-ลกเดิมลงมาที่ปากแม่น้ำาโก-ลกใหม่ (เลื่อนลงมาประมาณ4กิโลเมตรหรือบริเวณTransit Point B) โดยทั้งสองฝ่ายตกลงที่จะกำาหนดเส้นเขตแดนในทะเลอาณาเขตตลอดความกว้างและในเขตไหล่ทวีปด้วย โดย

Page 5: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 547

ตกลงวา่จะลากเสน้เขตแดนดว้ยเสน้มธัยะแตม่าเลเซยีมขีอ้แมว้า่เสน้มธัยะในเขตไหลท่วปีตอ้งเริม่จากปากแมน่้ำาโก-ลกเดมิเพราะมาเลเซียจะยอมให้เฉพาะเส้นเขตแดนในทะเลอาณาเขตเท่านั้นที่จะเริ่มจากปากแม่น้ำาโก-ลกใหม่ ฝ่ายไทยตรวจสอบแล้วเห็นว่ารับได้ตามเงื่อนไขที่มาเลเซียกำาหนด จากเงื่อนไขดังกล่าวส่งผลให้เส้นเขตแดนทางทะเลระหว่างไทย-มาเลเซียมีขยักบริเวณทะเลอาณาเขตไม่ได้เป็นเส้นตรงไปตลอดจนถึงเขตไหล่ทวีป(ดูรายละเอียดในถนอมเจริญลาภ,2550,หน้า34)จนประเด็นดังกล่าวได้นำาไปสู่พื้นที่ทับซ้อนในทะเลฝั่งอ่าวระหว่างไทยกับมาเลเซียประมาณ7,520ตารางกิโลเมตรและกลายเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมในท้ายที่สุด

2. พื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย(Malaysia-Thailand Joint Development Area: MTJDA)

ประเทศไทยมีความยาวของฝั่งทะเลรวมทั้งสิ้น3,010กิโลเมตรประกอบด้วยฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยยาว581กิโลเมตรฝั่งทะเลด้านตะวันตกของอ่าวไทยยาว1,391.5กิโลเมตรและฝั่งทะเลด้านทะเลอันดามันยาว1,037.5กิโลเมตรประเทศไทยมีเขตแดนทางทะเลติดต่อกับ6ประเทศคือกัมพูชาเวียดนามมาเลเซียอินโดนีเซียอินเดียและพม่า ตามลักษณะของอาณาเขตที่ติดต่อกัน คือเป็นรัฐที่อยู่ประชิดกันหรือเป็นรัฐที่อยู่ตรงข้ามกัน ในบริเวณอ่าวไทยนั้นประเทศไทยมเีขตแดนทางทะเลอยูป่ระชดิกบัประเทศกมัพชูาและมาเลเซยีสว่นเขตแดนทีอ่ยูต่รงขา้มไดแ้ก่ประเทศเวยีดนามและบางส่วนของประเทศกัมพูชาเส้นเขตแดนในอ่าวไทยเริ่มต้นที่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาบริเวณบ้านหาดเล็กผ่านจุดต่างๆ ที่ไทยได้ประกาศเส้นเขตไหล่ทวีปไว้ ไปบรรจบกับจุดเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซีย บริเวณอำาเภอตากใบ จังหวัดนราธวิาสดา้นทะเลอนัดามนัประเทศไทยมอีาณาเขตทางทะเลประชดิกบัประเทศมาเลเซยีและพมา่มอีาณาเขตทางทะเลอยู่ตรงข้ามกับประเทศอินโดนีเซียอินเดียและบางส่วนของพม่า(ราชบัณฑิตยสถาน,2545,หน้า53)ดังนั้นในตอนต้นของส่วนนี้จึงขอกล่าวถึงฐานที่มาและพัฒนาการของกฎหมายทะเลที่ใช้เป็นกฎหมายหลักในการปักปันเขตแดนทางทะเลเพื่อให้เหน็ถงึขอ้กำาหนดกฎเกณฑต์า่งๆอนัเกีย่วเนือ่งกบัการปกัปนัเขตแดนทางทะเลระหวา่งไทย-มาเลเซยีและเปน็พืน้ฐานตอ่การทำาความเข้าใจการปักปันเขตแดนทางทะเลและอาณาเขตทางทะเลทับซ้อนกันซึ่งท้ายที่สุดสามารถยุติข้อพิพาทดังกล่าวด้วยการเจรจาความร่วมมืออันนำาไปสู่พืน้ที่พฒันารว่มไทย-มาเลเซยี(Malaysia-Thailand Joint Development Area: JDA)ในท้ายที่สุด การประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยกฎหมายทะเลมีจุดเริ่มต้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยองค์การสันนิบาตชาติ(League of Nations)ได้จัดการประชุมเกี่ยวกับกฎหมายทะเลขึ้นเป็นครั้งแรกระหว่างวันที่13มีนาคม - 12เมษายนพ.ศ. 2446(ค.ศ. 1903)ณกรงุเฮกประเทศเนเธอรแ์ลนด์หากแตไ่มส่ามารถหาขอ้ยตุเิกีย่วกบัความกวา้งของทะเลอาณาเขตและควรมีเขตต่อเนื่องจากทะเลอาณาเขตหรือไม่ จนกระทั่งภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 องค์การสหประชาชาติที่ก่อตั้งขึ้นทดแทนองค์การสันนิบาตชาติจึงได้ดำาเนินการในเรื่องดังกล่าว โดยได้จัดให้มีการประชุมองค์การสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลครั้งที่1(The First United Conference on the Law of the Sea: UNCLOS I) ขึ้นณกรุงเจนีวาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ระหว่างวันที่24กุมภาพันธ์– 28เมษายนพ.ศ. 2501(ค.ศ. 1958)มีผู้แทนจาก86ประเทศเข้ารว่มประชมุซึง่ทีป่ระชมุไดเ้ลอืกหวัหนา้คณะผูแ้ทนไทยคอืพลตรีพระเจา้วรวงศเ์ธอกรมหมืน่นราธปิพงศป์ระพนัธ์(พระองค์วรรณ)รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้นเป็นประธาน ผลจากการประชมุองคก์ารสหประชาชาตวิา่ดว้ยกฎหมายทะเลครัง้ที่ 1นำามาซึง่การใหค้วามเหน็ชอบและการลงนามเพื่อรับหลักการของอนุสัญญา4ฉบับที่เรียกรวมว่า“อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958” (The United Nations Convention on the Law of the Sea of 1958 : UNCLOS 1958) ประกอบด้วย 1)อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง 2)อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง 3)อนุสัญญาว่าด้วยการประมงและการอนุรักษ์ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง และ4)อนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป แตย่งัคงไมส่ามารถตกลงกนัไดใ้นประเดน็ความกวา้งของทะเลอาณาเขตและเขตประมงเนือ่งดว้ยสมาชกิทีเ่ขา้รว่ม

