89
การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็ก ในการหาลายนิ้วมือ โดย พันตํารวจโทหญิงณัชชา แสงสวาง การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็ก ในการหาลายนิ้วมือ

โดย พันตํารวจโทหญิงณัชชา แสงสวาง

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็ก ในการหาลายน้ิวมือ

โดย พันตํารวจโทหญิงณัชชา แสงสวาง

การคนควาอิสระน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 3: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

THE STUDY IN CHARACTERISTICS OF MAGNETIC FINGERPRINT POWDER

By POL.LT.COL.Nuchcha Seangsawang

A Independent Student Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF SCIENCE

Program of Forensic Science Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2010

Page 4: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหการคนควาอิสระเร่ือง “การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็ก ในการหาลายน้ิวมือ” เสนอโดย พันตํารวจโทหญิงณัชชา แสงสวาง เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร

……........................................................... (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รองศาสตราจารย พันตํารวจเอกสันต์ิ สุขวัจน คณะกรรมการตรวจสอบการคนควาอิสระ …................................................. ประธานกรรมการ (พันตํารวจโท ดร.สฤษดิ์ สืบพงษศิริ) ............/......................../.............. …................................................. กรรมการ (พลตํารวจโทอมรรักษ หุวะนันทน) ............/......................../.............. …................................................. กรรมการ (รองศาตราจารย พันตํารวจเอกสันต์ิ สุขวัจน) ............/......................../..............

Page 5: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

52312308 : สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร คําสําคัญ : รอยลายน้ิวมือแฝง / ผงฝุนแมเหล็ก ณัชชา แสงสวาง : การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็กในการหาลายน้ิวมือ. อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ : รศ.พ.ต.อ.สันต์ิ สุขวัจน. 77 หนา. การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของรอยลายน้ิวมือแฝงที่ไดจากการปดโดยตัวอยางผงฝุนแมเหล็กที่วางขายในทองตลาดชวงเวลาที่ทําการวิจัยจํานวน 2 ตัวอยาง ดวยวิธีการทดสอบหาคุณสมบัติเบื้องตนและองคประกอบสําคัญดานตาง อันไดแก คาความช้ืน คาความหนาแนน คาความถวงจําเพาะ คาการดูดซับน้ํามัน การวิเคราะหขนาดอนุภาคของสารดวยเทคนิค particle size analysis การถายภาพกําลังขยายสูงดวยเทคนิคScanning electron microscope และการวิเคราะหองคประกอบของธาตุดวยเทคนิค X-Ray Fluorescence ทําการวิจัยรวมกับการทดสอบความพึงพอใจของผูใชโดยการสรางแบบสอบถาม (Questionnaire)เพื่อใชในการประเมินผลการทดสอบความพึงพอใจของผูใชตอคุณสมบัติของผงฝุนแมเหล็กในการทําใหเกิดความคมชัดของรอยลายนิ้วมือแฝง โดยผูทําการทดสอบใชคือกลุมผูชํานาญการดานการเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง ผลการวิจัยพบวา จากการทดสอบความพึงพอใจของผูชํานาญการ ผลการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ แสดงใหเห็นวา ผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็กทั้งสองตัวอยางท่ีนํามาศึกษา มีหนึ่งตัวอยางท่ีที่มีคาความช้ืน, ความหนาแนน, คาความถวงจําเพาะท่ีสูงกวา และขนาดอนุภาคที่ใหญกวา แตมีคาการดูดซับน้ํามันต่ํากวาอีกหนึ่งตัวอยางน้ันไดระดับความพึงพอใจท่ีสูงกวาและใหคุณภาพของลายนิ้วมือแฝงท่ีชัดกวาอีกหน่ึงตัวอยาง ซึ่งผลของขอมูลน้ีจะนํามาเปนขอมูลพื้นฐานหรืออางอิงสําหรับการผลิตผงฝุนแมเหล็กขึ้นเองในอนาคต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลายมือชื่อนักศึกษา................................................................ ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ........................................

Page 6: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

52312308 : MAJOR : FORENSIC SCIENCE KEY WORDS : LATENT FINGERPRINTS / MAGNETIC POWDER

NUCHCHA SEANGSAWANG: THE STUDY IN CHARACTERISTICS OF MAGNETIC FINGERPRINT POWDER.THESIS ADVISORS : ASSOC.PROF.POL.COL.SANT SUKHAVACH. 77 pp.

The aim of this research is for study quality of finger print which has been taken by regular magnet powder. Two examples has been used following by each basic property and composition such as moisture, density, specific gravity, oil absorbable, particle size, high pixel and quality’s picture by scanning electron microscope method and composition analysis by X-ray Fluorescence technique. We were studying along with user who is an expert in finger print collect’s satisfaction which summarized from our questionnaire as a property of magnet powder for clearly results of finger print. Result has been showing the statistic of satisfaction by our expert to two magnet powders that the sample with higher moisture, density, specific gravity including bigger size but lower oil absorbable has more satisfaction and clearer finger print image than another.

Program of Forensic Science Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010

Student's signature .............................................

Thesis Advisors' signature . .............................................

Page 7: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยครั้งน้ีสามารถสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีเน่ืองจากไดรับความรวมมือและชวยเหลือจากบุคคลหลายทานที่ไดสละเวลามาใหคําแนะนํา ขอคิดและความรูตางๆ อันเปนประโยชนตอการทําวิจัยครั้งนี้เปนอยางยิ่ง ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยพันตํารวจเอกสันต์ิ สุขวัจน ที่ไดกรุณาเปนอาจารยที่ปรึกษา ใหคําแนะนํา ชวยเหลือ และตรวจแกไขขอบกพรองตางๆ ทําใหวิทยานิพนธฉบับน้ีมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งและขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณพันตํารวจโท ดร .สฤษดิ์ สืบพงษศิ ริ ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ และพลตํารวจโทอมรรักษ หุวะนันทน กรรมการสอบวิทยานิพนธ ที่กรุณาสละเวลาอันมีคามาเปนกรรมการสอบวิทยานิพนธคร้ังน้ี และใหคําแนะนํา ทําใหวิทยานิพนธฉบับน้ีมีความสมบูรณยิ่งขึ้น สุดทายน้ีขอขอบคุณ ครอบครัว เพื่อนๆ และผูที่มิไดเอยนามมา ณ ที่นี้ทุกทาน ที่กรุณาใหความชวยเหลือ แนะนํา และเปนกําลังใจให จนวิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

Page 8: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฌ สารบัญภาพ ............................................................................................................................... ญ บทที่ 1 บทนํา ............................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ................................................................ 1 วัตถุประสงคของการวิจัย ...................................................................................... 3 ขอบเขตของการวิจัย ............................................................................................. 3 นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................................... 4 กรอบแนวความคิดในการวิจัย .............................................................................. 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ................................................................ 5 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ................................................................................................... 6 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลายน้ิวมือ .................................................................... 6 ประเภทของลายน้ิวมือ .......................................................................................... 8 วิธีการตรวจเก็บลายนิ้วมือ .................................................................................... 16 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผงฝุน ........................................................................... 20 เคร่ืองมือวิทยาศาสตรที่ใชในงานวิจัย ................................................................... 25 งานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................................ 30 3 วิธีดําเนินการวิจัย ........................................................................................................... 38 เคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชในการทดลอง .............................................................. 38 การวิเคราะหคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงฝุนแมเหล็ก ................... 39 การตรวจเปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็กในการตรวจเก็บรอยลายนิ้วมือ แฝงดวยการทดสอบความพึงพอใจของผูชํานาญการดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ 41

Page 9: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

บทที่ หนา การวิเคราะหขอมูล: สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ............................................ 45 4 ผลการวิเคราะหขอมูล .................................................................................................... 47 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ............................................................................... 65 สรุปผลการวิจัย ..................................................................................................... 65 อภิปรายผล ............................................................................................................ 65 ขอเสนอแนะ ......................................................................................................... 67 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. 69 ภาคผนวก .................................................................................................................................. 72 ประวัติผูวิจัย .............................................................................................................................. 77

Page 10: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1 ผลการวิเคราะหเพื่อหาคาความช้ืน คาความหนาแนน คาการดูดซับนํ้ามันและ คาความถวงจําเพาะ ................................................................................ 48

2 ผลการหาปริมาณธาตุเหล็กดวยเคร่ือง ICP ....................................................... 48 3 ผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กจากเคร่ือง particle size analysis ...................... 48 4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผง ฝุนแมเหล็ก ............................................................................................. 61 5 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก โดยภาพรวม ........................................................................................... 61 6 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความ ละเอียดของเนื้อผงฝุน ............................................................................. 62 7 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความ เขมสีของผงฝุน ....................................................................................... 62

8 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานเน้ือ สัมผัสของผงฝุน ..................................................................................... 63 9 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดาน ลักษณะของผงฝุนโดยรวม ..................................................................... 63 10 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานการ เกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุน ................................................................... 6311 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความ คมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน ............................................... 64

12 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานการ กระจายตัวสม่ําเสมอของผงฝุน ............................................................... 64 13 สรุปผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................... 65

Page 11: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา 1 สวนประกอบและโครงสรางของผิวหนัง ........................................................... 7 2 ลายน้ิวมือชนิดโคงราบ ....................................................................................... 9 3 ลายน้ิวมือชนิดโคงราบ ....................................................................................... 9 4 ลายน้ิวมือชนิดโคงกระโจม ................................................................................ 10 5 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวาย ............................................................................. 11 6 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดขวา........................................................................... 11 7 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดซาย .......................................................................... 12 8 แสดงลายน้ิวมือชนิดกนหอย .............................................................................. 13

9 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยธรรมดา .......................................................................... 14 10 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยกระเปากลาง ................................................................... 14 11 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยกระเปาขาง ..................................................................... 15 12 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายคู.................................................................................... 15 13 ลายน้ิวมือชนิดซับซอน ...................................................................................... 16 14 องคประกอบที่สําคัญของเคร่ือง Scanning Electron Microscope (SEM) ........... 25 15 การกวาดของลําอิเล็กตรอนใน 1 แฟรม ............................................................. 26 16 Fourier lens Focusing......................................................................................... 28 17 ขั้นตอนการเกิดรังสีเอ็กซฟลูออเรสเซ็นของสารตัวอยาง ................................... 29 18 ผงฝุนแมเหล็กท่ีใชในการทดลอง ....................................................................... 39 19 การจําลองลายน้ิวมือแฝง .................................................................................... 43 20 เตรียมผงฝุนแมเหล็กสําหรับการปดหาลายน้ิวมือ .............................................. 43 21 ปดลายน้ิวมือแฝง ................................................................................................ 44 22 วิธีการเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง ............................................................................. 45 23 สเปคตรัมแสดงผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 1 ........................ 49 24 สเปคตรัมแสดงผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 2 ........................ 50 25 ลักษณะพื้นผิวและการกระจายตัวของผงฝุนแมเหล็กดวยภาพถายกําลังขยายสูง

จากเคร่ือง scanning electron microscope ............................................... 51 26 แสดงลักษณะพื้นผิวและการกระจายตัวของผงฝุนแมเหล็กดวยภาพถายกําลังขยาย

สูงจากเคร่ือง scanning electron microscope .......................................... 52

Page 12: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

ภาพท่ี หนา 27 ผลขนาดอนุภาคของตัวอยางท่ี 1 จากการถายภาพดวยเคร่ือง scanning electron

microscope ............................................................................................ 53 28 ผลขนาดอนุภาคของตัวอยางท่ี 2 จากการถายภาพดวยเคร่ือง scanning electron

microscope ............................................................................................. 54 29 ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุผงฝุนแมเหล็กตัวอยางท่ี 1 ...................... 55 30 ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุผงฝุนแมเหล็กตัวอยางท่ี 2 ...................... 55 31 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 1 ........................................................................ 56 32 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 2........................................................................ 56 33 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 3........................................................................ 57 34 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 4........................................................................ 57 35 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 5........................................................................ 58 36 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 6........................................................................ 58 37 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 7........................................................................ 59 38 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 8........................................................................ 59 39 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 9 ........................................................................ 60 40 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนท่ี 10 ...................................................................... 60

Page 13: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

1

บทท่ี 1 บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในสังคมยุคปจจุบันไดเกิดปญหาทางดานอาชญากรรมขึ้นมากมาย ซึ่งวิธีการท่ีจะสืบสวนเพื่อนําเอาตัวผูกระทําผิดท่ีแทจริงมาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรมน้ัน นับวาเปนขั้นตอนที่สํา คัญอย าง ย่ิง โดยจะตองมีความพยายามในการคนหา และการเก็บรวบรวมพยานหลักฐานท่ีมีความเกี่ยวของหรือเชื่อมโยงกัน เพื่อนํามายืนยันจนสามารถพิสูจนความผิดไดอยางชัดเจนและปราศจากขอสงสัย ดังน้ันในประเทศท่ีพัฒนาแลว จึงมีการนําเอาความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตาง ๆ มาประยุกตใช และนํามาพัฒนาในการตรวจพิสูจนหลักฐาน เนื่องจากในปจจุบันพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร ไดเขามามีบทบาทสําคัญในกระบวนการยุติธรรมมากข้ึน เพราะพยานหลักฐานในสถานท่ีเกิดเหตุสามารถทําใหทราบวามีการกระทําผิดเกิดข้ึน กระทําผิดดวยวิธีการใด ประสงคตอสิ่งใด และใครเปนผูกระทําผิด รวมท้ังการพิสูจนเพื่อยืนยันในความบริสุทธิ์ของผูถูกกลาวหาในคดี ซึ่งเปนผลลัพธที่ถูกตองแทจริงตามหลักวิทยาศาสตร และตามหลักยุติธรรมสากล รอยลายนิ้วมือแฝงของมนุษยคือหนึ่งในพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรที่สําคัญ ซึ่งมักจะถูกตรวจพบไดงายในบริเวณสถานท่ีเกิดเหตุ ถือไดวาเปนพยานหลักฐานที่มีคุณคาและมีความสําคัญในการตรวจพิสูจนทางวิทยาศาสตร สามารถนํามาใชเปนประโยชนในการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคล เพราะมีความแมนยําในการพิสูจนสูง เน่ืองจากลักษณะลายเสนท่ีปรากฏบนลายน้ิวมือของมนุษยแตละบุคคลจะไมเหมือนกัน มีลักษณะเฉพาะพิเศษที่แตกตางกัน (uniqueness) และไมสามารถเปลี่ยนแปลงตั้งแตเกิดจนกระทั่งตาย (permanence) และในทางวิทยาศาสตรไดทําการพิสูจนแลววาลายพิมพนิ้วมือของมนุษยนั้นสามารถนํามาตรวจใชในการตรวจพิสูจนเพื่อยืนยันตัวบุคคลไดอยางถูกตองแมนยําท่ีสุด ดังน้ัน การนําลายน้ิวมือมาใชในการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคลจึงเปนท่ียอมรับและนิยมใชในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ดวยเหตุผลที่ลายเสนที่ปรากฏขึ้นบนลายน้ิวมือของแตละบุคคลลายเสนที่ปรากฏบนลายนิ้วมือของมนุษยที่ไมเหมือนกันและจะไมเปลี่ยนแปลงต้ังแตเกิดจนตาย ทําใหมีวิธีการตรวจพิสูจนเอกลักษณบุคคลจากลายนิ้วมือความแมนยําสูงและมีผลตอการตรวจสอบ ดังน้ันลายนิ้วมือท่ีตรวจพบในสถานท่ีเกิดเหตุจึงสามารถนํามาใชเปนพยานหลักฐานท่ีสําคัญท่ีสุดชนิดในกระบวนการสืบสวนสอบสวน เพราะสามารถ

Page 14: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

2

นําไปตรวจพิสูจนเพื่อยืนยันผูกระทําความผิดและผูที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดในคดีตางๆ ไดเปนอยางดี นอกจากน้ียังสามารถนําไปตรวจเปรียบเทียบกับลายพิมพนิ้วมือในฐานขอมูลของระบบคอมพิวเตอร โดยเฉพาะระบบฐานขอมูลลายพิมพนิ้วมือของเจาหนาท่ีตํารวจหนวยสืบสวนสอบสวนคดีอาชญากรรม ซึ่งจะทําการเก็บรอยลายน้ิวมือจากสถานท่ีเกิ ดเหตุเพื่อนํามาตรวจเปรียบเทียบกับรอยลายน้ิวมือของผูตองสงสัยหรือผูที่มีประวัติอาชญากรรม เพื่อพิสูจนทราบถึงตัวผูกระทําผิดหรือผูที่อาจจะมีสวนเก่ียวของกับการกระทําผิดในคดีตางๆ เพื่อประโยชนในการสืบสวนสอบสวนและการดําเนินคดีตามกฎหมายตอผูที่กระทําความผิดตามกระบวนการยุติธรรม ในขั้นตอนการจับกุมตัวผูตองสงสัยนั้น โดยหลักปฏิบัติแลวจะตองมีการบันทึกประวัติและพิมพลายน้ิวมือสิบนิ้วเพื่อเก็บไวประกอบเปนหลักฐานทางคดี ซึ่งลายนิ้วมือแฝงเปนพยานหลักฐานท่ีเก็บไดจากสถานท่ีเกิดเหตุและสามารถนํามาเปรียบเทียบกับลายพิมพนิ้วมือผูตองสงสัย หากตรงกันแสดงวาผูนั้นอยูในสถานท่ีเกิดเหตุหรืออาจเปนผูกระทําความผิด ดวยเหตุที่ลายนิ้วมือแฝงในท่ีเกิดเหตุเปนสิ่งท่ีอาจถูกทําลายและทําใหเกิดความเสียหายไดงายเพราะมีความบอบบางโดยธรรมชาติของตัวมันเอง ดังน้ันในทุกขั้นตอนไมวาจะเปนการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝง การปดเก็บรอยลายนิ้วมือแฝงท่ีพบ โดยพยายามท่ีจะทําใหปรากฏรอยลายนิ้วมือแฝงไดอยางชัดเจนที่สุด ยอมมีโอกาสท่ีจะทําใหเกิดความเสียหายกับลายนิ้วมือแฝงนั้น ๆ ได การที่จะสามารถตรวจเก็บไดผลดีนั้นนอกเหนือจากอุปกรณที่ใช ก็ยังข้ึนอยูกับ ความใสใจ ความละเอียดออน ซึ่งถือเปนประสบการณที่จะสั่งสมจนเกิดเปนความชํานาญของผูที่ทําหนาท่ีตรวจเก็บลายน้ิวมือแฝงอีกดวย ในปจจุบันนี้มีวิธีที่ใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงอยูหลายวิธีที่นิยมปฏิบัติ เชน วิธีการใชผงฝุน , วิธีใชสารเคมี , วิธีใชกาซ, วิธีลอกรอยโดยใชเจลลาติน หรือเคร่ืองลอกรอยฝุน, วิธีหลอรองรอยโดยใชปูนปลาสเตอร, วิธีใชแสง และการถายภาพ เปนตน (กองพิสูจนหลักฐาน 2538:5) วิธีการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงดวยผงฝุนเปนวิธีหนึ่งท่ีงายท่ีสุดและนิยมใชในปจจุบัน ผงฝุนแมเหล็ก (Magnetic Fingerprint Powder) เปนผงฝุนชนิดหนึ่งท่ีนิยมใชเน่ืองจากผงฝุนแมเหล็กเปนผงฝุนที่ผูตรวจสถานที่เกิดเหตุนิยมนํามาใชงานเน่ืองจากลายน้ิวมือที่ไดมีความคมชัดไมเปรอะเปอนไมฟุงกระจายไมมีปญหาเร่ืองการใชผงฝุนมากเกินไปแลวท่ีสําคัญยังมีศักยภาพในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงไดหลายพื้นผิว เชน หนัง พลาสติก ผนัง กระดาษแมกระท่ังผิวหนังมนุษย นอกจากน้ันยังสามารถใชในการหารอยลายน้ิวมือแฝงบนพื้นผิวแนวตั้งไดอีกดวย ซึ่งปจจุบันตองสั่งซื้อและนําเขามาจากตางประเทศ จึงทําใหมีราคาสูง และในประเทศไทยยังไมมีการพัฒนาผงฝุนท่ีมีคุณภาพทัดเทียมท่ีสามารถนํามาใชงานไดจริงได และปจจุบันยังไมมีจําหนายในประเทศไทย

Page 15: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

3

จากเหตุผลดังกลาวขางตน จึงเปนเหตุใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาคุณสมบัติของผงฝุนแมเหล็กท่ีดีและมีความเหมาะสมสําหรับการนําไปใชในการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝง โดยทําการศึกษาเปรียบเทียบผงฝุนแมเหล็กสองชนิดเพ่ือพิจารณาวาผงฝุนแมเหล็กชนิดท่ีใหผลในการเก็บรอยลายนิ้วมือไดดีที่สุดน้ัน มีคุณสมบัติและองคประกอบอยางไรเพ่ือนําผลที่ไดไปเปนขอมูลในการพัฒนาผงฝุนแมเหล็กชนิดใหมที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมใกลเคียงกับผงฝุนของตางประเทศ อีกทั้งเปนประโยชนอยางมากตองานดานนิติวิทยาศาสตรของประเทศไทยตอไป 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาหาคุณสมบัติและองคประกอบสําคัญของผงฝุนแมเหล็ก 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพของรอยลายน้ิวมือแฝงท่ีไดจากการปดโดยผงฝุนแมเหล็กที่ใชในปจจุบัน 2 ชนิด 3. เพื่อนําผลที่ไดไปเปนขอมูลในการพัฒนาผงฝุนแมเหล็กชนิดใหมที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมใกลเคียงกับผงฝุนของตางประเทศ ตอไป 3. ขอบเขตของการวิจัย 3.1 ทําการวิเคราะหคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงฝุนแมเหล็ก ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหผงฝุนจากประเทศญ่ีปุนและประเทศอเมริกา 3.2 ทําการตรวจเปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็กโดยประเมินความพึงพอใจจากผูใชงานซึ่งเปนกลุมผูชํานาญการดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ 5. นิยามศัพทเฉพาะ

