18
18 แผนการสอน/การเรียนรูภาคทฤษฎี หนวยที2 ชื่อวิชา งานเครื่องยนตเล็ก สอนสัปดาหที2-3 ชื่อหนวย หลักการทํางานของเครื่องยนต คาบรวม 12 ชื่อเรื่อง หลักการทํางานของเครื่องยนต จํานวนคาบ 6 หัวขอเรื่อง ดานความรู 1. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จังหวะ 2. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ 3. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน ดานทักษะ 4. คารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซิน 5. ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความขยัน ความอดทน ดานคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. ความสนใจใฝรู ความรู รอบคอบ ระมัดระวัง สาระสําคัญ 1. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 4 จังหวะ แบงเปน จังหวะดูด, จังหวะอัด, จังหวะงาน, จังหวะคาย 2. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ ลูกสูบทําหนาที่เปด-ปดชองไอดี และชองไอเสียดวยสวนบนและสวนลางของลูกสูบ 3. หลักการทํางานเครื่องยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน แบงเปน แบบแผนธรรมดา ( Reed Valve) และ แบบใชเพาเวอรรีดวาลว (Power Reed Valve) 4. คารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซินเปนสวนหนึ่งของระบบซึ่งจะเปนตัวนําไปยังการจุดระเบิดของ เครื่องยนตและทําใหเชื้อเพลิงมีปริมาณที่เหมาะสมตามความตองการของเครื่องยนต

แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

  • Upload
    others

  • View
    18

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

18

แผนการสอน/การเรียนรูภาคทฤษฎี หนวยที่ 2

ช่ือวิชา งานเคร่ืองยนตเล็ก สอนสัปดาหที่ 2-3

ช่ือหนวย หลักการทํางานของเคร่ืองยนต คาบรวม 12

ช่ือเร่ือง หลักการทํางานของเคร่ืองยนต จํานวนคาบ 6

หัวขอเร่ือง

ดานความรู

1. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ

2. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ

3. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน

ดานทักษะ

4. คารบูเรเตอรและถังนํ้ามันเบนซิน

5. ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความขยัน ความอดทน

ดานคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

6. ความสนใจใฝรู ความรู รอบคอบ ระมัดระวัง

สาระสําคัญ

1. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ แบงเปน จังหวะดูด, จังหวะอัด, จังหวะงาน, จังหวะคาย

2. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ ลูกสูบทําหนาที่เปด-ปดชองไอดี และชองไอเสยีดวยสวนบนและสวนลางของลกูสบู 3. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน แบงเปน แบบแผนธรรมดา (Reed

Valve) และ แบบใชเพาเวอรรีดวาลว (Power Reed Valve)

4. คารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซินเปนสวนหนึ่งของระบบซึ่งจะเปนตัวนําไปยังการจุดระเบิดของ

เคร่ืองยนตและทําใหเชื้อเพลิงมีปริมาณที่เหมาะสมตามความตองการของเคร่ืองยนต

Page 2: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

19

สมรรถนะอาชีพประจําหนวย (ส่ิงที่ตองการใหเกิดการประยุกตใชความรู ทักษะ คุณธรรม เขาดวยกัน)

กาํหนดและอธิบายหลักการทํางานของเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะและ 2 จังหวะ ใหสอดคลองกับ

ความตองการของลูกคาและกลุมเปาหมาย

จุดประสงคการสอน/การเรียนรู

• จุดประสงคทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ(ดานความรู)

2. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะแบบลิ้นลูกสูบ(ดานความรู)

3. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะแบบใชลิ้นแผน(ดานความรู)

4. คารบูเรเตอรและถังนํ้ามันเบนซิน(ดานทกัษะ)

5. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการเตรียมความพรอมดานการเตรียม วัสดุ อุปกรณ และการปฏิบัติงาน

อยางถูกตอง สําเร็จภายในเวลาที่กําหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ

คุณลักษณะ3D (ดานคณุธรรม จริยธรรม)

• จุดประสงคเชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1. ผูเรียนสามารถอธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะไดอยางถูกตอง(ดานความรู)

2. ผูเรียนสามารถอธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะแบบลิ้นลูกสูบไดอยาง

ถูกตอง(ดานความรู)

3. ผูเรียนสามารถอธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะแบบใชลิ้นแผนไดอยาง

ถูกตอง(ดานความรู)