Page 6: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

548 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

เขตแดนทางทะเลของไทยบริเวณอ่าวไทยและพิื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย (ที่มา : Jonathan I. Charney, 1996, หน้า 1104)

ประชมุมกีารเสนอความเหน็เกีย่วกบัความกวา้งของทะเลอาณาเขตทีแ่ตกตา่งหลากหลายตัง้แตข่อใหค้วามกวา้งเดมิทีเ่คยใช้กันมาแต่โบราณคือ3ไมล์ทะเลจนกระทั่งขอขยายออกไปถึง200ไมล์ทะเลซึ่งประเด็นดังกล่าวได้ถูกหยิบยกมาพิจารณาอีกครั้งในการประชุมองค์การสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลครั้งที่2แต่ก็ยังคงไม่สามารถมีข้อยุติเกี่ยวกับความกว้างของทะเลอาณาเขตและเขตประมงอีกเช่นเคย(ดูรายละเอียดในศรัณย์เพ็ชร์พิรุณ,2549,หน้า77-80)ซึ่งประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาทั้ง4ฉบับเมื่อวันที่29เมษายนพ.ศ. 2501(ค.ศ. 1958)และได้ให้สัตยาบันเมื่อวันที่23พฤษภาคมพ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) โดยได้มอบสัตยาบันสารต่อเลขาธิการองค์การสหประชาชาติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคมพ.ศ. 2511(ค.ศ. 1968) จากปัญหาที่ไม่มีข้อยุติเกี่ยวกับการกำาหนดความกว้างของทะเลอาณาเขต อีกทั้งบทบัญญัติบางมาตราขาดความแน่นอนทำาให้มีปัญหาในการตีความอนุสัญญากรุงเจนีวาค.ศ. 1958โดยแต่ละรัฐต่างตีความเพื่อความสมประโยชน์ของตนให้มากที่สุดประกอบกับในช่วงทศวรรษ1960ได้มีประเทศเกิดใหม่หลายประเทศโดยเฉพาะประเทศมหาอำานาจใหม่อย่างสาธารณรัฐประชาชนจีนประเทศต่างๆเหล่านี้ส่วนใหญ่ไม่ยอมเข้าเป็นภาคีของอนุสัญญากรุงเจนีวาค.ศ. 1958ทั้ง4ฉบบัเพราะเหน็วา่ตนไมม่สีว่นเกีย่วขอ้งในการรา่งอนสุญัญาฯและเนือ้หาของอนสุญัญาฯดงักลา่วมุง่ทีจ่ะพทิกัษผ์ลประโยชน์ของประเทศมหาอำานาจและประเทศทีม่กีำาลงัทางเรอืมากกวา่ประเทศกำาลงัพฒันาและประเทศดอ้ยพฒันาดงัจะเหน็จากการที่ชาติใหญ่พยายามกำาหนดทะเลอาณาเขตให้แคบเพื่อที่จะได้มีทะเลหลวงกว้างไว้สำาหรับการเดินเรือและการประมงซึ่งชาติเล็กย่อมเสียเปรียบเนื่องจากขาดเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ดังนั้น หลายประเทศจึงเริ่มเรียกร้องอย่างจริงจังให้มีการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายทะเลในรูปอนุสัญญาระหวา่งประเทศเสยีใหม่(ศรณัย์เพช็รพ์ริณุ,2549,หนา้80-81)หากแตใ่นการประชมุองคก์ารสหประชาชาตวิา่ดว้ยกฎหมายทะเลครั้งที่2(UNCLOS II)ก็ยังคงไม่สามารถบรรลุข้อตกลงในประเด็นความกว้างของทะเลอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจ

Page 7: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 549

จำาเพาะจากปัญหาดังกล่าวในการประชุมองค์การสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลครั้งที่3(UNCOLS III)ที่ประชุมสมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติจึงมีข้อมติที่2340(XXII) เมื่อวันที่18ธันวาคมพ.ศ. 2510(ค.ศ. 1967)รับรองข้อเสนอของรฐับาลประเทศมอลตาทีข่อใหม้กีารปรบัปรงุกฎหมายทะเลโดยยดึหลกัพืน้ฐานทีว่า่“ทรพัยากรธรรมชาตบิรเิวณพืน้ท้องทะเลและก้นมหาสมุทรเป็นมรดกร่วมกันของมนุษยชาติ (common heritage of mankind)” การประชุมองค์การสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลครั้งที่ 3 (UNCLOS III) ได้ดำาเนินการต่อเนื่องเป็นระยะเวลาประมาณ9ปีคือระหว่างปีพ.ศ. 2516-25(ค.ศ. 1973-82)รวมทั้งสิ้น11สมัยประชุมในที่สุดที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบและรับรองร่างอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลพ.ศ. 2525(ค.ศ.1982)(The United Nations Convention on the Law of the Sea of 1982)ในสมัยประชุมที่11ณนครนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริการะหว่างวันที่22-24กันยายนพ.ศ. 2525(ค.ศ. 1982)โดยกำาหนดให้เปิดลงนามอนุสัญญาฯระหว่างวันที่6-10ธันวาคมพ.ศ. 2525(ค.ศ. 1982)ณเมืองมองเตโกเบย์ประเทศเจเมกามีผู้แทน119ประเทศร่วมลงนาม(ศรัณย์เพ็ชร์พิรุณ,2549,หน้า81-82)ในส่วนของประเทศไทยนั้นได้ลงนามเมื่อวันที่10ธันวาคมพ.ศ. 2525(ค.ศ. 1982)หากแต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญาฯดังกล่าว ในขณะที่มาเลเซียได้ลงนามเมื่อวันที่ 10 ธันวาคมพ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) เช่นกัน และได้ให้สัตยาบันเมื่อวันที่14ตุลาคมพ.ศ. 2539(ค.ศ. 1996) ภายใต้พัฒนาการของกฎหมายทะเลและการพัฒนาเศรษฐกิจจึงทำาให้รัฐแต่ละรัฐมุ่งแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลเพื่อนำามาใช้ในการพัฒนาประเทศในแต่ละด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากปีพ.ศ. 2503(ค.ศ. 1960) เมื่อสหรัฐอเมริกามีการค้นพบปิโตรเลียมมูลค่ามหาศาลในเขตไหล่ทวีปบริเวณอ่าวเม็กซิโก ประกอบกับการที่อินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศเพื่อนบ้านของไทยและมาเลเซียก็ได้มีการสำารวจและค้นพบน้ำามันในเขตไหล่ทวีป ด้วยเหตุนี้ ยิ่งทำาให้ไทยและมาเลเซียมีความตื่นตัวและสนใจอย่างจริงจังที่จะขยายสิทธิครอบครองปิโตรเลียมในพื้นที่เขตไหล่ทวีปของตนเองบ้างเช่นเดียวกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตไหล่ทวีปทางด้านอ่าวไทยเพราะอ่าวไทยมีลักษณะทางธรณีวิทยาเหมาะสมที่จะเป็นแหล่งกำาเนดิปโิตรเลยีมดงันัน้ในประการแรกไทยและมาเลเซยีจงึไดด้ำาเนนิการโดยการกำาหนดอธปิไตยเหนอืเขตไหลท่วปีของตนบรเิวณอา่วไทยตอ่จากนัน้ทัง้สองประเทศกไ็ดใ้หส้ทิธแิกบ่รษิทัปโิตรเลยีมเขา้มาดำาเนนิการสำารวจและผลติปโิตรเลยีมในเขตไหลท่วปีในอา่วไทยทีไ่ดก้ำาหนดไว้โดยทีก่ารแบง่เขตแดนในทะเลอาณาเขตระหวา่งไทยกบัมาเลเซยียงัมไิดม้กีารเจรจาทำาความตกลงกันอย่างเป็นทางการเลย(ดลยาเทียนทอง,2545,หน้า17)หากแต่เมื่อมีการสำารวจเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยกับมาเลเซียกลับพบว่ามีพื้นที่เขตไหล่ทวีปทับซ้อนกันในบริเวณอ่าวไทย จนกระทั่งทำาให้ทั้งไทยและมาเลเซียต้องสั่งให้บริษัทที่ได้สิทธิในการสำารวจและผลิตปิโตรเลียมระงับการดำาเนินการไว้จนกว่าการเจรจาเพื่อปักปันเขตแดนดังกล่าวจะแล้วเสร็จ ดว้ยเหตดุงักลา่วจงึนำามาซึง่การประชมุเจรจาเพือ่หาแนวทางในการแกไ้ขปญัหาดงักลา่วในหลายครัง้แตก่ย็งัคงไม่สามารถหาขอ้ยตุลิงตวัรว่มกนัได้ยงัผลใหก้ารดำาเนนิการสำารวจและผลติปโิตรเลยีมลา่ชา้ไปดว้ยดงันัน้ทางมาเลเซยีจงึไดม้ีขอ้เสนอวา่ควรจะหาทางทำาความตกลงกนัเพือ่แสวงหาทรพัยากรรว่มกนัหรอืการพฒันาพืน้ทีร่ว่มกนันัน่เองสว่นในเรือ่งการกำาหนดเส้นเขตแดนนั้นเป็นเรื่องที่ควรพักไว้ก่อนซึ่งฝ่ายไทยก็เห็นด้วยกับข้อเสนอดังกล่าวเพราะฉะนั้นจึงเท่ากับว่าการใช้วิธีการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรร่วมกันดังกล่าวเป็นการสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกันและลดความขัดแย้งระหว่างกันไว้ชั่วคราว และที่สำาคัญจะทำาให้ทั้งสองประเทศสามารถที่จะนำาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซธรรมชาติมาใช้ได้อยา่งเปน็รปูธรรมโดยไมต่อ้งเสยีเวลารอใหก้ารแบง่เขตไหลท่วปีในสว่นทีท่บัซอ้นเสรจ็สิน้กอ่นนำามาซึง่การลงนามในบนัทกึความเข้าใจระหว่างดาโต๊ะ ฮุสเซ็น ออนน์ นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย กับพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ นายกรัฐมนตรีไทยเมื่อวันที่ 21กุมภาพันธ์พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) เพื่อจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณที่กำาหนดของไหล่ทวีปของประเทศทั้งสองในอ่าวไทย(ดูรายละเอียดในดลยาเทียนทอง,2545,หน้า83-87)ดังปรากฏเป็นพื้นที่สามเหลี่ยมบริเวณอ่าวไทย ปัญหาที่เกิดขึ้นในบริเวณพื้นที่พัฒนาร่วมนั้น มีสาเหตุเนื่องจากทั้งไทย มาเลเซีย กัมพูชา และเวียดนามต่างก็ประกาศเขตไหล่ทวีป (มีพิกัด) และเขตเศรษฐกิจจำาเพาะ (ระยะทาง 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐานโดยไม่พิกัด-Maximum Claim) ซึ่งการประกาศเขตทั้งสองทำาให้มีพื้นที่ทับซ้อนกัน โดยเฉพาะเขตเศรษฐกิจจำาเพราะมีพื้นที่ทับซ้อนกันมากจนไม่มีประเทศใดยอมรับได้ จึงยอมรับเขตไหล่ทวีปเป็นเขตน่านน้ำาในการแสวงประโยชน์ ซึ่งก็ยังมีปัญหาเพราะเขตไหล่ทวีปยังซ้อนทับกันอยู่ สำาหรับด้านไทย-มาเลเซียได้มีการเจรจาตกลงกันได้แล้วเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นพื้นที่สามเหลี่ยมทางด้าน