การปรากฏของรอยลายนิ้วมือ หมายถึง การมองเห็นลักษณะเสนลายนิ้วมือบนพ้ืนผิวที่รอยลายนิ้วติดอยู

ลายน้ิวมือ หมายถึง ลายเสนที่ปรากฏบนนิ้วมือมี 2 ชนิด คือเสนนูนและเสนรอง รอยลายน้ิวมือแฝง หมายถึง ลายน้ิวมือที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา

ผงฝุนแมเหล็ก (Magnetic Fingerprint Powder) หมายถึง สสารท่ีเปนของแข็งเปนผงฝุนท่ีมีสวนผสมของเหล็กเนื้อละเอียด ซึ่งตองใชกับแปรงแมเหล็ก MacDonell เปนผูที่คนพบวาผงฝุนแมเหล็กเปนอนุภาคท่ีสามารถใชในการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงจากพ้ืนผิวตางๆ เชน หนัง พลาสติก ผนัง และผิวหนังมนุษย นอกจากน้ันยังสามารถใชในการหารอยลายน้ิวมือแฝงบนพ้ืนผิวแนวต้ังไดอีกดวย วัตถุดิบพื้นฐานท่ีใชในผงฝุนแมเหล็ก คือ iron oxide และ iron powder dust รวม

Page 16: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

4

ดวยสารประกอบสีอ่ืนๆ เมื่อไมนานมาน้ีไดมีการพัฒนาบรรจุอนุภาคแมเหล็กที่เปนตัวชวยเหมือนแปรงและอนุภาคที่ไมเปนแมเหล็กเพื่อเพิ่มการยึดติดกับสารประกอบในรอยลายนิ้วมือแฝง ผูชํานาญการดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ หมายถึง ผูที่มีประสบการณในการปฏิบัติงานดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุและการตรวจเก็บรอยลายนิ้วมือแฝง ไมต่ํากวา 5 ป 6. กรอบแนวความคิดในการวิจัย

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวความคิด

ศึกษาคุณสมบัติและองคประกอบของผงฝุนแมเหล็ก

1. คาความช้ืน 2.คาความหนาแนน 3.คาความถวงจําเพาะ 4.คาการดูดซับน้ํามัน 5.ขนาดอนุภาคของสาร 6.ขนาดอนุภาค 7.องคประกอบของธาตุ 8) การถายภาพกําลังขยายสูง

วิเคราะหขอมูล

ผงฝุนแมเหล็กที่มคีุณสมบัติและองคประกอบที่เหมาะสมในการหารอยลายนิ้วมือแฝง

เปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็ก

ประเมนิความพึงพอใจของผูใช

Page 17: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

5

7. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย

1. ทําใหทราบถึงคุณสมบัติและองคประกอบสําคัญของผงฝุนแมเหล็กที่ใชอยูในปจจุบัน

2. สามารถนําขอมูลที่ไดไปใชในการผลิตผงฝุนแมเหล็กที่มีความเหมาะสมกับการใชตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงในสถานที่เกิดเหตุ

3. เพื่อเปนการชวยลดงบประมาณในการนําเขาผงฝุนแมเหล็กจากตางประเทศ 4. เพื่อนําผลที่ไดไปเปนขอมูลและแนวทางในการศึกษาวิจัยเพื่อผลิตผงฝุนแมเหล็ก

ตอไปและเปนแนวทางใหกับผูที่สนใจศึกษาในเร่ืองน้ีตอไป

Page 18: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

6

บทท่ี 2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวของ

การศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็กในการหาลายนิ้วมือ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควา เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่มีความสัมพันธเกี่ยวของเพ่ือใชเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยใหสามารถดําเนินการศึกษาไดอยางสมบูรณยิ่งข้ึน โดยจําแนกประเด็นที่มีความเกี่ยวของ ดังตอไปน้ี

1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับลายน้ิวมือ 2. ประเภทของลายน้ิวมือ 3. วิธีการตรวจเก็บลายน้ิวมือ 4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับผงฝุน 5. เคร่ืองมือวิทยาศาสตรที่ใชในงานวิจัย 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับลายน้ิวมือ ลายเสนผิวหนัง มาจากคําภาษาอังกฤษวา dermal ridge หรือ dermatoglyphics หมายรวมถึงลายเสนบนฝามือ (palm print) ลายน้ิวมือ (fingerprint) ลายฝาเทา(footprint) มีลักษณะเปนเสนนูนปรากฏบนผิวหนังนิ้วมือและน้ิวเทาของทุกคนเปนลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล แมแตฝาแฝดที่เกิดจากไขใบเดียวกัน (identical twins) ก็มีลักษณะลายเสนผิวหนังแตกตางกัน การสรางลายเสนบนนิ้วมือถูกควบคุมดวยยีนบนโครโมโซมของรางกายและเปนการถายทอดทางพันธุกรรมที่สิ่งแวดลอมมีอิทธิพลรวมดวย (polygenic trait, multifactorial inheritance) เชน ความเครียดของแมในชวงต้ังครรภ (maternal stress) ความสมบูรณของมารดา อัตราการเจริญเติบโตของทารกในครรภและการติดเช้ือระหวางต้ังครรภ เปนตน ทําใหแตละคนมีเสนลายน้ิวมือที่แตกตางกันไป ดังน้ันจึงมีการนําลายเสนผิวหนังโดยเฉพาะลายนิ้วมือไปใชประโยชนในดานนิติวิทยาศาสตร คือการพิสูจนบุคคลและดานการแพทยในการชวยวินิจฉัยโรคพันธุกรรมไดอีกดวย (อัมพา สําโรงทอง 2549)

Page 19: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

7

ภาพที่ 1 สวนประกอบและโครงสรางของผิวหนัง ที่มา: “Integumentary system”. เอกสารประกอบการบรรยาย Human Anatomy 415211, หลักสูตรกายวิภาคศาสตร คณะวิทยาศาสตรการแพทยมหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548. (อัดสําเนา)

ความสําคัญของลายน้ิวมือ ลายพิมพนิ้วมือมีความแมนยําในการพิสูจนบุคคล(Reliability in identification) ดวยเหตุผลดังตอไปนี้ 1. มีลักษณะคงทนไมเปลี่ยนแปลง คือ ลายเสนของผิวหนังเร่ิมปรากฏขึ้นต้ังแตทารกอยูในครรภมารดาประมาณเดือนท่ี 3 ถึงเดือนที่ 4 (Cummins and Middlo 1964: 40) ลักษณะลายเสนในลายน้ิวมือของมนุษยนี้จะไมมีการเปลี่ยนแปลงเลยจนแกและตายไป จะมีบางก็เพียงแตขยายใหชัดเจนย่ิงข้ึนตามลําดับวัย และความเจริญเติบโตขึ้นของรางกายเทาน้ัน เชน เมื่อเปนเด็กๆ อายุยังนอยลายเสนนิ้วมือก็จะเล็ก เมื่อเติบโตขึ้นหรืออายุมากข้ึนลายเสนของน้ิวมือก็จะขยายใหญขึ้น ในรูปและสภาพเดิม ถึงแมจะตายถาหากนิ้วมือยังไมเนาเปอย เชน มัมม่ี หรือศพ ฉีดยารักษาซากศพไวเปนรูปแหง ลายน้ิวมือที่ปรากฏอยูก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลง นอกจากน้ันในขณะท่ีนิ้วมือของมนุษยเกิดการไมปกติขึ้น เชน โรคหนังลอก ฝนกับของหยาบหรือใชน้ํากรดออนๆ กัดลายน้ิวมือเหลาน้ีจะลบเลือนไปเพียงช่ัวขณะหนึ่ง เมื่อนิ้วมือนั้นหายเปนปกติแลวลายเสนก็จะเกิดใหมโดยไมมีการเปลี่ยนแปลง ยิ่งกวาน้ันบางรายท่ีนิ้วมือถลอกของมีคมบาดจนเกิดเปนแผลเปน รอยแผลเปนเหลาน้ีอยางมากก็เพียงทําลายลายเสนของน้ิวมือไดเป นบางสวนเทาน้ัน สวนที่เหลือจะไมมีการเปลี่ยนแปลง ดวยเหตุนี้ลักษณะลายเสนของลายนิ้วมือมนุษยจึงนับวาเปนเคร่ืองหมายพิสูจนตัวบุคคลไดอยางดีเมื่อเปรียบเทียบกับลักษณะอ่ืนในรางกาย

Page 20: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

8

ของมนุษย เชน รอยแผลเปน รอยสัก ผิวหนัง ผม นัยนตา เพราะสิ่งเหลาน้ียอมเจริญขึ้นและเสื่อมลงไปตามวัย Hershel ไดทําการเก็บลายพิมพนิ้วมือของตนเองคร้ังแรกเมื่อป 1859 ขณะน้ันเขามีอายุ 26 ปและไดเก็บตัวอยางอีกคร้ังเม่ืออายุ 44 ป และคร้ังสุดทายเมื่ออายุ 83 ป พบวาไมมีการเปลี่ยนแปลงของลายเสนเลย นอกจากน้ี Welcker ก็ไดทําการเก็บลายพิมพนิ้วมือของตนเองเมื่อป 1856 ขณะน้ันอายุ 34 ป และเก็บอีกคร้ังเม่ือป 1897 คือเมื่ออายุ 75 ป ก็พบวาไมมีการเปลี่ยนแปลงของลายเสนเลย และในป 1887 Jemning ก็ไดทําการเก็บลายพิมพนิ้วมือของตนเองขณะอายุได 27 ป และเก็บอีกคร้ังเม่ืออายุ 50 ป ก็พบวาไมมีการเปลี่ยนแปลงของลายเสนเชนเดียวกัน (Cummins and Middlo 1961 : 41) 2. ไมอาจทําการเปลี่ยนแปลงลายน้ิวมือได ลักษณะลายเสนของน้ิวมือมนุษยยังไมมีวิธีการท่ีจะเปลี่ยนแปลงใหเปนอยางอ่ืนได เพราะเหตุวาหากลายเสนเสียหายไปดวยประการใดๆ ลายเสนน้ิวมือก็จะเกิดข้ึนใหมในรูปและสภาพเดิมเสมอ เวนแตจะไดทําลายใหลึกลงไปจนถึงตอมเหงื่อ โดยการเฉือนใตผิวหนังออกใหหมด ลายเสนของน้ิวมือจะถูกทําลายไปโดยสิ้นเชิงท่ีเปนเชนน้ีเนื่องจากลายเสนของลายน้ิวมือเกิดข้ึนจากในช้ันใตผิวหนังหรือที่เรียกวาช้ัน dermis นั่นเอง หากไมทําลายหรือเสียหายจนถึงชั้น dermis ลายเสนนิ้วมือก็จะไมเสียหายดวย 3. มีเอกลักษณเปนของตนเอง Sir Francis Galton ไดทําการตรวจแยกลายน้ิวมือของมนุษยออกเปนชนิด และกําหนดลักษณะพิเศษของลายเสนในนิ้วมือที่มีอยู ไมพบลักษณะลายพิมพนิ้วมือที่ซ้ํากัน รวมไปถึงประเทศตางๆ ทั่วโลกที่ไดตรวจลายพิมพนิ้วมือของมนุษยขึ้น ยังไมปรากฏวามีที่ใดไดเคยพบลายนิ้วมือของบุคคล 2 คน เหมือนกันหรือซ้ํากันเกิดข้ึน แมวาจะเปนคนคนเดียว แตคนละน้ิวก็ไมเหมือนกัน (วิโรจน ไวยวุฒิ 2532 : 352-353) ดวยเหตุนี้จึงเปนท่ีเชื่อไดวา จะไมมีลายนิ้วมือของบุคคลตั้งแต 2 คน ขึ้นไปมีโอกาสเหมือนกันหรือซ้ํากัน ไมวาบุคคลนั้นจะสืบสายโลหิตเดียวกันมา หรือเปนฝาแฝดกัน ตลอดจนแฝดกายติดกันออกมา ลายน้ิวมือของบุคคลน้ันก็ไมเหมือนกันหรือซ้ํากัน Sir Francis Galton รายงานวาโอกาสท่ีจะซ้ํากันเพียง 1 ใน 600 ลาน Balthazard ไดคํานวณวามีโอกาสเพียง 1/10 6 ซึ่งยิ่งนอยลงไปอีก (ฑีฆายุ ชินะนาวิน 2506 : 91)

2. ประเภทของลายน้ิวมือ จําแนกไดเปน 9 ประเภทดังตอไปน้ี

2.1 ประเภทโคง แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก

Page 21: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

9

Plain Arch) Tented Arch)

ภาพที่ 2 ลายน้ิวมือชนิดโคงราบ ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 3. 2.1.1 โคงราบ (plain arch) คือลักษณะของลายเสนในลายน้ิวมือ ที่ตั้งตนจากขอบเสนขางหนึ่ง แลววิ่งหรือไหลออกไปอีกขางหนึ่ง ลายน้ิวมือแบบโคงราบน้ี จัดเปนลักษณะลายเสนชนิดที่ดูไดงายที่สุดกวาบรรดาลายเสนในลายนิ้วมือทุกชนิด ไมมีเสนเกือกมา ไมเกิดมุมแหลมคมท่ีเห็นไดชัดตรงกลาง หรือไมมีเสนพุงสูงขึ้นตรงกลาง ไมมีจุดสันดอน ดังน้ันจํานวนเสนลายน้ิวมือจึงเปนศูนย

ภาพที่ 3 ลายน้ิวมือชนิดโคงราบ ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 4. 2.1.2 โคงกระโจม (tented arch) คือลักษณะลายเสนในลายนิ้วมือชนิดโคงราบนั่นเอง หากแตมีลักษณะแตกตางกับโคงราบที่สําคัญ ก็คือ

Page 22: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

10

2.1.2.1 มีลายเสนเสนหนึ่งหรือมากกวา ซึ่งอยูตอนกลางไมไดวิ่งหรือไหลออกไปยังอีกขางหนึ่ง หรือ 2.1.2.2 ลายเสนท่ีอยูตรงกลางของลายนิ้วมือ เสนหนึ่งหรือมากกวา เกิดเปนเสนพุงขึ้นจากแนวนอน หรือ 2.1.2.3 มีเสนสองเสนมาพบกันตรงกลางเปนมุมแหลมคมหรือมุมฉาก

ภาพที่ 4 ลายน้ิวมือชนิดโคงกระโจม ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 4.

Page 23: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

11

2.2 ประเภทมัดหวาย แบงออกเปน 2 ชนิด คือ

ÁÑ´ËÇÒ»Ѵ¢ÇÒ Right loop ÁÑ´ËÇÒ»Ѵ«éÒ Left loop

ภาพที่ 5 แสดงลายน้ิวมือชนิดมัดหวาย ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 3. 2.2.1 มัดหวายปดขวา (right slant loop หรือ radial loop) มัดหวายรูปใดที่มีปลายเสนเกือกมาปดปลายไปทางมือขวา หรือน้ิวหัวแมมือของมือน้ันเมื่อหงายมือ เรียกวามัดหวายปดขวา หรือมัดหวายปดหัวแมมือ

ภาพที่ 6 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดขวา ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 5. 2.2.2 มัดหวายปดซาย (left slant loop หรือ ulnar loop) มัดหวายรูปใดที่มีปลายเสนเกือกมาปดปลายไปทางมือซาย หรือทางน้ิวกอยของมือนั้นเม่ือหงายมือ เรียกวามัดหวายปดซาย หรือมัดหวายปดกอย

Page 24: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

12

ภาพที่ 7 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายปดซาย ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 6. ลายนิ้วมือแบบมัดหวายมีอยูประมาณ 65 % ของลายน้ิวมือทุกชนิดรวมกันในชาว ตะวันตก แตในคนไทยมีลายน้ิวมือแบบมัดหวายประมาณ 53% ของแบบแผนลายน้ิวมือทุกชนิด ซึ่งเปนสัดสวนที่มากกวาลายน้ิวมือประเภทอ่ืนๆ กฎของการเปนมัดหวาย คือ 1. ตองมีสันดอนขางใดขางหนึ่งเพียงขางเดียว 2. ตองมีเสนวกกลับที่เห็นไดชัดอยางนอย 1 รูป 3. ตองมีจุดใจกลาง และตองนับเสนจากจุดสันดอนไปถึงจุดใจกลางไดอยางนอย 1 เสน โดยเสนที่นับนี้ตองเปนเสนของเสนวกกลับที่สมบูรณอยางนอย 1 เสน โดยสรุปลายน้ิวมือแบบมัดหวายท้ังสองแบบจะมีจุดสันดอนหน่ึงแหงและจุดศูนยกลางหนึ่งจุด จํานวนเสนลายน้ิวมือ (ridge count) จึงมีหนึ่งจํานวน คือจํานวนเสนจากจุดศูนยกลางถึงจุดสันดอน

Page 25: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

13

2.3 ประเภทกนหอย แบงออกเปน 5 ชนิด คือ

¡é¹Ë͸ÃÁ´Ò Whorl) ¡é¹ËÍ¡ÃÐà»ëÒ¡ÅÒ§ Central pocket loop)

¡é¹ËÍ¡ÃÐà»ëÒ¢éÒ§ (Lateral pocket loop) ÁÑ´ËÇÒÂá½´ Twinned loop)

แบบซับซอน (Accidenta)

ภาพที่ 8 แสดงลายน้ิวมือชนิดกนหอย ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 3. 2.3.1 กนหอยธรรมดา (plain whorl) คือ ลายน้ิวมือที่มีเสนเวียนรอบเปนวงจร วงจรนี้อาจมีลักษณะเหมือนลานนาฬิกา เหมือนรูปไข เหมือนวงกลม ลักษณะสําคัญไดแก

Page 26: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

14

2.3.1.1 ตองมีจุดสันดอน 2 แหง และหนาจุดสันดอนเขาไปจะตองมีรูปวงจรหรือเสนเวียนอยูขางหนาจุดสันดอนท้ัง 2 จุด 2.3.1.2 ถาลากเสนสมมุติจากจุดสันดอนขางหนึ่งไปยังสันดอนอีกขางหน่ึง เสนสมมุติจะตองสัมผัสเสนวงจรหนาจุดสันดอนท้ัง 2 ขางอยางนอย 1 เสน

ภาพที่ 9 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยธรรมดา ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 6-7. 2.3.2 กนหอยกระเปากลาง (central pocket loop whorl) คือ ลายน้ิวมือแบบกนหอยธรรมดาน่ันเอง แตผิดกันตรงที่ลากเสนสมมุติจากสันดอนหนึ่งไปยังสันดอนหน่ึง เสนสมมุติจะไมสัมผัสกับเสนวงจรที่อยูตอนใน

ภาพที่ 10 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยกระเปากลาง ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 7.

Page 27: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

15

2.3.3 กนหอยกระเปาขาง (lateral pocket loop) คือลายน้ิวมือชนิดมัดหวายคู แตมีสันดอนอยูขางเดียวกัน

ภาพที่ 11 ลายน้ิวมือชนิดกนหอยกระเปาขาง ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 8. 2.3.4 มัดหวายคู หรือมัดหวายแฝด (double loop/twin loop) คือ ลายน้ิวมือที่มีรูปคลายกับลายนิ้วมือแบบมัดหวาย 2 รูป มากอดหรือมากล้ํากัน เปนลายน้ิวมือที่มีสันดอน 2 สันดอน มัดหวาย 2 รูปที่ปรากฏน้ีไมจําเปนจะตองมีขนาดเทากัน

ภาพที่ 12 ลายน้ิวมือชนิดมัดหวายคู ที่มา : อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 8.

