66
1 การผลิตและพัฒนาครู : บนเสนทาง การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดย รองศาสตราจารย ดร.สมบัติ นพรัก คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรแหงประเทศไทย วันที1 เมษายน 2553 โรงแรมรอยัลริเวอร กรุงเทพฯ

การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

1

การผลิตและพัฒนาครู : บนเสนทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

โดย รองศาสตราจารย ดร.สมบัติ นพรักคณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยันเรศวร

ประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรแหงประเทศไทย

วันที่ 1 เมษายน 2553 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร กรุงเทพฯ

Page 2: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

2

ประเด็นการนําเสนอ

1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่หนึ่ง เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาอยางไรบาง ?

2. ปจจัยสําคัญที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษามีอะไรบาง ?

3. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปอะไร ?

4. แนวทางการปฏิรูปการผลิตครู ทําอยางไร ?

5. แนวทางการปฏิรูปการพัฒนาครู ทําอยางไร ?

6. การควบคุมมาตรฐานการผลิตและพัฒนา ใครรับผิดชอบ ?

Page 3: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

3

1.1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่หนึ่งการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่หนึ่ง

(20(20 สส..คค.. 4242––1919 สส..คค.. 52)52)

ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

1. ดานผลสัมฤทธิก์ารเรียนของเด็กไทย

ความเหน็ของนายกรัฐมนตรี

“...สิ่งที่ผมคิดวานาหนักใจมากที่สุด ก็คือเปาหมายขอที่ 3 ที่เปนหัวใจและเปาหมายสําคัญ คือ เรื่องคุณภาพ เปนเรื่องที่นาเสียใจวาจากการประเมินผลของหนวยงานองคกรตางๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ ในวิชาตางๆ อยางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร การประเมนิผลสัมฤทธิ์การเรียน เกือบทุกครั้งยังนาผิดหวัง ดังนั้น สิ่งที่ทาทายที่สุดในการปฏิรูปการศึกษารอบใหม ผมคดิวาอยูตรงนี้ จะตองวิเคราะหใหไดวาสภาพปญหาที่ผานมาคืออะไร ที่ทําใหไมสามารถฝาฟนตรงนี้ไปได...”

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะนายกรฐัมนตรี

14 พฤษภาคม 2552

Page 4: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4

2. ดานผลสัมฤทธิท์างการศึกษาระดับนานาชาติ2.1 ผลการประเมินของโครงการ Program for International Student Assessment (PISA)

ตาราง 1 คะแนนเฉลี่ยวิทยาศาสตรและตําแหนงของประเทศใน PISA 2006 (ที่มา : OECD 2006 database)

ประเทศ คะแนนเฉลีย่ S.E.ชวงตําแหนง (สูง-ต่ํา)

ประเทศ OECD รวมทุกประเทศ

สูงกวา

คาเฉลีย่ OECD

ฟนแลนด 563 (2.0) 1-1 1-1

จีน-ฮองกง 542 (2.5) 2-2

จีน-ไทเป 532 (3.6) 3.8

ญี่ปุน 531 (3.4) 2-5 3-9

เกาหลี 522 (3.4) 5-9 7-13

จีน-มาเกา 511 (1.1) 15-20

ต่ํากวา

คาเฉลีย่ OECD

ไทย 421 (2.1) 44-47

อินโดนีเซีย 393 (5.7) 50-54

Page 5: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

5

ตาราง 2 คะแนนเฉลี่ยการอานและตําแหนงของประเทศใน PISA 2006 (ที่มา : OECD 2006 database)

ประเทศ คะแนนเฉลี่ย S.E.ชวงตําแหนง (สูง-ต่ํา)

ประเทศ OECD รวมทุกประเทศ

สูงกวา

คาเฉลี่ย

OECD

เกาหลี 556 (3.8) 1-1 1-1

ฟนแลนด 547 (2.1) 2-2 2-2

จีน-ฮองกง 536 (2.4) 3-3

ไมแตกตาง

จากคาเฉลี่ย

OECD

ญี่ปุน 498 (3.6) 9-16 11-21

จีน-ไทเป 496 (3.4) 12-22

จีน-มาเกา 492 (1.1) 18-22

ต่ํากวา

คาเฉลี่ย OECD

ไทย 417 (2.6) 41-42

อินโดนีเซีย 393 (5.9) 44-51

Page 6: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

6

ตาราง 3 คะแนนเฉลี่ยคณิตศาสตรและตําแหนงของประเทศใน PISA 2006 (ที่มา : OECD 2006 database)

ประเทศ คะแนนเฉลี่ย S.E.ชวงตําแหนง (สูง-ต่ํา)

ประเทศ OECD รวมทุกประเทศ

สูงกวา

คาเฉลี่ย

OECD

จีน-ไทเป 549 (4.1) 1.4

ฟนแลนด 548 (2.3) 1-2 1-4

จีน-ฮองกง 547 (2.7) 1.4

เกาหลี 547 (3.8) 1-2 1-4

จีน-มาเกา 525 (1.3) 7-11

ญี่ปุน 523 (3.3) 4-9 6-13

ต่ํากวา

คาเฉลี่ย OECD

ไทย 417 (2.3) 43-46

อินโดนีเซีย 391 (5.6) 49-52

PISA : การประเมินการรูเรื่องวิทยาศาสตร การอาน และคณิตศาสตร ของนักเรียนอายุ 15 ป

Page 7: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

7

2.2 ผลการประเมินของโครงการ TIMSS 2007 (Trends in International Mathematics and Science

Study 2007)

ตาราง 4 รอยละของนกัเรยีนจําแนกตามระดับความสามารถตามเกณฑการประเมินของโครงการ TIMSS 2007

ประเทศ คะแนนเฉลีย่

ระดับคะแนน

ระดับ 4

ระดับกาวหนา

(> 625)

ระดับ 3

ระดับสูง

(> 550 - 625)

ระดับ 2

ระดับปานกลาง

(> 475 - 550)

ระดับ 1

ระดับต่ํา

(> 400- 475)

ต่ํากวาระดับ 1

ระดับต่ํามาก

(<400 )

จีน – ไทเป 561 25 35 23 12 5

ญี่ปุน 554 17 38 30 11 4

อังกฤษ 541 17 31 31 15 6

เกาหลีใต 553 17 37 31 12 3

ฮองกง 530 10 35 32 15 8

สหรฐัอเมริกา 520 10 28 33 21 8

ออสเตรเลีย 515 8 25 37 22 8

ไทย 471 3 14 31 32 20

อินโดนีเซยี 427 0 4 23 38 35

คาเฉลีย่นานาชาติ 500 3 14 32 29 22

TIMSS : การศึกษาแนวโนมการจัดการศึกษาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรระดับนานาชาติ (ในประเทศไทยประเมินกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2)

Page 8: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

8

3. ดานผลสัมฤทธิท์างการศึกษาระดับชาติ (ดาํเนินการโดย สทศ.)