Page 8: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

550 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

ตะวันออกของจังหวัดนราธิวาสที่ยังเป็นปัญหาอยู่ไทยกับมาเลเซียจึงทำาความตกลงกันเป็นการชั่วคราวโดยเรียกพื้นที่นี้ว่า “พื้นที่พัฒนาร่วม”แสวงผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นดินใต้ทะเลร่วมกัน(ไกรสรทิมเจริญ,2539,หน้า26) แม้ว่ามาเลเซียและไทยจะมีปัญหาการอ้างสิทธิ์ทับซ้อนในพื้นที่เขตแดนทางทะเลอันเนื่องมาจากสภาพทางด้านภูมิศาสตร์ที่ซับซ้อนแต่ทั้งสองฝ่ายใช้วิธีการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ด้วยการเจรจา(Charney and Alexander (eds.), 1996A, p. 1093)ในรายงานของสมาคมกฎหมายนานาชาตแิหง่อเมรกิาซึง่ไดต้พีมิพร์ายงานเกีย่วกบัเขตแดนทางทะเลของประเทศตา่งๆทัว่โลกไดว้เิคราะหว์า่ในการเจรจาเรือ่งเขตแดนทางทะเลนัน้มาเลเซยีดเูหมอืนจะใจกวา้งกบัไทยอยา่งยิง่แตไ่มแ่นช่ดัวา่เพราะเหตุใด(Charney and Alexander (eds.), 1996B, p. 1449) การแกป้ญัหาขอ้พพิาททางดา้นเขตแดนทางทะเลทีไ่มส่ามารถตกลงกนัไดด้ว้ยการเจรจาโดยใหพ้ืน้ทีอ่า้งกรรมสทิธิ์ทับซ้อนดังกล่าวเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมระหว่างไทยกับมาเลเซียดังที่ได้กล่าวไปแล้วนั้นเป็นข้อตกลงในการแก้ปัญหาด้วยการตกลงใหเ้ปน็พืน้ทีพ่ฒันารว่มกนัทีเ่กดิขึน้เปน็ฉบบัแรกทีเ่กดิขึน้ระหวา่งประเทศในองคก์รอาเซยีนหลงัจากนัน้มาเลเซยีไดจ้ดัทำาขอ้ตกลงความรว่มมอืในลกัษณะเดยีวกนันีก้บัฟลิปิปนิสแ์ละเวยีดนามเพือ่แกป้ญัหาพืน้ทีอ่า้งกรรมสทิธิท์บัซอ้นทางทะเล(Forbes, 2001, p. 173)

3. ปัจจัยและเงื่อนไขแห่งความสำาเร็จในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย - มาเลเซีย

การปักปันและจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียที่กล่าวได้ว่ามีความก้าวหน้าและประสบความสำาเร็จมากที่สุดในการจัดทำาหลักเขตแดนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งสี่ด้านนั้นเกิดจากเหตุปัจจัยหลายประการได้แก่

ความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซียเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่31สิงหาคมพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)ซึ่งมีอายุเท่ากับประเทศมาเลเซียนั่นย่อมสะท้อนให้เห็นว่าประเทศเพื่อนบ้านทั้งสองที่มีพรมแดนติดกันนี้มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันตั้งแต่มาเลเซียเป็นเอกราชแต่ความสัมพันธ์ระหว่างสองรัฐนั้นสามารถสืบย้อนไปได้ยาวไกลกว่าปทีีม่าเลเซยีไดร้บัเอกราชจากองักฤษนัน่คอืตัง้แตค่วามสมัพนัธใ์นยคุรฐัจารตีระหวา่งรฐัไทยกบัมลายใูนชว่งครสิตศ์ตวรรษที่17ถึงต้นศตวรรษที่20ที่กอบเกื้อสุวรรณทัต-เพียนเสนอว่าเป็นความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการหรือความสัมพันธ์ในแบบประเทศราช(Kobkua Suwannathat-Pian, 1986)และต่อมาก็เป็นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามกับสหพันธรัฐมลายูในการปกครองของอังกฤษที่มีขึ้นก่อนหน้าที่จะเกิดประเทศมาเลเซียก็เป็นไปด้วยความราบรื่นโดยเฉพาะช่วงที่มีการปักปันเขตแดนระหว่างรัฐสยามกับสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2453-55 (ค.ศ. 1910-12) โดยการทำางานร่วมกันของคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนของสยามกับอังกฤษตัวแทนจากสยามและอังกฤษทำางานร่วมกันอย่างดีอย่างมีมิตรไมตรีต่อกัน จากรายงานของนายร้อยเอก หลวงรณรัฐวิภาคกิจซึ่งได้เป็นกองข้าหลวงปักปันเขตแดนของสยามในคราวไปปักปันเขตแดนเมื่อรศ. 130-131หรือเมื่อปีพ.ศ. 2454-55(ค.ศ. 1911-12)ความตอนหนึ่งว่า

“กองข้าหลวงฝ่ายอังกฤษได้เดินทางมาถึง มิศเตอร์ดับยูเอ.ดี.เอ็ดเวิดสเป็นหัวน่ามาในการนี้ แลมีแขกแมะยิดเจ้าพนักงานฝ่ายเกษตรข้างเมืองเคดา (ไทรบุรี) มาด้วย มิศเตอร์เอ็ดเวิดสผู้นี้อายุประมาณ 30 ปี พูดภาษาไทยได้ ด้วยเคยรับราชการอยู่กรมแผนที่บางกอก เป็นผู้ที่มีอัฒยาไศรยดี ใจคอโอบอ้อมและซื่อสัตย์มั่นคง ชอบคุยสนุกดิ์อย่างผู้ดี เมื่อรับราชการอยู่กรุงเทพฯ ไม่คุ้นเคยกับข้าพเจ้า แต่เมื่อได้พบกันคราวนี้แสดงกิริยาเหมือนอย่างได้คุ้นเคยกันมาแล้วอย่างสนิท”

(กองจดหมายเหตุแห่งชาติ)

การเสด็จพระราชดำาเนินเยือนสหพันธรัฐมาเลเซียของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเมื่อวันที่20-27มิถุนายนพ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962)ถือเป็นการเสด็จพระราชดำาเนินเยือนมาเลเซียอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการของประเทศทั้งสองและหลังจาก

Page 9: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 551

นั้นพระราชวงศ์ไทยได้เสด็จพระราชดำาเนินเยือนมาเลเซียรวมทั้งสิ้น10ครั้งนับจากปีพ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962)ถึงปีพ.ศ. 2544(ค.ศ. 2001)ขณะทีส่มเดจ็พระรามาธบิดมีาเลเซยีและพระราชวงศก์ไ็ดเ้สดจ็พระราชดำาเนนิเยอืนประเทศไทยรวมทัง้สิน้6ครั้งนับจากปีพ.ศ. 2507(ค.ศ. 1964)ถึงปีพ.ศ. 2549(ค.ศ.2006)นอกจากนี้ยังมีการผลัดกันเดินทางไปเยือนประเทศทัง้สองระหวา่งนายกรฐัมนตรีเอกอคัรราชทตูและเจา้หนา้ทีใ่นระดบัตา่งๆอยูเ่ปน็ประจำาสม่ำาเสมอ(Measures, 2007, p. 64, 150-159) นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐแล้ว ความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างผู้นำาก็ส่งผลต่อความสำาเร็จในการจัดทำาหลักเขตแดนหรือการแก้ปัญหาด้วยสันติ ดังเช่นที่ทำาให้การเจรจาแก้ไขข้อพิพาทในบริเวณพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยได้ข้อสรปุวา่ไทยกบัมาเลเซยีจะใชพ้ืน้ทีท่บัซอ้นดงักลา่วนัน้เปน็พืน้ทีพ่ฒันารว่มกนัระหวา่งไทยกบัมาเลเซยีความสำาเรจ็ดงักลา่วนี้ พลเรือเอก ถนอมเจริญลาภได้แสดงความเห็นไว้ว่า