Page 28: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

16

2.3.5 ซับซอน (accidental whorl) เปนลายน้ิวมือที่ไมเหมือนลายน้ิวมือชนิดอ่ืนที่กลาวมาแลว ไมสามารถจัดเขาเปนลายน้ิวมือชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเฉพาะ เปนลายน้ิวมือท่ีประ กอบดวยลายนิ้วมือแบบผสมกัน และมีสันดอน 2 สันดอน หรือมากกวา

ภาพที่ 13 ลายน้ิวมือชนิดซับซอน ที่มา :อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation) (กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินติ้ง จํากัด, 2546), 9. โดยสรุปกนหอย (whorl) เปนแบบแผนลายน้ิวมือที่พบประมาณ 30% ของแบบแผนลายน้ิวมือทุกแบบในชาวตะวันตก แตในคนไทยมีลายน้ิวมือแบบกนหอยประมาณ 45% มีลักษณะเปนลายเสนวนเวียนเปนรูปกนหอยหรือเปนวง มีจุดสันดอนสองแหงข้ึนไป และจุดศูนยกลางหนึ่งจุด ดังน้ันจึงมีคาจํานวนเสนลายน้ิวมือสองคา เพื่อความสะดวกในการจําแนกประเภทลายน้ิวมือ ดังน้ันลายน้ิวมือแบบกนหอย จึงหมายรวมถึง ลายนิ้วมือที่ไมจัดอยูในแบบโคงหรือมัดหวาย ไดแก มัดหวายคู (double loop whorl) หรืออาจเรียก มัดหวายแฝด (twin loop whorl) กนหอยกระเปากลาง (central pocket loop) กนหอยกระเปาขาง (lateral pocket loop) และแบบซับซอน (accidental whorl) 3. วิธีการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือ การตรวจหารอยลายนิ้วมือในสถานที่เกิดเหตุแตกตางกันไปตามเงื่อนไขของการประทับลายน้ิวมือ รอยลายนิ้วมือในสถานที่เกิดเหตุเปนรอยประทับ ที่ไมตั้งใจและเกิดความเสียหายไดงาย จึงจําเปนตองสังเกตเง่ือนไขการประทับกอนทําการตรวจเก็บ และเลือกวิธีการท่ีเหมาะสมดวยความระมัดระวัง 3.1 ลายน้ิวมือแฝงในสถานท่ีเกิดเหตุ พบได 2 ลักษณะ คือ 3.1.1 ลายน้ิวมือท่ีมองเห็นดวยตาเปลา

Page 29: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

17

ลายน้ิวมือที่เปอนฝุน เลือด น้ํามัน หรือ ไข ลายน้ิวมือลักษณะน้ีมองเห็นท้ังสวน กวางและ ยาว เกิดจากน้ิวมือที่มีเลือด หรือสารอ่ืนๆติดอยูไปสัมผัสกับวัตถุ ลายน้ิวมือที่นิ่มและไมยืดหยุน (Plastic Print) ลายน้ิวมือลักษณะน้ีมองเห็นทั้งสวนกวาง ยาว และลึก เชน ลายน้ิวมือที่กดบนดินน้ํามัน บนเทียนไข หรือปูนกึ่งแหง ลายน้ิวมือที่ปรากฏบนวัตถุผิวนิ่ม คือเสนรองของลายน้ิวมือ 3.1.2 ลายน้ิวมือที่มองไมเห็นหรือลายนิ้วมือแฝง ลายน้ิวมือที่มองเห็นดวยตาเปลาไดยากหรือมองไมเห็นเลย ตองใชแสงชวย หรือการใชสารเคมีบางชนิดทําใหปรากฏชัดเจนข้ึนไดแก ลายน้ิวมือบนวัตถุผิวเรียบ เชน กระจก กระดาษ ผา ไม เปนตน 3.2 การเปลี่ยนแปลงของรอยลายนิ้วมือ การเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติ ขึ้นกับสภาพวัตถุ หรือพื้นผิววัตถุที่รอยลายน้ิวมือประทับอยู สภาพเงื่อนไขของผูประทับรอยลายน้ิวมือ เชน ปริมาณ หรือ คุณภาพของเหงื่อ เงื่อนไขการประทับ เชน แรงท่ีใชกด ระยะเวลาที่ใชกด สภาพอากาศหรือเงื่อนไขแวดลอมอ่ืนๆเชน อุณหภูมิ ความช้ืน ลม ฝน น้ํา ฝุน (ลายน้ิวมือที่เกิดจากฝุนจะหายไปไดถามีฝนและลม) การเปล่ียนแปลงโดยมนุษย ลายน้ิวมือในสถานที่เกิดเหตุ ทาใหเสียไดงาย โดยการขัดถูหรือการสัมผัสอ่ืนๆ ภายนอก ซึ่งเกิดข้ึนบอยมากกับวัตถุที่มองไมเห็น บนวัตถุผิวไมดูดซับ และเรียบ เชน แกว กระเบ้ือง 3.3 การตรวจเก็บลายนิ้วมือ สามารถทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับพื้นผิวที่แตกตางกันไปอาทิ พื้นผิวรูพรุน พื้นผิวไมมีรูพรุน และพ้ืนผิวกึ่งรูพรุน ซึ่งการตรวจเก็บลายน้ิวมือสามารถทําไดหลายวิธีดังน้ี (พลตํารวจเอก อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, 2546) 3.3.1 วิธีแหง อาทิ วิธีการปดผงฝุน เปนวิธีการพ้ืนฐานท่ีใชในการปดผงฝุนลงในลายน้ิวมือแฝง และใชเทปลอกข้ึนมาติดบนกระดาษหรือที่รองรับ หรือโดยการถายภาพผงฝุนท่ีใชมีอยูหลากหลาย เชน ผงฝุนดํา ผงฝุนอลูมิเนียม ผงฝุนแมเหล็ก และผงฝุนเรืองแสงตาง ๆ ผงฝุนแตละชนิดมีคุณสมบัติที่แตกตางกัน คือ สี การยึดติด ขนาดของเม็ดฝุน ความสามารถในการเลือกติดผิววัตถุ ดังนั้นจึงจําเปนตองเลือกใชใหเหมาะสม 3.3.2 วิธีเปยก (วิธีทางเคมี) วิธีนี้ใชตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุที่มีผิวดูดซึม เชน กระดาษ ไม หลักการคือ องคประกอบในสารเคมีทําปฏิกิริยากับสารคัดหลั่งในลายน้ิวมือและรางกาย เชน Ninhydrin , Silver nitrate 3.3.3 วิธีกาซ หรือ Superglue

Page 30: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

18

3.3.4 วิธีลอกลายน้ิวมือ การใชเทปลอกลายน้ิวมือโดยตรง เชน เทปเจลลาติน เทปใส ใชตรวจเก็บลายน้ิวมือเปอนฝุน ไขมัน ลายนิ้วมือเปอนเลือดกรณีที่รอยลายนิ้วมือเร่ิมแหง 3.3.5 วิธีการถายภาพ บันทึกภาพลายน้ิวมือโดยใชแสงปกติหรือแสงเฉียง 3.3.6 วิธีใชแสง อาทิ Polylight สองหาลายน้ิวมือแฝง 3.3.7 วิธีหลอรอย อาทิ หลอรอยดวยปูนปลาสเตอร, Silicone Rubber 3.4 การตรวจเก็บรอยลายนิ้วมือดวยวิธีการตาง ๆ 3.4.1 นินไฮดริน(Ninhydrin) มีลักษณะเปนเม็ดละเอียดสีเหลืองออน เหมาะกับของกลางประเภทกระดาษและเอกสารตาง ๆ นินไฮดรินจะไปทําปฏิกิริยากับ กรดอะมิโนในเหง่ือ ทําใหลายนิ้วมือแฝง เปลี่ยนสีจากไมมีสีเปนสีมวง การเตรียมสารละลาย ninhydrin ละลายนินไฮ ดรินดวยตัวทําละลาย ไดแก acetone หรือ ethyl alcohol petroleum ether และ 7100-HFE 3.4.2 ซิลเวอรไนเตรท (Silver Nitrate) เหมาะกับตัวอยางประเภทกระดาษ ไม โดยจะทําปฏิกิริยากับเกลือโซเดียมคลอไรดในเหง่ือ ใหซิลเวอรคลอไรด (Silver Chloride) มีสีขาว ไมเสถียรเมื่อไดรับแสงจะแตกตัวเปน ซิลเวอร (Silver) และคลอไรด (Chloride) ทําใหรอยลายน้ิวมือแฝง ปรากฏออกมาเปนสีแดงหรือนํ้าตาลดํา 3.4.3 ไอโอดีน (Iodine) มีลักษณะเปนเกล็ดสีนาตาล วิธีการรมไอโอดีนเหมาะกับตัวอยางประเภท กระดาษ ผิวหนัง ฯลฯ เมื่อไดรับความรอนเพียงเล็กนอยจะระเหิดเปนไอ ไปสัมผัสกับของกลางที่คิดวามีลายน้ิวมือแฝงติดอยู ไอโอดีนจะไปเกาะกับไขมันหรือสารที่มีความมันจะดูดซับไอของไอโอดีน เม่ือรมควันวัตถุพยานดวยไอโอดีน ลายน้ิวมือแฝงที่มีน้ํามันหรือไขมันจะดูดซับไอของไอโอดีนทําใหลายน้ิวมือปรากฏเปนสีน้ําตาลแดง(บนพื้นดํา) ลายนิ้วมือที่ปรากฏน้ีไมถาวร ลายเสนจะคอยจางหายไปเมื่อหยุดรมควัน ดังน้ันการตรวจเก็บจึงตองเตรียมกลองบันทึกภาพไวใหพรอมเพื่อการบันทึกภาพทันที การจะทําใหลายน้ิวมือแฝงที่ปรากฏดวยไอโอดีนคงอยูไมจางหายไปจะตองใชสารหยุดการจาง ไดแก สารละลาย 7,8-benzoflavone การรมไอโอดีนตองใชภาชนะปดมิดชิดเชน ตูรมควัน หรือ iodine gun ในหองท่ีมีตูดูดควันหรือบริเวณท่ีอากาศถายเท การสูดไอของไอโอดีนเล็กนอยไมมีอันตราย แตการสูดไอโอดีนเปนเวลานานจะทําใหเกิดการระคายเคืองของผิวหนังระบบทางเดินหายใจ (วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ 2552 ) 3.4.4 Gentian Violet or Crystal violet เปนสียอมที่ใชยอมสีลายน้ิวมือแฝง โดยเหมาะกับรอยลายนิ้วมือแฝง ที่ติดอยูบนดานเหนียวของเทปใส เทปพันสายไฟ ที่เหนียวไมละลายนํ้า ซึ่งไมสามารถเก็บโดยวิธีการปดฝุนได

Page 31: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

19

3.4.5 Sticky-Side Powder ใชหาลายนิ้วมือบนดานเหนียวของเทปไดลายเสนลายนิ้วมือท่ีชัดเจนกวาวิธีอ่ืน ๆ ใชผงฝุนดําผสมกับนํ้าและ Photo-Flo ในปริมาณที่เทากัน ทาดวยแปรงลงบนดานเหนียวของเทปใส ทิ้งไวประมาณ 10-15 วินาที ลางออกดวยนํ้า 3.4.6 Small Particle Reagent (SPR) ประกอบดวยสารแขวนลอยของผง molybdenum disulfide ในสารละลายซักลาง (detergen) ซึ่งจะจับกับสวนประกอบของไขมันในลายน้ิวมือใหสีเทา เมื่อจะใชใหผสม SPR กับนํ้าและ Kodak Photo-Flo 200 ใสขวดสเปรย เขยาใหเขากัน ฉีดพนไปบนบริเวณที่ตองการหาลายนิ้วมือแลวฉีดนํ้าลาง รอใหแหงแลวบันทึกภาพถาย หรือเก็บรอยที่แหงดวยเทปใส วิธีนี้เหมาะสําหรับการหาลายนิ้วมือบนกระดาษแข็ง โลหะที่เปนสนิม คอนกรีต พลาสติก ไวนิล ไม แกว กระปองโซดา กระดาษไข วัตถุผิวเปยก 3.4.7 Sudan Black เปนสียอมองคประกอบของไขมันของตอมไขมันใหมีสีน้ําเงินเขม ใชหาลายนิ้วมือบนวัตถุผิวเรียบ ผิวหยาบ ผิวไมมีรูพรุนท่ีเปอนไข หรือสารท่ีมีความเหนียว ใชไดดีบนแกว โลหะ พลาสติก พื้นผิวมัน เชน กระดาษอาบไข 3.4.8 ซุปเปอรกลู หรือกาว (Super glue or Cyanoacrylate ester) เหมาะกับของกลางที่พื้นผิวไมเรียบหรือมีพื้นผิวสีเขม เชน ประเภทเคร่ืองหนัง, กระดาษ, ถุงพลาสติก, แกว, ผา, ใบไม, โลหะตาง ๆ เปนตน หรือลายน้ิวมือที่เปนรอยเกาบนวัตถุพยานท่ีปดผงฝุนไมติด เมื่อไดรับความรอนจะระเหยเปนโพลีเมอรใหควันไอสีขาว ซึ่งมีความเขมขนสูงแลวทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนและน้ําในเหง่ือ ทําใหรอยลายน้ิวมือแฝง ปรากฏเปนลายเสนสีขาว การรมควัน super glue กระทําในภาชนะที่ปดมิดชิด อาจเปนตูกระจกหรือตูพลาสติก หรือตูอบ superglue หลังจากน้ันทําการบันทึกภาพถายลายน้ิวมือ กอนที่จะนําไปทําการปดผงฝุน หรือยอมสีเรืองแสงหรือวิธีการอ่ืนๆ 3.4.9 Amino Black เปนสียอมโปรตีนท่ีอยูในเลือดหรือ body fluid อ่ืน ๆ ใหสีน้ําเงินเขม amino black ไมทําปฏิกิริยาใด ๆ กับสารในลายน้ิวมือ ชวยทําใหลายน้ิวมือที่เปอนเลือดแมจะมองไมเห็นใหปรากฏเห็นชัดเจนข้ึน ใชไดบนวัตถุผิวรูพรุนและผิวไมมีรูพรุน เชน ศพ ไม กระดาษ (วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์ 2552 ) 3.4.10 Rhodamine 6G เปนผงเรืองแสงท่ีใหผลดีที่สุดตัวหนึ่งเม่ือใชกับแสงเลเซอร หรือ Forensic Light Source อ่ืน ๆ งายตอการใชงาน โดยผสม 0.1 กรัมในตัวทําละลาย 2-3 ลิตร ใชยอมสีโลหะ แกว หนัง พลาสติก หรือ วัตถุอ่ืน ๆ ควรทดสอบอัตราสวนกอนวาอัตราสวนเทาใดเหมาะสมกับผิววัตถุชนิดหน่ึง ๆ สามารถใช Rhodamine 6G ปดบนผิววัตถุไดโดยตรง 3.4.11 Ardrox เปนของเหลวเรืองแสงซ่ึงใชรวมกับ Forensic Light Source และ UV Lamp ลายน้ิวมือแฝงท่ีรมดวย Super Glue ยอมสีดวย Ardrox จะเรืองแสงภายใตแสง 365 nm, 450-480 nm

Page 32: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

20

3.4.12 DFO (1,8-Diazafluoren-9-one) ทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนในลายนิ้วมือซึ่งมองไมเห็นในแสงปกติ แตจะเรืองแสงชัดเจนในแสงพิเศษ DFO จะทําใหรอยลายนิ้วมือปรากฏบนกระดาษมากกวาใชนินไฮดรินเพียงอยางเดียว 2.5-3 เทา ถาใชรวมกับนินไฮดรินจะตองใชวิธี DFO กอน DFO ถูกนํามาใชโดย Pounds และคณะในป 1989 (Pounds และคณะ, 1990) โดยจะทําปฏิกิริยากับกรดอะมิโนท่ีมีในรอยลายพิมพนิ้วมือแฝงแลวจะใหสีชมพูซีด ๆ ขึ้นตามรองสัน โดยจะขึ้นอยูกับความรอนที่ถูกมาใชดวย การเรืองแสงในอุณหภูมิหองที่สูง ๆ ก็จะเกิดขึ้นไดเชนกันโดยไมตองมีการยอมใด ๆ สําหรับ DFO reagentนี้ ไดรับการยอมรับวาวองไวมากกวาเม่ือเทียบกับ ninhydrin แตอยางไรก็ตามninhydrin กลับเปนตัวที่ถูกนํามาใชอยางกวางขวางมากกวาเน่ืองจากปจจัย ดานราคา และสี ที่เกิดขึ้นในขั้นแรกที่เขมกวา 3.4.13 1,2–indanedione เปนสารเคมีเรืองแสงท่ีใชตรวจหาลายนิ้วมือแฝงบนพ้ืนผิวรูพรุนได ถูกนํามาใชเปนสารเคมียอมลายน้ิวมือเมื่อป 1997 โดย Ramotowski และคณะโดยตอยอดจากการวิจัยสารที่มีสวนคลายคลึงกับ ninhydrin (ninhydrin analogues) ของ Jouille และผูรวมงานในหนวย งาน US Secret Service ซึ่งการคนควาน้ีไดนํามาใชเปนแนวทางการศึกษา เพื่อหาประสิทธิภาพของ 1,2-indanedione ในการใชตรวจหาลายน้ิวมือ นอกจากน้ี Hague และคณะไดทดลองเพ่ือหาระดับของ 1,2-indanedione ในการยอมสีกรดอะมิโนในป 1998 ในการวิจัยเบ้ืองตนพบวาความเขมขนของ 1,2-indanedione ในระดับตาง ๆ กันที่นํามาทดลองน้ันทําใหการยอมเกิดการเรืองแสงไดมากกวา DFO 4. แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับผงฝุน ผงฝุนที่มีการใชงานในดานนิติวิทยาศาสตรมีดวยกันหลายชนิด แตละชนิดมีคุณสมบัติ คือ สี การยึดติด ขนาดของเม็ดฝุน การฟุงกระจาย ความสามารถในการติดบนผิววัตถุแตละชนิดแตกตางกัน ควรเลือกผงฝุนท่ีเหมาะสมกับชนิดของพ้ืนผิววัตถุของกลาง และบางคร้ังอาจผสมผงฝุน 2 ชนิด หรือมากกวา ซึ่งเรียกวาผงฝุนผสม โดยการผสมผงฝุนสามารถปรับสีและการยึดติดได ชนิดและสัดสวนในการผสมนั้นจะข้ึนกับสภาพอากาศ ความช้ืนเปนตน ตัวอยางเชน การผสมระหางผงอลูมิเนียมกับไลโคโปเดียมเพื่อปองกันมิใหผงฝุนอลูมิเนียมติดผิววัตถุมากเกินไป คุณสมบัติของผงฝุนชนิดตาง ๆ ผงฝุนอลูมิเนียม (Aluminium powder) ผลิตจากโลหะอลูมิเนียมบริสุทธิ์ 100 % บดเปนผงละเอียด คุณสมบัติเปนผงฝุนสีเงินวาว ใชสําหรับตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนพ้ืนผิววัตถุไดเกือบทุกชนิด เพราะมีความไวในการเกาะจับลายน้ิวมือมากท่ีสุด มีความสามารถในการเกาะจับกับวัตถุ 100 % ใชสําหรับตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนวัตถุตางๆ เชน แกว กระจก พลาสติก

Page 33: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

21

เซรามิค ไมผิวเรียบ ไมอัด ไมไผ เหล็กเคลือบสี แผนยางแข็ง แผนโลหะชนิดตางๆ ใบไมสด เปนตน ผงฝุนไฮเนียม (Hi-nium powder) องคประกอบผลิตจากโลหะอลูมิเนียมบริสุทธิ์ 100 % บดเปนผงละเอียด เคลือบอนุภาคของผงฝุนดวยสารปองกันประจุไฟฟา เพื่อชวยปองกันผงฝุนจากไฟฟาสถิต คุณสมบัติ เปนผงฝุนสีเงินวาว มีความสามารถในการเกาะจับกับวัตถุ 80 % ใชสําหรับตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนวัตถุหลายชนิด เชน แกว กระจก พลาสติก ไมผิวเรียบ ไมอัด ใบไม เปลือกผลไมบางชนิด โลหะบางชนิด เชน ดีบุก สังกะสี อลูมิเนียม สแตนเลส ทองเหลือง เปนตน นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติพิเศษในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงไดดีบนพื้นผิววัตถุที่มีไฟฟาสถิตโดยเฉพาะในฤดูหนาวหรือพื้นที่มีอากาศแหงแลง ผงฝุนซีเปย มีองคประกอบของผงแมงกานิสไดออกไซด มีสีน้ําตาลเขม ขนาดอนุภาคอยูในระดับละเอียดมาก ผงฝุนสีขาว (White powder) องคประกอบผลิตจากไขสีขาว80 % ซิงคออกไซด 10 % ซิงคซัลไฟด 5 % แบเรียมซัลไฟด 5 % โดยนํ้าหนัก คุณสมบัติเปนผงฝุนสีขาวบริสุทธิ์ ผงละเอียดมีน้ําหนักเบา มีความสามารถในการเกาะจับกับวัตถุ 30 % ผลิตข้ึนเพ่ือใชตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงเชนเดียวกับผงฝุนสีดํา บนพื้นผิวที่มีสีตางกันใชสําหรับตรวจหารอยลายนิ้วมือบนวัตถุตางๆ ที่ผงฝุนสีดําตรวจหาได เชน แกว กระจก พลาสติก กระเบื้อง แจกัน ภาชนะทาแลคเกอร เปนตน ผงฝุนไลโคโปเดียม (Lycopodium powder) องคประกอบผลิตจากสปอรของพืชช้ันต่ํา ชื่อ (Lycopodium sp.) ที่ผานการฆาเช้ือแลว 100% คุณสมบัติเปนผงฝุนขาวอมเหลือง มีความละเอียดและเบา มีความสามารถเกาะจับพื้นผิววัตถุออนเทากับผงฝุนสีดํา สวนใหญจะใชผสมกับผงฝุนชนิดอ่ืนเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและลดความแรงของผงฝุนประเภทอ่ืนมีความสามารถในการเกาะจับกับวัตถุ 30% ผงฝุนไลโคโปเดียมเหมาะสําหรับใชในการตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุตางๆ เชน วัตถุที่มีผิวหยาบ หนัง ไวนีล ถุงพลาสติกชนิดหนาและมัน เปนตน ผงฝุนสีเทา (Grey powder) องคประกอบผลิตจากผงฝุนอลูมิเนียม 70% รวมกับผงตะก่ัวดํา 30% โดยนํ้าหนัก คุณสมบัติ เปนผงฝุนสีเทา มีความสามารถในการเกาะจับกับวัตถุ 80% มีความสามารถในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนวัตถุหลายชนิด เชนเดียวกับผงฝุนอลูมิเนียม แตมีสีที่ตางกันและการเกาะจับผิววัตถุนอยกวาใชสําหรับตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุตางๆ เชน แกว กระจก พลาสติก ถุง พลาสติกใสของ เปนตน ผงฝุนสีเหลือง (Yellow powder) องคประกอบผลิตจากผงฝุนไลโคโปเดียม 85% รวมกับถานสีเหลือง 15% โดยนํ้าหนัก คุณสมบัติเปนผงฝุนสีเหลือง น้ําหนักเบา ใชสําหรับตรวจหารอย

