96
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ภาคผนวก

ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ก ตัวอยางแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ

และการสอนแบบศูนยการเรียน

Page 3: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (กลุมปกติ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 1 เร่ืองประเพณียี่เปง เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ ประเพณียี่เปง เปนประเพณีลอยกระทงตามประเพณี ของอาณาจักรลานนา สอดคลองกับประเพณีลอยกระทงของทางภาคกลาง ซ่ึงเปนวันเพ็ญหรือขึ้น 15 ค่ําที่ดวงจันทรเต็มดวง ในเดือน 12 ที่พุทธศาสนิกชนมีการทําบุญตักบาตร ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกความหมายและความเปนมาของประเพณี ยี่เปง ได 2. สามารถวิเคราะหความสําคัญ วิถีปฏิบัติ ประเพณี ชาวลานนา ได 3. เห็นคุณคาการสืบสานประเพณี ทางภาคเหนือ ได

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณียี่เปง 2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคาของประเพณียี่เปงและ การสืบสานประเพณีทางภาคเหนือ

กระบวนการเรียนรู 1. ขั้นนํา

1.1 ครูนําเขาสูบทเรียน โดย ใชเพลง ลอยกระทง 1.2 ครูซักถามความเปนมาและความหมายของประเพณี ยี่เปง

2. ขั้นดําเนนิการ (ขั้นสอน) 2.1 ครูแจกใบความรู เร่ือง ประเพณี ยีเ่ปงบรรยาย พรอมใชภาพประกอบ ตาม หัวเร่ืองจํานวน 4 เร่ือง ไดแก 2.2.1 ยี่เปง เล่ืองชื่อ แดนลานนา

Page 4: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.2.2 วิถีชาวลานนา 2.2.3 โคมประดับงามเลิศ 2.2.4 บังเกิดความเชื่อนาสืบสาน 2.2 ครูถามวา นักเรียนรูจักประเพณี ยีเ่ปง หรือไม จากนัน้ใหนักเรียนตอบคาํถามที่กําหนดให 2.3 ครูเฉลยคําตอบ 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูใหนักเรียนเสนอผลที่ไดจากตอบคําถามและอภิปราย และครูสรุปเพิ่มเติม 3.2 ครูประเมินผลแตละกลุมและเสริมแรงของแตละกลุมตามผลงานที่ได สื่อการเรียนรู

1. ใบความรู เร่ือง ยี่เปง เล่ืองชื่อ แดนลานนา 2. แผนภาพ ประเพณียี่เปง 3. ใบงานที่ 1 เร่ือง การสรางโคม ประดับ ใบงานที่ 2 เร่ือง วิถีชีวิตชาวลานนา

การวัดผลและการประเมินผล 1. สังเกต 1.1 จากการทํางานกลุม 1.2 การนําเสนอหนาชั้นเรียน 2. ทําแบบฝกหัด จํานวน 10 ขอ ตองไดคะแนน รอยละ 80 ขึ้นไปจึงผานเกณฑ

ผลการจัดการเรียนรู 1. นักเรียนมีความตั้งใจและสนใจการเรยีนด ี2. นักเรียนใหความรวมมือในการทํากิจกรรมรวมกันอยางด ี3. นักเรียนสามารถสรุปเนื้อหาและตอบคําถามไดรอยละ 80 ขึ้นไป

ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 5: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (กลุมปกติ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 2 ประเพณีบุญบั้งไฟ เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ การทําบุญบั้งไฟมีจุดมุงหมายสําคัญ คือ การขอฝนตามความเชื่อของชาวบานในภาคอีสาน ถือวาบุญบั้งไฟเปนพิธีกรรมที่มีความสําคัญมาก เพราะเชื่อวา หากหมูบานใดไมจัดงานบั้งไฟ ก็อาจกอใหเกิดภัยพิบัติ เชน โรคภัยไขเจ็บ หรือทุพภิกขภัยแกชุมชนได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกความหมายและความเปนมาของประเพณีบุญบั้งไฟ ได 2. วิเคราะหถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกีย่วของได 3. เห็นคุณคา การสืบสานประเพณี ทาง ภาคอีสาน ได

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณีบุญบั้งไฟ

2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคา และการสืบสานประเพณีบุญบัง้ไฟ

กระบวนการเรียนรู 1. ขั้นนํา 1.1 ครูนํา เพลง เปดเพลง ดนตรีพื้นเมืองของภาคอีสาน เขาสูบทเรียนโดยสนทนาซักถาม เกี่ยวกับเพลงที่เปดและเชื่อมโยงเขาสูประเพณีตางๆทางภาค อีสาน 2. ขั้นสอน 2.1 ครูแบงกลุมนักเรียน ออกเปนกลุมเทาๆกัน

2.2 ครูแจกใบความรู ใหแตละกลุมศึกษา เกี่ยวกับ ประเพณีบุญบั้งไฟ ไดแก

Page 6: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.2.1 บั้งไฟแดนอีสาน ระบอืนาม 2.2.2 วิถี ชาวอีสาน 2.2.3 ตํานานบั้งไฟนารู 2.2.4 จากรุนสูรุนแหงศรัทธา

2.3 ครูใหนักเรียนสงตัวแทนกลุมออกมารายงาน จากใบความรู 2.4 ครูซักถามเพิ่มเติม พรอมทั้งใหวิเคราะหประเพณจีากภาพ ประเพณีบุญบั้งไฟ 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูซักถามและสรุปสูการนําไปปฏิบัติรวมกับนกัเรยีน 3.2 ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด เร่ือง ประเพณีบุญบั้งไฟ สื่อการเรียนรู