“ปจัจยัทีท่ำาใหก้ารเจรจาพืน้ทีพ่ฒันารว่มระหวา่งไทยกบัมาเลเซยีประสบความสำาเรจ็ คอืความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างนายกรัฐมนตรีมาเลเซียกับนายกรัฐมนตรีไทย พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นเคยเป็นหัวหน้าคณะปักปันเขตแดนทำาให้ได้รู้จักกับฮุสเซน ออน ซึ่งในขณะนั้นได้ดำารงตำาแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ทั้งสองท่านจึงได้มีความคุ้นเคยกันในทางส่วนตัว และทั้งสองท่านได้นัดคุยกันในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979)”

(สัมภาษณ์พลเรือเอก ถนอม เจริญลาภ, 20 สิงหาคม 2554)

สถานการณ์ทางการเมืองภายในและระหว่างประเทศ สถานการณท์างการเมอืงในประเทศกส็ง่ผลตอ่การเจรจาจดัทำาหลกัเขตแดนดงัเชน่กรณกีารเจรจาระหวา่งคณะเจรจาทางดา้นเขตแดนทางทะเลของทัง้สองประเทศในเดอืนกนัยายนป ีพ.ศ. 2515(ค.ศ. 1972)เปน็ไปดว้ยดีการเจรจามคีวามคบืหนา้อยา่งยิง่ซึง่การเจรจาไดข้อ้สรปุเกีย่วกบัการทีท่างการไทยอา้งสทิธใินเกาะโลซนิโดยทางมาเลเซยียอมรบัใหม้กีารบนัทกึวา่ประเทศไทยไดอ้า้งสทิธทิะเลอาณาเขตของไทยโดยยดึจากเกาะโลซนิซึง่หมายความวา่คณะเจรจาฝา่ยไทยยนืยนัวา่เขตแดนของไทยคอืเสน้เขตลา่งของพืน้ทีท่บัซอ้นแมว้า่จะไมไ่ดม้กีารตกลงกนัไดห้รอืไดข้อ้สรปุแตก่น็บัไดว้า่มคีวามกา้วหนา้ซึง่เปน็ประโยชน์ต่อประเทศไทยในภายหลังโดยที่ประชุมได้สรุปว่าจะมีการเจรจากันครั้งต่อไปในปีพ.ศ. 2516(ค.ศ. 1973)ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียกล่าวได้ว่าบรรยากาศในการเจรจาเมื่อปีพ.ศ. 2515(ค.ศ. 1972)เป็นไปอย่างราบรื่นเพราะไมม่ปีญัหาทางดา้นการเมอืงระหวา่งประเทศรวมถงึไมม่ปีญัหาทางดา้นการเมอืงภายในประเทศของประเทศทัง้สองทีจ่ะเปน็อุปสรรคต่อการเจรจา(สัมภาษณ์พลเรือเอก ถนอมเจริญลาภ,20สิงหาคม2554)

“พอถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) มาเลเซียได้เตือนและเชิญไทยให้ไปเจรจากันต่อ ซึ่งทางคณะผู้เจรจาของประเทศไทยต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและอื่นๆ ประมาณ 5 หมื่นกว่าบาท แต่ปรากฏว่า ณ วันนั้นกำาลังเป็นช่วงสิ้นปีงบประมาณพอดี ที่หน่วยงานจะต้องส่งเงินคืนไปยังกระทรวงการคลัง ทำาให้ไม่ได้ไปเพราะไม่มีเงินไม่มีงบประมาณ และหลังจากนั้นได้เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 (ค.ศ. 1973) ในประเทศไทยเสียก่อน การเจรจาจึงหยุดไป ซึ่งทำาให้เกิดความเสียหายเป็นร้อยล้านแก่ประเทศไทยจากการที่ไม่สามารถเดินทางไปเจรจาในปีนั้นได้”

สัมภาษณ์พลเรือเอก ถนอม เจริญลาภ, 20 สิงหาคม 2554)

ประเทศไทยเพิ่งกลับมาตั้งหลักได้ในสมัยรัฐบาลของม.ร.ว. คึกฤทธิ์ปราโมชและเมื่อถึงสมัยรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ชมะนันทน์เมื่อปีพ.ศ. 2521(ค.ศ. 1978)เราก็ติดต่อมาเลเซียให้มีการเจรจากันเรื่องเขตแดนทางทะเลในขณะนัน้มาเลเซยีไมพ่รอ้มเจรจาเนือ่งจากมปีญัหาภายในประเทศแตอ่ยา่งไรกต็ามกไ็ดม้กีารเจรจากนัในปีพ.ศ. 2521(ค.ศ. 1978)พลเรือเอก ถนอมเจริญลาภหนึ่งในคณะเจรจาของฝ่ายไทยได้อธิบายให้ฟังว่า

Page 10: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

552 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

“ในปี 2521 มีการประชุมกันที่มาเลเซีย ตกลงกันไม่ได้จนมืดค่ำา ....ถ้าตอนนั้นตกลงแบ่งครึ่งไทยอาจจะตกลงไปแล้ว ในที่สุดจะไม่มีการบันทึกอะไรเลย แต่ไทยบอกว่าไม่ได้ ให้ทั้งสองฝ่ายบันทึกลงไปว่าทั้งสองฝ่าย claim ว่าอย่างไร เราก็บอกว่าถ้าอย่างนั้นเราไม่เอานะเส้นนี้ เราจะเอาเส้นที่เรา claim ไว้เดิม ในเมื่อคุณไม่ให้ effect เกาะโลซิน เราก็จะ claim ทางไทยจึง claim ว่า .... ซึ่งโชคดีมากที่มาเลเซียยอมให้บันทึก effect เกาะโลซิน”

(สัมภาษณ์พลเรือเอก ถนอม เจริญลาภ, 20 สิงหาคม 2554)