3.1 ผลคะแนนสอบ O-NET และ A-NET ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ

(สทศ.)

ตาราง 5 คะแนนเฉลี่ย O-NET และ A-NET ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2551

กลุมสาระ คะแนนเฉลี่ย O-NET คะแนนเฉลี่ย A-NET

1. ภาษาไทย 50.70 50.26

2. สงัคมศึกษา 37.76 35.48

3. วิทยาศาสตร 34.62 33.94

4. คณิตศาสตร 32.49 21.96

5. ภาษาอังกฤษ 30.93 32.52

Page 9: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

9

ตาราง 6 คะแนนเฉลี่ย O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2548-2551

กลุมสาระ ป2548 ป 2549 ป 2550 ป2551

1. ภาษาไทย 48.62 50.33 50.70 46.42

2. สงัคมศึกษา 42.64 37.94 37.76 34.67

3. วิทยาศาสตร 34.01 34.88 34.62 33.64

4. คณิตศาสตร 28.46 29.56 32.49 35.98

5. ภาษาอังกฤษ 29.81 32.37 30.93 33.65

Page 10: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

10

ตาราง 7 คะแนนเฉลี่ย O-NET ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยม

ศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2551

กลุมสาระ ชั้น ป.6 ชั้น ม.3 ชั้น ม.6

1. ภาษาไทย 42.02 41.04 46.42

2. วิทยาศาสตร 51.68 39.39 33.64

3. คณิตศาสตร 43.76 32.64 35.98

4. สงัคมศึกษา - 41.37 34.67

5. ภาษาอังกฤษ - 34.56 33.65

Page 11: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

11

ผลคะแนนสอบ National Test (NT) ของโดยสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

ตาราง 8 คะแนนเฉลี่ย NT ของนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2550

ลําดับที่ กลุมสาระคะแนนสอบ (40 คะแนน)

เฉลี่ยสูงสุด รอยละ เฉลี่ยต่ําสุด รอยละ

1 ภาษาไทย 22.13 55.31 15.12 37.80

2 สงัคมศาสตร 19.88 49.70 12.64 31.61

3 คณิตศาสตร 18.15 45.39 11.23 28.09

4 วิทยาศาสตร 17.06 42.14 11.31 28.29

5 ภาษาอังกฤษ 16.63 41.58 9.78 24.45

4. ดานผลสัมฤทธิท์างการศึกษาระดับชาติ ดําเนินการโดย สํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

Page 12: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

12

ตาราง 9 คะแนนเฉลี่ย NT ของนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2551

ลําดับที่ กลุมสาระ

คะแนนสอบ

คะแนนเฉลี่ย รอยละ

1 ทักษะการคิด 18.01 (เต็ม 40) 45.03

2 ภาษาอังกฤษ 15.05 (เต็ม 48) 31.35

หมายเหตุ : สุมสอบนักเรียนรอยละ 25 จํานวน 197,970 คน

Page 13: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

13

ตาราง 10 คะแนนเฉลี่ย NT ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2551

หมายเหตุ : สอบนกัเรียนทุกคน จํานวน 792,379 คน

ลําดับที่ กลุมสาระคะแนนสอบ (30 คะแนน)

คะแนนเฉลี่ย รอยละ

1 ภาษาไทย 15.48 51.60

2 คณิตศาสตร 14.52 48.39

3 สงัคมศาสตร 14.37 47.91

Page 14: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

14

ผลสัมฤทธิ์การเรียน จากคะแนนการสอบ PISA, TIMSS, O-NET,

A-NET และ NT มีผลไปในทิศทางเดียวกัน คือ นาผิดหวัง โดยเฉพาะ

ภาษาไทย ซึ่งเปนภาษาประจําชาติ มีคะแนนสูงสุดเฉลี่ยแคประมาณ

รอยละ 50

Page 15: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

15

5. ความซ้ําซอนของเนื้อหาตามหลักสูตรที่ประชมุองคกรหลักกระทรวงศึกษาธิการ สรุปแนวปฏบิัติหลกัสูตร

การศึกษาขั้นพืน้ฐานใหม ที่จะเริ่มใชในปการศึกษา 2553 หรือเดอืน พ.ค. 2553 ในโรงเรียนสังกัด ศธ. ทั้ง สพฐ. และ สช. รวม 30,000 กวาโรง...

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานใหม ที่จะเริม่ใชในปการศึกษา 2553 ในโรงเรียนสังกัด ศธ. ทั้ง สพฐ. และ สช. รวม 30,000 กวาโรง จะเปนหลกัสูตรที่ทําใหเด็กคิดวิเคราะหเปนมากขึ้น ลดเนื้อหาหลักสูตรทีซ่้ําซอนลงได 30% จะทําใหลดเวลาเรียนในหองจากเดิมตองเรียน 30 คาบ/สัปดาห โดยนําไปจัดการเรยีน การสอนนอกหองเรียนอยางสรางสรรค และลดตัวชี้วัด จากเดิม 4,000 ตัว ตลอดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ป เหลอื 2,165 ตัวชีว้ัด ทั้งนี้ ผลจากการลดเนื้อหาที่ซ้ําซอนและตวัชี้วัดจะไมทําใหคุณภาพการศึกษาลดลง

จุรินทร ลักษณวิศิษฐรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ

Page 16: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

16

6. คุณภาพการเรียนรูภาษาไทยสพฐ. เรงสงเสริมการอาน-หลังพบเด็ก ป.3 สี่หมื่นกวาคนอานไมออก

การสงเสริมนิสัยรักการอาน รวมถึงการพัฒนาหองสมุด 3 ดี วาขณะไดดําเนนิการพัฒนาเกือบจะครอบคลุมทุกแหง อาทิ โรงเรียนที่ไมไดผานการรับรองมาตรฐาน โรงเรยีนในฝน 2,500 แหง และโรงเรียนระดบัสากลอีก 500 แหง รวมไปถึงโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ซึ่งในสวนของการสงเสริมการอานนัน้ ยุทธศาสตรที่ 1 จะเนนในเรือ่งของความสามารถในการอาน โดยในชวงปการศึกษาที่ผานมาจากผลการทดสอบของสํานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. พบวา จากการทดสอบความสามารถในการอานของนักเรียนในชวงชั้นที่ 1(ป.1-ป.3) ซึ่งเด็กนักเรียนในระดับ ป.3 ทั่วประเทศกวา 8 แสนคนพบมนีักเรยีน 4% หรือกวา 4 หมืน่คนที่ยังอานไมออกหรอืไมคลอง

นายชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐาน (กพฐ.)

(มติชนออนไลน วันที่ 13 มกราคม 2553)

Page 17: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

17

2. ปจจัยสําคัญที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

ดานผลการศึกษาวิจัยของ Sir Michael Barber แหงบรษิัท Mckinsey สรุปไดถึง

ปจจัยสําคัญที่เกี่ยวของกับคุณภาพของระบบโรงเรียน 3 ประการ ดังนี้

1. การคัดคนที่เหมาะสมเพื่อเปนคร(ูGetting the right people to become teachers)

2. การพัฒนาใหเปนผูสอนที่มีประสิทธิภาพ (Developing them into effective

instructors)

3. การประกันระบบการจัดการเรียนการสอนที่ดีที่สุดสําหรับนักเรียนทุกคน

(Ensuring that the system is able to deliver the best possible instruction for

every child)

Page 18: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

18

ผลการศึกษาที่ดัลลสัพบวา นักเรียนที่เรียนกับครูที่สอนเกง (high-

performing teacher) 3 คนติดตอกัน จะมีคุณภาพการเรียนรูสูงกวา

นักเรียนที่เรียนกับครูที่สอนไมเกง (low-performing teacher) 3 คน

ติดตอกัน ถึง 49 เปอรเซนไทล แสดงวานักเรียนที่มีโอกาสไดเรียนกับครู

ที่สอนเกงจะมีพัฒนาการที่กาวหนามากกวานักเรียนที่เรียนกับครูที่สอน

ไมเกงถึง 3 เทา

ผลการศึกษาในประเทศอังกฤษพบวานักเรียนอายุ 11 ป ที่มผีลการ

เรียนไมดี มโีอกาสที่จะทําคะแนนไดตามเกณฑมาตรฐานเมื่ออายุ 14 ป

เพียงรอยละ 25 เทานั้น และเมื่ออายุ 14 ป โอกาสที่นักเรียนจะจบ

การศึกษาโดยมีคุณสมบัติตามมาตรฐานขั้นต่ําที่กําหนดไวเพียงรอยละ 6

เทานั้น

Page 19: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

19

ขอมูลจากผลการศึกษาขางตนยืนยันไดวา นักเรียนที่ไมไดรับการ

สงเสริมใหเรยีนรูอยางมีคุณภาพตั้งแตชวงแรกของการศึกษา เนื่องมาก

จากครูผูสอนขาดคุณภาพ มีโอกาสนอยมากที่จะแกไขสิ่งที่สูญเสียไปจาก

การขาดโอกาสเหลานั้น แมวาจะไดกลับมาเรียนในโรงเรียนที่มคีุณภาพดี

ในภายหลังก็ตาม

Page 20: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

20

ปจจัยสําคัญสําหรับคุณภาพของระบบโรงเรียน คือ การคัดเลือกคนเปนครู การพัฒนาครูระหวางเรียนและประจําการ ระบบการเรียนการสอนที่ดี หมายถึง งานวิชาการ ดานหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัด/ประเมินผล กิจกรรมเสริมหลักสูตร และปจจัยเกื้อหนุนคุณภาพนักเรียนเกิดจากปจจัยและกระบวนการผลิตเชนเดียวกับครูแนว

ใหมที่เนนคุณภาพ

Page 21: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

21

3. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

ปญหาของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

- คุณภาพครู

- คุณภาพหลักสูตร

- คุณภาพการบริหารจัดการ

Page 22: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

22

1. คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐานเชิงปริมาณ

ตาราง 11 บัญชีสรุปจํานวนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา

ที่จะเกษียณอายุราชการ เมื่อสิ้นปงบประมาณ พ.ศ. 2552-2562

ปงบประมาณ

พ.ศ.

จํานวนขาราชการครูเกษียณ จําแนกตามตําแหนง/อันดับ คศ. จํานวนครูเกษียณ จําแนกตามประเภทของสถานศึกษา

ตําแหนง รวม อันดับ คศ. รวม ประถม

ศึกษา

ขยายโอกาส

ทางการ

ศึกษา

มัธยม

ศึกษา

สช. รวม

ครู ผอ.ร.ร. รองผอ. คศ.1 คศ.2 คศ.3 คศ.4

2552 3,417 595 201 4,213 10 2,885 1,246 72 4,213 2,074 866 1,266 7 4,213

2553 5,244 922 258 6,424 4 4,499 1,832 89 6,424 3,088 1,389 1,937 10 6,424

2554 6,998 1,085 339 8,422 4 6,037 2,299 98 8,422 4,048 1,822 2,546 6 8,422

2555 10,261 1,335 404 12,000 14 8,895 2,993 98 12,000 5,824 2,744 3,423 9 12,000

2556 12,919 1,487 444 14,850 19 11,219 3,545 67 14,850 7,463 3,484 3,889 14 14,850