4. ผูเรียนสามารถถอดประกอบและอธิบายหลัการทํางานคารบูเรเตอรและถังน้ํามันเบนซินได

อยางถูกตอง(ดานทักษะ, ความรู)

5. ผูเรียนสามารถใชเคร่ืองมือไดอยางถูกตอง(ดานทกัษะ)

6. เตรียมความพรอม ดานวัสดุ อุปกรณ สอดลองกับงานไดอยางถูกตองและคุณลักษณะ3D

(ดาน คุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลักษณะ3D)

7. ปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง และสําเร็จภายในเวลาที่กําหนดอยางมีเหตุผลตามหลักปรัชญา

เศรษฐกิจ พอเพียงและคุณลักษณะ3D (ดานคณุธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

และคุณลักษณะ3D)

Page 3: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

20

การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคุณลักษณะ 3D

• หลักความพอประมาณ

1. ผูเรียนจัดสรรเวลาในการฝกปฏิบัติตามใบงานไดอยางเหมาะสม

2. กําหนดเนื้อหาเหมาะสมกับเกณฑการประเมินการใชเคร่ืองมืออยางถูกตองและเหมาะสมกับงาน

3. ผูเรียนรูจักใชและจัดการวัสดุอุปกรณตางๆอยางประหยัดและคุมคา

4. ผูเรียนปฏิบัติตนเปนผูนําและผูตามที่ดี

5. ผูเรียนเปนสมาชิกที่ดีของกลุมเพื่อนและสังคม

• หลักความมีเหตุผล

1. เห็นคุณคาของการใชเคร่ืองมือในการใชงานอยางถูกตองและเหมาะสมกับงานไดอยางชัดเจน

2. จัดแสดงเน้ือหาของเคร่ืองมือไดอยางถูกตอง มีเหตุผล และสามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนิน

ธุรกิจและในชีวิตประจําวันได กลาแสดงความคิดอยางมีเหตุผล

3. กลาทักทวงในสิ่งที่ไมถูกตองอยางถูกกาลเทศะ

4. กลายอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

5. ใชวัสดุถูกตองและเหมาะสมกับงาน

6. ไมมีเร่ืองทะเลาะวิวาทกับผูอ่ืน

7. คิดสิ่งใหม ๆ ที่เกิดประโยชนตอตนเอง และสังคม

8. มีความคิดวิเคราะหในการแกปญหาอยางเปนระบบ

• หลักความมีภูมิคุมกัน

1. มีทักษะทางหลักความปลอดภัยอีกทั้งสื่อความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ผูเรียนไดรับความรูที่ถูกตอง พรอมทั้งกําหนดเน้ือหาไดครบถวนถูกตองตามหลักความปลอดภัยที่ดี

และมีสาระสําคัญที่สมบูรณ

3. มีการเตรียมความพรอมในการเรียนและการปฏิบัติงาน

4. กลาซักถามปญหาหรือขอสงสัยตาง ๆ อยางถูกกาลเทศะ

5. แกปญหาเฉพาะหนาไดดวยตนเองอยางเปนเหตุเปนผล

6. ควบคุมอารมณของตนเองได

7. ควบคุมกิริยาอาการในสถานการณตาง ๆไดเปนอยางดี

Page 4: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

21

การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตางๆใหอยูในระดับพอเพียงหรือตามปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงนั้น ตองอาศัยทั้งความรูและคุณธรรมเปนพ้ืนฐาน ดังนี ้

• เง่ือนไขความรู

1. ผูเรียนไดใชกระบวนการคิดในการบริการหลักความปลอดภัย(ความสนใจใฝรู ความรอบรู

รอบคอบ ระมัดระวัง)

2. มีความรู ความเขาใจในการใชเคร่ืองมือ

3. ใชวัสดุอยางประหยัดและคุมคา

4. ปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ

5. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

• เง่ือนไขคุณธรรม

1. ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายเสร็จตามกําหนด (ความรับผิดชอบ)

2. ใชวัสดุอุปกรณอยางคุมคา ประหยัด (ความประหยัด)

3. มีความเพียรพยายามและกระตือรือรนในการเรียนและการปฏิบัติงาน (ความขยัน ความอดทน)

4. ใหความรวมมือกับการทํากิจกรรมของสวนรวม อาสาชวยเหลืองานครูและผูอ่ืน (แบงปน)

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู

Page 5: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

22

• ดานความรู(ทฤษฎี)

2. หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 และ 4 จงัหวะ สาระสําคัญประจําหนวย เคร่ืองยนตเบนซินเล็กหรือเรียกวา เคร่ืองยนตเบนซินอเนกประสงค เปนเคร่ืองตนกําลังขนาดเล็กสูบ

เดียวขนดประมาณ 3-10 แรงมา ใชเปนเคร่ืองทุนแรงในการเกษตร งานกอสราง เคร่ืองปนไฟ เคร่ืองสูบนํ้า

เคร่ืองรถไถนา เคร่ืองพนยาปราบรัตรูพืช เคร่ืองหินขัดพื้น เคร่ืองทุบดิน สรางถนน เปนตน เคร่ืองยนตเบนซินเล็ก มีหลักการและโครงสรางเชนเดียวกับเคร่ืองยนตเบนซินรถจักรยานยนตหรือ

เคร่ืองยนตรถยนต กําลังเคร่ืองยนตไดจากการเผาไหมนํ้ามันเบนซิน คือ เปลี่ยนพลังงานความรอนเปน

พลังงานกล ใชงานแทนกําลังคนและกําลังสัตวไดอยางตอเน่ือง ขอดีของเคร่ืองยนตเบนซินเล็ก - ขนาดกะทัดรัด ดัดแปลงใชเปนเคร่ืองทุนแรง ไดสารพัดประโยชน - เคร่ืองเดินเงียบและสั่นสะเทือนนอย - นํ้าหนักประมาณ 15 -20 กโิลกรัม - ประหยดันํ้ามนัเบนซนิ - ซอมงาย ชิ้นสวนนอย ราคาถูก - ตองการการบํารุงรักษานอย - ใชไดทั้งงานที่ตองการความเร็วรอบคงที่ เชน เคร่ืองปนไฟ เคร่ืองสูบนํ้า และที่ตอง การความเร็วไมคงที่ เชน เคร่ืองยนตเรือ เคร่ืองยนตรถ เปนตน รูปที่ 2.1 เคร่ืองยนตเบนซินเล็ก

Page 6: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

23

2.1 หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จงัหวะ จงัหวะดดูไอด ี จงัหวะอัด จงัหวะงาน จงัหวะคาย

รูปที่ 2.2 การทํางานเคร่ืองยนต 4 จังหวะซ้ํา ๆ กัน จึงเรียกวา วัฏจักรการทํางาน 4 จังหวะ 2.1.1 จังหวะดูด ( Suction Stroke)

ลูกสูบเลื่อนลง ลิ้นไอดีเปดลิ้นไอเสีย เกิดสุญญากาศภายในกระบอกสูบ ดูดไอดีเขาบรรจุในกระบอก

สูบ จนลูกสูบเลื่อนลงถึงศูนยตายลาง ( Buttom Dead Centre = BDC)

2.1.2 จังหวะอัด (Compression Stroke)

เมื่อลูกสูบเลื่อนลงจนสุดจังหวะดูด ลิ้นทั้งคูจะปด ลูกสูบเลื่อนขึ้นอัดไอดีใหมีปริมาตรลดลงดวยอัตรา

อัดประมาณ 1 : 6 ถึง 1 : 10 ความดันประมาณ 6.0-10.0 กก./ซม.2

2.1.3 จงัหวะงาน (Combustion Stroke หรือ Power Stroke)

กอนลูกสูบถึงศูนยตายบนในจังหวะอัดเล็กนอย ประกายไฟจากหัวเทียนและจุดไอดีใหเผาไหม แกสเผา

ไหมรอนประมาณ 1,600 – 2,200๐ ซ. หรือความดันประมาณ 40-60 กก. / ซม.2 ผลักดันลูกสูบใหหมุนเพลา

ขอเหว่ียง

2.1.4 จังหวะคาย (Exhaust Stroke)

ลิ้นไอเสียเปด ลูกสูบเลื่อนขึ้นขับไลไอเสียออก จนกระทั่งลูกสูบขึ้นเกือบถึงศูนยตายบนลิ้นไอดี

จะเร่ิมเปด เพื่อเร่ิมตนจังหวะดูดรอบตอไป

Page 7: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

24

2.2 หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ 2.2.1 ลําดับการทํางาน ลิ้นลูกสูบหมายถึง ลูกสูบทําหนาที่เปด-ปดชองไอดีและชองไอเสยีดวยสวนบนและสวนลางของ

ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเคร่ืองยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง

การทํางานของลูกสูบดูไดตามตารางใตรูป

2.2.2 หนาท่ีสวนประกอบหลัก สวนประกอบเคร่ืองเบนซิน 2 จังหวะ บางชิ้นสวนทํางานตางกับสวนประกอบเคร่ืองยนตเบนซิน 4

จังหวะ ดังน้ี - หองเพลาขอเหว่ียงไมไดเปนหองบรรจุนํ้ามันหลอลื่นแตเปนหองบรรจุไอ - กระบอกสูบ มีชองบรรจุ ชองไอดี ชองไอเสียทะลุผนังกระบอกสูบ - หัวลูกสูบ เปนสันนูน เปนสันบังคับทิศทางไหลไอดี ใหขับไลไอเสีย - แหวนลกูสบูไมมแีหวนนํ้ามนั ปากแหวนเวาตามเดือยสลกักนัลกูสบูหมนุ - สลักลูกสูบเปนสลักตันตรงกลาง ไมใหไอดีไหลผานสลักลูกสูบ - เพลาขอเหว่ียงเปนแบบถอดแยกชิ้นได เพื่อถอดประกอบตลับลูกปนกานสูบ 2.2.3 วัฏจักรของเคร่ืองยนต 2 จงัหวะ วัฏจักรหรือทฤษฎีเคร่ืองยนต 2 จังหวะหมายถึง ลูกสูบขึ้นลง 2 คร้ัง หรือเคร่ืองยนตหมุนครบ 1

รอบได 1 คร้ัง เรียกวาเคร่ืองยนต 2 จังหวะ

Page 8: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

25

เปรียบเทียบขอดีขอเสียระหวางเคร่ืองยนต 2 จังหวะกับเคร่ืองยนต 4 จงัหวะ 2.3 หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน

2.3.1 แบบใชลิ้นแผนธรรมดา (Reed Valve)

ลิ้นแผนหรือรีดวาลวเปนลิ้นที่ใชในระบบสงไอดี

ลักษณะเปนแผนบาง ๆ ทําจากเหล็กสปริงติดต้ัง

อยูดานบนของหอเพลาขอเหว่ียง ในขณะที่ลูกสูบ

เลื่อนขึ้นลงในกระบอกสูบความดันในหองเพลา

ขอเหว่ียง จะเพิ่มขึ้นและลดลงสลับกับขณะ เดียว

กันลิ้นแผนจะเปดและปดสลับกันไปดวย เวลาการ

เปดของลิ้นแผนแปรผันโดยตรงตามความเร็วรอบ

ของเคร่ืองยนตเรียกอีกอยางหน่ึงวา ระยะ เวลา

ของการดูดไอดีขึ้นอยูกับสภาวะของเคร่ืองยนต

รูปที่ 1.9 ภาพตัดแสดงลิ้นแผน ลนแผนทํางานโดยสุญญากาศและความดันใน

หองเพลาขอเหว่ียง ดังแสดงในตารางตอไปน้ีเปน

เคร่ืองยนตหมุนซาย

เหนือลูกสูบ

ปดชองบรรจุและ

อัดไอดี

จุดระเบดิและดัน

ลูกสูบลง

เปดชองไอเสยีลด

ความดัน

เปดชองบรรจุไอ

ดีขับไลไอเสีย

เร่ิมอัดไอดีใน

หองเผาไหม

ขอดี ขอเสีย 1) โครงสรางงาย ไมมีระบบล้ินที่ยุงยาก

สลับซับซอน 2) ไดเปรียบดานกําลังตอน้ําหนักของเครื่องยนต

คือ น้ําหนักนอย 3) มีช้ินสวนเคล่ือนไหวนอย จึงประหยัดทั้งคา

ซอม และคาบํารุงรักษา 4) เครื่องยนตสงกําลังไดเรียบกวา เพราะ

เครื่องยนตทํางานทุกรอบที่เพลาขอเหว่ียง

หนุน 5) ออกแบบใหเปนเครื่องยนตอเนกประสงคได

ดี เพราะติดตั้งใชงานไดทั้งแนวนอนและ

แนวดิ่ง

1) ส้ินเปลืองน้ํามันเบนซินและน้ํามันเครื่อง

มากกวาเครือ่งยนต 4 จังหวะ 2) สวนประกอบเครื่องยนตรับภาระทางความ

รอนสูง เพราะมีการเผาไหมทุกรอบ 3) สวนประกอบเครื่องยนตตองรับภาระทางกล

สูงเพราะเครื่องยนตทํางานทุกรอบ 4) เครือ่งยนตระบายความรอนออกยากเพราะมี

เวลาจาํกัด ทาํงานทกุรอบ 5) ทอรคหรือแรงบิดสูเครื่องยนต 4 จังหวะ

ไมได 6) ไอเสียมีมลพิษทั้งแกสพิษและควัน เปน

อันตรายตอส่ิงแวดลอม

Page 9: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

26

ใตลูกสูบ

หมายเหตุ

- ลิ้นแผนทําหนาที่ควบคุมไอดีเขาบรรจุในเพลาขอเหว่ียงใหมีประสิทธิภาพการบรรจุไอดีสูงขึ้น