จะเห็นได้ว่าสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละประเทศส่งผลต่อการเจรจาเรื่องเขตแดนของทั้งสองประเทศ หากสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศสงบเรียบร้อยก็จะทำาให้การเจรจาเป็นไปได้อย่างราบรื่น แต่ถ้าหากเกิดวิกฤตภายในประเทศดังเช่นช่วงหลังเกิดเหตุการณ์14ตุลาคมพ.ศ.2516ก็ทำาให้การเจรจาต้องหยุดชะงักไปแม้ว่าจะไม่ส่งผลต่อการเจรจาโดยตรงแตก่อ็าจทำาใหผ้ลของการเจรจาเปลีย่นไปจากชว่งเวลาทีเ่ปลีย่นไปถา้หากวา่ทางคณะเจรจาของไทยไดเ้ดนิทางไปเจรจาในเดือนกันยายนปีพ.ศ.2516ผลของการเจรจาอาจเป็นอย่างอื่นซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน สถานการณท์างการเมอืงระหวา่งประเทศกส็ง่ผลตอ่การเจรจาและการจดัทำาหลกัเขตแดนเชน่กนัดงัเชน่ในชว่งการจัดทำาเขตแดนทางบกยุคที่สองพ.ศ. 2516-28(ค.ศ. 1973-85)นั้นประเทศมาเลเซียเผชิญหน้ากับการเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาจึงทำาให้ทั้งสองประเทศร่วมมือและตั้งใจที่จะจัดทำาหลักเขตแดนให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากแต่การจัดทำาหลักเขตแดนในยุคนี้มีความยากลำาบาก เพราะต้องทำาประสบกับการถูกซุ่มโจมตีจากพรรคคอมมิวนิสต์มาลายาผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์โจรจีนคอมมิวนิสต์เป็นต้นหรือในบางครั้งคณะทหารผู้ทำาการสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนถูกกบัระเบดิหรอืถกูลอบยงิอกีดว้ย(สมัภาษณอ์ดตีเจา้หนา้ทีป่ฏบิตังิานจดัทำาหลกัเขตแดนไทย-มาเลเซยี,กรมแผนทีท่หารยศปัจจุบันพลตรี,5กันยายน2554)4

เรื่องทางเทคนิคและสภาพภูมิประเทศ นอกจากปจัจยัทางดา้นความสมัพนัธร์ะหวา่งประเทศและสถานการณท์างการเมอืงภายในประเทศไทยกบัมาเลเซยีที่ส่งผลให้การเจรจาเรื่องปัญหาเขตแดนประสบความสำาเร็จแล้วเรื่องทางด้านเทคนิคในการทำางานก็มีความสำาคัญอย่างมากเช่นกันเงื่อนไขอีกประการหนึ่งที่ทำาให้การเจรจาเรื่องการจัดทำาเขตแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียประสบความสำาเร็จคือการที่ทำาใหเ้รือ่งของการเจรจาเปน็เรือ่งของเทคนคิโดยแทจ้รงิหมายความวา่ในการเจรจาเรือ่งเขตแดนนัน้ทัง้สองประเทศพดูคยุกนั ถกเถียงกันโดยวางอยู่บนพื้นฐานของเทคนิค เช่น ยึดตามสนธิสัญญาระหว่างกรุงสยามและอังกฤษในปี พ.ศ. 2452(ค.ศ. 1909),การทำางานโดยคณะผูเ้ชีย่วชาญดา้นแผนทีแ่ละการจดัทำาหลกัเขตแดนและไมม่กีารนำาเอาการเมอืงเขา้ไปเกีย่วขอ้งกับเรื่องเขตแดนทั้งสองฝ่ายมีการตั้งคณะกรรมการเขตแดนร่วมมีการวางแผนการทำางานที่ชัดเจนทางฝ่ายมาเลเซียเองก็ตอ้งการใหเ้กดิความชดัเจนในเสน้เขตแดนและเขตแดนดา้นมาเลเซยีเปน็เขตแดนกบัประเทศดา้นแรกทีไ่ทยเริม่ทำากบัประเทศเพื่อนบ้านหมายความว่าเริ่มสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้นจากการปักปันเขตแดนในสมัยที่สยามทำากับอังกฤษและฝรั่งเศสในขณะที่เขตแดนด้านพม่าเริ่มเมื่อปีพ.ศ. 2531(ค.ศ. 1988)ลาวเริ่มเมื่อปีพ.ศ. 2540(ค.ศ. 1997)และกมัพชูาเริม่ปีพ.ศ. 2543(ค.ศ. 2000)(สมัภาษณอ์ดตีเจา้หนา้ทีป่ฏบิตังิานจดัทำาหลกัเขตแดนไทย-มาเลเซยี,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันเอก,5กันยายน2554) การทำางานสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนมีความยากลำาบากทั้งจากปัญหาความไม่สงบจากกลุ่มเคลื่อนไหวต่างๆในพื้นที่และสภาพภูมิประเทศที่เป็นป่าเขาในบางช่วงทำาให้การเข้าสู่พื้นที่มียากลำาบากในบางพื้นที่ต้องใช้เวลาเดินทางถึงสองวันกว่าจะเข้าถึงพื้นที่เป็นต้นตลอดจนต้องผจญสัตว์ต่างๆแต่ถึงอย่างไรก็ตามสภาพภูมิประเทศระหว่างไทยกับมาเลเซีย ก็ทำาให้การจัดทำาหลักเขตแดนทำาได้ง่ายขึ้น เนื่องจากว่าสันปันน้ำาที่เป็นเส้นแบ่งเขตแดนตามที่ได้ตกลงกันไว้ในสนธิสัญญาเมือ่ปีพ.ศ. 2452(ค.ศ. 1909)มคีวามชดัเจนมากทำาใหก้ารสำารวจและการจดัทำาหลกัเขตแดนไมม่ปีญัหาใดๆยกเวน้ในหลกัที่70-71ที่ยังคงมีความเห็นไม่ตรงกันในเรื่องตำาแหน่งที่ตั้งของหลักเขตแดนแต่ทั้งสองประเทศก็ไม่ได้รีบเร่งจะให้ได้ข้อยุติใน

Page 11: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 553

ขณะทีท่ัง้สองฝา่ยยงัเหน็ไมต่รงกนัโดยทีไ่ดต้กลงกนัวา่จะพกัเรือ่งหลกัเขตแดนทีย่งัมปีญัหานีเ้อาไวก้อ่น(สมัภาษณอ์ดตีเจา้หน้าที่ปฏิบัติงานจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันเอก,5กันยายน2554)