1. ใบความรู เร่ือง ประเพณีบุญบั้งไฟ 2. แผนภาพ ประเพณบีุญบั้งไฟ 3. ใบงานที่ 1 เร่ือง ตํานานบุญบัง้ไฟ ใบงานที ่2 เร่ือง การทําบั้งไฟ 4. แผนซีดี เพลง บรรเลงดนตรี อีสาน 5. แบบฝกหัด เร่ือง ประเพณีบญุบั้งไฟ

การวัดผลและการประเมินผล

1. สังเกต 1.1 จากการเขารวมกิจกรรม 1.2 การรายงานหนาชั้นเรียน 2. ทําแบบแบบทดสอบความรู 10 ขอ ตองไดคะแนนรอยละ 80 ขึ้นไปจึงผานเกณฑ

ผลการจัดการเรียนรู

นักเรียนมีความเขาใจและตั้งใจเรียนดี ตามบทสรุปเนื้อหาและเหน็คุณคาของการสืบสานวัฒนธรรมไทยที่เกีย่วของกบัชีวิตคนไทยได ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 7: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (กลุมปกติ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 3 ประเพณีสงกรานต เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ สงกรานต เปนประเพณีปใหมของประเทศไทย มีความหมาย เปนคําภาษาสันสกฤต หมายถึง การผาน หรือ การเคลื่อนยาย ซ่ึงเปนการอุปมาถึงการขึ้นปใหมในความเชื่อของไทย ในที่นี้หมายถึง การผาน หรือ การเคลื่อนยาย จากราศีมีน เขาสูราศีเมษ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกความหมายและความเปนมาของประเพณีสงกรานต ได 2. สามารถวิเคราะหถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของได 3. เห็นคุณคา การสืบสานประเพณีสงกรานตได

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณีสงกรานต 2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคา และการสืบสานประเพณีสงกรานต

กระบวนการเรียนรู 1. ขั้นนํา 1.1 ครูนําเขาสูบทเรียน โดยสนทนาซักถาม เกี่ยวกับประเพณีวนัปใหมไทย 1.2 ครูถามความเปนมาและความหมาย ประเพณีสงกรานต 2. ขั้นสอน 2.1 ครูใหนักเรียนชม วดีีทัศน เร่ือง ประเพณีสงกรานต 2.2 ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม ในแตละกลุมใหอภิปรายตามใบงาน ตามหวัขอที่ไดจัดเตรียมไว ไดแก

Page 8: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.2.1 สงกรานต ปใหมไทย 2.2.2 ตํานานสงกรานต 2.2.3 กิจกรรมนาสืบสาน 2.2.4 ผูกสัมพันธ วันครอบครัว 2.3 ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคาํถามจาก ใบงานที่ 1 เร่ือง ตํานาน วนัสงกรานต 2.4 ครูซักถามเพิ่มเติมพรอมใหนักเรียนแตละกลุมสรุปเพื่อนําเสนอ 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูใหนักเรียนเสนอผลที่ไดจากการวิเคราะหและอภปิราย และครสูรุปเพิ่มเติม 3.2 ครูประเมินผลแตละกลุมและเสริมแรงของแตละกลุมตามผลงานที่ได สื่อการเรียนรู 1. ใบความรู เร่ือง สงกรานตปใหมไทย

2. แผนภาพ ประเพณีสงกรานต 3. ใบงานที่ 1 เร่ือง ตํานาน วนัสงกรานต 4. วีดีทัศน เร่ือง ประเพณีสงกรานต

การวัดผลและการประเมินผล

1. สังเกต 1.1 จากการเขารวมกิจกรรม

1.2 การรายงานหนาชัน้เรียน 2.แบบทดสอบความรูเร่ือง ประเพณีสงกรานต ตองไดคะแนน รอยละ 80 ขึ้นไป จึงผานเกณฑ

ผลการจัดการเรียนรู

นักเรียนมีความเขาใจและตั้งใจเรียนดี ใหความรวมมือในการรวมกิจกรรมทุกขั้นตอน เปนอยางด ี ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 9: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (กลุมปกติ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 4 ประเพณีแตงงาน เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ การแตงงาน ถือ เปนการเริ่มตนชีวิตครอบครัวหรือชีวิตคูของชายและหญิงดวยการสมรส ตามประเพณีไทย โดยเมื่อฝายชายไดบวชเรียน ซ่ึงเรียกวาเปนคน “สุก” หรือผานการอบรมมาแลว พอแมฝายชายจะเลือกเฟนหาคูครองที่มีความพรอมมาใหรวมชีวิตเพื่อชวยสรางฐานะและครอบครัวใหอบอุน และจะไดมีผูสืบวงศตระกูลตอไปในภายภาคหนา ซ่ึงมีพิธีกรรมตามขั้นตอนของประเพณีไทย ซ่ึงเริ่มตั้งแตการสูขอ การหมั้นและแตงงาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1.บอกความสาํคัญและความเปนมาของประเพณีแตงงานได 2.สามารถวิเคราะหถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกจิกรรมที่เกี่ยวของได 3.เห็นคณุคา และการสืบสานประเพณีแตงงาน

สาระการเรียนรู

1.ความหมายและความเปนมาของประเพณีแตงงาน

2.ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกีย่วของ 3.คุณคาและทาํความเขาใจประเพณี

กระบวนการเรียนรู

1. ขั้นนํา 1.1 ครูนําเขาสูบทเรียน โดยซักถาม ถึงความแตกตางถึง ประเพณแีตงงาน ของคนไทยในอดีตและปจจุบัน 1.2 ครูสนทนาซักถามถึงความสําคัญของชีวิตคู ตามประเพณีไทย