Page 34: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

22

ลายน้ิวมือแฝงบนวัตถุชนิดตางๆ เชน แผนยาง หนัง โลหะ ผาบางชนิดท่ีมีน้ํามันหรือไขมัน ผลิตภัณฑไฟเบอรและเปลือกผลไมบางชนิด เปนตน ผงฝุนฟลูออเรสเซนต (Fluorescent powder) องคประกอบผลิตจากผงฝุนไลโคโปเดียม 20% รวมกับสีสะทอนแสง 80% โดยน้ําหนัก คุณสมบัติ เปนผงฝุนสีเหลืองสะทอนแสง มีวัตถุประสงคเพื่อใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงรวมกับแสงอัลตราไวโอเลต (UV) สําหรับรอยลายนิ้วมือแฝงบางประเภทท่ีสะทอนแสง หรือมองดวยตาเปลาไมเห็น และใชไดดีกับหนังชนิดตาง ๆ เชน กระเปาหนังปกสมุดไดอาร่ีที่เปนหนัง เปนตน ผงฝุนสีทอง (Gold powder) องคประกอบผลิตจากทองเหลืองบริสุทธิ์ 100% บดละ เอียด คุณสมบัติเปนผงฝุนสีทอง มีน้ําหนักมาก มีความสามารถในการเกาะจับพื้นผิววัตถุไดใกล เคียงกับผงฝุนอลูมิเนียม แตมีสีตางกันจึงสามารถใชแทนกันได ใชสําหรับตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนภาชนะเคลือบ แผนทองแดง โลหะที่มีผิวหยาบ พลาสติก เปนตน ผงฝุนทองแดง (Copper powder) องคประกอบผลิตจากทองแดงบริสุทธิ์ 100% บดเปนผงละเอียด คุณสมบัติ เปนผงฝุนสีทองแดง มีน้ําหนักมาก ใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงไดเชนเดียวกับผงฝุนสีทอง บนพื้นผิววัตถุที่มีสีตางกัน ใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนวัตถุตางๆ เชน พลาสติกใส เปนตน ผงฝุนสีแดง (Red powder) องคประกอบผลิตจากทองแดงบริสุทธิ์ 100 % บดเปนผงละเอียดผสมกับสีแดง คุณสมบัติ เปนผงฝุนสีแดงทุกประการ แตใชในพื้นผิววัตถุที่มีสีตางกัน ผงฝุนดรากอนบลัด (Dragon blood powder) ผลิตจากเลดออกไซด 100% คุณสมบัติเปนผงฝุนสีสมอมแดงเปรียบเปนสีของโลหิตมังกรและมีน้ําหนักมากท่ีสุด ใชสําหรับตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุหลายชนิด เชน กระปองดีบุก แผนสังกะสี แผนอลูมิเนียม โลหะ กอนหิน เปนตน ผงฝุนเอสพีแบล็ค (SP-Black powder) องคประกอบผลิตจากผงฝุนอลูมิเนียมสีดํา คุณสมบัติเปนผงฝุนสีดํา มีคุณสมบัติ และวิธีการใชเหมือนผงฝุนอะลูมิเนียมเกือบทุกประการ แตมีการเกาะจับบนพื้นผิววัตถุไดนอยกวา เหมาะสําหรับใชตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุชนิดตางๆ เชน ผิวของโลหะตาง ๆ และใชแทนผงฝุนอลูมิเนียมในบางกรณี เปนตน ผงฝุนอินดิโกติน คุณสมบัติเปนผงฝุนสีมวง เหมาะสําหรับใชตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนวตัถุชนิดตาง ๆ เชน พลาสติก แกว โลหะผิวหยาบ เปลือกไข ผงฝุนแมเหล็ก (Magnetic Powder) ผงฝุนแมเหล็กเปนผงฝุนท่ีมีสวนผสมของเหล็กเนื้อละเอียด ซึ่งตองใชกับแปรงแมเหล็ก MacDonell เปนผูที่คนพบวาผงฝุนแมเหล็กเปนอนุภาคที่

Page 35: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

23

สามารถใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงจากพื้นผิวตางๆ เชน หนัง พลาสติก ผนัง และผิวหนังมนุษย นอกจากน้ันยังสามารถใชในการหารอยลายน้ิวมือแฝงบนพื้นผิวแนวตั้งไดอีกดวย วัตถุดิบพื้นฐานท่ีใชในผงฝุนแมเหล็ก คือ iron oxide และ iron powder dust รวมดวยสารประกอบสีอ่ืนๆ เมื่อไมนานมาน้ีไดมีการพัฒนาบรรจุอนุภาคแมเหล็กที่เปนตัวชวยเหมือนแปรงและอนุภาคท่ีไมเปนแมเหล็กเพื่อเพิ่มการยึดติดกับสารประกอบในรอยลายน้ิวมือแฝง ในสมัยกอนมีการนําเอาผงแมเหล็กมาใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝง แตเนื่องจากผงแมเหล็กนี้ประกอบดวยผงละเอียดของโลหะ เชนผงอลูมิเนียม ขนาด 10 ไมครอน ซึ่งไมมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กผสมกับผงซึ่งมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กมีขนาด 50 ไมครอน ทําหนาท่ีเปนตัวพา(carrier) ซึ่งเฉพาะสวนของผงละเอียดเทาน้ันท่ีจะไปเกาะติดกับรอยลายน้ิวมือแฝง การท่ีตองใชตัวพา ที่มีลักษณะท่ีหยาบทําใหปริมาณผงฝุนติดไดนอยลง ภายหลังจึงไดมีการเอา magnetic flake มาใช ซึ่งมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กและละเอียดมากไมตองใชตัวพา ไมตองใชแปรง ทําใหชวยลดความเสียหายอันอาจเกิดจากการใชแปรงได อีกทั้งยังทําใหปริมาณผงฝุนติดไดมากย่ิงข้ึน องคประกอบองคประกอบของผงฝุนแมเหล็กโดยท่ัวไปจะผลิตจากผงเหล็กอิเล็คโตรไลทเติมคารบอน คุณสมบัติเปนผงฝุนสีเทาดํา เหมาะสําหรับใชตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุชนิดตาง ๆ เชน กอนหิน หนัง พลาสติก ไมที่ไมทาสี กระดาษ(รวมทั้งกระดาษท่ีเปยกไดดี) ผงฝุนสีดํา (Black powder) องคประกอบผลิตจากผงตะก่ัวดําและคารบอนดํา คุณสมบัติของผงฝุนสีดํา ผงละเอียดและเบา ใชสําหรับตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนวัตถุมากมายหลายชนิด เชน แกว กระจก พลาสติก เซรามิค ยางสังเคราะห เปลือกไข กระเบ้ืองปูพื้น เปนตน ปจจัยในการเลือกใชผงฝุน 1. พื้นผิว ควรเหมาะสมกับผงฝุนและไมดึงดูดลายน้ิวมือ 2. สีของพ้ืนผิวลายพิมพนิ้วมือ ควรเลือกใหแตกตางมากท่ีสุดกับพื้นผิวที่มีลายน้ิวมือแฝงเกาะอยู 3. ผงตองยึดเกาะดี 4. ขนาดอนุภาคของผงความละเอียดเพียงพอจะไดผลดี รูปแบบชัดเจน วิธีการสําหรับตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีผงฝุน มีขั้นตอนดังน้ี 1. ควรศึกษาวิธีการใชผงฝุนแตละชนิดใหดีวาเหมาะสมกับลายน้ิวมือแฝงบนพื้นผิววัตถุชนิดใด ใชกับแปรงชนิดใด หรือใชวิธีใดในการใชผงฝุน ควรเลือกผงฝุนท่ีมีสีตัดกันกับสีของพื้นผิววัตถุถาเปนได ที่สําคัญควรมีการทดลองใชผงฝุนเปนประจํา เพื่อใหเกิดความชํานาญกอนลงมือปฏิบัติจริง

Page 36: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

24

2. ควรแยกแปรงปดผงฝุนแตละชนิดออกจากกัน แปรงท่ีใชกับผงฝุนชนิดหน่ึงแลว ไมควรใชกับผงฝุนอีกชนิดหน่ึงในเวลาเดียวกัน เพราะทําใหประสิทธิภาพของผงฝุนชนิดน้ันลดลง สงผลใหไดรอยลายนิ้วมือแฝงท่ีไมสมบูรณ และสีของลายนิ้วมือแฝงก็ไมชัดเจน เมื่อลอกลงบนพื้นกระดาษสีขาวหรือสีดํา เมื่อใชแปรงเสร็จแลวควรทําความสะอาดเก็บในกลองแปรงเพื่อรักษารูปทรงและปองกันสิ่งสกปรก 3. เมื่อใชผงฝุนแตละคร้ังใหแบงผงฝุนออกจากขวดท่ีบรรจุลงในภาชนะเล็กๆ ที่ประมาณวาจะใชผงฝุนหมดในคร้ังน้ันๆ เมื่อใชผงฝุนไมหมดหามเทกลับลงไปในขวดท่ีบรรจุ เพื่อปองกันความสกปรก ความช้ืนซึ่งทําใหผงฝุนมีคุณภาพลดลง ที่สําคัญหามจุมแปรงลงในขวดท่ีบรรจุผงฝุนโดยเด็ดขาด 4. เมื่อเร่ิมหารอยนิ้วมือแฝง ควรใชผงฝุนแตนอย ใชแปรงแตะผงฝุนในภาชนะท่ีแบงผงฝุนออกมาแลว แลวเคาะเบาๆ เพื่อไมใหผงฝุนเกาะจับขนแปรงมากเกินไป เมื่อลงมือปดฝุนจะไมทําใหมีผงฝุนเกาะจับพื้นผิววัตถุมากเกินไป จนลายน้ิวมือแฝงที่ไดไมชัดเจน 5. ควรปดผงฝุนดวยแปรงเบา ๆ วนเปนวงกลม หรือไปในทิศทางเดียวกัน ไมควรปดแปรงไปกลับในทิศทางท่ีสวนกัน ปดแรงๆ หรือนานเกินไป แมวาแปรงปดฝุนจะเปนขนสัตวที่ออนนุมก็ตาม อาจจะทําใหรอยลายนิ้วมือแฝงท่ีไดไมสมบูรณ กรณีแปรงปดผงฝุนไมตรงกับชนิดของพื้นผิว หามใชแปรงที่ทําจากเสนใยสังเคราะหประเภทเดียวกับแปรงปด 6. เมื่อปรากฏรอยลายนิ้วมือแฝงข้ึนมาแลว ควรใชแวนขยายสองดูกอนวาชัดเจนเพียงพอหรือไม มีผงฝุนเกาะจับรอยลายน้ิวมือแฝงโดยท่ัวไปหรือไม มีผงฝุนเกาะจับสิ่งสกปรกรอบรอยลายนิ้วมือแฝงมากนอยเพียงใด จากน้ันใชแปรงขนมาสวนแคบปดผงฝุนสวนเกินรอบๆ รอยลายน้ิวมือแฝงออกบาง 7. ใชเทปใสคุณภาพดี เชน สกอตเทปใสเบอร 600 ยี่หอscott 3M ซึ่งมีความเหนียวและความหนาท่ีพอเหมาะสามารถดึงรอยข้ึนมาโดยท่ีเทปใสไมขาดปดทับลงบนรอยลายน้ิวมือแฝง คอยๆ รีดลงบนพื้นผิววัตถุไมไดเกิดฟองอากาศ ใชผาหรือกระดาษทิชชู กดเบาๆบนเทป เพื่อใหเทปติดกับรอยลายน้ิวมือแฝงมากท่ีสุด ลอกออกเบาๆ ในทิศทางเดียว นํามาปดทับลงบนกระดาษสีขาวหรือสีดํา ใหมีความเหมาะสมกับสีของลายนิ้วมือแฝง ควรระวังในการปดทับใหทําเพียงคร้ังเดียว หามลอกออกมาแลวปดทับลงไปใหม จะทําใหรอยลายน้ิวมือแฝงเสียหายได

Page 37: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

25

5. เคร่ืองมือวิทยาศาสตร ท่ีใชในงานวิจัย 5.1 Scanning Electron Microscope Scanning Electron Microscope เรียกโดยยอวา SEM หรือในภาษาไทยเรียกวา กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด ใชอิเล็กตรอนในการสรางภาพขยายเชนเดียวกับ TEM แตมีความแตกตางในรายละเอียดของกระบวนการในการสรางภาพอยางมาก SEM เคร่ืองแรกประดิษฐขึ้นในชวงทศวรรษที่ 1960 จากน้ัน SEM ก็คอยๆกลายเปนเคร่ืองมือที่นําไปประยุกตใชแพรหลายท่ัวไป ทั้งในดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี การแพทย อุตสาหกรรม นิติวิทยาศาสตร โบราณคดี และอ่ืนๆอีกหลายดาน

ภาพที่ 14 องคประกอบที่สําคัญของเคร่ือง Scanning Electron Microscope (SEM)

อิเล็กตรอนจะถูกสรางข้ึนโดยใช Electron Gun จากน้ันลําอิเล็กตรอนจะถูกโฟกัสใหเขมข้ึนและเสนผานศูนยกลางเล็กลงโดย Condenser Lens จากน้ันจะถูกโฟกัสใหตกลงบนผิวตัวอยาง โดย Objective Lens ซึ่ง ณ ตอนน้ี อิเล็กตรอนที่ตกลงบนผิวตัวอยางจะเปนเพียงจุดท่ีเล็กมาก Scan Coil จะควบคุมการกวาดของลําอิเล็กตรอนใหกวาดจากซายไปขวา เมื่อสุดก็เลื่อนลงอีกขั้นและกวาดจากซายไปขวาอีกคร้ัง เปนเชนน้ีจนครบ Frame การกวาดลําอิเล็กตรอนเชนนี้เรียกวา raster scan และเมื่อครบ frame แลวก็จะไปเร่ิมแสกนที่จุดแรกใหม ในการกวาดลําอิเล็กตรอนในแต

Objective lens

Electron from specimen

Beam deflector

specimen Detector

Scan generator

Condenser

Video

screen

Electron gun

Page 38: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

26

ละframeจะถูกกําหนดจํานวนจุดและแถวไวอยางแนนอน โดยในภาพตัวอยาง 1 แฟรม ตามเสนตามแนวนอนจะประกอบดวยจุด 1000 จุด และมีทั้งหมด 1000 เสน ที่ผิวตัวอยางท่ีอิเล็กตรอนตกใส จะเกิดสัญญาณอิเล็กตรอนข้ึนหลายรูปแบบซึ่งคลายกับการท่ีแสงตกกระทบวัตถุและสะทอนออกจากผิววัตถุ ในที่นี้ถากลาวอยางงาย ๆ วาถาผิวตัวอยางเรียบก็จะใหสัญญาฯสะทอนอิเล็กตรอนไดดี แตถาผิวตัวอยางเปนหลุมลึกก็จะไมใหสัญญาณหรือใหไดนอย ซึ่งเราสามารถรับสัญญาณไดโดยใชDetectorที่เหมาะสมกับชนิดของสัญญาณ สัญญาณท่ีไดจะนํามาขยายใหมีความแรงท่ีเหมาะสมแลวนํามาสรางเปนภาพ เราใชหลอดรรังสีแคโธด (Cathod ray tube, CRT) เพื่อแสดงภาพ ในหลอดรังสีแคโธดจะมีการสรางลําอิเล็กตรอนและถูกบีบใหเปนลําเล็กๆ แตมีเสนผานศูนยกลางใหญกวาในกลอง SEM มาก กลาวคือใน SEM ลําอิเล็กตรอนมีขนาดศูนยกลางในระดับนาโนเมตร คืออาจตํ่าไดถึง 5 นาโนเมตรหรือต่ํากวา แตในจอ CRT มีขนาดศูนยกลางประมาณ 0.1 เซนติเมตร เมื่อพิจารณาอัตราสวนของลําอิเล็กตรอนของ SEM ตอ CRT จะพบวาหางกันถึง 20000 เทา ทําใหเกิดเปนอัตราสวนของกําลังขยายท่ีจะใหภาพท่ีมีรายละเอียดไดดี ซึ่งจะไดกลาวตอไป

ภาพที่ 15 การกวาดของลําอิเล็กตรอนใน 1 แฟรม

การแสกนใน CRT จะถูกควบคุมใหมีการสแกนแบบ Raster scan พรอม ๆ กับการแสกนของลําอิเล็กตรอนในกลอง ขณะเดียวกันความสวางของจุดอิเล็กตรอนใน CRT จะข้ึนอยูกับความแรงของสัญญาณจาก Amplifier ที่ขยายสัญญาณจาก Detector รับสัญญาณอิเล็กตรอนในกลอง ถา

Page 39: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

27

สัญญาณแรงก็จะใหความสวางของลําอิเล็กตรอนมาก เมื่อสงลงบนจอของ CRT ก็จะปรากฏเปนจุดสวาง ในทางกลับกันถาสัญญาณเบาก็จะไดจุดท่ีมีความสวางนอย บนจอก็จะรากฎเปนจุดสวางนอยดวย บนจอ CRT จะทําการเรียงจุดของสัญญาณที่ไดนี้เปนแถวจนครบแฟรมก็จะไดเปนภาพออกมา ถาบนจอ CRT มีขนาดกวางและยาวเปน 20 เซนติเมตร และเรากําหนดการกวาดลําอิเล็กตรอนในกลอง ให 1 แฟรม มีพื้นท่ีขนาด กวางยาวเปน 20 เซนติเมตรดวย อัตราสวนการขยายของภาพก็จะเปน 1 เทา แตถาเราใหการกวาดลําอิเล็กตรอนในกลองเปนพ้ืนท่ี 1 x 1 เซนติเมตร ก็จะขยายภาพเปน 20 เทา แตในความเปนจริงขนาดของการสแกน 1 แฟรมในกลองอาจควบคุมใหเล็กมากถึงระดับไมโครเมตรโดยท่ีการสแกนบนหนาจอยังเทาเดิม ดังน้ันการขยายจึงไดถึงระดับหมื่นเทาสัญญาณท่ีนํามาใชประโยชนใน SEM มี 4 ชนิดไดแก 5.1.1 Secondary Electrons (SE) เปนอิเล็กตรอนพลังงานตํ่าท่ีเกิดจาก Primary Electrons ไปชนเอาอิเล็กตรอนที่ผิวตัวอยางหลุดออกมา โดยจะหลุดออกจากผิวตัวอยางท่ีความลึกจากพื้นผิวไมเกิน 10 นาโนเมตร ใหภาพท่ีมีรายละเอียดสูง ความเขมของSE จะข้ึนกับมุมท่ีPrimary Electronsตกใส และสภาพพ้ืนผิวตัวอยาง ใหภาพท่ีมีรายละเอียดสูง ภาพท่ีไดจากSE เรียกวาSecondary Electron Image, SEI 5.1.2 Back Scattered Electrons (BSE) คือ Primary Electronsที่กระเจิงกลับออกมาจากผิวตัวอยาง กลาวคือ เมื่อPrimary Electronsวิ่งเขาใกลหรือเขาชนนิวเคลียสของอะตอมบนผิวตัวอยางก็จะเกิดการเปลี่ยนทิศทางกระเจิงกลับออกมาจากผิวตัวอยาง โดย BSE จะเกิดมากกับธาตุที่มีเลขอะตอมสูง ความเขมของสัญญาณBSE จะข้ึนกับมุมท่ีPrimary Electronsตกใสตัวอยาง และยังขึ้นกับเลขอะตอมของธาตุที่ผิวตัวอยาง ภาพท่ีไดจากBSE เราเรียกวา Back Scattered Electron Image(BEI) หรือ Primary Electron Image 5.1.3 Characteristic X-rays เกิดจากการท่ีเมื่ออิเล็กตรอนวงในของธาตุตัวอยางถูกชนโดย Primary Electronsจนหลุดออกไป ก็จะเกิดเปนระดับช้ันพลังงานท่ีวาง ทําใหอิเล็กตรอนท่ีระดับพลังงานสูงกวาลดระดับพลังงานลง พรอมกันนี้ก็จะปลอยพลังงานในรูป X-Rays ออกมา พลังงานของX-Rays ที่ไดจะมีรูปแบบของระดับพลังงานเฉพาะตัวแตกตางกันไปในแตละธาตุเรียกวาCharacteristic X-Rays ดังนั้นจึงสามารถทําใหวิเคราะหหาธาตุองคประกอบที่ผิวตัวอยางโดยอาศัยประโยชนจากการวิเคราะหพลังงานหรือความยาวคลื่นของ X-rays ที่เกิดขึ้นนี้ 5.1.4 Cathodoluminescence ธาตุบางชนิดเม่ือไดรับการถายทอดพลังงานจากPrimary Electrons ก็จะปลดปลอยพลังงานในรูปของแสงในชวงท่ีตาเห็นหรืออาจเลยไปถึงชวงUV ปรากฏการนี้เกิดขึ้นในตัวอยางบางชนิดเทานั้น