ทัศนคติของคณะผู้ทำางานและเจรจาในการจัดทำาหลักเขตแดน การเจรจาและการจัดทำาเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเลสำาเร็จและมีความก้าวหน้าเพราะทัศนคติของผู้ปฏิบัติงานในคณะเจรจาและจดัทำาหลกัเขตแดนทีเ่อือ้ตอ่ความสำาเรจ็ในการทำางานแมว้า่ภาษาแมข่องแตล่ะฝา่ยจะแตกตา่งกนัทำาใหใ้นการเจรจาทั้งสองฝ่ายต้องใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการเจรจาแต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรคใดๆและเมื่อทำางานร่วมกันไปนานๆก็จะมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยที่สามารถใช้ภาษามลายูได้หรือบางทีเจ้าหน้าที่ฝ่ายมาเลเซียก็สามารถใช้ภาษาไทยได้การใช้ภาษาทอ้งถิน่ไดท้ำาใหบ้รรยากาศการทำางานดขีึน้(สมัภาษณเ์จา้หนา้ทีป่ฏบิตังิานจดัทำาหลกัเขตแดนไทย-มาเลเซยี,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันโท,5กันยายน2554)นอกจากนี้จากความยากลำาบากที่ทั้งสองฝ่ายต้องทำางานร่วมกันในสภาพพื้นที่ที่ยากลำาบากทำาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคณะผู้ทำางานทั้งสองฝ่ายเกิดเป็นความรู้สึกที่ดีต่อกันและรู้สึกผูกพันกันยังมีการตดิตอ่กนับา้งมาเยีย่มกนับา้งแมว้า่จะไมไ่ดท้ำางานลงพืน้ทีแ่ลว้และเมือ่แตล่ะฝา่ยไดเ้ลือ่นขัน้เลือ่นตำาแหนง่กจ็ะรูส้กึยนิดีดว้ยในฐานะทีเ่คยทำางานรว่มกนัมาเคยลำาบากมาดว้ยกนัและมคีวามสมัพนัธท์ีด่ตีอ่กนั(สมัภาษณอ์ดตีเจา้หนา้ทีป่ฏบิตังิานจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันเอก,5กันยายน2554)เช่นเดียวกับพลเรือเอก ถนอมเจริญลาภที่ได้กล่าวถึงการทำางานในคณะผู้เจรจาจากฝ่ายไทยว่า“บรรยากาศในการทำางานดีมากเพราะไม่มีปัญหาทางด้านการเมือง”(สัมภาษณ์พลเรือเอก ถนอมเจริญลาภ,20สิงหาคม2554)

บทสรุป

การปักปันและปักหลักเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซีย นับได้ว่าเป็นมิติใหม่ของการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ดังปรากฏให้เห็นว่าแนวทางในการแก้ไขปัญหาในหลายกรณีสามารถนำามาซึ่งข้อยุติลงตัวและก่อให้เกิดประโยชนก์บัทัง้สองประเทศไดอ้ยา่งนา่สนใจโดยมเีงือ่นไขและปจัจยัสำาคญัอยูห่ลายประการทัง้ทีเ่กีย่วขอ้งกบัความสมัพนัธ์สว่นตวัระหวา่งผูน้ำาของทัง้สองประเทศความสมัพนัธท์ีด่รีะหวา่งคณะเจรจาฯและความสมัพนัธท์ีด่รีะหวา่งเจา้หนา้ทีป่ฏบิตัิงานในการจัดทำาหลักเขตแดนระหว่างไทย-มาเลเซีย ที่สำาคัญคือการเจรจาเรื่องเขตแดนต้องไม่ถูกทำาให้กลายเป็นประเด็นทางการเมอืงทัง้ภายในประเทศและการเมอืงระหวา่งประเทศเหตเุพราะหากการเรือ่งเขตแดนถกูทำาใหก้ลายเปน็ประเดน็ทางการเมอืงแลว้นัน้กจ็ะสง่ผลใหก้ารดำาเนนิการตอ้งสะดดุหยดุลงโดยปรยิายและอาจทำาใหก้ารเจรจาเพือ่แกไ้ขปญัหาดงักลา่วกลายเป็นปัญหาที่ลุกลามบานปลายและอาจขยายตัวจนกระทั่งทั้งสองฝ่ายไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยลำาพัง จนกระทั่งต้องนำาประเดน็ปญัหาดงักลา่วเขา้สูก่ระบวนการในการแกไ้ขปญัหาขอ้พพิาทระหวา่งประเทศในทา้ยทีส่ดุดงันัน้หากเราทำาความเขา้ใจในเบื้องต้นว่าการเจรจาและการจัดทำาหลักเขตแดนเป็นเรื่องทางเทคนิค มิใช่เป็นการเจรจาหรือการต่อรองในเชิงการเมือง แล้วนั้น เราจะพบว่าการกำาหนดเส้นเขตแดนทั้งทางบกและทางทะเลล้วนแล้วแต่มีหลักการ วิธีการ และมาตรฐานในการทำางานที่ทั้งฝ่ายต้องเห็นพ้องต้องกันในการกำาหนดแนวเส้นเขตร่วมกัน เช่น การจัดทำาหลักเขตแดนตามแนวสันปันน้ำาหรือร่องน้ำาลึกก็จำาเป็นต้องดำาเนินการตามหลักการและวิธีการเพื่อแสวงหาแนวเส้นเขตแดนที่ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องต้องกันว่าณจุดดังกล่าวเป็นจุดที่สมควรกำาหนดเป็นเส้นเขตแดนเป็นต้น ดังนั้น เงื่อนไขและปัจจัยของความสำาเร็จในการปักปันและปักหลักเขตแดนจึงจำาเป็นต้องประกอบไปด้วยเงื่อนไขและปัจจัยหลายประการผสานกันการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซียจึงน่าจะเป็นแนวทางหนึ่งซึ่งน่าสนใจในการใชเ้ปน็ตวัแบบในการแกไ้ขปญัหาเรือ่งเขตแดนไทยกบัประเทศเพือ่นบา้นทีย่งัคงไมส่ามารถหาขอ้ยตุลิงตวัไดใ้นหลายพืน้ที่ทัง้ในสว่นของไทย-พมา่ไทย-ลาวและไทย-กมัพชูาและอาจนำามาซึง่ความสำาเรจ็เฉกเชน่ทีเ่กดิขึน้กบัเสน้เขตแดนไทย-มาเลเซยีในท้ายที่สุดนั่นเอง