2557 15,859 1,822 486 18,167 27 13,820 4,238 82 18,167 9,272 4,443 4,452 - 18,167

2558 20,087 1,989 523 22,599 34 17,298 5,191 76 22,599 11,495 5,759 5,326 19 22,599

2559 23,167 2,116 561 25,844 82 19,985 5,706 71 25,844 12,950 6,672 6,206 16 25,844

2560 23,525 2,104 537 26,166 266 19,976 5,878 46 26,166 12,905 6,849 6,406 6 26,166

2561 24,289 2,197 480 26,966 75 20,594 6,266 31 26,966 13,733 7,484 5,739 10 26,966

2562 23,967 2,192 475 26,634 115 20,133 6,361 25 26,634 13,716 7,734 5,172 12 26,634

รวมทั้งสิ้น 169,733 17,844 4,708 192,285 650 145,341 45,555 739 192,285 96,568 49,246 46,362 109 192,285

Page 23: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

23

ตาราง 12 บัญชีสรุปจํานวนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา

ที่จะเกษียณอายุราชการ เมื่อสิ้นปงบประมาณ พ.ศ. 2552-2562

ปงบประมาณ

พ.ศ.บริหาร

การศึกษา

จํานวนครูที่เกษียณ จําแนกตามสาขาวิชาทีป่ฏิบตัิงาน/สอน

ภาษา

ไทย

คณิต

ศาสตร

วิทยา

ศาสตร

สังคม

ศึกษา

สขุศกึษา

พลศึกษาศิลปะ การงานฯ

เทคโนฯภาษา

ตปท.

ประถม กิจกรรม

พัฒนา

อื่นๆ รวม

2552 796 637 368 332 516 151 92 340 239 531 1 210 4,213

2553 1,180 926 557 468 769 278 196 542 423 824 - 261 6,424

2554 1,424 1,241 698 686 1,051 373 226 769 566 1,083 - 305 8,422

2555 1,739 1,770 1,040 958 1,482 655 338 1,085 823 1,646 - 464 12,000

2556 1,931 2,175 1,353 1,229 1,762 843 466 1,417 985 2,059 - 630 14,850

2557 2,305 2,776 1,662 1,446 2,125 1,076 565 1,707 1,145 2,568 31 761 18,167

2558 2,512 3,357 2,077 1,796 2,578 1,426 784 2,241 1,462 3,429 231 706 22,599

2559 2,677 3,829 2,296 2,093 3,019 1,819 862 2,662 1,587 3,923 - 1,077 25,844

2560 2,641 3,865 2,313 2,139 3,006 1,751 863 3,028 1,567 3,981 1 1,011 26,166

2561 2,677 4,076 2,358 2,286 3,031 1,884 871 2,932 1,479 4,255 11 1,106 26,966

2562 2,667 3,926 2,227 2,069 2,767 1,925 835 3,079 1,505 4,422 3 1,209 26,634

รวมทั้งสิ้น 22,549 28,578 16,949 15,502 22,106 12,181 6,098 19,802 11,781 28,721 278 7,740 192,285

ปญหาของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในอีก 10 ปขางหนาคือ จะขาดแคลนครู จากการเกษียณอายรุาชการ 192,285 คน

ประมาณรอยละ 45 ของจํานวนครใูนปจจุบัน

Page 24: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

24

2. คุณภาพครูการศึกษาขั้นพื้นฐานเชิงคุณภาพ

ตาราง 13 ครูและพนักงานราชการที่ไมไดสอน และหรือสอนไมตรงวิชาเอก

(สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2551) มีดังนี้

วิชาเอก ไมไดสอน สอนตรงเอก สอนไมตรงเอก รวม

ฟสิกส 209 4,830 1,342 6,381

เคมี 129 4,529 1,400 6,058

ชวีวิทยา 139 4,937 2,027 7,103

คณิตศาสตร 313 18,098 8,724 27,135

คอมพิวเตอร 249 4,354 5,454 10,057

ภาษาอังกฤษ 360 21,215 7,449 29,024

รวม 1,399 57,963 26,396 85,758

Page 25: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

25

3. คุณภาพครูอาชีวศึกษาเชิงปรมิาณ

ตาราง 14 แสดงจํานวนการขาดแคลนขาราชการครูอาชีวศึกษา

จํานวนนักเรียน/

นักศึกษา

จํานวน

ขาราชการ

ครูที่สอน

จริงปจจุบัน

จํานวนขาราชการครู

ที่ควรมีตามเกณฑสรุปขาดครู

ปวช.และ

ปวส.

หลกัสูตร

ระยะสั้น

รวม ปวช.และ

ปวส.

หลกัสูตร

ระยะสั้น

รวม

689,252 357,370 1,046,622 15,491 34,463 4,467 38,930 -23,439

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2551

การขาดแคลนจํานวนขาราชการครูอาชีวศึกษาเชิงปริมาณ

Page 26: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

26

การขาดแคลนจํานวนบุคลากรสนับสนุนการสอนอาชีวศึกษา

ตาราง 15 แสดงจํานวนการขาดแคลนบุคลากรสนับสนุนการสอนตามเกณฑ

จํานวนบุคลากรสนับสนุนการสอน

ในปจจุบัน

จํานวนบุคลากรสนับสนุนการสอนตามเกณฑ

สถานศึกษาละ

7 อัตรา

สรุป

(-ขาด +เกนิ)

คิดเปนรอยละ

373 2,828 -2,455 -86.31

Page 27: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

27

การขาดแคลนขาราชการครูอาชีวศึกษา เชิงคุณภาพ

การขาดแคลนเชิงคุณภาพ เปนการขาดแคลนตามประเภทหลักสูตร

และสาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาเครื่องกล ชางยนต เทคนิคยานยนต

วิศวกรรมเครื่องกล และเทคโนโลยีเครื่อง ตนกําลัง ขาดแคลนมากที่สุด

จํานวน 4,077 อัตรา ในสถานศึกษา 336 แหง และกลุมสาขาวิชาที่ขาด

แคลนรองลงมา คือ กลุมวิชาอิเล็กทรอนิกส ไฟฟาสื่อสารและวิศวกรรม-

โทรคมนาคม จํานวน 2,708 อัตรา ในสถานศึกษา จํานวน 271 แหง

การขาดแคลนครูอาชีวศึกษา ทั้งดานปริมาณและคุณภาพ จะสงผล

กระทบตอคุณภาพของนักเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งนโยบายการเพิ่ม