Page 40: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

28

5.2 เคร่ือง Particle size analyzer เค ร่ืองวิ เคราะหขนาดของอนุภาค โดยหลักการกระเจิงของลําแสง (Light Scattering) การทํางานของเคร่ืองโดยการใชลําแสงสองผานสวนของ Spatial filter และ Projection lens และผานไปยัง Sample cell ซึ่งเปนสวนที่อนุภาคของตัวอยางแขวนลอยอยูในของเหลว ลําแสงที่ตกกระทบ Detector จะมีรูปแบบลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งข้ึนอยูกับขนาดของอนุภาคของสารตัวอยางในสวนของ Fourier optics จะรวบรวมลําแสงท่ีกระเจิง (Diffracted light) และโฟกัสไปยัง Detector 3 ชุด คือ 1. สําหรับการกระเจิงที่ทํามุมต่ํา ๆ 2. สําหรับการกระเจิงที่ทํามุมปานกลาง 3. สําหรับการกระเจิงที่ทํามุมกวาง การวัดอนุภาคท่ีไมอยูนิ่ง (Measuring Moving Particles) วัดขนาดของอนุภาคท่ีกระจายอยูไดโดยการจัดรูปแบบของแสงท่ีกระเจิงโดยตัวอนุภาคของสารตัวอยาง รูปแบบของแสงที่กระเจิงเรียกวา Diffraction pattern สิ่งพิเศษของ Diffraction pattern คือ ความเขมแสงท่ีกระเจิงและมุมท่ีกระเจิง ซึ่งแตละ Diffraction pattern ของอนุภาคจะเปนลักษณะเฉพาะตัวของขนาดอนุภาค สวนประกอบท่ีสําคัญอีกสวนหน่ึง คือ Fourier lens เปน lens ที่มีลักษณะพิเศษ คือ จะสามารถโฟกัสแสงตาง ๆ ที่ตกกระทบลงบนเลนสไปยังพื้นที่วงกลมที่เปนระนาบเรียกวา Fourier Plane ซึ่งมี Detector อยูจะมีความไวตอทุกมุมของแสงที่ตกกระทบโดยไมขึ้นกับตําแหนงของแหลงกําเนิดแสงหรือความเร็วของแสง

ภาพที่ 16 Fourier lens Focusing

Fourier

Light

Fourier Lens Detector

Page 41: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

29

5.3 X-Ray Fluorescence เปนเคร่ืองมือที่ใชในการวิเคราะหหาปริมาณธาตุองคประกอบในสารตัวอยาง โดยใชการวัดปริมาณรังสีเอ็กซฟลูออเรสเซนต (X-ray fluorescence) ที่ปลดปลอยออกมาจากธาตุองค ประกอบแตละชนิดในสารตัวอยาง หลักการทํางานของเครื่อง เมื่อรังสีเอ็กซปฐมภูมิ (Primary X-ray photon) จากหลอดรังสีเอ็กซพุงเขาชนสารตัวอยางจะเปนผลใหอิเล็กตรอนวงในสุด (K-shell) ของอะตอมภายในสารตัวอยางหลุดออกจากอะตอมในรูปของโฟโตอิเล็ก-ตรอน (photoelectron) ทําใหเกิดชองวางข้ึนในวงอิเล็กตรอนน้ัน ดังแสดง ในรูปที่ 17(a) ซึ่งท่ีสภาวะน้ีอะตอมจะไมเสถียร อะตอมจะกลับสูสภาวะท่ีเสถียรขึ้นโดยการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนวงนอกเขามาแทน ที่ชองวางดังกลาว ซึ่งในการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจะมีการ ปลดปลอยรังสีเอ็กซทุติยภูมิ (Secondary X-ray photon) ดังแสดงในรูปท่ี 17(b) และ 17(c) ซึ่งปรากฏการณนี้เรียกวา “ฟลูออเรสเซนต” (Fluorescence) พลังงานของรังสีเอ็กซทุติยภูมิที่ปลดปลอยออกมาจะมีคาแตกตางกันขึ้นกับความแตกตางของระดับพลังงานเร่ิมตนของอิเล็กตรอน

ÃÙ»·Õè (a) ÃÙ»·Õè (b) ÃÙ»·Õè c)

ภาพที่ 17 แผนภาพแสดงขั้นตอนการเกิดรังสีเอ็กซพลูออเลสเซ็นของสารตัวอยาง ขอดีของเคร่ือง XRF เมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคอ่ืนๆ ไมวาจะเปน AAS, ICPS คือ เปนเทคนิคท่ีไมทําลายตัวอยาง สามารถวิเคราะหธาตุไดหลายๆ ตัวพรอมกัน ใหผลการวิเคราะหที่รวดเร็วและมีประสิทธภิาพสูง

Page 42: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

30

6. งานวิจัยท่ีเก่ียวของ งานวิจัยภายในประเทศ อิสรา วารีเกษม (2533 : 95-99) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการเปรียบเทียบการทดสอบลายพิมพนิ้วมือโดยมนุษยและระบบตรวจสอบอัตโนมัติ โดยรวบรวมขอมูลรายงานสถิติผลของการตรวจสอบแผนลายนิ้วมือ 10 นิ้ว ทั้งของผูตองหาในทุกๆพื้นท่ีและของผูขออนุญาตสมัครงานในทุกๆพ้ืนท่ีของประเทศจากกองทะเบียนประวัติอาชญากร กรมตํารวจผลการวิจัยพบวาระบบตรวจสอบลายน้ิวมืออัตโนมัติ หรือที่เรียกยอๆวาAFIS (Automated Fingerprint Identification System) มีคุณสมบัติตรวจลายน้ิวมือแฝง (Latent Print) ตอลายนิ้วมือแฝง,ลายน้ิวมือแฝง (Latent Print) กับลายพิมพนิ้วมือ 10 นิ้ว, ลายพิมพนิ้วมือ10 นิ้วของผูตองหา ผูขออนุญาตสมัครงาน กับลายน้ิวมือแฝง (Latent Print) และลายพิมพนิ้วมือของผูตองหาผูขออนุญาตสมัครงานกับพิมพนิ้วมือ 10 นิ้ว ที่เก็บไวในฐานขอมูลเพื่อหาประวัติการทําผิดซ้ําการใชเคร่ือง AFIS ในการตรวจสอบเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือนี้ชวยยนระยะเวลาการตรวจสอบเปรียบเทียบจากระบบ Manual ลงไปไดมากมีความแมนยํากวาระบบ Manual การใชสายตามนุษยในการตรวจสอบเน่ืองจากคุณสมบัติของเคร่ืองมืออัตโนมัติน้ีจะสามารถทําการตัดสินปญหาที่อาจจะเกิดข้ึนไดในลักษณะตางๆ โดยการตัดสินใจไปตามเงื่อนไขท่ีกําหนดไวอยางแนนนอนคงที่แตการตรวจสอบเปรียบเทียบโดยใชสายตามนุษยนั้น อาจจะมีการตัดสินใจปญหาเกิดขึ้นในแตละคร้ังแตกตางกันออกไป โดยเฉพาะอยางย่ิงถาเกิดปญหาในการทดสอบท่ีตางบุคคล ก็มีโอกาสท่ีจะลดความแมนยําลงไป อยางไรก็ตาม ยังมีความจําเปนท่ีจะตองพ่ึงพาผูเชี่ยวชาญเชนเดิม เชนในกรณีของการตรวจสอบเบ้ืองตนวามีการพิมพสลับมือ สลับนิ้วหรือไม หรือมีการพิมพนิ้วเทามาแทนพิมพลายน้ิวมือหรือไมฯลฯ ยังคงจําเปนตองใชผูเชีย่วชาญในการจัดเตรียมการขอมูลใหพรอมและถูกตอง สําหรับปอนขอมูลเขาไปยังเคร่ือง อุกฤษฎ ศรีเสือขาม (2541 : 100-101) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ประมวลลายพิมพนิ้วมือเบื้องตนสําหรับระบบตรวจพิสูจนลายน้ิวมืออัตโนมัติ ผลการวิจัยพบวา ลายพิมพนิ้วมือท่ีพิมพชัดเจนและมีคุณภาพดี จะใหผลลัพธที่เทาเทียมกับการใชคนเปนผูดําเนินการ สวนภาพท่ีมีคุณภาพรองลงมาก็จะใหคุณภาพท่ีใกลเคียงกันแตยังดอยกวาการใชคนเปนผูพิจารณา ในดานความเชื่อถือนั้น กฎหมายลักษณะพยานวางขอกําหนดในเร่ืองการรับรองเอกสาร และขอกําหนดเก่ียวกับผูชํานาญการพิเศษและผูเช่ียวชาญ ซึ่งกําหนดใหตองใชบุคลากรท่ีไดรับการยอมรับจากศาลเปนผูพิจารณาและรับรองผลลัพธในข้ันตอนสุดทายกอนที่จะนําไปใชในเปนพยานหลักฐานในช้ันศาล เปนเคร่ืองชี้ไดวา ยังไมมีวิธีการ และเคร่ืองมือใดท่ีมีคุณภาพเพียงพอที่จะใชเปนตัววัดและแสดงใหศาลสถิตยุติธรรมและประชาชนทั่วไปยอมรับไดวา การใชเคร่ืองจักรในการประมวลผลภาพ

Page 43: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

31

เบื้องตนสําหรับระบบตรวจพิสูจนลายพิมพนิ้วมืออัตโนมัติจะสรางความเช่ือถือไดเทาเทียมหรือดีกวาการใชคนเปนผูพิจารณา ศิริลักษณ บุญกมุติ (2544 : 132-133) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการประเมินผลการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการตรวจสอบประวัติลายพิมพนิ้วมือของกองทะเบียนประวัติอาชญากร ผลการวิจัย พบวาในสวนของระบบคอมพิวเตอรที่ใชในการตรวจสอบประวัติลายพิมพนิ้วมือ หากแผนพิมพลายนิ้วมือท่ีสงมาขอรับบริการ การพิมพลายน้ิวมือไมเปนไปตามหลักของการพิมพลายน้ิวมือ เชน พิมพสูงหรือต่ํากวากรอบสี่เหลี่ยมในแบบฟอรมของแผนพิมพลายน้ิวมือทําใหพิมพทับตัวหนังสือ ลักษณะของการพิมพหรือการกลิ้งนิ้วมือไมเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนด เชน การบีบหรอืกดน้ิวผูถูกพิมพมากจนเกินไปทําใหลายพิมพนิ้วมือผิดรูปไป การพิมพสลับมือ การใชหมึกสําหรับพิมพจางหรือเขมเกินไปมีผลตอความชัดเจนของลายพิมพนิ้วมือ วรากร คําแกว (2543) ไดกลาวถึง การพิสูจนบุคคลแบบอัตโนมัติโดยใชคุณลักษณะทางสรีรวิทยาของคนหรือที่เรียกวา ไบโอเมตริก เร่ิมมีความสําคัญมากข้ึนเมื่อความตองการในการพิสูจนบุคคลสําหรับการทําธุรกรรมหรือการติดตอสื่อสารกันผานส่ืออิเลคทรอนิคสมีมากข้ึน ลายน้ิวมือก็เปนรูปแบบหนึ่งของไบโอเมตริกที่มีคุณสมบัติที่ดีหลายอยางและเหมาะสมในการนํามาใชพิสูจนบุคคล การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและพัฒนาวิธีการประมวลผลภาพแบบพื้นฐานโดยท่ัวไปใหสามารถนํามาประยุกตใชและไดผลลัพธที่ดีที่สุดสําหรับการรูจําลายน้ิวมือขั้นตอนการประมวลผลจะนําภาพท่ีไดจากเคร่ืองอานภาพท่ีอยูในรูปแบบไฟล TIFF มาทําการประมวลผลข้ันตนเพื่อแยกบริเวณท่ีเปนภาพฉากหลัง บริเวณท่ีมีคุณภาพตํ่าและบริเวณท่ีเปนลายนิ้วมือออกจากกัน การประมวลผลในขั้นตอไปจะทําเฉพาะบนบริเวณท่ีเปนลายน้ิวมือเทาน้ัน จากนั้นจะทําการปรับเพิ่มคุณภาพของภาพเพ่ือใหไดเสนลายน้ิวมือเดนชัดข้ึน กําจัดความเพ้ียนและสัญญาณรบกวนตาง ๆ บนภาพ โดยแบงภาพออกเปนสวนๆ แลวทําการหาทิศทางของลายเสนในแตละสวนไดเปน 8 ทิศทาง และทําการคอนโวลูชันในสองมิติดวยการบอรฟลเตอรแบบมีทิศทางตรง ตาม สวน นั้น ๆ หลังจากน้ันทําใหกลายเปนภาพขาวดําและทําใหเปนเสนโครงรางเพ่ือหาจุดราย ละเอียดบนลายน้ิวมือที่มีอยู 2 แบบ คือ แบบจุดปลาย และแบบจุดสองงาม เ พ่ือนํามาใชเปนลักษณะเฉพาะในการเปรียบคูและทําการเปรียบคูจุดรายละเอียดท่ีประมวลผลไดกับจุดรายละเอียดที่ถูกอางถึง ซึ่งเก็บเปนเทมเพลตอยูในฐานขอมูลโดยใชวิธีการเปรียบคูแบบรูปแบบจุด สมทรง ณ นครและคณะ (2548 : 26-30) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองแบบแผนลายนิ้วมือและจํานวนเสนลายน้ิวมือเฉล่ียในกลุมตัวอยางประชากรไทย ผลการวิจัยพบวาแบบแผนลายน้ิวมือและจํานวนเสนลายน้ิวมือเฉล่ียของคนไทยท่ีอาศัย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในกลุมตัวอยางจํานวน 865 คน (ชาย: หญิง = 385:480) โดยรวบรวมจากขอมูลเดิมท่ีมีอยูแลวซึ่งเปนการเรียนการสอนของ

Page 44: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

32

วิชาปฏิบัติการพันธุศาสตรเบื้องตน วิชาพันธุศาสตรเชิงชีวสังคมและการใหบริการวิชาแกประชาชนทั่วไป ของคณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน เทคนิคการพิมพลายน้ิวมือใชวิธีเทปกาวใสซึ่งเปนมาตรฐานในการพิมพลายน้ิวมือเพื่อศึกษาทางพันธุศาสตร ผลการวิเคราะหพบวา จํานวนเสนลายนิ้วมือเฉลี่ยของเพศชายเทากับ 147.06 ± 39.26 เสน(คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน) ของเพศหญิงเทากับ 139.27 ± 42.16 เสน ซึ่งแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับแบบผลลายน้ิวมือที่จําแนกตามระบบกาลตัน ซึ่งมีสี่แบบ ไดแก กนหอย มัดหวายปดกอย มัดหวายปดหัวแมมือและโคง การวิเคราะหพบวา เพศชายมีลายน้ิวมือสี่แบบดังกลาว รอยละ 48.60, 44.96, 4.52 และ 1.92 ตามลําดับ ในคณะที่เพศหญิงมีรอยละ 41.83, 51.40, 3.58 และ 3.19 ตามลําดับ รวมพิจารณารวมท้ังสองเพสพบวาลายนิ้วมือสี่แบบดังกลาวมีรอยละ 44.83, 48.53, 4.00 และ 2.62 ตามลําดับ ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบกับผลการวิจัยในชาวตางชาติ ชี้ใหเห็นวาใชผลการศึกษาแบบแผนลายน้ิวมือ และจํานวนเสนลายนิ้วมือเฉล่ียในคนไทยเปนคา อางอิงในการศึกษาดานพันธุศาสตรของลายน้ิวมือในคนไทย อนึ่งผลการวิจัยนี้สอดคลองกับการวิจัยอ่ืนๆท่ีระบุวาแบบแผนลายนิ้วมือ มีความแตกตางระหวางเชื้อชาติเผาพันธุ เชน ชาวตะวันออกมีลายน้ิวมือแบบกนหอย มากกวาชาติตะวันตก สุธาวิณี ลิ้มสุวรรณ (2549) ทําการศึกษาวิจัยเร่ืองการพัฒนาลายนิ้วมือแฝงโดยการใชสารเคมีเรืองแสง พบวาลายนิ้วมือแฝงท่ีมีความเกาอยูในชวง 7 วัน วิธีการปดผงฝุน การรมกาว (Superglue) การใชสารเคมีเรืองแสง (Rhodamine 6G) ทําปฏิกิริยาหลังจากรมกาว ใหผลของลายนิ้วมือปรากฎชัดเจนข้ึน แตเมื่อลายนิ้วมือแฝงมีความเกามากกวา 7 วัน ถึง 1 เดือน ปรากฏวาวิธีการท่ีชวยใหลายน้ิวมือปรากฏชัดเจนข้ึนนั้นมีเพียงวิธีการใชสารเคมีเรืองแสง (Rhodamine 6G) ทําปฏิกิริยาหลังจากรมกาวเทานั้นที่ใหผลดี ภัทรรัตน หอมกระจาง (2550) ทําการศึกษาวิจัยเร่ือง การหาความเขมขนท่ีเหมาะสมของนินไฮดรินในการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษชนิดตางๆ โดยเปรียบเทียบตัวทาละลาย 3 ชนิด คือ อะซิโตน เอธิลแอลกอฮอลและปโตรเลียมอีเธอรและหาความเขมขนที่เหมาะสมสําหรับกระดาษ 13 ชนิด พบวา ปโตรเลียมอีเธอรเปนตัวทําละลายดีที่สุดเพราะไมละลายหมึกจากลายมือเขียน ในสวนของกระดาษพบวา กระดาษซองจดหมายสีสม กระดาษโนตและกระดาษเขียนรายงาน สามารถเห็นลายน้ิวมือไดชัดเจน งานวิจัยตางประเทศ เพื่อใหเกิดความเคาใจในการวิจัยไดทําการคนหาวิธีการใหมดังตอไปน้ี Nylander (1971 : 101-108) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการใชลายพิมพนิ้วมือเพื่อจําแนกสภาวะทางพันธุกรรมในฝาแฝดจํานวน 183 คู ที่อาศัยในเมืองแอเบอะดีน ประเทศสกอตแลนด ผลการศึกษาวิจัย พบวาการศึกษาจากหมูเลือด, ลักษณะท่ีปรากฏโดยท่ัวไปและลายพิมพนิ้วมือเปนวิธีการ

Page 45: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

33

ที่งายเปนประโยชนในการวิเคราะหลายพิมพนิ้วมือเพื่อจําแนกสภาวะทางพันธุกรรมในฝาแฝดและการเปรียบเทียบโดยใชจํานวนลายเสน (ridge count) นั้น มีประสิทธิภาพมากกวาการพิจารณาจากชนิดของแบบแผนลายพิมพนิ้วมือ (pattern types) Kent (1976 : 93) ไดนําวิธี vacuum coating technique เปนการเคลือบโลหะบนลายนิ้วมือแฝงโดยใชระบบสูญญากาศ มาทดลองใชกับภาชนะตางๆ ที่ เคลือบหรือหุมดวย polyethylene(polythene) ปรากฏวามีตัวอยางถึง 70 % ที่ปรากฏลายเสนของนิ้วมือ และมีจํานวน 35% สามารถใชในการพิสูจนบุคคลได Guo และ Ximg (1992 : 604) ไดนําเอาแผน polyethylene tetraphethalate (PET) ซึ่งมีลักษณะเปนกึ่งของแข็งและมีคุณสมบัติที่เดนคือ มีแรงไฟฟาสถิตท่ีสามารถจับฝุนตางๆไดดีแผน PET นี้จะถูกเคลือบดวยหมึกพิมพ ทําการยาย (transfer) ลายน้ิวมือลงบนแผน PET จากนั้นใชวิธีการถายภาพโดยใชแสงไฟเฉียงหรือไฟปกติก็ได แตถายังเห็นลายน้ิวเสนไมชัดก็ใหใช argon – laser ชวย Bramble (1993: 3) ไดทดลองตรวจหาลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษขาวโดยใช Nc:YAG laser ที่ 266-nm แลวถายภาพการเรืองแสงจากลายน้ิวมือแฝงน้ัน ซึ่งพบวาไดภาพลายเสนที่คมชัดเคร่ืองมือนี้มีประสิทธิภาพในการตรวจพบ 69% (ทดลองจากลายน้ิวมือแฝงของคน 34 คน) เมื่อเทียบกับการใช argon-ion laser ที่ 514 nm ที่สามารถตรวจพบไดเพียง 23% เทาน้ัน และภายหลังการตรวจดวย Nd : YAG laser พบวาเม่ือนําลายน้ิวมือแฝงน้ันมาตรวจดวย ninhydrin ก็ยังคงสามารถตรวจไดโดยไมมีปญหาใดๆ Bramble (1996 : 1038) ไดนําเอา fluorescence spectroscopy มาชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช ultraviolet ตรวจหาลายน้ิวมือแฝง โดยตรวจในชวงคลื่น 310-380 nm Allred และ Memzel (1997 : 83-94) ไดทดลองนําเอา europium มาใชในการตรวจเก็บลายน้ิวมือแฝง วิธีนี้สามารถตรวจไดทั้งพื้นผิววัตถุเปนรูพรุนหรือพื้นผิวเรียบก็ได ขั้นตอนในการทํามีดังนี ้ ขั้นตอนแรกใช ethylene diaminetetraacetic acid (EDTA) เปนconjugate ligand ที่จะไปจับกับ europium ion ไดเปน non-luminescent complex ขั้นตอนที่ 2 สารเชิงซอนนี้จะไปทําปฏิกิริยากับไขมันในลายน้ิวมือแฝง ซึ่งในขณะที่เกิดปฏิกิริยาน้ีพันธะระหวางeuropium และ EDTA จะแตกออกซึ่ง europium นี้จะสามารถจับกับ ligand ตัวอ่ืนๆเชน 1,10-phenanthroline และ thenoyltrifluoroacetone (TFA) ทําใหได EU luminescence

