10
วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 84 * วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปการศึกษา 2558 ** อาจารยประจําหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคล ของบุคลากรทางการแพทย THE EFFECTS OF GESTALT GROUP COUNSELING ON PERSONAL GROWTH IN HEALTH WORKERS อัจฉรา ปญญามานะ* Uschara Punyamana ดร. ดลดาว ปูรณานนท ** Dr. Doldao Purananon บทคัดยอ การวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวน บุคคลของบุคลากรทางการแพทย โดยเก็บขอมูลกอนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผลหลัง เสร็จสิ้นการทดลอง 2 สัปดาห กลุ มตัวอยางคือบุคลากรทางการแพทย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ที่ปฏิบัติงานในป 2557 มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลตํ่ากวาเปอรเซ็นตไทลที่ 25 จํานวน 23 คน และสมัครใจเขารวมการทดลอง จากนั้นสุมตัวอยางอยางงายไดจํานวน 16 คน และสุมกลุมตัวอยาง เขากลุม (random assignment) เพื่อใหไดกลุมทดลอง 8 คน และกลุมควบคุม 8 คน เครื่องมือ ที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเองที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิด ของโรบิทเช็ค จากนั้นสุมอยางงายและจับคูคะแนนเพื่อแบงเปนกลุมทดลอง 8 คน และกลุมควบคุม 8 คน ใชวิธีการวิเคราะหความแปรปรวนแบบวัดซํ้าประเภทหนึ่งตัวแปรระหวางกลุมและหนึ่งตัวแปร ภายในกลุม (repeated-measures analysis of variance: one between - subjects variable and one within-subject variable) เมื่อพบความแตกตางจะทดสอบความแตกตางเปนรายคูดวย วิธีนิวแมน-คูลล (Newman-Keuls method) พบวามีปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับระยะเวลา การทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุม แบบเกสตัลทมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลสูงกวากลุมควบคุมในระยะกอนการทดลอง ระยะหลัง การทดลอง และระยะติดตามผล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และบุคลากรทางการแพทย ที่ไดรับการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลสูงกวาระยะกอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�84

* วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาจติวทิยาการปรกึษา มหาวทิยาลยับรูพา ปการศกึษา 2558** อาจารยประจาํหลกัสตูรวทิยาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาจติวทิยาการปรกึษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยบรูพา

ผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคล

ของบุคลากรทางการแพทย

THE EFFECTS OF GESTALT GROUP COUNSELING ON

PERSONAL GROWTH IN HEALTH WORKERS

อัจฉรา ปญญามานะ*Uschara Punyamana

ดร. ดลดาว ปูรณานนท **Dr. Doldao Purananon

บทคัดยอ การวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย โดยเก็บขอมูลกอนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผลหลังเสรจ็สิน้การทดลอง 2 สปัดาห กลุมตวัอยางคอืบคุลากรทางการแพทย โรงพยาบาลมหาวทิยาลยับรูพา ที่ปฏิบัติงานในป 2557 มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลตํ่ากวาเปอรเซ็นตไทลที่ 25 จํานวน 23 คน และสมัครใจเขารวมการทดลอง จากนั้นสุมตัวอยางอยางงายไดจํานวน 16 คน และสุมกลุมตัวอยางเขากลุม (random assignment) เพื่อใหไดกลุมทดลอง 8 คน และกลุมควบคุม 8 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเองที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดของโรบิทเช็ค จากนั้นสุมอยางงายและจับคูคะแนนเพื่อแบงเปนกลุมทดลอง 8 คน และกลุมควบคุม 8 คน ใชวิธีการวิเคราะหความแปรปรวนแบบวัดซํ้าประเภทหนึ่งตัวแปรระหวางกลุมและหนึ่งตัวแปรภายในกลุม (repeated-measures analysis of variance: one between - subjects variable and one within-subject variable) เมื่อพบความแตกตางจะทดสอบความแตกตางเปนรายคูดวยวิธีนิวแมน-คูลล (Newman-Keuls method) พบวามีปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลสูงกวากลุมควบคุมในระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และบุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกวาระยะกอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 2: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 85