ผูเรียนอาชีวศึกษาจากปจจุบัน 40 : 60 เปน 50 : 50 จะสงผลกระทบอยาง

รุนแรง

Page 28: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

28

5. คุณภาพครูของครู (สถาบันฝายผลิต) เชิงปริมาณ (สถาบัน,คณาจารย)

ตาราง 16 จํานวนอาจารยที่จะเกษียณในอีก 15 ปขางหนา

ที่ สาขาวิชา จํานวน

ทั้งหมด

เกษียณ เกษียณ

รอยละ

เหลือ รอยละ

1 การศึกษา 878 358 40.77 520 59.23

2 การสอนวิชาสามัญ 1484 400 26.95 1084 73.05

3 บริการพิเศษ 845 417 49.35 428 50.65

4 อาชีวศึกษา 233 49 21.03 184 78.97

รวม 3440 1224 35.58 2216 64.42

ขอมูลจากคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร 59 แหง

Page 29: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

29

ตาราง 17 จํานวนอาจารยที่จะเกษียณในอีก 15 ปขางหนา

ที่ สาขาวิชา จํานวน

ทั้งหมด

เกษียณ เกษียณ

รอยละ

เหลือ รอยละ

1 การศึกษา 878 358 40.77 520 59.23

2 การสอนวิชาสามัญ 1484 400 26.95 1084 73.05

3 บริการพิเศษ 845 417 49.35 428 50.65

4 อาชีวศึกษา 233 49 21.03 184 78.97

รวม 3440 1224 35.58 2216 64.42

ขอมูลจากคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร 59 แหง

Page 30: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

30

ตาราง 18 จํานวนคณาจารยเกษียณใน 15 ป (พ.ศ.2552-2566) กลุมวิชาการศึกษา

ที่ สาขาวิชา จํานวน

1 ปฐมวัย 53

2 ประถมศกึษา 69

3 มัธยมศึกษา 59

4 อุดมศึกษา 4

5 การศึกษา 18

6 การศึกษาพิเศษ 8

7 การศึกษานอกระบบ 20

8 หลักสูตรและการสอน 91

9 สังคมศาสตรศึกษา 13

10 วิชาชีพครู 23

รวม 358

Page 31: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

31

ตาราง 19 จํานวนคณาจารยเกษียณใน 15 ป (พ.ศ.2552-2566) กลุมอาชีวศึกษา

ที่ สาขาวิชา จํานวน

1 บริหารธุรกิจ 4

2 คหกรรม 5

3 เกษตรกรรม 1

4 อุตสาหกรรม 6

5 วิศวกรรมไฟฟาและการสื่อสาร 8

6 วิศวกรรมอิเลคทรอนิคส 7

7 วิศวกรรมเครื่องกล 7

8 วิศวกรรมอุตสาหกรรม 11

รวม 49

Page 32: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

32

คุณภาพหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดเนื้อหาความรูออกเปน

กลุมสาระการเรียนรู 8 กลุม คือ (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร (3) วิทยาศาสตร

(4) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (5) สุขศึกษาและพลศึกษา (6) ศิลปะ

(7) การงานอาชพีและเทคโนโลยี และ(8) ภาษาตางประเทศ โดยแบงเวลาเรยีน

ออกเปนชวงชั้น ดังนี้

ชวงชั้นที่ 1 ชัน้ประถมศึกษาปที่ 1-3 เรยีนปละประมาณ 800 – 1,000 ชั่วโมง

ชวงชั้นที่ 2 ชัน้ประถมศึกษาปที่ 4-6 เรยีนปละประมาณ 800 - 1,000 ชั่วโมง

ชวงชั้นที่ 3 ชัน้มัธยมศึกษาปที่ 1-3 เรียนปละประมาณ 1,000 – 1,200 ชั่วโมง

ชวงชั้นที่ 4 ชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4-6 เรียนปละไมนอยกวา 1,200 ชั่วโมง

Page 33: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

33

การจัดเวลาเรียนสําหรับกลุมสาระตางๆ

ตาราง 20 เปรียบเทียบการจัดเวลาเรียนสําหรับกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ของหลกัสูตรประถมศึกษาปที ่1, 2แตละประเทศ

Page 34: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

34

ตาราง 21 เปรียบเทียบการจัดเวลาเรียนสําหรับกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ของหลกัสูตรประถมศึกษาปที่ 3, 4 แตละประเทศ

Page 35: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

35

ตาราง 22 เปรียบเทียบการจัดเวลาเรียนสําหรับกลุมสาระการเรียนรูตางๆ ของหลกัสูตรประถมศึกษาปที่ 5, 6 แตละประเทศ

Page 36: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

36

ขอสังเกต

เมื่อพิจารณาตารางเปรียบเทยีบจะเห็นวา หลักสูตรการศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 1–6 ของไทย แตกตางจากประเทศอื่น 3 ประการสําคัญดวยกัน คือ

1. ดานกลุมสาระการเรียนรู ประเทศไทยจัดใหเรียนทั้ง 8 กลุมสาระและกิจกรรม ทุกระดับชั้นเหมือนกันหมด สวนประเทศอื่นใหน้ําหนักของแตละกลุมสาระในการเรียนแตละระดับชั้นแตกตางกันตามความเหมาะสมกับพัฒนาการและความสําคัญของแตละกลุมสาระ เชน เกาหลี ญี่ปุน สหรัฐ เรียน 5 กลุมสาระและกิจกรรม ในระดับชั้นประถมปที่ 1 และ 2 สวนระดับชั้นอื่นๆ ประเทศสวนใหญก็เรียนไมครบทุกกลุมสาระเชนเดียวกัน