- ลูกสูบทําหนาที่ควบคุมการบรรจุไอดีเขาหองเปาไหมและขับไลไอเสียออกไป

2.2 หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ

ลิ้นลูกสูบหมายถึง ลูกสูบทําหนาที่เปด-ปดชองไอดีและชองไอเสยีดวยสวนบนและสวนลางของ

ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเคร่ืองยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง

2.3 หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบใชลิ้นแผน

2.3.1 แบบใชลิน้แผนธรรมดา (Reed Valve)

ลิ้นแผนหรือรีดวาลวเปนลิ้นที่ใชในระบบสงไอดี ลักษณะเปนแผนบาง ๆ ทําจากเหล็กสปริงติดต้ัง

อยูดานบนของหอเพลาขอเหว่ียง

2.3.2 แบบใชเพาเวอรรีดวาลว (Power Reed Valve)

เพราะการบรรจุไอดีในแบบเดิม ซึ่งมีเพียงแบบลิ้นลูกสูบและแบบลิ้นแผนธรรมดา ยังมีขอเสียคือ ที่ความเร็ว

รอบตํ่า รอบปานกลาง และรอบสูง ไอดีที่เขากระบอกสูบในแตละความเร็วไมมีความแนนอน ไมสัมพันธกับ

การทํางานของเคร่ืองยนต เคร่ืองยนต จึงมีการพัฒนาระบบการควบคุมไอดีของเคร่ืองยนต 2 จังหวะ แบบ

เพาเวอรรีดวาลว ใหไอดีที่เขาไปในเคร่ืองยนตมีความราบเรียบสม่ําเสมอ และแนนอนทุก ๆ ความเร็วรอบของ

เคร่ืองยนต

• ดานทักษะ(ปฏิบตั)ิ

คารบูเรเตอรและถังน้ํามัน

หลักการทํางานของคารบูเรเตอรเบื้องตน ( Principle of Operation )

หลักการทํางานเบื้องตนของคารบูเรเตอรเบื้องตน อาศัยหลักการ 3 ประการคือ

1. สุญญากาศ ( Vaccum )

2. แรงดันบรรยากาศ ( Atmospheric Pressure )

3. คอคอด ( Venturi Principle )

สญุญากาศ ( Vaccum )

สุญญากาศสมบูรณ ( Absolute Vacuum) หมายถึง บริเวณใด ๆ ก็ตาม ที่ไมมีอากาศหรือแนวแรงดัน

ดูดไอดีเขาบรรจุ

ไว

ลิ้นแผนปดเร่ิม

เกดิความดัน

เพิม่ความดันไอดี

ใหสูงขึ้น

ดันไอดีเขาหอง

เผาไหม

ดูดไอดีเขาบรรจุ

ไว

Page 10: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

27

บรรยากาศปกติเลย ซึ่งสภาพเชนน้ีมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดยากมาก และ ไมเคยเกิดขึ้นเลยในเคร่ืองยนตเล็กแกส

โซลีน

ดังน้ันในทางปฏิบัติ บริเวณ ใด ๆ ก็ตาม ที่แรงดันตํ่ากวาแรงดันบรรยากาศปกติ โดยทั่วไปจะเรียกวา

“สญุญากาศ”

วงจรคารบเูรเตอรตาํแหนงเดนิเบา ลิ้นเรงปดเกือบสุด น้ํามันเบนซินออกผสมกับอากาศที่นมหนูเดินเบา ปรับความเร็วเดินเบาดวยสกรูเดินเบา หมายเหต ุ การปรับความเร็วเดินเบาคือปรับใหสวนผสม

ไอดีพอเหมาะกบัเคร่ืองยนตเดินเบาเดินเบาไดเรียบและ

เคร่ืองยนตไมดับเอง ตําแหนงเรงปานกลาง ลิ้นเรงเปดเล็กนอย สุญญากาศที่นมหนูใหญมากขึ้นจึงดูดนํ้ามันเบนซิน