คําสําคัญ: การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท, ความงอกงามสวนบุคคล, บุคลากรทางการแพทย

ABSTRACT The purpose of this research was to study the effects of the Gestalt group counseling on personal growth in health workers. The sample were workers at Burapha University Hospital who had a score on their personal growth study lower than 25th percentile. The 16 samples were assigned into two groups, the experimental group and the control group with eight health workers per group. The instruments that were used in the research consisted of the Personal Growth Initiative Assessment Scale developed by Robitschek and Gestalt Group Counseling Program. The data was collected in three phases: pre experiment, post experiment and follow up. Then the data were analyzed through repeated-measure analysis of variance: one between-subjects and was within subjects, including pair comparison through the Newman-Keuls Procedure. The results revealed that there was a statistically significant interaction between the method and the duration of the experiment. At the post-test and the follow-up phrases, the mean scores of personal growth of health workers in the gestalt group were higher than the control group’s scores at .05 level. The mean scores of personal growth of health workers in the gestalt group at post-test and follow-up phrases were significantly higher than the post-test phrases at .05 level.Keywords: the Gestalt group counseling, personal growth, health workers.

บทนํา บุคลากรทางการแพทยถือเปนทรัพยากรที่มีบทบาทและเปนกลไกสําคัญที่สุดในระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากการบริการทางสุขภาพเกือบทั้งหมดลวนแตตองดําเนินการโดยบุคลากรที่มีความรูความสามารถเฉพาะทาง ไมสามารถทดแทนไดโดยเครือ่งมอืหรอือปุกรณทางการแพทยอืน่ ๆ บคุลากรทางการแพทยมีภาระงานที่ตองปฏิบัติเกินกวาภาระงานของบุคคลทั่วไป โดยสวนใหญตองทํางานติดตอกันยาวนาน และตองใหการบําบัดรักษาผูปวยอยางใกลชิด ตองใชความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ และความอดทนกับบุคคลทุกเพศทุกวัย ซึ่งภาวะกดดัน ความเบื่อหนาย และความเครียดของบุคลากรทางการแพทยกอใหเกิดความถดถอยทางใจ ทอถอยในการทํางาน และบั่นทอนประสิทธิภาพของการทํางานจากภายในจิตใจของตนเอง และทายที่สุดการขาดการตระหนักรูถึงความงอกงามสวนบุคคล (personal growth) จะทําใหบุคคลผูนั้นเลือกวิธีการแกไขปญหาดวยการ