Page 10: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.ขั้นสอน 2.1 ครูใหชม วีดีทัศน เร่ือง “สารคดี รายการ กบนอกกะลา ตอน พิธีแตงงานแบบไทย” 2.2 ครูแบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม โดยเลือกประธาน รองประธาน เลขานุการ โดย ประธานเปนผูดําเนินการอภปิราย มีหัวขอทีเตรียมไวดังนี้ 2.2.1 ทําไมถึงตองแตงงาน 2.2.2 ลําดับขั้นตอนประเพณีแตงงานแบบไทย 2.2.3 การแหขันหมาก 2.2.4 พิธีการแตงงาน 2.3 ครูใหนักเรียนชวยกนัอภิปรายและตอบคําถามจาก ใบกิจกรรม ประเพณีแตงงาน 2.4 นักเรียนสงตัวแทนเพื่อนําเสนอ 3.ขั้นสรุป 3.1 ครูใหนักเรียนเสนอผลที่ไดจากการวิเคราะหและอภปิราย และผูวจิัยสรุปเพิ่มเตมิ 3.2 ครูประเมินผลแตละกลุมและเสริมแรงของแตละกลุมตามผลงานที่ได สื่อการเรียนรู 1. ใบความรู

2. แผนภาพ พธีิแตงงานแบบไทย

3. ใบกิจกรรม เร่ือง ทําไมถึงตองแตงงาน

4. วีดีทัศน บางตอนของ สารคดี กบนอกกะลา ตอน พิธีแตงงานแบบไทย 5. แบบทดสอบความรูเร่ือง ประเพณี เร่ือง การแตงงาน

การวัดผลและการประเมินผล 1.สังเกต 1.1 จากพฤตกิรรมการทํางานกลุม 1.2 จากรายงานหนาชัน้เรียน 2.แบบทดสอบความรูเร่ือง ประเพณแีตงงาน ตองไดคะแนน รอยละ 80 ขึ้นไปจึงจะผานเกณฑ

Page 11: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ผลการจัดการเรียนรู

นักเรียนสนใจและตั้งใจเรียน ใหความรวมมือในการรวมกิจกรรมทุกขัน้ตอนและสามารถสรุปถึงความสําคัญของประเพณีที่เกีย่วของกับชีวิตของทุกคนไดและบอกถึงผลดีผลเสียของประเพณไีดอยางเขาใจถึงคุณคาของชีวิตคนทุกคนได ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 12: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู ( สอนแบบศูนยการเรียน ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 1 เร่ืองประเพณียี่เปง เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ ประเพณียี่เปง เปนประเพณีลอยกระทงตามประเพณี ของอาณาจักรลานนา สอดคลองกับประเพณีลอยกระทงของทางภาคกลาง ซ่ึงเปนวันเพ็ญหรือขึ้น 15 ค่ําที่ดวงจันทรเต็มดวง ในเดือน 12 ที่พุทธศาสนิกชนมีการทําบุญตักบาตร ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกความหมายและความเปนมาของประเพณียี่เปง ได 2. สามารถวิเคราะหความสําคัญ วิถีปฏิบัติ ประเพณี ชาวลานนา ได 3. เห็นคุณคาและการสืบสานประเพณี ทางภาคเหนือ ได

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณียี่เปง 2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคา และการสืบสานประเพณยีี่เปง ทางภาคเหนือ

กระบวนการเรียนรู 1.ประเมินผลกอนเรียน

1.1 ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ชุด ประเพณยีเ่ปง 1.2 ครูใหนักเรียนชม วดีิทัศน เร่ือง ประเพณียี่เปง เพื่อนําเขาสูบทเรียน 1.3 ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ

2. นําเขาสูบทเรียน ครูแนะนําการใชชุดการสอนแบบศูนยการเรียนเรื่อง ประเพณยีี่เปง ประกอบดวย 5 ศูนยดังนี ้

Page 13: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ศูนยที่ 1 เร่ือง ยี่เปง เล่ืองชื่อ แดนลานนา ศูนยที ่2 เร่ือง วิถีชาวลานนา ศูนยที่ 3 เร่ือง โคมประดับงามเลิศ ศูนยที่ 4 เร่ือง บังเกิดความเชื่อนาสืบสาน ศูนยที ่5 ศูนยสํารอง 3. ประกอบกิจกรรมการเรียน 3.1 ครูแบงกลุมนักเรียนโดยใชกิจกรรม 4 สถานี และแจกบัตรคําสั่งคนละ 1 ชิ้น โดยมหีมายเลขรอบและชื่อสถานีที่นักเรียนเขาทํากจิกรรมแตละรอบสถานี โดยใหผูเรียนฟงสัญญาณจากครู 3.2 ใหนกัเรียนแตละกลุมดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย ในชุดการสอน แบบศูนยการเรียน เร่ือง ตามแผนภูมิ ดังนี ้ 3.3 ใหนกัเรียนแตละกลุมนาํเสนอผลงานที่ไดจากการดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย 4. สรุปบทเรียน ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปความหมาย ความเปนมา วิถีปฎิบัติและคุณคาจากประเพณยีีเ่ปง สื่อการเรียนรู

1. บัตรคําสั่ง 2. บัตรเนื้อหา 3. บัตรคําถาม และเฉลย

ศูนยที1่ ยี่เปง เล่ืองชื่อ แดนลานนา

ศูนยที4่ เร่ือง บังเกิดความเชื่อนาสบืสาน

ศูนยที5่ ศูนยสํารอง

ศูนยที2่ วิถีชาวลานนา

ศูนยที3่ โคมประดับ งามเลิศ

Page 14: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

4. แบบฝกปฏิบัติ 5. ใบกิจกรรม 6. วีดีทัศน เร่ือง ประเพณียี่เปง

5. ประเมินผลการเรียนผูเรียน 5.1 วิธีการวัดและประเมนิผล

(1.) สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุมในแตละศูนยการเรียน (2.) ตรวจผลงานที่ดําเนินการในแตละศนูยการเรยีน (3.) ตรวจแบบฝกปฏิบัติ (4.) การสรุปอภิปราย เร่ือง ประเพณยีี่เปง