ขึ้นสูง น้ํามันเบนซินออกผสมกับอากาศที่ชองเดินเบาปาน

กลาง

ตาํแหนงเรงสดุ ลิ้นเรงเปดสุด สุญญากาศที่นมหนูใหญมีมาก น้ํามันเบนซินออกผสมทางชองอากาศนมหนูเดินเบา

หมายเหตุ คารบูเรเตอรมีหลายกวาวงจรขางบนเพื่อให

การทํางานสัมผันกับแรงดึงดูดน้ํามันเบนซินของ

สุญญากาศที่เกิดขึ้นในทอไอดี

Page 11: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

28

6.คารบูเรเตอร ( Carburetors )

องคประกอบของคารบูเรเตอรที่สําคัญที่จะทําใหเคร่ืองยนตทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพน้ัน ตอง

ประกอบดวยองคประกอบทั้ง 3 ประการคือ

1. ระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง ( Fuel System )

2. ระบบจุดระเบิด ( Inition System )

3. กําลังอัด ( Comprestion )

คารบูเรเตอรเปนอุปกรณหน่ึงในระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งทําหนาที่จายสวนผสมระบบนํ้ามันเชื้อเพลิง

แกสโซลีนกับอากาศ ( Gasoline and air mixture ) ใหกับเคร่ืองยนตในอัตราสวนผสมโดยประมาณระหวาง 9

: 1 ถึง 16 : 1 ( อากาศ : เชื้อเพลิงแกสโซลีน ) โดยนํ้าหนัก ทั้งน้ีขึ้นอยูกับอุณหภูมิเคร่ืองยนต ความเร็ว

ภาระ และการออกแบบ ฯลฯ

อัตราสวนผสมจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการทํางานขอนเคร่ืองยนตดังเชน

ขณะสตารทเคร่ืองสวนผสมจะทําหนาที่สุด น้ัน คือ 8 : 1

ขณะความเร็วเดินเบาเคร่ืองยนต ( Idle ) สวนผสมจะบางน้ันคือ 11.5 : 1

ความเร็วปกติ ( Normal Speed ) สวนผสมจะบางที่สุด ประหยัดที่สุด น้ันคือ 15 : 1

ขณะใหกําลังงานสูงสุด ( Full Power ) สวนผสมจะหนาขึ้นเมื่อเทียบกับความเร็วปกติ น้ันคือ 12.5 :

1ขณะเรงเคร่ืองยนต ( Accleleration ) สวนผสมจะหนาขึ้นน้ันคือ 9 : 1

เคร่ืองยนตจะไมเกิดการเผาไหม ถานํ้ามันเชื้อเพลิงที่เขาสูหองเผาไหมยังเปนฃองเหลวอยูดังน้ันนํ้ามัน

ตองมีสภาพเปนไอ ( Vporized ) และสวนผสมในทุกภาพการทํางานจึงเกิดการเผาไหมได สภาพการทํางาน

ตาง ๆ เชน

1. สตารทเคร่ืองยนตขณะเคร่ืองเย็น หรือ รอน

2. ความเร็วเดินเบา

3. เปดลิ้นเรงบางสวนหรือความเร็วปานกลาง

4. เรงเคร่ืองยนต

5. การทํางานที่ความเร็วสูง

ทุกสภาพการทํางานดังกลาวน้ัน นํ้ามันเชื้อเพลิงจะตองกลายเปนไอและผสมกับอากาศกอนที่จะเขา

ไปสูหองเผาไหมดังน้ันคารบูเรเตอรจึงมีหนาที่หลักดังตอไปน้ี

1. ผสมอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสภาพการทํางานตาง ๆ เพื่อควบคุมการเผาไหมและกําลังอัด

2. ควบคุมอัตราสวนผสมใหถูกตองดวยการทําใหนํ้ามันเชื้อเพลิงเปนฝอยละอองละเอียดแลวผสมกับอากาศ

Page 12: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

29

• ดานคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคณุลักษณะ

3D (จุดประสงคเชิงพฤติกรรมขอทึ่ 5-6)