Page 46: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

34

ขั้นตอนที่ 3 วิธีนี้ไมตองใช chlorofluorocarbon อีกทั้งคาใชจายและความรวดเร็วของปฏิกิริยาอยูในเกณฑที่ดี ซึ่งอนาคตนาจะนําเอามาใชได Williams และ McMurray, 2006: 1085-1092 ศึกษาการตรวจลายน้ิวมือแฝงโดยใช scanning Kelvin probeโดยอธิบายถึงการทําใหเห็นรอยลายนิ้วมือบนผิวโลหะดวยการใช scanning Kelvin probe (SKP) ลายน้ิวมือแฝงท่ีอยูบนพ้ืนผิวที่สะทอนแสงและขรุขระของโลหะจะสงผลใหมองลายนิ้วมือไดไมชัด ผลการทดลองแสดงใหเห็นวาเทคนิค SKP สามารถทําใหลายน้ิวมือที่ไมชัดเจนสามารถมองเห็นไดดีขึ้นและ สามารถเห็น ridge จากลายน้ิวมือที่ถูกทําลายดวยสิ่งตางๆ (เชน ใชกระดาษทิชชูเช็ดออก) บนผิวโลหะ การหาลายน้ิวมือบนผิวโลหะท่ีไมเรียบ เชน ทองเหลืองโดยการใชวิธี SKP Volta potential mapping ก็ถูกนํามาศึกษาดวย Jasuja และ Sodhi (2006 : 237-241) ไดศึกษารอยลายน้ิวมือแฝงบนแผนดิสกและผลกระทบของการกูขอมูลคืน พบวารอยลายนิ้วมือมีโอกาสที่จะพบอยูบนพื้นผิวทุกชนิดท่ีไดรับการสัมผัส และเมื่อเปนรอยลายนิ้วมือแฝง จึงจําเปนตองทําใหรอยลายนิ้วมือปรากฏข้ึนดวยวิธีการตางกัน ชนิดของพ้ืนผิวท่ีมีรอยลายนิ้วมือแฝงเปนปจจัยสําคัญที่จะเปนตัวเลือกสําหรับวิธีการท่ีจะทําใหรอยลายน้ิวมือแฝงปรากฏขึ้นมา โดยเฉพาะเม่ือพื้นผิวน้ันเปนแผนดิสกที่บรรจุขอมูลดิจิตอล ในกรณีนี้ไมไดระมัดระวังเฉพาะการทําใหรอยลายนิ้วมือปรากฏข้ึนเทาน้ัน แตยังตองเลือกวิธีที่จะไมมีผลกระทบกับขอมูลที่เก็บ และการกูขอมูลคืน การสืบสวนสอบสวนในปจจุบันมีหลากหลายวิธีที่นํามาใชในการตรวจหารอยลายน้ิวมือแฝงบนพื้นผิวที่มีการเขียนของซีดี และผลที่ไดมีการอภิปรายกันอยางกวางขวางเชนเดียวกับผลกระทบของมันในการเก็บขอมูลและการกูขอมูลคืน Worley และ Wiltshire (2006) การตรวจหาขอรอยลายน้ิวมือ การใชองคประกอบของภาพของ Micro-X-ray Fluorescence พบวาการใช Micro-X-ray Fluorescence เปนการตรวจหารอยลายนิ้วมือ โดยภาพท่ีไดจะมีองคประกอบของธาตุอยู Micro-X-ray Fluorescence เปนเทคนิคที่ไมทําลายรอยลายน้ิวมือ วิธีนี้ตองใชความรูในการประมาณตําแหนง ซึ่งมันเปนการนําเสนอแนวทางใหมที่นํามาใชในการการตรวจหาและวิเคราะหรอยลายนิ้วมือที่มากกวาวิธีการเดิม รอยลายนิ้วมือท่ีมีสวนประกอบของไขมันและหลังจากที่มีเหงื่อออก จะถูกตรวจหาองคประกอบของธาตุ โปแตสเซียมและคลอไรด ที่ปรากฏอยูในรอยลายน้ิวมือ รอยลายนิ้วมือแตละอันที่นํามาตรวจสอบจะมีคราบของโลช่ันบํารุงผิว, น้ําลาย, และsunscreen การพิสูจนแนวความคิดน้ีเปนการอธิบายถึงความเปนไปไดในการมองเห็นรอยลายนิ้วมือบนพื้นผิว ซึ่งเปนปญหาอยูในปจจุบันโดยใช Micro-X-ray Fluorescence Swarz (2007 : 14-26) ศึกษาวิธีการใหมสําหรับใชเพิ่มประสิทธิภาพของ ninhydrin หรือ 1,8-diazafluoren-9-one (DFO) ที่ใชหาลายน้ิวมือแฝงบน thermal paper โดยสวนใหญผิวดานท่ีไว

Page 47: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

35

ตอความรอนของ thermal paper จะกลายเปนสีดําเม่ือใช DFO หรือ ninhydrin ซึ่งละลายใน petroleum ether (NPB) ในการหาลายนิ้วมือแฝง ทําใหลายน้ิวมือแฝงท่ีวิเคราะหไดไมชัดเจน มีความแตกตางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับ background โดยทั่วไปสารละลายท่ีชวยลดความดําของแผนกระดาษดานท่ีไวตอความรอนคือการลางดวย acetone กอนนํามาวิเคราะหหาลายนิ้วมือแฝง การทดลองนี้ไดทดลองใชสารละลายตาง ๆ เพื่อลดความดําของแผนกระดาษดานท่ีไวตอความรอน และพบวาลายนิ้วมือแฝงท่ีปรากฏขึ้นจะมีลายเสนที่คมชัดและมีความแตกตางกับ background สูง ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงบนกระดาษโดยใชสารเคมีนอยท่ีสุด ราคาไมแพง ไดลายเสนที่คมชัด และสามารถใชไดกับกระดาษปริมาณมากในเวลาอันสั้น โดยสารละลายน้ีเปนสารละลายท่ีหางาย ไมระเหยเปนไอ เปนสารละลายประเภท nitrogenous organic และสามารถใชงานไดโดยการแชทิ้งไวเชนเดียวกับ สารละลาย NPB Wallace-Kunke (2007 : 14-26) ลายนิ้วมือมนุษยมีลักษณะพิเศษและไดรับการยืนยันเปนสากลวาลายนิ้วมือเปนเอกลักษณบุคคลและไมมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งประโยชนจากลักษณะสําคัญของลายนิ้วมือน้ีถูกนํามาใชในกระบวนการสืบสวน สอบสวน เพื่อยืนยันตัวผูกระทําความผิดในกรณีที่คนรายท้ิงรองรอยไวในท่ีเกิดเหตุ เมื่อมีคดีเกิดข้ึนวัตถุพยานอยางหน่ึงท่ีมักตรวจพบ คือ ลายน้ิวมือแฝงซึ่งพบไดทั้งบนพื้นผิวที่มีรูพรุน(Porous surface) ไมมีรูพรุน (Non-Porous surface) และก่ึงรูพรุน (Semi-porous surface) สําหรับการตรวจหาลายน้ิวมือแฝง (Latent Fingerprint) บนพื้นผิวรูพรุน (Porous suture) เชน กระดาษชนิดตาง ๆ นิยมใชวิธีทางเคมี เชน ไอโอดีนและNinydrin ซึ่งเปนวิธีการเดิมท่ีใชกันมานานแลวและใหผลดีในพ้ืนผิวประเภทรูพรุนบางประเภทเทานั้น ปจจุบันมีความหลากหลายในการนําสารเคมีมาใชเพื่อพัฒนาการตรวจหาลายน้ิวมือแฝง โดยการเลือกใชสารเคมีที่มีประสิทธิภาพสูงและวองไวมากข้ึน เชน 1 ,2-Indanedione โดยเปรียบเทียบกับการใชสารเคมีแบบเดิม ซึ่งพบวาสารเคมี 1,2- Indanedione เปนสารเคมีที่มีประสิทธิภาพสูงและมีความวองไวมากกวาการใชวิธีการแบบเดิม และงานวิจัยคร้ังน้ีไดนําเคร่ืองกําเนิดแสงหลายความถี่ (เคร่ืองโพลีไลท รุน VSC 2000) และเคร่ือง Condor Chemical Imaging Macroscopic รวมในการสองตรวจเพ่ือใหเห็นลายน้ิวมือแฝงปรากฎเดนชัดมากย่ิงข้ึน Bond (2008 : 812-822) ไดศึกษาการทําใหมองเห็นลายนิ้วมือแฝงบนผิวหนาโลหะ พบวาปฏิกิริยาระหวางลายน้ิวมือแฝงและพ้ืนผิวโลหะชนิดตางๆ สามารถมองเห็นได ดวยการใหความรอนแกโลหะจนถึงอุณหภูมิ 600 °C หลังจากเกิดการประทับลายน้ิวมือ ไอออนของเกลือที่อยูในลายน้ิวมือจะกัดกรอนผิวหนาสรางเปนภาพลายน้ิวมือที่ทนตอการชะลางทําความสะอาด ซึ่งรอยกินลึกของลายน้ิวมือจะไมขึ้นกับระยะเวลาในการประทับรอยและการใหความรอน แตจะเปนสัดสวนกับสวนผสมของโลหะและปริมาณของเกลือที่ผสมอยูในลายน้ิวมือ ผลลัพธที่ไดแสดงถึง

Page 48: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

36

การนําสรางภาพรอยนิ้วมือท่ีชัดเจนขึ้นจากเหตุอาชญากรรมท่ีเกี่ยวกับการลอบวางเพลิง การปนเปอนจากสีสเปรย หรือรอยประทับบนปลอกกระสุนที่ยิงแลว การกัดกรอนบนพื้นผิวโลหะ สามารถแสดงไดดวยเทคนิคสมัยใหมดวยประจุ electrostatic charging ของโลหะ และการเพิ่มความชัดเจนของรอยที่กัดกรอนดวยผงเหล็ก 105 Charles และ Connor (1974 : 662-665) ไดทดลองปดเก็บลายน้ิวมือแฝงดวยผงฝุนดํา (C black, bone black; Inmount Corp., Cineinnati, OH 45229) โดยเก็บตัวอยางลายน้ิวมือแฝงท่ีเปนชาย 11 คน เปนหญิง 11 คน แตละคนจะประทับลายนิ้วมือแฝงบนกระจกสไลด 3 แผน แผนละ 1 นิ้ว คือ นิ้วหัวแมมือขวา, นิ้วช้ีขวา, นิ้วกลางขวา ทั้ง 3 นิ้วถือวาเปนหน่ึงชุด ทําการปดเก็บลายน้ิวมือแฝงทีละชุดเม่ือเก็บไวนานครบ 4 ชม., 24 ชม.และ 72 ชม. โดยเก็บไวในท่ีที่จะไมไปสัมผัสถูกและไมมีการควบคุมความช้ืนและอุณหภูมิ ปรากฏผลวาการใชผงฝุนสามารถตรวจเก็บลายน้ิวมือแฝงไดถึง 95.8% แมจะเก็บไวนาน 72 ชม. Thomas (1975 : 133-135) ตองการท่ีจะหาเหตุผลวาการท่ีผงฝุนไปเกาะติดท่ีลายเสนน้ันเกิดจากอะไร จึงตรวจหาความตานทานกระแสไฟฟาของเหง่ือจากนิ้วมือ แตเนื่องจากเหง่ือที่ปรากฏบนรอยลายนิ้วมือแฝงที่ประทับลงไป 1 คร้ัง มีปริมาณ 105 ml ซึ่งเปนปริมาณท่ีนอยมากและในเหงื่อก็มีสวนประกอบของน้ําถึง 98.5% ดังนั้นในการหาความตานของเหง่ือที่ไดจากน้ิวมือ จึงไดใชวิธีใหอาสาสมัครใสถุงมือเพื่อใหเหงื่อออกมากๆ จากนั้นก็เอาน้ิวมือและฝามือปาดกับกระจก แลวนําไปตรวจหาความตานทานพบวามีความตานทาน 1-10 โอมมิเตอร และถาท้ิงใหระยะเวลาผานไป 4 ชม.ความตานทานจะเพิ่มข้ึนระหวาง 100 ถึง 400 โอมมิเตอร และก็มีคาคงท่ีตลอดไป คาความตานทานนี้เทียบไดกับคาความตานทานของสารละลายโปตัสเซียมคลอไรด 0.1 – 1% ในนํ้า การท่ีความตานทานสูงข้ึนเม่ือมีการระเหยคงเปนผลจากแรงตานทานของสารจําพวกไขมัน และมีความดันไอตํ่า ผลการวัดที่ไดชี้ใหเห็นวาประจุที่ผิวของลายน้ิวมือเกิดจากการเสียดสีกับขนแปรง ทําใหมีประจุไฟฟาร่ัวออกมา ดังน้ัน การท่ีผงฝุนไปเกาะติดท่ีลายเสนจึงเกิดจากแรงตึงหรือการดึงดูดเน่ืองจากประจุตางกับผิวนั่นเอง Memzel และ Fox (1980 : 151) ไดทดลองผสมสีเรืองแสงเขากับผงฝุนและนําไปปดรอยลายน้ิวมือแฝง ซึ่งใชเคร่ืองตรวจชนิด laser พบวาลายเสนปรากฏชัดเจนมากกวาการใชผงฝุนธรรมดา ในสมัยกอนไดมีการนําเอาผงแมเหล็กมาใชในการตรวจหาลายน้ิวมือแฝง แตเน่ืองจากผงแมเหล็กนี้ประกอบดวยผงละเอียดของโลหะ เชน ผงอะลูมิเนียมขนาด 10 ไมครอน ซึ่งไมมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กผสมกับผง ซี่งมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กมีขนาด 50 ไมครอน ทําหนาท่ีเปนตัวพา(carrier) ซึ่งเฉพาะสวนของผงละเอียดเทาน้ันท่ีจะไปเกาะติดกับลายนิ้วมือแฝง การที่ตองใชตัว

Page 49: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

37

พาที่มีลักษณะท่ีหยาบทําใหปริมาณผงฝุนติดไดนอยลง ภายหลังจึงไดมีการเอา magnetic flakes มาใช ซึ่งมีคุณสมบัติเปนแมเหล็กและละเอียดมากไมตองใชตัวพา ไมตองใชแปรง ทําใหชวยลดความเสียหายอันเกิดจากการใชแปรงได อีกทั้งยังทําใหปริมาณผงฝุนติดไดมากย่ิงข้ึน Wilshire and Hurley (1995 : 153) ไดนํา magnetic flakes นี้มาใชในการตรวจหาลายน้ิวมือแฝงในกระดาษท่ีมีสีและเน้ือกระดาษที่แตกตางกัน ซึ่งปรากฏวาใชไดผลดี และยังใช rare – earth permanent magnet เพื่อดูดเอา magnetic flakes กลับคืน

Page 50: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

38

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ือง การศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็ก ในการหาลายนิ้วมือ เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Study) วัตถุประสงคเพื่อ เปรียบเทียบคุณภาพของรอยลายน้ิวมือแฝงท่ีไดทําการปดโดยผงฝุนแมเหล็กที่ใชในปจจุบัน 2 ชนิด เพื่อศึกษาหาคุณสมบัติและองคประกอบสําคัญของผงฝุนแมเหล็กท่ีมีคุณภาพดี และสามารถนําขอมูลที่ไดไปใชประโยชนตอไป โดยมีขั้นตอนในการดําเนินงานวิจัย ดังตอไปน้ี 1. เคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชในการทดลอง 2. การวิเคราะหคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงแมเหล็ก 3. การตรวจเปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็กในการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงดวยการทดสอบความพึงพอใจของผูเช่ียวชาญ 4. การวิเคราะหขอมูล: สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. เคร่ืองมือและอุปกรณท่ีใชในการทดลอง 1. เคร่ือง particle size analysis รุน: Coulter LS 100 Q Serie 2. เคร่ือง Scanning electron microscope 3. เคร่ืองเคลือบผิวตัวอยางดวยทอง 4. พื้นผิวเรียบที่ใชในการวิจัยคือ กระดาษ 5. เทปกาวสองหนา 6. ผงฝุนแมเหล็ก จํานวน 2 ตัวอยาง 7. แปรงแมเหล็ก จํานวน 2อัน 8. เทปใส 600 ยี่หอ Scotch 3M 9. กรรไกร 10. ถุงมือ 11. ผาปดจมูก 12. กระดาษสําหรับเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง 13. กลองถายรูป

Page 51: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

39

14. สาร triton X 100 15. แทงแกวคนสาร 16. เคร่ืองชั่งไฟฟา 17. เตาอบ 18. บีกเกอร 19. ถวยกระเบื้อง 20. กระบอกตวง ขนาด 25 มิลลิลิตร 21. น้ํากลั่น 22. แผนกระจก 23. ชอนตักสาร 24. น้ํามันลินสีด

ตัวอยางท่ี 1 ประเทศอเมริกา

ตัวอยางท่ี 2 ประเทศญ่ีปุน

รูปที่ 18 ผงฝุนแมเหล็กท่ีใชในการทดลอง

2. การวิเคราะหคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงแมเหล็ก ในงานวิจัยนี้เลือกใชผงฝุนแมเหล็ก 2 ยี่หอ ซึ่งผลิตจากประเทศอเมริกา (USA) ประเทศญ่ีปุน (Japan) ซึ่งมีวางขายในทองตลาดชวงเวลาที่ทําการทดลองมา เปนตัวแทนของตัวอยางผงฝุนแมเหล็กที่คัดเลือกเพื่อนํามาศึกษาวิเคราะหคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงฝุนแมเหล็ก โดยเลือกศึกษาคาตางๆ ดังน้ี

Page 52: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

40

2.1 การหาคาความชื้น (Moisture) มีขั้นตอนดังน้ีคือ 2.1.1 อบถวยกระเบื้องจนมีน้ําหนักคงที่ 2.1.2 ชั่งตัวอยางผงฝุนแมเหล็กตัวอยางท่ี 1 หนัก 2.0 กรัม ใสในบีกเกอรขนาด 25 มิลลิลิตร จากนั้นจดบันทึกน้ําหนักผงฝุนแมเหล็กที่แนนอน 2.1.3 นําตัวอยางท่ีไดไปอบใหแหงท่ีอุณหภูมิ 105 องศาเซลเซียส จนตัวอยางมีน้ําหนักคงที่ นําตัวอยางเขาโถดูดความช้ืน แลวจดบันทึกน้ําหนักผงฝุนแมเหล็กท่ีแนนอน 2.1.4 คํานวณหาคารอยละของความชื้นจากสูตร 2.2 การหาคาความหนาแนน มีขั้นตอนดังน้ีคือ 2.2.1 ชั่งผงฝุนแมเหล็กหนัก 5 กรัม ใสลงในกระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลิตร จดบันทึกน้ําหนักที่แนนอนของสาร 2.2.2 เติมนํ้ากลั่นปริมาตร 5 มิลลิลิตร ลงในกระบอกตวงจากน้ันวัดสวนตางปริมาตรที่เพิ่มขึ้นจาก ปริมาณน้ํากลั่น จดบันทึกปริมาณของสาร 2.2.3 คํานวณเพื่อหาคาความหนาแนนของผงฝุนแมเหล็กจากสูตร 2.3 การหาคาการดูดซับน้ํามัน (Oil absorbtion) มีขั้นตอนดังน้ีคือ 2.3.1 ชั่งตัวอยางผงฝุนแมเหล็ก 2 กรัม วางบนแผนกระจก 2.3.2 ชั่งน้ํามันลินสีดที่ทราบน้ําหนักแนนอนในกระบอกตวง 2.3.3 คอยๆ เติมนํ้ามันลินสีดลงบนตัวอยางทีละนอย ระหวางน้ันทําการคนดวยชอนตักสารใหเขากัน 2.3.4 ทําการเติมนํ้ามันอยางตอเน่ืองจนกระทั่งสารละลายไมละลายรวมท้ังคนตัวอยางตลอดเวลา 2.3.5 ชั่งน้ําหนักน้ํามันลินสีดที่ใชไปท้ังหมด 2.3.6 คํานวณเพื่อหาคาการดูดซับน้ํามันจากสูตร 2.4 การหาคาความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) มีขั้นตอนดังน้ีคือ 2.4.1 ชั่งผงฝุนแมเหล็กหนัก 5 กรัม ใสลงในกระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลิตร ทําการจดบันทึกน้ําหนักที่แนนอนของสาร 2.4.2 เติมนํ้ากลั่นปริมาตร 5 มิลลิลิตร ลงในกระบอกตวงจากน้ันวัดสวนตางปริมาตรที่เพิ่มขึ้นจาก ปริมาณน้ํากลั่น ทําการจดบันทึกปริมาณของสาร 2.4.3 คํานวณเพื่อหาคาความหนาแนนของผงฝุนแมเหล็ก 2.4.4 คํานวณเพื่อหาคาความถวงจําเพาะจากสูตร