5.2 เครื่องมือการวัดประเมนิผล (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิกรรมกลุม (2) แบบประเมินผลงาน (3) แบบฝกปฏิบัติ

5.3 เกณฑการวัดประเมินผล นักเรียนทุกคนสามารถดําเนินกิจกรรมแตละศูนยการเรียนบรรลุตามผลการเรียนรู

คาดหวังผานเกณฑทีก่ําหนด ไมนอยกวารอยละ 80

ผลการจัดการเรียนรู นักเรียนมีความสนใจตอบทเรียนเปนอยางดีและรวมกิจกรรมดวยความสนุกสนาน มกีารแสดงความคิดเห็นในการอภปิรายรวมกนั สามารถทําความเขาใจและเรียนรูสาระสําคัญจากชุดการสอนไดในเวลาอันรวดเร็ว สะทอนความรูสึกที่ดีในสิ่งที่เรียนรูอยางเหน็คุณคาและความสําคัญ ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 15: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู ( สอนแบบศูนยการเรียน ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 2 ประเพณีบุญบั้งไฟ เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ การทําบุญบั้งไฟมีจุดมุงหมายสําคัญ คือ การขอฝนตามความเชื่อของชาวบานในภาคอีสาน ถือวาบุญบั้งไฟเปนพิธีกรรมที่มีความสําคัญมาก เพราะเชื่อวา หากหมูบานใดไมจดังานบั้งไฟ ก็อาจกอใหเกิดภัยพบิัติ เชน โรคภัยไขเจ็บ หรือทุพภิกขภัยแกชุมชนได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. อธิบายความหมายและความเปนมาของประเพณีบุญบัง้ไฟ ได 2. สามารถทราบถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกจิกรรมที่เกี่ยวของได 3. เห็นคุณคา สามารถสืบสานประเพณีได

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณบีุญบั้งไฟ

2. ความสําคัญ วถีิปฏิบัติและกจิกรรมที่เกีย่วของ 3. คุณคา และการสืบสานประเพณี บุญบั้งไฟ ของภาคอีสาน

กระบวนการเรียนรู 1.ประเมินผลกอนเรียน

1.1 ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ชุด ประเพณีบญุบั้งไฟ 1.2 ครูใหนักเรียนชม วดีิทัศน เร่ือง ประเพณีบุญบั้งไฟ เพื่อนําเขาสูบทเรียน 1.3 ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ

2.นําเขาสูบทเรียน ครูแนะนําการใชชุดการสอนแบบศูนยการเรียนเรื่อง ประเพณีบุญบั้งไฟ ประกอบดวยศูนย 5 ศูนยดงันี้

Page 16: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ศูนยที่ 1 เร่ือง บั้งไฟแดนอีสาน ระบือนาม ศูนยที ่2 เร่ือง วิถีชาว อีสาน ศูนยที่ 3 เร่ือง ตํานานบั้งไฟนารู ศูนยที่ 4 เร่ือง จากรุนสูรุนแหงศรัทธา ศูนยที่ 5 ศูนยสํารอง 3. ประกอบกิจกรรมการเรียน 3.1 ครูแบงกลุมนักเรียนโดยใชกิจกรรม 4 สถานี และแจกบัตรคําสั่งคนละ 1 ช้ิน โดยมีหมายเลขรอบและชื่อสถานีที่นักเรียนเขาทํากิจกรรมแตละรอบสถานี โดยใหผูเรียนฟงสัญญาณจากครู 3.2 ใหนกัเรียนแตละกลุมดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย ในชุดการสอน แบบศูนยการเรียน เร่ือง ประเพณีบุญบั้งไฟ ตามแผนภูมิ ดังนี ้ 3.3 ใหนกัเรียนแตละกลุมนาํเสนอผลงานที่ไดจากการดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย 4. สรุปบทเรียน ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปความหมาย ความเปนมา วิถีปฎิบัติและคุณคาจากประเพณีบญุบั้งไฟ สื่อการเรียนรู

1. บัตรคําสั่ง 2. บัตรเนื้อหา

ศูนยที่ 1บั้งไฟแดนอีสาน ระบือนาม

ศูนยที่ 4 จากรุนสูรุนแหงศรัทธา

ศูนยที่ 5 ศูนยสํารอง

ศูนยที่ 2 วิถีชาว อีสาน

ศูนยที่ 3 เร่ือง ตํานานบั้งไฟนารู

Page 17: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3. บัตรคําถาม และเฉลย 4. แบบฝกปฏิบัติ 5. ใบกิจกรรม 6. วีดีทัศน เร่ือง ประเพณีบั้งไฟ

5.การวัดผลและการประเมินผล 5.1 วิธีการวัดและประเมนิผล

(1) สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุมในแตละศูนยการเรียน (2) ตรวจผลงานที่ดําเนินการในแตละศนูยการเรยีน (3) ตรวจแบบฝกปฏิบัติ (4) การสรุปอภิปราย เร่ือง ประเพณีบั้งไฟ

5.2 เครื่องมือการวัดประเมินผล (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิกรรมกลุม (2) แบบประเมินผลงาน (3) แบบฝกปฏิบัติ

5.3 เกณฑการวัดประเมินผล นักเรียนทุกคนสามารถดําเนินกิจกรรมแตละศูนยการเรียนบรรลุตามผลการเรียนรู