Page 3: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�86

ลาออก ยายงาน หรือเปลี่ยนอาชีพ กอใหเกิดภาระกับสถานพยาบาลท้ังในภาครัฐและเอกชนท่ีจะตองสรรหาบุคลากรทางการแพทยเพื่อเขามาปฏิบัติหนาที่แทนเพื่อใหเพียงพอตอความตองการของประชาชน อกีท้ังบุคลากรทางการแพทยท่ีขาดการตระหนกัรูถงึความงอกงามสวนบคุคลจะรูสกึถดถอยตองานที่ทํา ไรความมุงมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตน ในทายที่สุดจะกอใหเกิดผลกระทบตอผูรับบริการทางการแพทยที่เขารับบริการทางสุขภาพ ดังนั้น บุคลากรทางการแพทยที่มีความงอกงามสวนบุคคลจะมีแนวโนมที่จะสรางการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีในดานความปรารถนา ความมุงมั่น และคานิยม อันเปนพฤติกรรมภายในซึง่สงผลตอพฤตกิรรมภายนอกดานการกระทาํทีด่เีพือ่นาํพาชวีติสูความเจรญิกาวหนา จะตระหนกัรูถงึความตองการพัฒนาตนเองและสรางศักยภาพของตนเองอยางตอเนื่อง และเมื่อบุคลากรทางการแพทยมีความมุงมั่นที่จะพัฒนาตนเองจากการรับรูภายในของตนแลว จะนํามาสูการมีแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเอง สงผลดีตอทั้งบุคลากรเองและผูที่เขารับบริการทางการแพทย สุดทายจะสงผลตอความงอกงามขององคกรหรือสถานพยาบาลนั้น ๆ ตอไป แนวคิดทฤษฎีเกสตัลท เปนกระบวนการใหการปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่อยูบนพ้ืนฐานของการตระหนักรูสวนตน เรียนรูถึงความรูสึกของตนเองที่เกิดขึ้นในขณะปจจุบัน และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการพึง่พาผูอืน่มาสูการพึง่พาตนเอง มกีารดําเนนิชวีติอยางมสีติและชวยพฒันาทกัษะในการพฒันาตนเอง (อนงค วิเศษสุวรรณ, 2554) แนวคิดทฤษฎีเกสตัลทจะสงผลทางบวกตอความงอกงามสวนบุคคลซึ่งจะสงผลตอสภาวะความสุขตอบทบาทและหนาท่ีในปจจุบันของตนเอง และส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดคือ จะทําใหบุคคลไดพัฒนาตนเอง ขยายศักยภาพของตน ไดเรียนรูสิ่งตาง ๆ ดวยตนเอง และมีความตระหนักรูในตน ทฤษฎีเกสตัลทจะสงผลใหบุคลากรทางการแพทยเกิดความงอกงามสวนบุคคลไดโดยผานกระบวนการใหการปรึกษาแบบเกสตัลท กระตุนใหบุคคลตระหนักรูถึงความรูสึกของตนเองที่เกิดขึ้นในขณะนั้น และกอใหเกิดแนวโนมที่จะทําใหบุคคลตองการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเองหรือพัฒนาตนเองใหเติบโตอยางมีวุฒิภาวะ โดยจะเอื้ออํานวยใหบุคคลสรางเสริมความงอกงามสวนบุคคลไดโดยบริบทและบรรยากาศของกลุม และชวยใหสมาชิกกลุมแตละคนมองเห็นความเปลี่ยนแปลงทางบวกของกันและกัน และรวมแบงปนประสบการณจากการสนทนาภายในกลุม จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจใชกระบวนการการปรึกษาแบบเกสตัลทเพ่ือสงเสริมความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย เพื่อใหตระหนักถึงปจจัยและองคประกอบที่จะสงเสริมใหเกิดความงอกงามสวนบุคคล สงผลตอการพัฒนาตนเองและเพ่ิมศักยภาพของตนเองดวยการตระหนักรูในตนเองนําไปสูการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการแพทยในองคกรตาง ๆ และยังเปนแนวทางสําหรับผูที่สนใจสงเสริมความงอกงามสวนบุคคลใหกับกลุมอาชีพอื่นตอไป

Page 4: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 87

วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย

สมมติฐานของการวิจัย 1. ปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับชวงเวลาของการทดลอง มีอิทธิพลตอความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย 2. บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมตามทฤษฎีเกสตัลท มีความงอกงามสวนบุคคลระยะหลังการทดลองสูงกวาบุคลากรทางการแพทยที่ไมไดรับการปรึกษากลุมตามทฤษฎีเกสตัลท 3. บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมตามทฤษฎีเกสตัลท มีความงอกงามสวนบคุคลระยะตดิตามผลสงูกวาบคุลากรทางการแพทยทีไ่มไดรบัการปรกึษากลุมตามทฤษฎเีกสตลัท 4. บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมตามทฤษฎีเกสตัลท มีความงอกงามสวนบุคคลระยะหลังการทดลองสูงกวาระยะกอนการทดลอง 5. บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมตามทฤษฎีเกสตัลท มีความงอกงามสวนบุคคลระยะติดตามผลสูงกวาระยะกอนการทดลอง

ขอบเขตของการวิจัย เปนวิจัยเชิงทดลอง (experimental research design) เพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทย มีขอบเขตของการวิจัยดังนี้ ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) ตัวแปรอิสระ ไดแก วิธีการปรึกษากลุม 2 แบบคือ การไดรับการปรึกษากลุมตามแนวทฤษฎีเกสตัลท และการไมไดรับการปรึกษากลุมตามแนวทฤษฎีเกสตัลท 2) ตัวแปรตาม ไดแก ความงอกงามสวนบุคคล ระยะเวลาทดลอง แบงเปน 3 ระยะ ไดแก ระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลการทดลองหลังเสร็จสิ้นการทดลอง 2 สัปดาห

วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุ มตัวอยาง กลุ มตัวอยางคือ บุคลากรทางการแพทยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาที่ปฏิบัติงานในป 2557 มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลตํ่ากวาเปอรเซ็นตไทลที่ 25 จํานวน 23 คน และสมัครใจเขารวมการทดลอง สุมตัวอยางอยางงายไดจํานวน 16 คน และสุมกลุมตัวอยางเขากลุม (random assignment) เพื่อใหไดกลุมทดลอง 8 คน และกลุมควบคุม 8 คน

Page 5: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�88

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1. โปรแกรมการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท โดยกําหนดใหบุคลากรทางการแพทยเขารับการปรึกษาสัปดาหละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 - 1.30 ชั่วโมง รวม 12 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1, 2 ปฐมนิเทศและสรางสัมพันธภาพ ครั้งที่ 3, 4 การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ใหการปรึกษาดานสติ-สัมปชัญญะ ครั้งที่ 5, 6 การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ใหการปรึกษาดานการพึ่งพาตนเอง ครั้งที่ 7, 8 การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ใหการปรึกษาดานความหวัง ครั้งที่ 9, 10 การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ใหการปรึกษาดานการเผชิญปญหา ครั้งที่ 11 การปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ใหการปรึกษาดานความยืดหยุน ครั้งที่ 12 สรุป ยุติการใหการปรึกษา ปดกลุม 2. แบบสาํรวจตนเองในการรเิริม่พฒันาตนเอง ผูวจิยัศกึษาแนวคดิของโรบทิเชค็ (Robitschek, Ashton, Spring, Martinez, Shotts & Murray, 2009) ซึ่งมีคาความเชื่อมั่น (reliability) เทากับ .92 แลวจึงนํามาสังเคราะหและพัฒนาเปนแบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเอง จํานวน 16 ขอ มีขอความทางลบ จํานวน 2 ขอ และขอความทางบวก จํานวน 14 ขอ โดยมีมาตรวัด 6 ลําดับ คือ 0 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 ไมเห็นดวยเปนสวนใหญ 2 ไมเห็นดวยเปนบางคร้ัง 3 เห็นดวยเปนบางคร้ัง 4 เห็นดวยเปนสวนใหญ 5 เห็นดวยอยางยิ่ง มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ตั้งแต 0.50 - 1.00 คาอาํนาจจาํแนกอยูระหวาง 0.20 - 0.80 ขึน้ไป และคาความเชือ่มัน่ (reliability) ทัง้ฉบบัเทากบั .899 วิธีการทดลอง แบงเปน 1. ขั้นเตรียมการ 2. ขั้นดําเนินการ แบงเปน 4 ระยะ ไดแก ระยะกอนการทดลอง: ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองโดยขอความรวมมือและความสมัครใจจากบุคลากรทางการแพทย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ใหทําแบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเองแลวเก็บไวเปนคะแนนระยะกอนการทดลอง (pre-test) ระยะทดลอง: ใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทแกกลุมทดลอง จํานวน 12 ครั้ง เปนเวลา 4 สัปดาห สัปดาหละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 - 1.30 ชั่วโมง และกลุมควบคุมเปนกลุมที่ไมไดรับโปรแกรมการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ระยะหลงัการทดลอง: เมือ่สิน้สดุการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท ผูวจัิยใหกลุมตัวอยางทําแบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเอง เพื่อเปนคะแนนระยะหลังการทดลอง (post-test) ระยะตดิตามผล: หลงัการทดลองแลวเปนเวลา 2 สปัดาห จงึใหกลุมตวัอยางทัง้กลุมทดลองและกลุมควบคุม จํานวน 16 คน ทําแบบสํารวจตนเองในการริเริ่มพัฒนาตนเอง เพื่อเปนคะแนนระยะติดตามผล (follow-up) แลวนําไปสรุปผลการวิเคราะหขอมูล