Page 53: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

41

2.5 การวิเคราะหหาขนาดอนุภาคของสารดวยเคร่ือง particlesize analysis มีขั้นตอนดังนี้คือ 2.5.1 เปดเคร่ือง Particle size analysis กอนการวิเคราะหเปนเวลา 1 ชั่วโมง เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของเคร่ือง 2.5.2 เตรียมตัวอยางสําหรับการวิเคราะหโดยทําการสุมตัวอยางโดยเทตัวอยางผงฝุนดําลงบนกระดาษที่มีสีขาว แลวแบงออกเปน 4สวน กอนสุมเก็บตัวอยางแตละสวนจากน้ันนํามาผสมกันในบีกเกอรดวยแทงแกวคนสาร 2.5.3 เติมนํ้ากลั่นปริมาตร 10 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอรจากนั้นหยดสาร triton X100 ลงไปจํานวน 3 หยด ทําการคนสารใหเขากันดวยแทงแกวคนสาร 2.5.4 ใสตัวอยางที่ไดจากขอ 3 ลงในชองใสตัวอยางของเคร่ือง 2.5.5 เคร่ืองทําการวิเคราะหหาขนาดอนุภาค 2.5.6 ทําการทดลองซ้ํา 3 ครั้ง 2.5.7 นําผลการวิเคราะหที่ไดทําการประมวลผลดวยโปรแกรมของ เคร่ือง particle size analysis 2.6 การถายภาพกําลังขยายสูงดวย เคร่ือง scanning electron microscope การถายภาพกําลังขยายสูงดวยเคร่ือง scanning electron microscope เพื่อเปนการวิเคราะหพื้นผิวตัวอยาง และยังสามารถทําใหทราบถึงขนาดของอนุภาคผงฝุนไดอยางแมนยําอีกดวย โดยการเตรียมตัวอยางเพ่ือวิเคราะหดวยเคร่ือง Scanning electron microscope มีขั้นตอนดังตอไปน้ี 2.6.1 นําผงตัวอยางมาทําการสุมเก็บตัวอยางเพื่อทดสอบ 2.6.2 ติดเทปกาวสองหนาแบบบางลงบน stub 2.6.3 โดยตัวอยางผงฝุนแมเหล็กลงบน stub ที่มีเทปกาวติดอยู นํา stub ที่ไดมาทําการเคลือบผิวตัวอยางดวยทอง จากนั้นนําตัวอยางที่เคลือบทองแลวใสในชองใสตัวอยาง ของเคร่ือง scanning electron microscope 2.6.4 บันทึกภาพถายท่ีได

Page 54: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

42

3. การตรวจเปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็กในการตรวจเก็บรอยลายนิ้วมือแฝงดวยการทดสอบความพึงพอใจของชํานาญการดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ ดําเนินการโดยทําการเลือกการเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง(Purposive sampling) เน่ืองจากการทดสอบการใชงานผงฝุนดําตองอาศัยความรอบรูความชํานาญและประสบการณเฉพาะดาน ในการวิจัยนี้เลือกใชผูเชี่ยวชาญดานการตรวจสถานที่เกิดเหตุจํานวน 20 คน ในการเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงของอาสาสมัครเพื่อใหครบตามจํานวนที่ตองการนั้น ไมสามารถทําการเก็บตัวอยางไดภายในวันเดียว ดังน้ันเพื่อปองกันการเกิดความแตกตาง อันเนื่องมาจากการเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงในแตละวัน จึงไดกําหนดเงื่อนไขในการเก็บ รอยลายน้ิวมือแฝงไวดังนี้ 1. พื้นผิวที่ใชจะเปนพื้นผิวที่มีลักษณะเดียวกัน 2. อาสาสมัครทุกคนจะตองไมลางมือดวยสบูกอนทําการประทับรอยลายน้ิวมือแฝงอยางนอย 1 ชั่วโมง 3. ทําการเก็บตัวอยางท่ีสภาพแวดลอมเดียวกัน โดยมีขั้นตอนดังน้ีคือ 3.1 สํารวจความพึงพอใจในการใชงานผงฝุนแมเหล็กในการปดหารอยลายนิ้วมือแฝง ดวยการแจกแบบสอบถามเพ่ือทราบระดับคะแนนความพึงพอใจการใชงานผงฝุนแมเหล็กดานตางๆ โดยช้ีแจงวัตถุประสงคของงานวิจัยและเงื่อนไขพรอมทั้งวิธีการทดลองแกผูชํานาญการดานการตรวจสถานที่เกิดเหตุ 3.2 อาสาสมัครทําการกดน้ิวมือลงไปตรงๆ บนพื้นผิวกกระดาษซึ่งวางอยูบนเคร่ืองช่ังใหกดน้ําหนักอยูในชวง 50 -70 กรัม จากน้ันดึงมือขึ้นในแนวด่ิงเพ่ือปองกันการทําลายรอยลายนิ้วมือแฝงที่ไดประทับไว โดยการจําลองลายน้ิวมือแฝงน้ันกําหนดใหใชนิ้วหัวแมมือของอาสาสมัครแตละคนในการทดสอบผงฝุนแมเหล็กทั้ง 2 ตัวอยาง

Page 55: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

43

ภาพที่ 19 การจําลองลายน้ิวมือแฝง

3.3 ใชแปรงแมเหล็กจุมลงในผงฝุนแมเหล็ก จนมีผงฝุนแมเหล็กติดมา

ภาพที่ 20 เตรียมผงฝุนแมเหล็กสําหรับการปดหาลายน้ิวมือ

Page 56: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

44

3.4 ทําการปดผงฝุนแมเหล็กที่ติดมากับแปรงแมเหล็กลงบนรอยลายน้ิวมือแฝง เคลื่อนผงฝุนวนไปมาจนรอยลายน้ิวมือแฝงปรากฏข้ึนมา

ภาพที่ 21 ปดลายนิ้วมือแฝง 3.5 ถายภาพรอยลายน้ิวมือแฝงที่ตรวจเก็บไดดวยการถายภาพ 3.6 ผูชํานาญการดานการตรวจสถานท่ีเกิดเหตุทําการกรอกแบบสอบถามตามท่ีไดชี้แจงไวขางตน 3.7 ทําการทดลองดังกลาวขางตนซ้ําจํานวน 3 คร้ัง

Page 57: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

45

ภาพที่ 22 วิธีการเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง

4. การวิเคราะหขอมูล: สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 4.1 กําหนดใหมีประเด็นคําถามท่ีสนใจจํานวน 7 ขอ ซึ่งผานการทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา(Content Validity) ความเหมาะสมของภาษาที่ใช (Wording) จากผู เชี่ ยวชาญด านการตรวจสถานที่เกิดเหตุ จากกองพิสูจนหลักฐาน 7 จํานวน 3 ทาน มีรายละเอียดดังตอไปน้ี 4.1.1 ความละเอียดของเน้ือผงฝุน 4.1.2 ความเขมสีของผงฝุน 4.1.3 เน้ือสัมผัสของผลฝุน 4.1.4 ลักษณะของผงฝุนโดยรวม 4.1.5 การเกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุน 4.1.6 ความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน 4.1.7 การกระจายตัวสม่ําเสมอของผงฝุนบนลายน้ิวมือ

สรางรอยลายน้ิวมือตัวอยางบนพื้นผิวกระดาษ

ปดดวยผงฝุนแมเหล็ก

ถายภาพรอยลายน้ิว มือแฝงท่ีไดปรากฏ

แจกแบบสอบถาม พรอมชี้แจงวิธีการแก

Page 58: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

46

4.2 ทําการแบงระดับคะแนนดังตอไปน้ี ระดับคะแนน ดีมาก 5 ดี 4 ปานกลาง 3 พอใช 2 ปรับปรุง 1 4.3 การแปลความหมายระดับคะแนน ระดับคะแนน ความหมาย ระดับ 5 คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 อยูในเกณฑ ดีมาก ระดับ 4 คาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 อยูในเกณฑ ดี ระดับ 3 คาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 อยูในเกณฑ ปานกลาง ระดับ 2 คาเฉลี่ย 1.81 – 2.60 อยูในเกณฑ พอใชได ระดับ 1 คาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 อยูในเกณฑ ตองปรับปรุง 4.4 การวิเคราะหขอมูล ใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (Statistical Package for the Social Science) สถิติที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ใชการวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยใชสถิติ t-test ทดสอบท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

Page 59: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

47

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาวิจัยเร่ืองการศึกษาคุณลักษณะผงฝุนแมเหล็กในการหาลายน้ิวมือ เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Study) ผูวิจัยไดทําการศึกษาโดยคัดเลือกตัวแทนผงฝุนแมเหล็กที่วางขายตามทองตลาดในชวงเวลาท่ีทําการวิจัยจํานวน 2 ยี่หอ ซึ่งพิจารณาจากความนิยมของผูใชมาทําการวิเคราะหหาคุณสมบัติเบ้ืองตนและนํามาทดสอบการใชงานการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงดวยวิธีการผงฝุน เพื่อหาผงฝุนท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมที่ผูใชทดสอบความพึงพอใจแลวพบวามีระดับความพึงพอใจสูงกวา โดยมีวัตถุประสงคในการนําผลดังกลาวมาทําการคิดคนเพื่อพัฒนาสูการทดลองผลิตและนํามาประยุกตใชในงานดานนิติวิทยาศาสตร โดยทําการวิเคราะหและเสนอผลการทดลองดังตอไปนี้ 1. การศึกษาคุณสมบัติและองคประกอบเบื้องตนของผงฝุนแมเหล็ก จากการทดลองเพ่ือศึกษาหาคุณสมบัติและองคประกอบดานตางๆ ของผงฝุนแมเหล็ก คือการหาคาความชื้นซึ่งมีความสําคัญตอการเกาะติดกันของอนุภาคกลาวคือความชื้นที่ไมเหมาะสมจะมีผลทําใหอนุภาคของผงฝุนติดกันเปนกอนซึ่งทําใหไมสะดวกในการใชงาน คาความหนาแนนอาจระบุไดถึงน้ําหนักของอนุภาคและปริมาณของอนุภาค นั่นคือตัวอยางท่ีมีคาความหนาแนนสูงจะมีจํานวนอนุภาคมากกวาตัวอยางท่ีมีอนุภาคนอย คาการดูดซับนํ้ามันสามารถใชบงบอกถึงคุณสมบัติของผงฝุนในการเกาะติดหรือดูดซับสารประเภทไขมันไดดี สวนคาความถวงจําเพาะคาความถวงจําเพาะเปนปริมาณที่บอกคาเปรียบเทียบคาความหนาแนนของสารใดๆ กับคาความหนาแนนของนํ้าหรืออาจเรียกไดอีกอยางวา คาความหนาแนนสัมพัทธ การวิจัยนี้ยังทําการศึกษาขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพการใชงานของผงฝุนดวยเคร่ือง particle size analysis พรอมท้ังทําการวิเคราะหดวยเคร่ือง Scanning electron microscope ที่สามารถวิเคราะหไดทั้งขนาดอนุภาคและลักษณะของพ้ืนผิวอนุภาค สวนการศึกษาองคประกอบของธาตุนั้นใชการวิเคราะหหาปริมาณเหล็กดวย Inductively Coupled Plasma Spectrometers และศึกษาองคประกอบของธาตุบริเวณพ้ืนผิวของตัวอยางดวย X-Ray Fluorescence

Page 60: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

48

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหเพื่อหาคาความช้ืน คาความหนาแนน คาการดูดซับน้ํามันและคาความถวงจําเพาะ

ลําดับ การวิเคราะห ตัวอยางที่ 1 ตัวอยางที่ 2 1. คาความชื้น 0.68 0.89 2. คาความหนาแนน 2.98 3.75 3. คาการดูดซับนํ้ามัน 90.7 86.4 4. คาความถวงจําเพาะ 2.98 3.75

จากขอมูลแสดงใหเห็นวา ตัวอยางท่ี 2 มีคาความช้ืน คาความหนาแนน และคาความถวงจําเพาะสูงกวาตัวอยางท่ี 1 มีเพียงคาการดูดซับนํ้ามันเทานั้นที่พบวามีคานอยกวาตัวอยางท่ี 1 ตารางที่ 2 ผลการหาปริมาณธาตุเหล็กดวยเคร่ือง ICP ลําดับ การวิเคราะห ตัวอยางที ่1 ตัวอยางที่ 2

1. ปริมาณธาตุเหล็ก 42 %w/w 55%w/w

จากขอมูลแสดงผลการวิเคราะหหาปริมาณธาตุเหล็กดวยเทคนิคInductively Coupled Plasma Spectrometers พบวาตัวอยางท่ี 2 มีปริมาณธาตุเหล็กสูงคือ 55 %(w/w) คาดังกลาวแสดงใหเห็นวาในปริมาณสารตัวอยางท่ีเทากันตัวอยางท่ี 2 มีธาตุเหล็กเปนองคประกอบถึงรอยละ55 ซึ่งมีคามากกวาตัวอยางท่ี 1 ซึ่งมีเพียงรอยละ 42

ตารางที่ 3 ผลขนาดอนุภาคของผงฝุนดําจากเคร่ือง particle size analysis ลําดับ ตัวอยาง Mean Median Mode ขนาดอนุภาค

(ไมครอน) 1 ตัวอยางท่ี 1 41.35 32.59 60.52 2-150 2 ตัวอยางท่ี 2 91.27 90.15 140.1 8-200

จากขอมูลแสดงใหเห็นวา อนุภาคของผงฝุนเหล็กท้ัง 2 ตัวอยางมีความแตกตางกัน กลาวคือตัวอยางท่ี 1 มีขนาดอนุภาคระหวาง 2- 150 นั่นคือขนาดเล็กที่สุดท่ีพบ คือ 2ไมครอนสวนขนาดใหญที่สุดที่พบคือ 150ไมครอน โดยขนาดอนุภาคท่ีพบมากท่ีสุดมีคาเทากับ 60.52ไมครอน มีคา Median 32.59ไมครอน และคา Mean 41.35ไมครอน สวนตัวอยางท่ี 2 จากขอมูลแสดงใหเห็นวา ตัวอยางท่ี 2 มีขนาดอนุภาคระหวาง 8 - 200 นั่นคือขนาดเล็กที่สุดท่ีพบคือ 8ไมครอนสวนขนาด

Page 61: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

49

ใหญที่สุดท่ีพบคือ 200ไมครอน โดยขนาดอนุภาคท่ีพบมากท่ีสุดมีคาเทากับ 140.1ไมครอน มีคา Median 90.15ไมครอน และคา Mean 91.27ไมครอน ผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กตัวอยางท่ี 1

ภาพที่ 23 สเปคตรัมแสดงผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 1

Page 62: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

50

ภาพที่ 24 สเปคตรัมแสดงผลขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 2

Page 63: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

51

ตัวอยางท่ี 1

จากภาพแสดงการกระจายตัวของอนุภาคและลักษณะพื้นผิวของผงฝุนจะเห็นไดวามีการกระจายตัวไมส มํ่า เสมอ ขนาดอนุภาคท่ีปรากฏเปนการปะปนกันของอนุภาคขนาดตางๆ โดยไมมี รูปแบบแนนอน

กําลังขยาย 500 เทา

เมื่อทําการถายภาพที่กําลังขยาย 2500 เทาพบวาที่พื้นผิวมีอนุภาคขนาดเล็กเกาะอยูที่บริเวณพ้ืนผิว

กําลังขยาย 2500 เทา

สําหรับการถายภาพที่กําลังขยาย 5000 เทาทําใหพบวาอนุภาคเกิดจากการเกาะตัวกันอยางเหนียวแนนของอนุภาคขนาดเล็กจนเปนอนุภาคขนาดใหญ

กําลังขยาย 5000 เทา ภาพท่ี 25 ลักษณะพ้ืนผิวและการกระจายตัวของผงฝุนแมเหล็กดวยภาพถายกําลังขยายสูงจาก เคร่ือง scanning electron microscope

Page 64: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

52

ตัวอยางท่ี 2

จากภาพแสดงการกระจาย ตัวของอนุภาคและลักษณะพื้นผิวของผงฝุนจะเห็นไดวามีการกระจายตัวไมสมํ่าเสมอ ขนาดอนุภาคที่ปรากฏเปนการปะปนกันของอนุภาคขนาดตางๆ โดยไมมีรูปแบบแนนอน

กําลังขยาย 500 เทา

เมื่อทําการถายภาพท่ีกําลังขยาย 2500 เทาพบวาท่ีพื้นผิวมีอนุภาคขนาดเล็กเกาะอยูที่บริเวณพื้นผิวโดยอนุภาคที่เกาะบริเวณพ้ืนผิวนั้นมีลักษณะกลมและอนุภาคมีขนาดคอนขางเทากัน

กําลังขยาย 2500 เทา

สําหรับการถายภาพท่ีกําลังขยาย 5000 เทาทําใหเห็นไดอยางชัดเจนวาอนุภาคท่ีเกาะบริเวณพ้ืนผิวนั้นมีลักษณะกลมและอนุภาคมีขนาดคอนขางเทากัน

กําลังขยาย 5000 เทา ภาพท่ี 26 แสดงลักษณะพ้ืนผิวและการกระจายตัวของผงฝุนแมเหล็กดวยภาพถายกําลังขยายสูง จากเคร่ือง scanning electron microscope

Page 65: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

53

จากการวิเคราะหขนาดอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กดวยเทคนิค particle size analysis จากผลการทดลองทําใหทราบถึงขนาดอนุภาคในรูปแบบของการเกาะกลุมของอนุภาค ผูวิจัยจึงไดทําการวิเคราะหขนาดอนุภาคของสารอีกคร้ังดวยเทคนิคการถายภาพดวยเคร่ือง scanning electron microscope ใหผลการทดลองดังตอไปนี้

ภาพที่ 27 ผลขนาดอนุภาคของตัวอยางท่ี 1 จากการถายภาพดวยเคร่ือง scanning electron microscope

จากภาพท่ี 27 แสดงใหเห็นวาอนุภาคขนาดใหญที่สุดท่ีพบคือ 40ไมครอนเปนการรวมกันของอนุภาคขนาดประมาณ 20 และ 10ไมครอน และพบวายังมีอนุภาคขนาดเล็กกวา 40 ไมครอน กระจายตัวอยูทั่วไปของตัวอยาง คือมีทั้งขนาด 10ไมครอน 5ไมครอนและท่ีมีขนาดอนุภาคเล็กกวากระจายตัวโดยไมมีรูปแบบแนนอน

ขนาดประมาณ 40 ไมครอน

ขนาดประมาณ 20 ไมครอน

ขนาดประมาณ 10 ไมครอน ขนาดประมาณ 5 ไมครอน

Page 66: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

54

ภาพที่ 28 ผลขนาดอนุภาคของตัวอยางท่ี 2 จากการถายภาพดวยเคร่ือง scanning electron microscope

จากภาพท่ี 28 แสดงใหเห็นวาอนุภาคสวนมากที่พบมีขนาด 80ไมครอน ยังพบวามีอนุภาคขนาดใหญมากกวาคือมีขนาด ประมาณ 120ไมครอน ผลของขนาดโดยรวมพบวามีขนาดใหญกวาตัวอยางท่ี 1 ลักษณะพื้นผิวของอนุภาคนั้น จากการวิเคราะหองคประกอบของธาตุที่เปนสวนประกอบในผงฝุนแมเหล็กดวยเทคนิค X-Ray Fluorescence ผลการทดสอบพบวาตัวอยางผงฝุนแมเหล็กทั้งสองตัวอยางประกอบดวยธาตุหลายชนิดในปริมาณที่แตกตางกัน เมื่อทําการวิเคราะหซ้ําโดยการสุมตัวอยางผงฝุนแมเหล็กพบวาแตละจุดแสดงปริมาณธาตุที่พบแตกตางกันทําใหการวิเคราะหดังกลาวสามารถระบุไดเพียงชนิดของธาตุที่เปนองคประกอบ โดยธาตุตาง ๆที่พบมีรายละเอียดตามภาพท่ี 29

ขนาดประมาณ 40 ไมครอน

ขนาดประมาณ 30 ไมครอน

ขนาดประมาณ 80 ไมครอน

Page 67: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

55

ภาพที่ 29 ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 1

ภาพที่ 30 ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุผงฝุนแมเหล็กตัวอยางที่ 2

Page 68: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

56

2. การตรวจเปรียบเทียบคุณภาพของผงฝุนแมเหล็กในการตรวจเก็บรอยลายนิ้วมือแฝงดวยการทดสอบความพึงพอใจของผูชํานาญการ ผลการทดลองปดหารอยลายน้ิวมือแฝงโดยผูชํานาญการจํานวน 10ทาน โดยใชผงฝุนแมเหล็ก 2 ตัวอยางมาทําการทดสอบการใชงานเปรียบเทียบกัน ผลการทดลองแสดงภาพที่ 31-40ดังตอไปน้ี

ภาพที่ 31 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 1

ภาพที่ 32 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 2

Page 69: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

57

ภาพที่ 33 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 3

ภาพที่ 34 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 4

Page 70: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

58

ภาพที่ 35 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 5

ภาพที่ 36 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 6

Page 71: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

59

ภาพที่ 37 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 7

ภาพที่ 38 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 8

Page 72: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

60

ภาพที่ 39 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 9

ภาพที่ 40 ลายน้ิวมือของอาสาสมัครคนที่ 10 เมื่อนําผลท่ีไดใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Science) สถิติที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ีใชการวิเคราะหคาเฉลี่ยโดยใชตัวสถิติ t-test ทดสอบท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 ใหผลการวิเคราะหดังตอไปน้ี โดยแบบสอบถามเปนคําถามที่แสดงถึงระดับความคิดเห็น (Scale Questions) โดยมีผลการวิเคราะหดังตอไปน้ี

Page 73: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

61

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุน แมเหล็ก (n=10)

รายการ Sample 1 ระดับความพึงพอใจ

Sample 2 ระดับความพึงพอใจ

S.D. S.D.