1. การเตรียมความพรอมดานการเตรียม วัสดุ อุปกรณนักศึกษาจะตองกระจายงานไดทั่วถึง และ

ตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณไวอยาง

พรอมเพรียงและนักศึกษาทุกคนจะตองรูจักใชและจัดการกับวัสดุอุปกรณเหลาน้ันอยางฉลาด

และรอบคอบ สามารถนําวัสดุอุปกรณในทองถิ่นมาประยุกตใชอยางคุมคาและประหยัด งานจะ

สําเร็จไดนักศึกษาจะตองมีความขยันอดทน มีความเพียรพยายามและกระตือรือรนในการเรียน

และการปฏิบัติงาน และรูจักแบงปนใหความรวมมือกับการทํากิจกรรมของสวนรวม อาสา

ชวยเหลืองานครูและผูอ่ืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคุณลักษณะ 3D

2. ความมีเหตุมีผลในการปฎิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคุณลักษณะ3D

นักศึกษาจะตองมีการใชเทคนิคที่แปลกใหม ใชสื่อและเทคโนโลยี ประกอบการ นําเสนอที่

นาสนใจ ปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ นักศึกษาจะมีภูมิคุมกันในตัวที่ดีไดนักศึกษา

จะตองมีความสนใจใฝรู รอบรู รอบคอบ และระมัดระวัง

กิจกรรมการเรียนการสอน

Page 13: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

30

กิจกรรมการสอนหรือกิจกรรมของครู กิจกรรมการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน

ข้ันนํา

1. ครูใหผูเรียนทําแบบทดสอบ

2.ครูถามผูเรียนถาจะซอมรถยนตจะตองทํายังไง

3.ครูถามผูเรียนเราใชอะไรในการซอมรถยนต

ข้ันสอน

1.ครูอธิบายหลักการทํางานของเคร่ืองยนต 4 จังหวะ

และ 2 จังหวะ

2.ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะหลักการทํางาน

ของเคร่ืองยนตพรอมอธิบายหนาที่ ของชิ้นสวน

3. ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะหลักการทํางาน

ของเคร่ืองยนต 2 จังหวะพรอมอธิบายหนาที่ ของ

ชิ้นสวน

4. ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะของ

คารบเูรเตอร และใหดูของจริงประกอบ พรอมอธิบาย

หนาที่ และการใชงาน

5. ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะของของถัง

นํ้ามัน และใหดูของจริงประกอบ พรอมอธิบายหนาที่

และการใชงาน

6. ครูถามผูเรียนเกี่ยวกับชื่อ ,หนาที่ และการใชงาน

เคร่ืองมือทั่วไป

7. ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะของประแจชนิด

ตาง ๆ ที่ใชในงานชางยนต และใหดูของจริงประกอบ

พรอมอธิบายชื่อไทย-อังกฤษ วิธีการใชงาน และการ

บํารุงรักษา

8. ครูใหผูเรียนดูแผนใส แสดงลักษณะของดามขัน

ชนิดตาง ๆ และใหดูของจริงประกอบ พรอมอธิบายชื่อ

ไทย-อังกฤษ วิธีการใชงาน และการบํารุงรักษา

10.ครูเปดโอกาสใหผูเรียนซักถามขอสงสัย

11. ครูใหผูเรียนทุกคนทําแบบฝกหัด

ข้ันนํา

1. นักเรียนทุกคนต้ังใจทําแบบทดสอบ

2 ผูเรียนทั้งชั้น แสดงความคิดเห็นตามหัวขอที่ครู

ซักถาม

ข้ันสอน

1.ผูเรียนทั้งชั้นต้ังใจฟงการบรรยาย และจดบันทึก

เน้ือหาจากคําบรรยายประกอบชุดแผนใส และผูเรียน

มีความพรอมตอบขอซักถามเมื่อครูถาม

2.ผูเรียนทุกคนทําแบบฝกหัดที่ครูมอบหมาย

3. ผูเรียนเปลี่ยนกันตรวจแบบฝกหัด

4. ผูเรียนออกมาอธิบายชื่อไทย-อังกฤษ และ

วิธีการใชงาน และการเก็บรักษาเคร่ืองมือตาง ๆ เปน

รายบุคคล

Page 14: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

31

12. ครูเฉลยแบบฝกหัด

13. ครูใหผูเรียนออกมาอธิบายชื่อไทย-อังกฤษ และวิธ

การใชงาน และการเก็บรักษาเคร่ืองมือตาง ๆ เปน

รายบุคคล

ข้ันสรุป

1.ครูสรุปเน้ือหาเพิ่มเติมในสวนที่ขาดใหครบ

ข้ันสรุป

1.ผูเรียนทั้งชั้นชวยกันสรุปเน้ือหา

งานท่ีมอบหมายหรือกิจกรรม

Page 15: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

32

1. ใหผูเรียนทําแบบทดสอบ

2. ใหนักศึกษาเตรียมตัวสอบเร่ืองเคร่ืองมือชางยนต

3. ใหนักศึกษาไปศึกษาในเร่ืองเคร่ืองมือชางยนตในหัวขอตอไป

สื่อการเรียนการสอน

1. ใบความรูเร่ืองหลักการทํางานของเคร่ืองยนต 4 จังหวะ 2 จังหวะ คารบูเรเตอรและถังนํ้ามัน