Page 6: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 89

ผลการวิจัย 1. ปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลอง มีอิทธิพลตอความงอกงามสวนบุคคลของบุคลากรทางการแพทยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ในระยะกอนการทดลอง กลุมทดลองและกลุมควบคุมมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลไมแตกตางกัน แตในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล พบวากลุมที่ไดรับการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลเฉลี่ยสูงข้ึน เนื่องจากเกิดกระบวนการทางความคิด ตระหนักรูอยางใสใจในการคิด พูด และกระทําในความเปนปจจุบัน ดวยเทคนิคตาง ๆ ของกระบวนการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท เชน เกาอี้วาง การจินตนาการ การซอมบทบาท เปนตน ซ่ึงกลุมทดลองสามารถนําความรู ประสบการณ และวิธีการตาง ๆ ที่ไดรับจากการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทไปปรบัใชใหเหมาะสมกบัตนเอง นําไปสูการพฒันาศกัยภาพและการเสรมิสรางความงอกงามสวนบคุคลของตนเองได อธิบายไดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ผลการวเิคราะหความแปรปรวนของคะแนนความงอกงามสวนบคุคล ระหวางวธิกีารทดลองกับระยะเวลาการทดลอง

จากตารางท่ี 1 พบวามีปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉล่ียความงอกงามสวนบุคคลระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคะแนนเฉลีย่ความงอกงามสวนบคุคลกลุมทดลองและกลุมควบคมุ แตกตางกนัอยางมนียัสําคญัทางสถติิทีร่ะดบั .05 แสดงวาวธิกีารทดลองกบัระยะการทดลองมผีลรวมกนัตอคะแนนความงอกงามสวนบคุคล

Page 7: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�90

สรปุไดวา การใหการปรกึษากลุมแบบเกสตัลทสงผลตอความงอกงามสวนบคุคล ทาํใหมคีะแนนความงอกงามสวนบุคคลสงูข้ึนท้ังในระยะหลงัการทดลองและระยะติดตามผล สอดคลองกบัสมมติฐานของการวิจัยขอที่ 1 ที่วามีปฏิสัมพันธระหวางวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลอง 2. บุคลากรทางการแพทยกลุมทดลองท่ีไดรับการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลสูงกวากลุมควบคุมในระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 คะแนนเฉลีย่และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนเฉลีย่ความงอกงามสวนบคุคล ในระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล ของการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทในกลุมทดลองและกลุมควบคุม

จากตารางที่ 2 พบวาในระยะกอนการทดลอง กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลเปน 47.00 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.928 สวนกลุมควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลเปน 47.13 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.949 ในระยะหลังการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทพบวา กลุมทดลองมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลเปน 69.00 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.828 สวนกลุมควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลเปน 45.38 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.774 ในระยะติดตามผลพบวา กลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลเปน 69.37 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.669 สวนกลุมควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลเปน 45.38 และมีคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 2.615

Page 8: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 91

สรุปไดวา การใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท สงผลใหคะแนนความงอกงามสวนบุคคลของกลุมทดลองสูงกวากลุมควบคุม ทั้งในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานของการวิจัยขอที่ 2 และ 3 3. บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผล สูงกวาระยะกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงไดดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลของการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทเปนรายคูในกลุมทดลอง ระยะกอนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล ดวยวิธีทดสอบแบบนิวแมน-คูลล (Newman-Keuls method)

จากตารางท่ี 3 พบวากลุมทดลองมีคาเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลแตกตางจากระยะกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และคะแนนเฉลี่ยความงอกงามสวนบุคคลในระยะติดตามผลไมแตกตางจากระยะหลังการทดลอง โดยพบวากลุมทดลองเกิดความเปลี่ยนแปลงบางส่ิงบางอยางภายในตนเอง เชน การรูจักตนเองมากขึ้น เกิดความตระหนักรู มีความกระตือรือรน มีความมุงมั่น และมีแรงจูงใจที่จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเองอยางมีเปาหมายเพิ่มขึ้น ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่ไดสอดคลองกับคะแนนระยะหลังการทดลองและคะแนนระยะติดตามผลที่เพิ่มขึ้นจากระยะกอนการทดลอง