1. ความละเอียดของเน้ือผงฝุน 3.18 0.501 ปานกลาง 4.32 0.568 ดีมาก 2. ความเขมสีของผงฝุน 3.50 0.512 ดี 4.86 0.351 ดีมาก 3. เน้ือสัมผัสของผงฝุน 3.18 0.588 ปานกลาง 4.32 0.568 ดีมาก 4. ลักษณะของผงฝุนโดยรวม 3.23 0.685 ปานกลาง 4.45 0.510 ดีมาก 5. การเกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุน

3.64 0.581 ดี 5.00 0.000 ดีมาก

6. ความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน

3.50 0.512 ดี 4.82 0.395 ดีมาก

7. การกระจายตัวสมํ่าเสมอของผงฝุน

3.36 0.658 ปานกลาง 4.68 0.477 ดีมาก

รวม 3.37 0.150 ปานกลาง 4.68 0.477 ดีมาก ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางท่ี 4 แสดงคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ของ Sample จํานวน 2 ชนิด พบวา Sample ชนิดท่ี 2 มีระความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็กโดยภาพรวมมากกวา Sample ชนิดท่ี 1 และคุณสมบัติเดนชัดของ Sample ทั้ง 2 ชนิด คือ การเกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุนเพราะมีคาเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด โดยที่ Sample ชนิดที่ 1 มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.64 และ โดยท่ี Sample ชนิดที่ 2 มีคาเฉลี่ยเทากับ 5.00 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก โดยภาพรวม

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.37

-31.417

0.000 Sample 2 4.68 ระดับนัยสําคัญ 0.05

Page 74: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

62

จากตารางท่ี 5 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยที่ Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยโดยภาพรวมมากกวา Sample 1 ตารางท่ี 6 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความละเอียด ของเนื้อผงฝุน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.18

-7.038

0.000 Sample 2 4.32 ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางที่ 6 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานความละเอียดของเน้ือผงฝุน มากกวา Sample 1 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความเขมสีของ ผงฝุน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.50

-10.304

0.000 Sample 2 4.86 ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางที่ 7 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานความเขมสีของผงฝุน มากกวา Sample 1

Page 75: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

63

ตารางที่ 8 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานเน้ือสัมผัสของ ผงฝุน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.18

-6.517

0.000 Sample 2 4.32 ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางท่ี 8 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานเนื้อสัมผัสของผงฝุน มากกวา Sample 1 ตารางที่ 9 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานลักษณะของผง ฝุนโดยรวม

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.23

-6.710

0.000 Sample 2 4.45 ระดับนัยสําคัญ 0.05

จากตารางท่ี 9 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานลักษณะของผงฝุนโดยรวม มากกวา Sample 1 ตารางที่ 10 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานการเกาะจับ ลายน้ิวมือของผงฝุน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.64

-11.007

0.000 Sample 2 5.00 ระดับนัยสําคัญ 0.05

Page 76: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

64

จากตารางท่ี 10 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานการเกาะจับลายนิ้วมือของผงฝุน มากกวา Sample 1 ตารางท่ี 11 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานความคมชัด และสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.50

-9.556

0.000 Sample 2 4.82 ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางท่ี 11 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน มากกวา Sample 1 ตารางที่ 12 เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก ดานการกระจายตัว สมํ่าเสมอของผงฝุน

ชนิดของ Sample คาเฉลี่ย t Sig Sample 1 3.36

-7.610

0.000 Sample 2 4.68 ระดับนัยสําคัญ 0.05 จากตารางท่ี 12 เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของ Sample ทั้ง 2 ชนิด พบวา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ 0.05 เนื่องจาก คา sig มีคา 0.00 มีคานอยกวา 0.05 โดยท่ี Sample 2 มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยดานความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน มากกวา Sample 1

Page 77: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

65

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของรอยลายน้ิวมือแฝงที่ไดจากการปดโดยผงฝุนแมเหล็กท่ีใชในปจจุบัน 2 ชนิด หาคุณสมบัติและองคประกอบสําคัญของผงฝุนแมเหล็กท่ีมีคุณภาพดี รวมกับการทดสอบการใชงานโดยผูชํานาญการดานการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง ซึ่งกลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนผูชํานาญการดานการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝง โดยอาสาสมัครแตละคนตองทําการประทับน้ิวหัวแมมือเพื่อจําลองลายน้ิวมือแฝงบนกระดาษ แลวใหผูชํานาญการตอบแบบสอบถามในประเด็นคําถามหลัก 7 ขอคือ ความละเอียดของเนื้อผงฝุน ความเขมสีของผงฝุน เน้ือสัมผัสของผงฝุน ลักษณะของผงฝุนโดยรวม การเกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุน ความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน และการกระจายตัวสมํ่าเสมอของผงฝุนบนลายน้ิวมือ จากน้ันนําขอมูลที่ไดมาแปรผลทางสถิติ โดยใชสถิติการวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉลี่ยโดยใชสถิติ t-test ทดสอบท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 สรุป และอภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาและวิเคราะหขอมูลการวิจัยสามารถสรุปผลไดดังนี้

1. การทดสอบคุณสมบัติและองคประกอบเบ้ืองตนพบวาตัวอยางท่ี 2 มีขนาดอนุภาคอยูที่ระหวาง 8-200 ไมครอน ซึ่งมีขนาดใหญกวาตัวอยางท่ี 1 ซึ่งมีขนาดอนุภาคอยูระหวาง 2-150 ไมครอน ผลการหาคาความหนาแนนพบวา ตัวอยางท่ี 2 มีคาความหนาแนนสูงกวาตัวอยางท่ี 1 ดังน้ันคาความถวงจําเพาะของตัวอยางท่ี 2 จึงมีคาสูงกวาตัวอยาง ท่ี 1 รวมไปถึงคาความชื้นของตัวอยางท่ี 2 ยังมีคามากกวาตัวอยางท่ี 1 อีกดวย

ผลการวิเคราะหองคประกอบของธาตุบริเวณพ้ืนผิวตัวอยางดวย XRF พบวา มีความหลากหลายคือมีธาตุหลายชนิดเปนองคประกอบของผงฝุนแมเหล็ก สวนการหาปริมาณธาตุเหล็ก พบวาตัวอยางท่ี 2 มีปริมาณธาตุเหล็กสูงกวาตัวอยางท่ี 1

จากที่กลาวมาขางตน พบวา ผงฝุนแมเหล็กที่มีประสิทธิภาพในการใชงานสูงกวา จากการตรวจวิเคราะหพบวามีคาความหนาแนน ความช้ืน ความถวงจําเพาะสูงกวา แตมีคาการดูดซับน้ํามันตํ่ากวา สวนการตรวจวัดขนาดอนุภาคพบวา ขนาดอนุภาค8-200ไมครอนในตัวอยางท่ี 2

Page 78: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

66

ใหผลการใชงานดีกวาตัวอยางท่ี 1ซึ่งมีขนาดอนุภาค 2-150ไมครอน และตัวอยางท่ี2 ซึ่งมีธาตุเหล็กเปนองคประกอบปริมาณมากกวามีประสิทธิภาพการใชงานท่ีดีกวา ดังนั้นผลของอนุภาคของผงฝุนแมเหล็กพบวา อนุภาคท่ีมีขนาดเล็กมากท่ีสุดอาจไมไดมีผลสําคัญในการเพ่ิมประสิทธิภาพเสมอไป แตอนุภาคที่ดีคือชวงท่ีมีขนาดเหมาะสม เน่ืองจากผงฝุนแตละตัวอยางมีองคประกอบและคุณสมบัติเบ้ืองตนแตกตางกัน คือตัวอยางท่ีมีปริมาณธาตุเหล็กสูงกวาและมีน้ําหนักมากกวาในปริมาตรเดียวกันอนุภาคที่หนักพอเหมาะน้ีทําใหอนุภาคไมฟุงกระจาย เกาะติดกับลายน้ิวมือไดดีสวนตัวอยางท่ีมีอนุภาคเบากวานั้นการเกาะติดไดผลไมดีเทาที่ควร

สําหรับคาความช้ืนนั้น พบวาคาความชื้นที่นอยที่สุดไมไดสงผลโดยตรงทําใหผงฝุนมีประสิทธิภาพที่ดี แตความช้ืนท่ีเหมาะสมคือปจจัยที่ทําใหผงฝุนใชงานไดดี ในการทดลองน้ีคือ ผงฝุนแมเหล็กท่ีมีความช้ืนใกลเคียงกัน ดังน้ันควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในการหาคาความช้ืนที่เหมาะสมในการเพ่ิมประสิทธิภาพใชงานผงฝุนแมเหล็ก 2. การทดสอบความพึงพอใจของผูใชโดยการสรางแบบสอบถาม (Questionnaire) ผลการวิเคราะหทางสถิติพบวา ระดับความพึงพอใจของผูชํานาญการในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก 2 ตัวอยางเปรียบเทียบกันพบวาใหระดับความพึงพอใจในดานตาง ๆ แตกตางกัน โดยสามารถระบุผลการวิเคราะหขอมูลดานตางๆ ตามตารางท่ี 13 ตารางที่ 13 สรุปผลการวิเคราะหขอมูล

รายการ ระดับความพึงพอใจ

ตัวอยางที่ 1 ตัวอยางที่ 2 1. ความละเอียดของเน้ือผงฝุน ปานกลาง ดีมาก 2. ความเขมสีของผงฝุน ดี ดีมาก 3. เน้ือสัมผัสของผงฝุน ปานกลาง ดีมาก 4. ลักษณะของผงฝุนโดยรวม ปานกลาง ดีมาก 5. การเกาะจับลายน้ิวมือของผงฝุน ดี ดีมาก 6. ความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน

ดี ดีมาก

7. การกระจายตัวสม่ําเสมอของผงฝุน ปานกลาง ดีมาก รวม ปานกลาง ดีมาก

Page 79: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

67

จากตารางท่ี 13 แสดงใหเห็นผลจากการวิเคราะหขอมูลทางสถิติเกี่ยวกับการวัดระดับความพึงพอใจของผูชํานาญการ จากผลการทดลองจะเห็นไดวา ผงฝุนแมเหล็กตัวอยางท่ี 2 ไดรับระดับความพึงพอใจในการใชงานการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงอยูในระดับสูงกวาผงฝุนแมเหล็กตัวอยาง 1 ทั้ง 7 ประเด็นที่สนใจ ขอเสนอแนะ

1. ขอเสนอแนะจากการวิจัย การวิจัยขางตนพบวามีขอจํากัดบางประการท่ีเปนอุปสรรคในการวิเคราะหขอมูล

ทั้งนี้ผูวิจัยขอเสนอแนะดังนี้ 1.1 การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับผงฝุนท่ีใชสําหรับปดหารอยลายน้ิวมือแฝงในประเทศไทยยังมีนอยมาก รวมท้ังผงฝุนที่ใชในงานนิติวิทยาศาสตรปจจุบันมีราคาแพง และตองนําเขาจากตางประเทศ ดังนั้นหนวยงานภาครัฐจึงควรใหความสนใจ รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑที่สามารถนํามาใชพัฒนาในประเทศไทยไวเปนฐานขอมูลสําหรับการศึกษา และควรใหการสนับสนุนในการศึกษาวิจัยดานตางๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑสําหรับการปดหารอยลายนิ้วมือแฝงมากย่ิงข้ึน 1.2 ควรควบคุมระยะเวลาในการปดรอยนิ้วมือหลังจากการประทับลายน้ิวมือใหเทากัน เนื่องจากการปดหารอยลายนิ้วมือแฝงในแตละบุคคลท่ีไมไดควบคุมระยะเวลาหลังจากการประทับลายนิ้วมือใหเทากัน อาจทําใหรอยลายนิ้วมือที่ปรากฏไมชัดเจนและมีความแตกตางกันได 1.3 ควรควบคุมนํ้าหนักของแรงกดขณะที่ทําการประทับลายน้ิวมือใหเทากันหรือใกลเคียงกันมากท่ีสุด รวมท้ังปริมาณเหงื่อหรือความชื้นบนนิ้วของแตละบุคคลในการประทับลายน้ิวมือบนพื้นผิววัตถุแตละคร้ังควรควบคุมใหใกลเคียงกันมากท่ีสุด โดยอาจมีการกําหนดเวลาระยะหางระหวางการประทับครั้งแรกและการประทับคร้ังตอ ๆ ไปใหเปนสัดสวนเดียวกัน หากไมมีการควบคุมอาจทําใหรอยลายนิ้วมือที่ปรากฏไมชัดเจน และแตกตางกันได 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 2.1 ควรเพ่ิมจํานวนกลุมตัวอยางใหมากข้ึน และทําการตรวจจุดลักษณะสําคัญพิเศษของรอยลายน้ิวมือแฝงรวมดวย เพื่อใหไดความชัดเจนและวิ เคราะหผลไดถูกตองแมนยํายิ่งข้ึน 2.2 การทําวิจัยครั้งนี้ใชตัวอยางพ้ืนผิวเปนกระดาษเพียงอยางเดียว จึงควรศึกษาการตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงบนพ้ืนผิวประเภทอื่น ๆ ดวย

Page 80: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

68

2.3 ควรทําการศึกษาพัฒนาผงฝุนชนิด และสีอ่ืนๆ ที่สามารถนํามาใชในการตรวจหารอยน้ิวมือและในงานที่เกี่ยวของเพ่ือใหเกิดประโยชนที่แทจริงสูงสุด และควรทําการศึกษาเปรียบเทียบผงฝุนชนิดอ่ืนๆ ใหมีความหลากหลายมากย่ิงข้ึน

Page 81: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

69

บรรณานุกรม

ภาษาไทยชาตรี สนขุนทด. “การประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อใชสําหรับสืบคนตัวบุคคลจาก

ลายนิ้วมือ.”วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2550.

ฑีฆายุ ชินะนาวิน. “ ขอเท็จจริงจากประวัติรอยนิ้วมือ.” วารสารนิติวิทยาศาสตร2 (2506) : 88-91. เบญจวรรณ สาเรือง.“การวิเคราะหเปรียบเทียบลายพิมพนิ้วมือของบุคคลที่เปนฝาแฝด”. วิทยา

นิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550.

วรากร คําแกว. “การประมวลผลภาพสําหรับการรูจําลายน้ิวมือ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, 2543.

วิวรรณ สุวรรณสัมฤทธิ์. “การตรวจลายพิมพนิ้วมือ.” การประกอบแบบคําขอประเมินคุณสมบัติบุคคลและผลงานทางวิชาการ, ม.ม.ป.. (อัดสําเนา)

วิโรจน ไวยวุฒิ. นิติเวชศาสตร การพิสูจนพยานหลักฐาน. กรุงเทพ : ภาควิชานิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิริลักษณ บุญกมุติ. “การประเมินผลการนําระบบคอมพิวเตอรมาใชในการตรวจสอบประวัติลายพิมพนิ้วมือของกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานตํารวจแหงชาติ.” วิทยานิพนธ

ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2550. สมทรง ณ นคร และคณะ. “แบบแผนลายน้ิวมือและจํานวนเสนลายนิ้วมือเฉล่ียในกลุมตัวอยาง

ประชากรไทย.” รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2548. สวลี ลิมปรัชตวิชัย. “การหาระยะเวลานานท่ีสุดที่สามารถตรวจเก็บรอยลายน้ิวมือแฝงดวยผงฝุน.”

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขานิติวิทยาศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหิดล, 2550.

สุคนธ สุขวิรัช และคณะ. “การศึกษาลายน้ิวมือและลายน้ิวมือของผูปวยโรคมะเร็งปากมดลูก.” วารสารโรคมะเร็ง15 (2532): 27-33.

Page 82: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

70

อรรถพล แชมสุวรรณวงศ และคณะ, นิติวิทยาศาสตร 2 เพื่อการสืบสวนสอบสวน (Forensic Science 2 for Crime investigation). พิมพครั้งที่4. กรุงเทพฯ : บริษัท ทีซีจี พร้ินต้ิง จํากัด, 2546..

อิสรา วารีเกษม. “การเปรียบเทียบการตรวจสอบลายพิมพนิ้วมือโดยมนุษยและระบบตรวจสอบอัตโนมัติ .” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิ ติวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยมหิดล, 2533.

ภาษาอังกฤษ Bentsen, BK and Brown JK,Dinsmare A,Harvey KK,Kee TG. “Post firing visualization of fingerprints on spent cartridge cases.” Science&Justice 36 (1996) : 3-8. Bond, John W. “Visualization of latent fingerprint corrosion of metallic surfaces.” Journal

Forensic Science 53 (2008 ) : 812-822. Bond, John W. “The thermodynamics of latent fingerprint corrosion of metal elements and alloys.” Journal Forensic Science 53 (2008 ) : 1344-1352. Cummins H, Middlo C. Finger Prints, Palms and soles. New York : Dover Publication ,1964. Czekanski Patrick. “A mechanistic model for the superglue fuming of latent fingerprints.” Journal of forensic sciences 51 (2006) : 1323-1328. Deborah, A. Evaluation of gun blueing Solutions and their ability to develop latent fingerprints on cartridge casings [Online]. Accessed 30 Ausgust 2008. Available from http://www. cbdiai.org/Articles/leben_ramotowski_10-96.pdf Maceo, Alice. Biological Basis of Uniqueness,Persistence and Pattern Formation [Online]. Accessed 11 January 2009.Available from http://www.interpol.int. Michael, Kücken. “Review Models for fingerprint pattern formation.” Forensic Science International 171(2007) : 85-96. Migron,Y, and Hocherman G. “Visualization of sebaceous fingerprints on fired cartridge cases.” Journal of Forensic Sciences 43 (1998) : 5. Migron,Y, and Mandler D. “Development of latent fingerprints on unfired cartridges by palladium deposition: a surface study.” Journal of Forensic Sciences 42 (1997) : 159. Okajima, M. “Development of dermal ridge in the fetus.” J. Med Genet 12 (1975) : 243-250. Penrose, LS. “Dermatoglyphics.” Science American 221(1969) : 72-84.

Page 83: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

71

Penrose, LS., and Ohara, RT. “The development of the epidermal ridges.” J. Med Genet 10 (1973) : 201-208. Stephen, P. “Understanding the chemistry of the development of latent fingerprints by superglue fuming.” Journal of forensic sciences 52 (2007) : 1057-1062. Thomas, GL. “The resistivity of fingerprint material.” Journal-Forensic Science society 15 (1975) : 133-135. Williams, G . “Latent fingerprint detection using a scanning Kelvin microprobe.” Journal of forensic sciences 46 (2001) : 1085-1092. Worley, Christopher G. “Detection of visible and latent fingerprint on by micro –x-ray fluorescent.” Journal of forensic sciences 51(2006) : 57-63.

Page 84: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

ภาคผนวก

Page 85: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

73

ภาคผนวก ก

รายละเอียดสมการท่ีใชในการคํานวณ

Page 86: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

74

สมการท่ีใชในการคํานวณ 1. คา %ความช้ืนจากสูตร %ความช้ืน = น้ําหนักกอนอบ – น้ําหนักหลังอบ X 100 น้ําหนักกอนอบ

2. คาความหนาแนน

ความหนาแนนของผงฝุนแมเหล็ก = น้ําหนักของผงฝุนแมเหล็ก(กรัม) ปริมาตรของนํ้ากลั่นที่เพิ่มขึ้น (มิลลิลิตร)

3. คาการดูดซับนํ้ามัน คาการดูดซับน้ํามัน = น้ําหนักของนํ้ามันที่ใชในการทดลอง X 100 น้ําหนักของตัวอยาง

4. คาความถวงจําเพาะจากสูตร

คาความถวงจําเพาะ = ความหนาแนนของผงฝุนแมเหล็ก 1

5. คารอยละของผลได รอยละของผลได = ผลไดจริง x 100 ผลตั้งตน

Page 87: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

75

ภาคผนวก ข

แบบสอบถาม

Page 88: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

76

แบบสอบถาม ความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑผงฝุนแมเหล็ก

คําชี้แจง (กรุณาทําเคร่ืองหมาย ในขอที่ตรงกับความเปนจริงและความคิดเห็นของทานมากที่สุด)

5 = ดีมาก 4=ดี 3=ปานกลาง 2=พอใช 1=ปรับปรุง รายการ ระดับคะแนน

5 4 3 2 1 1.1 ความละเอียดของเนื้อผงฝุน 1.2 ความเขมสีของผงฝุน 1.3 เน้ือสัมผัสของผงฝุน 1.3 ลักษณะของผงฝุนโดยรวม 1.4 การเกาะจับลายนิ้วมือของผงฝุน 1.5 ความคมชัดและสามารถแยกลายเสนไดชัดเจน

1.6 การกระจายตวัสมํ่าเสมอของผงฝุน คะแนนรวมเฉลี่ย(สําหรับผูวิจยั)

ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม (กรุณาระบุหัวขอ)……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 89: ในการหาลายน็ก ิ้ วมือ - Silpakorn University...การศ กษาค ณล กษณะผงฝ นแมเหล ก ในการหาลายน

77

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล พันตํารวจโทหญิงณัชชา แสงสวาง ที่อยู 19/10 หมู 11 ต. ไมดัด อ.บางระจัน จ.สิงหบุรี สถานท่ีทํางาน พิสูจนหลักฐานจังหวัดสิงหบุรี ต.บางระจัน อ.คายบางระจัน จ. สิงหบุรี 16150 ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2539 สําเร็จการศึกษาปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี สถาบันราชภัฎบานสมเด็จเจาพระยา พ.ศ. 2550 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2540 รองสารวัตรวิทยาการจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2544 นายเวร(สบ1)ผูบังคับการกองวิทยาการภาค 4 พ.ศ. 2546 รองสารวัตรวิทยาการจังหวัดสิงหบุรี พ.ศ.2549-ปจจุบัน นักวิทยาศาสตร(สบ2) พิสูจนหลักฐานจังหวัดสิงหบุรี