Page 37: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

37

2. กลุมสาระที่มคีวามสําคัญที่ทุกประเทศกําหนดใหเรียนคือ ภาษาประจําชาติ และคณิตศาสตร เนื่องจากภาษาเปนสื่อในการเขาถึงความรูในทุกๆ ดาน สวนคณิตศาสตรเปนการฝกในเรื่องการคิดวิเคราะห

3. เมื่อเปรียบเทียบจํานวนชั่วโมงเรียนภาษาประจําชาติ ที่ประเทศตางๆ จัดใหเรียนในชั้น ป.1, 2 และ 3 จะพบวา ประเทศไทยเรียนภาษาประจําชาตินอยที่สุด

4. ชั่วโมงเรียนรวมของแตละระดับชั้นมีความแตกตางตามวัยและความสนใจของเด็ก

หากการจัดทําหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทย ไดมีการศึกษาแนวคิดตามขอสังเกตนํามาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และเวลาเรียนที่เหมาะสมของแตละกลุมสาระ นาจะเปนประโยชนอยางยิ่งในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย

Page 38: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

38

1. นายกรัฐมนตรีชูธงปฏิรูปการศึกษาคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ภายใตกรอบ 4 ใหม

ไดแก คุณภาพคนไทยยุคใหม การพัฒนาครูยุคใหม (ครูพันธุใหม) การพัฒนาสถานศึกษาและแหลงเรียนรูยุคใหม และการพัฒนาการบริหารจัดการใหม

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ7 มีนาคม 2553

ความรวมมือกันแกปญหาการศึกษาระหวางฝายบรหิาร และฝายนติิบญัญัติ

Page 39: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

39

2. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิาร

การปฏิรูปการศึกษารอบสองจะตองเนนในเรื่องคุณภาพการศึกษา ซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญหลังจากการปฏิรูปการศึกษารอบแรก ไดมุงเนนในเรื่องโครงสราง ซึ่งก็ไมถือวาผิด เพียงแต 10 ปหลังจากนี้ ควรตองมุงเนนเรื่องคุณภาพการศึกษาเปนหลัก

จุรินทร ลักษณวิศิษฐ

Page 40: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

40

การดําเนินการ

1. คณะกรรมการวางแผนการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา รองศาสตราจารยวรากรณ สามโกเศศ เปนประธาน2. คณะกรรมการบริหารโครงการผลิตครูพันธุใหม รองศาสตราจารย วรากรณ สามโกเศศ เปนประธาน3. คณะกรรมการคัดเลือกสถาบันฝายผลิต และนักศึกษาทุนโครงการผลิตครูพันธุใหม ศาสตราจารยสมหวัง พิธิยานุวัฒน

Page 41: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

41

ฝายนิติบัญญัติ

1. การเสวนา เรื่อง “สถาบันคุรุศึกษาแหงชาติ” โดย กรรมการธิการการศึกษา สภาผูแทนราษฎร2. การเสวนา เรื่อง “การผลิตและพัฒนาครู : บนเสนทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง” โดย กรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา

Page 42: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

42

3. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิาร

การปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้ เปนภารกิจศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความอยูรอดของเมืองไทยและลูกหลานไทย การทํางานเรื่องนี้จึงตองไมผัดวันประกันพรุง และไมทอถอยแมมีอุปสรรคระหวางหนทาง เราจะรวมกันสรางคนไทยที่มีคุณภาพ ดวยสมอง สองมือ และดวยหัวใจที่มุงมั่นของพวกเราทุกคน

ชินวรณ บุณยเกียรติ7 มนีาคม 2553

Page 43: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

43

การดําเนินการ

1. คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่อง (กนป.) มีนายกรัฐมนตรี เปนประธาน รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และรองศาสตราจารยวรากรณ สามโกเศศ เปนรองประธาน กรรมการโดยตําแหนง 10 คน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ 10 คน เลขาธิการสภาการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ2. คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่อง (กขป.) มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธาน กรรมการโดยตาํแหนง 13 คน เลขาธิการสภาการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ

Page 44: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

44

หากทั้งฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารใหความสนใจอยางจริงจัง

เชนนี้ เชื่อวา การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองคงจะสําเร็จตามจุดมุงหมาย

Page 45: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4545

1. ดานการพัฒนาสถาบันฝายผลิต

การผลิตครูในประเทศไทยปจจุบัน มี 4 รูปแบบ (Model) ดังนี้

1. รูปแบบดั้งเดิม (Classical Model) หลักสูตรผลิตครูเปนของคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร อาจารยผูสอนสวนใหญสังกัดคณะครศุาสตร/ศึกษาศาสตร รูปแบบนี้สวนใหญดําเนินการในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

2. รูปแบบดั้งเดิมประยุกต (Applied Classical Model) หลักสูตรผลิตครูเปนของคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร อาจารยผูสอนสวนใหญจําแนกเปน วิชาชีพครู สอนโดยอาจารยในคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร สวนวิชาเอก เชน คณิตศาสตร เคมี ชีววิทยา ฟสิกส ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา สอนโดยอาจารยในคณะที่เปดสอนในศาสตรที่เกี่ยวของ อาทิ คณะวิทยาศาสตร คณะมนุษยศาสตร คณะสังคมศาสตร ฯลฯ รูปแบบนี้สวนใหญดําเนินการในมหาวิทยาลัยของรัฐ (เดิม)

4. แนวทางปฏิรูปการผลิตครู

Page 46: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4646

3. รูปแบบใหม (Modern Model) หลักสูตรวิชาชีพครูเปนของคณะครุศาสตร/

ศึกษาศาสตร (กําหนด) สวนหลักสูตรวิชาเอกเปนของคณะเจาของศาสตร

(กําหนด) ในคณะวิทยาศาสตร คณะมนุษยศาสตร และคณะสังคมศาสตร

รูปแบบนี้ใชในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ (ประสานมิตร)

Page 47: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4747

4. รูปแบบสมัยใหม (New Modern Model) หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต

(กศ.บ.) คูขนานกับ หลักสูตรศาสตรเฉพาะ เชน หลักสูตรวิทยาศาสตร

บัณฑิต (วท.บ.) (คณิตศาสตร เคมี ชีววิทยา ฟสิกส วิทยาการคอมพิวเตอร)

และหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) คูขนานกับหลักสูตรศิลปศาสตร

บัณฑิต (ศศ.บ.) (สังคมวิทยา) เปนการจัดโดยหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต

นํารหัสวิชาและรายวิชาของหลักสูตรคูขนานมาเปนรายวิชาเอก จํานวน

(รายวิชา) ไมนอยกวารอยละ 80 ของหลักสูตรที่คูขนาน นิสิตตองเรียน

ครบตามโครงสรางของทั้งสองหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์ไดรับทัง้ 2 ปรญิญา

รูปแบบนี้ใชในมหาวิทยาลัยนเรศวร (ปการศึกษา 2550)

Page 48: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4848

สถาบันใดจะใชการบริหารหลักสูตรรูปแบบใดขึ้นอยูกับ

นโยบาย บริบท และโดยเฉพาะความพรอมดานครูของครู ในแตละ

สาขาวิชา

การพัฒนาสถาบันฝายผลิตจึงควรใหสอดคลองกับรูปแบบ

การบริหารของสถาบันผลิตครูดวย

Page 49: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

4949

เสนทางการเรียนวิชาชีพครู (Teacher Education Pathways)2. ดานโครงสรางหลักสูตร ปริญญาเอก 3 ป (48 นก.)

ป.บัณฑิตชั้นสูง 1 ป (24 นก.)

ป.ตรี,โท

6 ป

(120+36 นก.)

ป.โท

2 ป

(36 นก.)

ป.โท

1 ป

(18 นก.)

ป.ตรี

ครู 5 ป

(150 นก.)

มัธยมศึกษาตอนปลาย

มัธยมศึกษาตอนตน

ประถมศึกษา

ปฐมวยั

ปจจุบัน

ป.โท

2 ป

(36 นก.)

ป.บัณฑิต

1 ป

(24 นก.)

ป.ตรี

4 ป

(120 นก.)

ปจจุบัน

ใหม ใหม

ใหม

ป.โท

1 ป

(18 นก.)

ป.ตรี

5 ป

(150

นก.)

ป.ตรี

4 ป

(120 นก.)

ปจจุบันป.ตรีคูขนาน

ใหม

Page 50: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

5050

ขอเสนอการพัฒนา ดานเสนทางการเรียนวิชาชีพครู

1. ผูเรียนปริญญาตรี 5 ป ควรเรียนปริญญาโท เพียง 1 ป2. ผูเรียนปริญญาตรี 4 ป ควรเรียนปริญญาโท 2 ป ไมตองเรียนประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

3. ผูเรียนหลักสูตรควบปริญญาตรี 2 ปริญญา (5 ป) ควรเรียนปริญญาโท เพียง 1 ป4. ควรเพิ่มหลักสูตรปริญญาตรี-โท 6 ป

Page 51: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

5151

3. ดานการบริหารหลักสูตร3.1 โครงสรางหลักสูตรปริญญาตรีทางการศึกษา และประกาศนียบัตร

บัณฑิตวิชาชีพครู

หมวดวิช า

เกณ ฑ สกอ .ป.บัณฑติ 1 ป

เกณ ฑ คุ รุสภา

ปริญญาตรี 5 ป ป.บัณ ฑิต 1 ป

ปริญญ าตรี 4 ป ปริญ ญ าตรี 5 ป

1. วิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 นก. ไมนอยกวา 30 นก. - ไมนอยกวา 30 นก. -

2. วิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 84 นก . ไมนอยกวา 114 นก. ไมนอยกวา 24 นก. ไมนอยกวา 124 นก.

-

2.1 วิชาชีพครู ไมนอยกวา 50 นก. ไมนอยกวา 24 นก.

2.2 วิชาเฉพาะ(เอก) ไมนอยกวา 74 นก .

-

3. วิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 นก. ไมนอยกวา 6 นก. ไมนอยกวา 6 นก. -

รวม ไมนอยกวา 120 นก .

ไมนอยกวา 150 นก .

ไมนอยกวา 24 นก.ไมนอยกวา 160

นก .ไมนอยกวา 24 นก.

ตาราง 23 หลักสูตรปริญญาตรี และป.บัณฑิต เปรียบเทียบเกณฑ สกอ. กับเกณฑคุรุสภา

Page 52: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

5252

สภาพปญหา

1. หลักสูตรปริญญาตรีวิชาชีพครู 5 ป เรียนวิชาเฉพาะ (วิชาเอก) 74 หนวยกิต นอยกวาหลักสูตรปริญญาตรี 4 ป ที่เรียนวิชาเฉพาะ (วิชาเอก) 84 หนวยกิต2. หลักสูตรปริญญาตรีวิชาชีพครู 5 ป เรียน 50 หนวยกิต โดยเรียนมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ 9 สาระ และฝกประสบการณวิชาชีพ ไมนอยกวา 2ภาคการศึกษา เหมือนกับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตที่เรียน 24 หนวยกิต

ขอเสนอการพัฒนา ปรับจํานวนหนวยกิตหลักสูตรป.ตรีเทากับหลักสูตร ป.บัณฑิต

วิชาชีพครู

Page 53: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

53

หลักการ การผลิตครูพันธุใหม (ทุนครูพันธุใหม)

1. เปนโครงการที่จัดทําขึ้นเพื่อผลิตครุมืออาชีพ ที่มีความรูทาง

วิชาการ เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และมีอุดมการณในวิชาชีพครู โดยการ

ดึงดูดคนดี คนเกง เขามาศึกษาวิชาชีพครูดวยหลักสูตรและกระบวนการ

ที่เนนการปฏิบัติและการฝกอบรมที่เขมขน

4. การพัฒนาการผลิตครูพันธุใหม

Page 54: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

54

2. ผลติครูในสาขาวิชาและพื้นที่ที่เปนความตองการของหนวยงานผูใชครู (ไดแก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปนตน) โดยมีเงื่อนไขผูกพันใหนิสิต/