2. แผนใสภาพหลักการทํางานของเคร่ืองยนต 4 จังหวะ 2 จังหวะ คารบูเรเตอรและถังนํ้ามัน

3. เคร่ืองมือชางยนต

4. เคร่ืองยนตเล็กเบนซินของจริง

การประเมินผล

1. สังเกตพฤติกรรมความสนใจใฝรูในการเรียน

2. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย

3. การใหความรวมมือในการทํากิจกรรมระหวางเรียน

4. ผลคะแนนจากแบบทดสอบ

5. แบบฝกหัด

Page 16: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

33

แบบทดสอบ

คําสั่ง จงตอบคําถามตอไปน้ีใหถูกตอง 1. ใหอธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

2. อธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………….………………

Page 17: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

34

เฉลยแบบทดสอบ

1. ใหอธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ

ตอบ หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 4 จังหวะ มีดังน้ี

1. จังหวะดูด ( Suction Stroke)

ลูกสูบเลื่อนลง ลิ้นไอดีเปดลิ้นไอเสีย เกิดสุญญากาศภายในกระบอกสูบ ดูดไอดีเขาบรรจุในกระบอก

สูบ จนลูกสูบเลื่อนลงถึงศูนยตายลาง ( Buttom Dead Centre = BDC)

2. จังหวะอัด (Compression Stroke)

เมื่อลูกสูบเลื่อนลงจนสุดจังหวะดูด ลิ้นทั้งคูจะปด ลูกสูบเลื่อนขึ้นอัดไอดีใหมีปริมาตรลดลงดวยอัตรา

อัดประมาณ 1 : 6 ถึง 1 : 10 ความดันประมาณ 6.0-10.0 กก./ซม.2

3. จังหวะงาน (Combustion Stroke หรือ Power Stroke)

กอนลูกสูบถึงศูนยตายบนในจังหวะอัดเล็กนอย ประกายไฟจากหัวเทียนและจุดไอดีใหเผาไหม แกส

เผาไหมรอนประมาณ 1,600 – 2,200๐ ซ. หรือความดันประมาณ 40-60 กก. / ซม.2

การทํางาน

ผลักดันลูกสูบใหหมุน

เพลาขอเหว่ียง

4. จังหวะคาย (Exhaust Stroke)

ลิ้นไอเสียเปด ลูกสูบเลื่อนขึ้นขับไลไอเสียออก จนกระทั่งลูกสูบขึ้นเกือบถึงศูนยตายบนลิ้นไอดีจะเร่ิม

เปด เพื่อเร่ิมตนจังหวะดูดรอบตอไป

2. อธิบายหลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 แบบลิ้นลูกสูบ

ตอบ หลักการทํางานเคร่ืองยนตเบนซิน 2 จังหวะ แบบลิ้นลูกสูบ

ลิ้นลูกสูบหมายถึง ลูกสูบทําหนาที่เปด-ปดชองไอดีและชองไอเสยีดวยสวนบนและสวนลางของ

ลูกสูบ ตําแหนงการบรรจุไอดีและคายไอเสียจึงคงที่ สมรรถนะของเคร่ืองยนตจะดีเฉพาะที่ความเร็วรอบสูง

จังหวะท่ี 1 จังหวะท่ี 2 ชวงเกยจังหวะท่ี 2 ไป 1

เหนือลูกสูบ อัดไอด ี สงกําลัง คายและขับไลไอเสียเปนชวงบรรจุไอด ี

ใตลูกสูบ ดูดไอด ี เพ่ิมความดนัไอด ี อัดไอดีเขาบรรจุในกระบอกสูบ

Page 18: แผนการสอน การเรียนรู ภาคทฤษฎี · 19 สมรรถนะอาชีพประจําหน วย (สิ่งที่ต

35

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการสอน

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................