คาดหวังผานเกณฑทีก่ําหนด ไมนอยกวารอยละ 80

ผลการจัดการเรียนรู นักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรู แสดงความคิดเห็นและรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันเปนอยางดี ตลอดจนสามารถนําเสนอสาระสําคัญไดอยางถูกตองเหมาะสม ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 18: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (สอนแบบศูนยการเรียน ) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 3 ประเพณีสงกรานต เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ สงกรานต เปนประเพณีปใหมของประเทศไทย มีความหมาย เปนคําภาษาสันสกฤต หมายถึง การผาน หรือ การเคลื่อนยาย ซ่ึงเปนการอุปมาถึงการขึ้นปใหมในความเชื่อของไทย ในที่นี้หมายถึง เปนวันทีด่วงอาทิตยผาน หรือเคลื่อนยายจากราศีมีน เขาสูราศีเมษ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกความหมายและความเปนมาของประเพณีสงกรานต ได 2. วิเคราะหถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกีย่วของได 3. เห็นคุณคา การสืบสานประเพณไีด

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณีสงกรานต 2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคา และการสืบสานประเพณีสงกรานต

กระบวนการเรียนรู 1.ประเมินผลกอนเรียน

1.1 ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ชุด ประเพณีสงกรานต 1.2 ครูใหนักเรียนชม วดีิทัศน เร่ือง ประเพณีสงกรานต เพื่อนําเขาสูบทเรียน 1.3 ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1.4 ครูแนะนําการใชชุดการสอนแบบศูนยการเรียนเรื่อง ประเพณีสงกรานต

Page 19: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.นําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยศูนย 5 ศูนยดงันี้

ศูนยที ่1 เร่ือง สงกรานต ปใหมไทย ศูนยที ่2 เร่ือง ตํานานสงกรานต ศูนยที่ 3 เร่ือง กิจกรรมนาสบืสาน ศูนยที่ 4 เร่ือง ผูกสัมพันธ วนั ครอบครัว ศูนยที ่5 ศูนยสํารอง 3.ประกอบกิจกรรมการเรียน 3.1 ครูแบงกลุมนักเรียนโดยใชกิจกรรม 4 สถานี และแจกบัตรคําสั่งคนละ 1 ชิ้น โดยมหีมายเลขรอบและชื่อสถานีที่นักเรียนเขาทํากจิกรรมแตละรอบสถานี โดยใหผูเรียนฟงสัญญาณจากครู 3.2 ใหนกัเรียนแตละกลุมดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย ในชุดการสอน แบบศูนยการเรียน เร่ือง ประเพณีสงกรานต ตามแผนภูมิ ดังนี ้ 3.3 ใหนกัเรียนแตละกลุมนาํเสนอผลงานที่ไดจากการดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย

ศูนยที่ 1 สงกรานตปใหมไทย

ศูนยที่ 4 ผูกสัมพันธ วันครอบครัว

ศูนยที่ 5 ศูนยสํารอง

ศูนยที่ 2 ตํานานสงกรานต

ศูนยที่ 3 กิจกรรมนาสบืสาน

Page 20: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

4. สรุปบทเรียน ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปความหมาย ความเปนมา วิถีปฎิบัติและคุณคาจากประเพณีสงกรานต สื่อการเรียนรู

1. บัตรคําสั่ง 2. บัตรเนื้อหา 3. บัตรคําถาม และเฉลย 4. แบบฝกปฏิบัติ 5. ใบกิจกรรม 6. วีดีทัศน เร่ือง ประเพณีสงกรานต

5.การวัดผลและการประเมินผล 5.1 วิธีการวัดและประเมนิผล

(1) สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุมในแตละศูนยการเรียน (2) ตรวจผลงานที่ดําเนินการในแตละศนูยการเรยีน (3) ตรวจแบบฝกปฏิบัติ (4) การสรุปอภิปราย เร่ือง ประเพณีสงกรานต

5.2 เครื่องมือการวัดประเมนิผล (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิกรรมกลุม (2) แบบประเมินผลงาน (3) แบบฝกปฏิบัติ

5.3 เกณฑการวัดประเมินผล นักเรียนทุกคนสามารถดําเนินกิจกรรมแตละศูนยการเรียนบรรลุตามผลการเรียนรู

คาดหวังผานเกณฑทีก่ําหนด ไมนอยกวารอยละ 80 ผลการจัดการเรียนรู นักเรียนตั้งใจในการเรยีนรู มีสวนรวมในการทํากิจกรรมในการทํากจิกรรมกลุม ตามชุดการสอนในแตและศูนยการเรียนเปนอยางดี เกิดความรูความเขาใจ สามารถอภิปรายและนําเสนอไดอยางถูกตองเหมาะสมตลอดจนแสดงความเห็นตอการสืบสานวิถีปฏิบัติของประเพณ ี ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 21: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แผนการจัดการเรียนรู (สอนแบบศูนยการเรียน) วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 หนวยการเรียนรู เร่ือง ประเพณีไทย รวม 12 ช่ัวโมง แผนจัดการเรียนรูที่ 4 ประเพณีแตงงาน เวลา 3 ช่ัวโมง สาระสําคัญ การแตงงาน ถือ เปนการเริ่มตนชีวิตครอบครัวหรือชีวิตคูของชายและหญิงดวยการสมรส ตามประเพณไีทย เมื่อฝายชายไดบวชเรียน ซ่ึงเรียกวาเปนคน “สุก” หรือผานการอบรมมาแลว พอแมฝายชายจะเลือกเฟนหาคูครองที่มีความพรอมมาใหรวมชีวิตเพื่อชวยสรางฐานะและครอบครัวใหอบอุน และจะไดมีผูสืบวงศตระกูลตอไปในภายภาคหนา ซ่ึงมีพิธีกรรมตามขั้นตอนของประเพณีไทย กลาวคือ เร่ิมตั้งแตการสูขอ การหมัน้และแตงงาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 1. บอกความสําคัญและความเปนมาของประเพณแีตงงานได

2. วิเคราะหถึงความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกีย่วของได 3. เห็นคุณคาและการสืบสานประเพณีแตงงาน

สาระการเรียนรู

1. ความหมายและความเปนมาของประเพณีแตงงาน

2. ความสําคัญ วิถีปฏิบัติและกิจกรรมที่เกี่ยวของ 3. คุณคาและการ เขาใจ ประเพณ ี

กระบวนการเรียนรู 1.ประเมินผลกอนเรียน

1.1 ใหนกัเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ชุด เอกลักษณไทย 1.2 ครูใหนักเรียนชม วดีิทัศน เร่ือง ประเพณีแตงงานเพื่อนําเขาสูบทเรียน 1.3 ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1.4 ครูแนะนําการใชชุดการสอนแบบศูนยการเรียนเรื่อง ประเพณแีตงงาน

Page 22: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

2.นําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยศูนย 5 ศูนยดงันี้

ศูนยที ่1 เร่ือง ทําไมถึงตองแตงงาน ศูนยที ่2 เร่ือง ลําดับ ขั้นตอน ประเพณแีตงงานแบบไทย ศูนยที่ 3 เร่ือง การแหขันหมาก ศูนยที่ 4 เร่ือง พิธีการแตงงาน ศูนยที่ 5 ศูนยสํารอง 3. ประกอบกิจกรรมการเรียน 3.1 ครูแบงกลุมนักเรียนโดยใชกิจกรรม 4 สถานี และแจกบัตรคําสั่งคนละ 1 ช้ิน โดยมหีมายเลขรอบและชื่อสถานีที่นักเรียนเขาทํากจิกรรมแตละรอบสถานี โดยใหผูเรียนฟงสัญญาณจากครู 3.2 ใหนกัเรียนแตละกลุมดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย ในชุดการสอน แบบศูนยการเรียน เร่ือง ประเพณแีตงงาน ตามแผนภูมิ ดังนี ้ 3.3 ใหนกัเรียนแตละกลุมนาํเสนอผลงานที่ไดจากการดาํเนินกจิกรรมแตละศูนย

ศูนยที่ 1 ทําไมถึงตองแตงงาน

ศูนยที่ 4 พิธีการแตงงาน

ศูนยที่ 5 ศูนยสํารอง

ศูนยที่ 2 ลําดับ ขั้นตอน ประเพณแีตงงานแบบไทย

ศูนยที่ 3 เร่ือง การแหขนัหมาก

Page 23: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

4. สรุปบทเรียน ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปความหมาย ความเปนมา วิถีปฎิบัติและคุณคาจากประเพณแีตงงาน สื่อการเรียนรู

1. บัตรคําสั่ง 2. บัตรเนื้อหา 3. บัตรคําถาม และเฉลย 4. แบบฝกปฏิบัติ 5. ใบกิจกรรม 6. วีดีทัศน เร่ือง ประเพณีแตงงาน

5.การวัดผลและการประเมินผล 5.1 วิธีการวัดและประเมนิผล

(1) สังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุมในแตละศนูยการเรยีน (2) ตรวจผลงานที่ดําเนนิการในแตละศนูยการเรียน (3) ตรวจแบบฝกปฏิบัติ (4) การสรุปอภิปราย เร่ือง ประเพณแีตงงาน

5.2 เครื่องมือการวัดประเมนิผล (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมกลุม (2) แบบประเมินผลงาน (3) แบบฝกปฏิบัติ

5.3 เกณฑการวัดประเมินผล นักเรียนทุกคนสามารถดําเนินกิจกรรมแตละศูนยการเรียนบรรลุตามผลการเรียนรู

คาดหวังผานเกณฑทีก่ําหนด ไมนอยกวารอยละ 80 ผลการจัดการเรียนรู นักเรียนมีความสนใจตอบทเรียนและเปนอยางดีและรวมกิจกรรมกลุม แสดงความคิดเห็นและรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันเปนอยางดี ตลอดจนสามารถนําเสนอสาระสําคัญไดอยางถูกตองเหมาะสม

ลงชื่อ …………………ผูสอน

Page 24: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ข แบบประเมินและผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรูของผูเช่ียวชาญ

วิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย เร่ือง ประเพณีไทย

Page 25: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

คําชี้แจง ใหผูประเมินกาเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ผูประเมินเห็นวามีระดับเหมาะสมตรงกบัความคิดของทานมากที่สุด โดยกําหนดระดับความเหมาะสมดังนี ้ 5 หมายถึง มีระดับความเหมาะสม ดีมาก 4 หมายถึง มีระดับความเหมาะสม ดี 3 หมายถึง มีระดับความเหมาะสม พอใช 2 หมายถึง มีระดับความเหมาะสม ปรับปรงุ 1 หมายถึง มีระดับความเหมาะสม ไมเหมาะสม

Page 26: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 8 สรุปผลการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรูโดยใชชุดการสอนแบบศูนยการเรียนโดยผูเชี่ยวชาญ แผนที่1 - 4

ขอความ ระดับความคดิเห็น

X 5 4 3 2 1 1. สาระสําคัญ สอดคลองกับหลักสูตร 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน - ครอบคลุมเนื้อหา - การใชภาษาถูกตอง - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได

3. สาระการเรียนรู - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู - มีความชัดเจน 4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดกับจดุประสงคการเรียนรู - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน - เปนไปไดในการปฏิบัติ - เหมาะสมกับเวลา - ใหนักเรยีนมสีวนรวม

5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู - สามารถนําไปใชไดจริง - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม

Page 27: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ผลประเมินแผนการจัดการเรียนรูแบบศูนยการเรียนโดยผูเชี่ยวชาญ ตาราง 9 คะแนนประเมินผลจัดการเรียนรู แบบศูนยการเรียน แผนที ่1 ประเพณี ยี่เปง ____________________________________________________________________________________________ ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ 5 5 4 5 5 5.00 ดีมาก สอดคลองกับหลักสูตร ____________________________________________________________________________________________ รวม 5.00 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 5 4 4 5 4.80 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก

___________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 4 5 5 4 4.60 ดีมาก - มีความชัดเจน 5 4 5 5 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________

Page 28: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 9 คะแนนประเมินผลจัดการเรียนรู แบบศูนยการเรียน แผนที ่1 ประเพณี ยี่เปง (ตอ) ____________________________________________________________________________________________ ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 4 4 4 5 4.40 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 4 4 4 4 4.20 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 4 5 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.48 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 4 4 5 4 4.4 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 4 4 5 5 4.6 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.5 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________

Page 29: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 10 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 2 ประเพณี บุญบั้งไฟ

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก สอดคลองกับหลักสูตร ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 4 4 4 4 4.20 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 4 4 4 5 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.50 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 4 5 5 4 4.60 ดีมาก - มีความชัดเจน 5 4 5 5 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________

Page 30: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 10 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 2 ประเพณี บุญบั้งไฟ (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 4 4 5 5 4.40 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 4 5 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.68 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 4 5 4 4 4.40 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 4 5 5 4 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.90

Page 31: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 11 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 3 ประเพณี สงกรานต

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก สอดคลองกับหลักสูตร ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 4 4 4 5 4.40 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 4 4 4 5 4.40 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.50 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - มีความชัดเจน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 5.00 ____________________________________________________________________________________________

Page 32: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 11 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 3 ประเพณี สงกรานต (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.64 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 4 4 5 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________

Page 33: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 12 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 4 ประเพณี แตงงาน

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก สอดคลองกับหลักสูตร ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 4 4 4 4 4.20 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 4 4 4 4 4.20 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.40 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - มีความชัดเจน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 5.00 ____________________________________________________________________________________________

Page 34: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 12 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู แบบศนูยการเรียน แผนที่ 4 ประเพณี แตงงาน (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.92 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 4 5 5 4 4.60 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.90 ____________________________________________________________________________________________

Page 35: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ผลประเมินแผนการจัดการเรียนรู ตามแบบปกติ โดยผูเชี่ยวชาญ ตาราง 13 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู ตามแบบปกต ิ แผนที่ 1 ประเพณี ยี่เปง

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก สอดคลองกับหลักสูตร ____________________________________________________________________________________________ รวม 5.00 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 4 5 5 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - มีความชัดเจน 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________

Page 36: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 13 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู ตามแบบปกติแผนที่ 1 ประเพณี ยี่เปง (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดกับจดุประสงคการเรียนรู 4 4 5 4 5 4.40 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 5 4 4.80 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 4 4 4 5 4.40 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 4 5 4 4 5 4.40 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 4 5 5 4 5 4.60 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 5 5 4 4.80 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________

Page 37: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 14 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรูตามแบบปกต ิ แผนที่ 2 ประเพณี บญุบั้งไฟ

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ สอดคลองกับหลักสูตร 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.85 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 4 4.80 ดีมาก - มีความชัดเจน 4 5 5 5 5 4.80 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________

Page 38: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 14 คะแนนประเมินผลจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนที2่ ประเพณี บุญบั้งไฟ (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดกับจดุประสงคการเรียนรู 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.76 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.90 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.73

Page 39: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 15 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู ตามแบบปกต ิ แผนที่ 3 ประเพณี สงกรานต ____________________________________________________________________________________________ ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ สอดคลองกับหลักสูตร 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 5 4 4 5 4 4.40 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.65 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - มีความชัดเจน 5 4 5 4 5 4.80 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.90 ____________________________________________________________________________________________

Page 40: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 15 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู ตามแบบปกติ แผนที่ 3 ประเพณี สงกรานต(ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดกับจดุประสงคการเรียนรู 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 5 4 4.80 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 4 5 5 5 5 4.80 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 4 5 4 5 4.60 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.80 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน 5 5 5 4 5 4.80 ดีมาก - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.70 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 4 5 4 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.73 ____________________________________________________________________________________________

Page 41: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 16 คะแนนประเมนิผลจัดการเรยีนรู ตามแบบปกต ิ แผนที่ 4 ประเพณี แตงงาน

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________ 1. สาระสําคัญ สอดคลองกับหลักสูตร 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 2. จุดประสงคการเรียนรู

- มีความชัดเจน 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก - ครอบคลุมเนื้อหา 4 5 5 4 5 4.60 ดีมาก - การใชภาษาถูกตอง 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - เขียนในรูปของพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได 5 4 5 4 5 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.70 ____________________________________________________________________________________________ 3. สาระการเรียนรู

- สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - มีความชัดเจน 4 5 4 4 5 4.40 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.70 ____________________________________________________________________________________________

Page 42: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 16 คะแนนประเมินผลจัดการเรียนรู แบบปกติ แผนที่ 4 ประเพณี แตงงาน (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญ ระดับความ 1 2 3 4 5 เฉลี่ย เหมาะสม ____________________________________________________________________________________________