นักศึกษาที่เขารวมโครงการ เมื่อสําเร็จการศึกษาแลวตองบรรจุเขารับราชการครู

3. มีการคัดเลอืกสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพเปนสถาบันฝายผลิตครูในโครงการ สถาบันละ 3 หลักสูตร (สาขาวิชา)

Page 55: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

55

4. คาใชจายในสวนที่เปนทุนการศึกษาและงบดําเนินการ4.1 หลักสูตรครูระดับปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ป) ใชอัตรา

เหมาจายตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2548 ดังนี้1) ทุนการศึกษา อัตรา 69,000 บาท/คน/ป

2) งบดําเนนิการของสถาบันฝายผลิต อัตรา 15,000 บาท/คน/ป

4.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู(หลักสูตร 1 ป) ใชอัตราเหมาจายดังนี้

1) ทุนการศึกษา อัตรา 103,500 บาท/คน/ป

2) งบดําเนนิการของสถาบันฝายผลิต อัตรา 22,500 บาท/คน/ป

Page 56: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

56

5. งบประมาณที่ไดรับการสนับสนุน ตองไดรับการสนับสนุนตั้งแตเริ่มรับนักศึกษารุนแรก จนนักศึกษารุนสุดทายสําเร็จการศึกษา

6. อัตราที่จะบรรจุนักศึกษาที่จบตามเกณฑของโครงการฯ เปนอัตราเกษียณอายุราชการของขาราชการครูที่ไดรับคืนใหแก

กระทรวงศึกษาธิการในอัตราเกษียณรอยละ 100

7. การกําหนดเปาหมายของการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานและครูอาชีวศึกษาในแตละปอาจมกีารปรับไดตามสถานการณความตองการ โดยยังคงจํานวนเปาหมายรวมตลอดโครงการไวเทาเดมิ

Page 57: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

57

ตารางที่ 24 เปาหมายการผลิตครูของโครงการครูพันธุใหม

Page 58: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

58

Page 59: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

59

การพัฒนาครูประจําการ จํานวนประมาณ 500,000 คนกรณีตัวอยางตางประเทศ

1. ครูฟนแลนด ตองเขารับการอบรมภาคบังคับ 3-5 วัน ทุกป โดยใชชวงหยุดยาวในฤดูรอน โดยศูนยการพัฒนาครูของรัฐ มหาวิทยาลัย วิทยาลัยครูอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร หนวยงานเอกชนอื่นๆ มีสวนรวมในการพัฒนาครู ตามหลักอุปสงค อุปทาน

2. ครูญี่ปุน ตองเขารับการอบรมเวลา 1 สัปดาห ใน 1 ป ทุกปที่ 5, 10 และ 20 ของการทํางาน

3. ครูสิงคโปร ถือวาความรูดานวิชาการที่แข็งแกรงของครูเปนปจจัยสําคัญ รวมทั้งไดสนับสนุนใหครูเขารับการอบรม เพื่อพัฒนาความกาวหนาทางวิชาการปละ 100 ชั่วโมง โดยรัฐเปนผูออกคาใชจายใหทั้งหมด

Page 60: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

60

สามประเทศขางตนกําหนดการอบรมประจําปครูทุกคน มีหนวยงานอบรมชัดเจน และรัฐสนับสนุนคาใชจาย

ครูไทยมีระบบการพัฒนาอยางไร ? ใครรับผิดชอบ ? ใครเปนผูอบรม ? การอบรมตรงกับความตองการในการพัฒนาหรือไม ? ใครจายเงิน ?

Page 61: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

61

5. แนวทางการปฏิรปูการพัฒนาครูประจําการ

รูปแบบการพัฒนาครู

การพัฒนาครูประจําการมีหลายรูปแบบ อาจดําเนินการดังนี้

1. การฝกอบรมในงาน (On the Job Training)

2. การสอนงาน (Coaching)

3. การใหคําปรึกษาแนะนํา (Consulting)

4. ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring)

5. การฝกปฏบิัติงาน (Work Shading)

6. การมอบหมายใหทําโครงการ (Project Assignment)

Page 62: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

62

7. การประชุมสัมมนา (Meeting and Seminar)

8. การปฏิบัติกิจกรรม/กิจกรรมกลุม (Activity/Team based activity)

9. การศึกษาดูงาน (Site tour/Visiting)

10. การจัดทําศูนยกลางการจัดการความรู (KM Portal)

11. การเรียนรูดวยตนเอง (Self Study)

12. การศึกษาตอ (Continuous Studying)

13. การฝกอบรมระยะสั้น (Short Course Training)

การพัฒนาแตละรูปแบบมีวิธีการและวตัถุประสงคตางกัน

ผูดําเนินการควรเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับการพัฒนาดวย

Page 63: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

63

การพัฒนาครู และการประเมินครูเขาสูตําแหนงวิทยฐานะ ควรมีเปาหมายเดียวกัน คือ ผลสัมฤทธิก์ารเรียนของเด็ก ซึ่งเปนตัวชี้วัดคุณภาพครทูี่ดีที่สุด

การใหรางวัล คือ การเพิ่มเงินเดือน การเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนง จึงควรดูที่ผลสัมฤทธิ์คือ คุณภาพเด็ก มิใชดูที่ผลงานวิชาการของครู

Page 64: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

64

สถาบันผลิตครู จึงเปนระบบและกลไกที่จะใหความมั่นใจใน

ประสิทธิผลการดําเนนิการทั้งดานการผลิตและพัฒนาครู

การพัฒนาศกัยภาพของสถาบันผลิตครู จึงเปนการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาของชาติโดยรวม

Page 65: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

65

6. การควบคุมมาตรฐานการผลติและพัฒนา

ใครรับผิดชอบในการควบคุมมาตรฐานการผลิตและพัฒนาครู

ที่ปจจุบันกลายเปนธุรกิจการศึกษาเต็มรปูแบบ

ประเภท หาแหลงกูให จายครบ จบแนนอน ทอนเงินกูใหดวย

Page 66: การผลิตและพ ัฒนาคร ู บนเส นทาง ...A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5%E1...ตาราง 8 คะแนนเฉล ย NT ของน กเร

66

สวสัดีครับ