Page 12: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

554 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

1ตรงกับรัตนโกสินทรศก127(ร.ศ. 127)ดังนั้นหากนับปีพ.ศ.อย่างเคร่งครัดแล้วนั้นปีพ.ศ.ดังกล่าวต้องเป็นปีพ.ศ.2451เนื่องด้วยในช่วงเวลาดังกล่าวยังคงใช้วันที่13เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่(คณะรัฐบาลในสมัยของจอมพลป.พิบูลสงครามได้ประกาศให้ใช้วันที่1มกราคมพ.ศ.2484เป็นวันปีใหม่ตามสากลนิยมตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน)ดังนั้นวันที่10มีนาคมจึงยังคงเป็นปีพ.ศ. 2451หากแต่ในที่นี้มีเจตนาที่จะใช้ปีพ.ศ. 2452เพื่อมิให้เกิดความสับสนในการเทียบเคียงกับปีค.ศ.นั่นเอง

2หลักเขตแดนไทย-มาเลเซียแบ่งเป็น4ประเภทได้แก่หลักเขตแดนแบบA, B, CและD 3ไมป่รากฏชดัวา่แมน้่ำาโก-ลกไดเ้ปลีย่นทางเดนิน้ำาและเจาะทะลสุนัทรายในชว่งเวลาใดหากแตจ่ากภาพถา่ยทางอากาศในปีพ.ศ. 2513(ค.ศ. 1970)พบว่าได้เกิดการเปลี่ยนทางเดินน้ำาของแม่น้ำาโก-ลกในบริเวณดังกล่าวและมีการเจาะทะลุสันทรายจนกระทั่งเกิดแนวลำาน้ำาใหม่แล้ว

4เนื่องจากผู้ให้สัมภาษณ์ไม่สะดวกในการเปิดเผยชื่อและตำาแหน่ง

เชิงอรรถ

Page 13: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

อรอนงค์ ทิพยพิมล และธนศักดิ์ สายจำาปา 555

กรมแผนที่ทหาร.120 ปี กรมแผนที่ทหาร 3 กันยายน 2548.กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร,2549.กรมแผนที่ทหาร.การสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย.เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่.กรมแผนที่ทหาร.ที่ระลึกครบรอบวันสถาปนา 100 ปี กรมแผนที่ทหาร.กรุงเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร,2528.จดหมายเหตุแห่งชาติ,กอง.เอกสารกระทรวงเกษตราธิการ กส. 7/759 เรื่องกรมทหารบกให้สั่งนายร้อยเอก หลวงรณรัฐวิภาคกิจ

ไปปักปันเขตร์แดนแหลมมลายู.ดลยา เทียนทอง. ความร่วมมือไทย-มาเลเซียในการพัฒนาพื้นที่เขตไหล่ทวีปทับซ้อนในอ่าวไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2545.ถนอมเจริญลาภ.เขตทางทะเลของประเทศไทย.กรุงเทพฯ: วิญญูชน,2550.ราชบัณฑิตยสถาน.อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.พิมพ์ครั้งที่4.กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,2545.สายจิตต์เหมินทร์.การเสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปลิส ของไทยให้แก่อังกฤษในรัฐสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว.วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิตแผนกวิชาประวัติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2507.ศรัณย์เพ็ชร์พิรุณ. สมุทรกรณี.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2549.อรอนงค์ทิพย์พิมลและธนศักดิ์สายจำาปา.“จากเส้น“แบ่งรัฐ”สู่เส้น“ร้อย (รัด) รัฐ”:หนึ่งศตวรรษแห่งการปักปันเขตแดนไทย-

มาเลเซีย(พ.ศ. 2453-2553)”ในชาญวิทย์เกษตรศิริและคณะ(บก.).เขตแดนสยามประเทศไทย-มาเลเซีย-พม่า-ลาว-กัมพูชา.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2554.

อ้อยทิพย์ วิสิทธวงศ์.ปัญหาเขตแดนทางทะเลระหว่างไทยกับมาเลเซีย (ค.ศ. 1970-1979): วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการดำาเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2520.

Charney, Jonathan I., Alexander, Lewis M. (eds.). International Maritime Boundaries. Vol. I, Dordrecht, The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1996.

Charney, Jonathan I., Alexander, Lewis M. (eds.). International Maritime Boundaries. Vol. II, Dordrecht, The Netherlands: Martinus Nijhoff Publishers, 1996.

Forbes, Vivian Louis. Conflict and Cooperation in Managing Maritime Space in Semi-enclosed Seas. Singapore: Singapore University Press/National University of Singapore, 2001.

Gullick, J. M. Malaysia and Its Neighbours. London: Routledge & K. Paul, 1967.Measures, Nick (ed.), Thailand, Ministry of Foreign Affairs. Rajaphruek & Bunga Raya: 50 years of Everlasting

Friendship between Thailand and Malaysia 1957-2007. Bangkok: The Ministry of Foreign Affairs Thailand, 2007.

Suwannathat-Pian, Kobkua. Thai-Malay relations: a study of traditional intra-regional relations from the 17th to the early 20th century. Thesis (Ph.D.) , Kuala-Lumpur, Universiti Sains Malaysia, 1986.

Thao, Nguyen Hong. “Joint Development in the Gulf of Thailand”. in IBRU Boundary and Security Bulletin Autumn 1999. http://www.dur.ac.uk/resources/ibru/publications/full/bsb7-3_thao.pdf เข้าถึงข้อมูลวันที่14สิงหาคมพ.ศ.2554.

สัมภาษณ์ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันโท.สัมภาษณ์.5กันยายน2554.อดีตเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพลตรี.สัมภาษณ์.5กันยายน2554.อดีตเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานจัดทำาหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย,กรมแผนที่ทหารยศปัจจุบันพันเอก.สัมภาษณ์.5กันยายน2554.พลเรือเอก ถนอม เจริญลาภ. อดีตเจ้ากรมอุทกศาสตร์, ที่ปรึกษารัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องกฎหมายทะเลและเขตแดนทางทะเล และ

ที่ปรึกษากองทัพเรือ.สัมภาษณ์.20สิงหาคม2554.

บรรณานุกรม

Page 14: Boundaries of Siam/Thailand-Malaysia: the Conditions of Achievment

556 ภาค 2: เงื่อนไขและปัจจัยแห่งความสำาเร็จ ในการปักปันและปักหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย

พันโท จิตรกรใบรักษา.หัวหน้าแผนกเขตแดนไทย-มาเลเซียกองเขตแดนระหว่างประเทศกรมแผนที่ทหาร.สัมภาษณ์. 13ตุลาคม2553.

พันโท ชัยรัตน์ชัยดำารงโรจน์.นักวิเคราะห์เขตแดนระหว่างประเทศกองเขตแดนระหว่างประเทศกรมแผนที่ทหาร.สัมภาษณ์.30สิงหาคม2553.