Page 9: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร�92

สรุปไดวา บุคลากรทางการแพทยที่ไดรับการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลท มีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลเฉลี่ยในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกวาระยะกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมติฐานของการวิจัยขอที่ 4 และ 5

อภิปรายผล การใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทสามารถเสริมสรางความงอกงามสวนบุคคลได โดยบุคลากรทางการแพทยกลุมทดลองมีคะแนนความงอกงามสวนบุคคลเฉลี่ยในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกวาระยะกอนการทดลอง และยังคงตอเนื่องถึงแมจะทิ้งระยะหางเปนเวลา 2 สัปดาห ซึ่งสอดคลองกับ วัชรี ทรัพยมี (2551) ที่กลาววา การใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทจะทําใหเกิดการเรียนรูและปรับเปลี่ยนการรับรูใหม นําไปสูการเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอยางภายในตนเอง ทําใหเกิดความเขาใจและยอมรับตนเองตามความเปนจริงในปจจุบัน และปรับเปลี่ยนตนเองไปในทางที่ดีขึ้น และสอดคลองกับ สมรักษ ทองทรัพย (2553) ที่กลาววา การใหการปรึกษาแบบเกสตัลทจะเอื้ออํานวยตอการสรางเสริมความงอกงามสวนบุคคล โดยชวยใหสมาชิกแตละคนมองเห็นความเปลีย่นแปลงทางบวกของกนัและกนั และกลายเปนแรงบนัดาลใจใหแกสมาชกิคนอืน่ ๆ ซ่ึงแสดงใหเห็นวาการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทนั้นมีความสัมพันธเชิงบวกตอความงอกงามสวนบุคคล กระตุนใหสมาชิกมีสติตระหนักรูถึงความรูสึกของตนเองท่ีเกิดข้ึนในขณะนั้น มีความเชื่อมั่นและพ่ึงพาตนเองดวยความสามารถของตนเอง กอใหเกิดแรงขับทําใหบุคคลตระหนักถึงความพรอมและตองการเปลีย่นแปลงตนเองหรอืพฒันาตนเองใหเตบิโตอยางมวีฒุภิาวะ และมแีรงจงูใจทีจ่ะเปลีย่นแปลงตนเองอยางมเีปาหมาย สงผลตอการพฒันาตนเองและเพิม่ศกัยภาพของตนเองดวยการตระหนกัรู นาํไปสูการพัฒนาศักยภาพภายในของตนเองตอไป

ขอเสนอแนะ เนื่องดวยตัวแปรความงอกงามสวนบุคคลนั้นเปนตัวแปรที่จะชวยพัฒนาศักยภาพและจิตใจสวนบุคคล จึงสามารถศึกษาผลของการนําโปรแกรมการใหการปรึกษากลุมแบบเกสตัลทตอความงอกงามสวนบุคคลไปปรับใชกับกลุมตัวอยางอื่นนอกเหนือจากบุคลากรทางการแพทย เชน อาจารย นักเรียน นักศึกษา ทหาร ตํารวจ เปนตน

Page 10: ผลการปรึกษากลุ มแบบเกสตัลท ต อความงอกงามส วนบุคคล ของ ... · วารสารว

วารสารว�ชาการศร�ปทุม ชลบุร� 93

บรรณานุกรมวัชรี ทรัพยมี. (2551). ทฤษฎีใหบริการปรึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สมรักษ ทองทรัพย. (2553). ประสบการณความงอกงามหลังการเขากลุมการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

ของนิสิตนักศึกษาที่มาจากครอบครัวหยาราง. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อนงค วเิศษสวุรรณ. (2554). การปรึกษากลุม (พมิพครัง้ที ่3). ชลบรุ:ี คณะศกึษาศาสตร มหาวทิยาลยับูรพา.

Howell, David C. (2006). Statistical methods for psychology (6th ed.). Belmont, CA: Thomson Wadsworth.

Robitschek, C., Ashton, M. W., Spring, C. C., Martinez, M., Shotts, G. C., & Murray, D. (2009). Development of the personal growth initiative scale - II. In Poster presented

at the 2009 world congress on positive psychology, Philadelphia, PA. n.p. Simmons, Catherine A. (2013). Tools for strengths based assessment and evaluation.

New York, NY: Springer.