4. กิจกรรมการเรียนการสอน - สอดกับจดุประสงคการเรียนรู 5 5 4 5 5 4.80 ดีมาก - สอดคลองกับเนื้อหาในแผนการสอน 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - เปนไปไดในการปฏิบัติ 5 4 5 5 5 4.80 ดีมาก - เหมาะสมกับเวลา 5 5 5 5 5 5.00 ดีมาก - ใหนักเรยีนมสีวนรวม 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก

____________________________________________________________________________________________ รวม 4.84 ____________________________________________________________________________________________ 5. ส่ือการเรียนการสอน - สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5 5 5 4 4 4.60 ดีมาก - เหมาะสมกบัความสามารถของผูเรียน 4 4 5 5 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________ 6. การวัดและประเมินผล - สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 4 4 4 5 5 4.40 ดีมาก - สามารถนําไปใชไดจริง 5 5 5 5 4 4.80 ดีมาก - ใชวิธีการและเครื่องมือเหมาะสม 5 5 4 4 5 4.60 ดีมาก ____________________________________________________________________________________________ รวม 4.60 ____________________________________________________________________________________________

Page 43: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

หมายเหตุ : เกณฑการประเมนิ คาเฉลี่ย 4.01 – 5.00 หมายถึง ดีมาก คาเฉลี่ย 3.01 – 4.00 หมายถึง ดี คาเฉลี่ย 2.01 – 3.00 หมายถึง พอใช คาเฉลี่ย 1.01 – 2.00 หมายถึง ปรับปรุง คาเฉลี่ย 0.33 – 1.00 หมายถึง ไมเหมาะสม

Page 44: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย เร่ือง ประเพณีไทย

Page 45: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่อง ประเพณีไทย คําสั่ง จงเลือกตอบขอท่ีถูกตองที่สุดพียงขอเดียว ___________________________________________________ 1. คําวา "ยี่เปง" เปนภาษาคาํเมืองในภาคเหนือ มีความหมายวาอยางไร ก. สอง,ดวงอาทิตยเต็มดวง ข. สาม, ดวงจนัทรเต็มดวง ค. สอง, ดวงจนัทรเต็มดวง ง. สอง, ดวงจนัทรคร่ึงดวง 2. ประเพณยีี่เปงของภาคเหนือ สัมพันธกบัประเพณใีดของภาคกลาง ก. ประเพณีสงกรานต ข. ประเพณีลอยกระทง ค. ประเพณีปใหมไทย ง. ประเพณีรดน้ําดําหวั 3. คําวา “หมือ่” ตรงกับความหมายขอใด ก. การนําเอากาํมะถันมาลนไฟ ข. การนําบั้งไฟมาเตรียมกอนจุดไฟ ค. การนําเอากาํมะถันคั่วตํากบัดินประสิว และถานไฟ ง. การนําเอากาํมะถันกับดนิประสิวและถานไฟมาลนไฟ 4. ขอใดไมใชวัตถุประสงคการทําบั้งไฟ ก. เพื่อขอน้ําฝนจากเทพ ข. เปนการเชื่อมความสามัคคี ค. เพื่อการสงเสริมการทองเที่ยว ง. เปนการบูชาคุณของพระพุทธเจา 5.เพราะเหตุใดจึงตองมีการ “เอบั้งไฟ” ก. ตองการสวดขอพรจากบั้งไฟ ข. ตองการใหฝนตกตองตามฤดูกาล ค. ตองการประดับตกแตงบัง้ไฟใหสวยงาม ง. ตองการแหบั้งไฟไปรอบหมูบานกอนจะมีการจดุบั้งไฟ

Page 46: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

6. ขอใด หมายถึง บั้งไฟเสี่ยงทาย ก. บั้งไฟที่มีพราหมณเปนผูอานคําเสี่ยงทาย ข. บั้งไฟที่สรางขึ้นเพื่อจุดเสี่ยงทายดวงเมือง ค. บั้งไฟที่สรางขึ้นเพื่อจุดเสี่ยงทายพืชผลประจําป ง. บั้งไฟที่สรางขึ้นเพื่อจุดเสี่ยงทายวาใครจะเปนชางทําบัง้ไฟในปตอไป 7. ทําไมตองมีการขนทรายเขาวัดในชวงวนัสงกรานต ก. เพื่อกอพระเจดียทราย ข. เปนการสะเดาะเคราะห ค. เปนการสรางความสามัคคีแกคนในหมูบาน ง. เพื่อเก็บทรายที่ขนเขาวัดไวใชในการกอสรางโบสถวิหาร 8. กิจกรรมใดที่ไมควรสงเสริมใหเกดิขึ้นในวันสงกรานต ก. การสรงน้ําพระพุทธรูป

ข. การรดน้ําขอพรจากผูใหญ ค. การทําความสะอาดวดัวาอาราม ง. การเลนสาดน้ําโดยใชน้ําแข็งหรือสีผสมในน้ํา 9. เหตุใดประเพณีสงกรานต จึงเปนประเพณีที่ควรอนุรักษและสงเสริมใหอยูคูกับคนไทย ก. เปนการสนบัสนุนใหผูที่อยูไกลบานไดเดินทางกลับบาน ข. เปนประเพณีที่ทุกคนสามารถรวมกันทําบุญไดอยางเตม็ที่ ค. เปนการแสดงใหเห็นถึงความรักและความสามัคคีของคนในชาต ิ ง. เปนการสงเสริมการละเลนตามประเพณีไทยและแสดงใหเห็นถึงความกตัญ ู ตอบรรพบุรุษ 10. ขอใดกลาวถึง สงกรานต 4 ภาค ไมถูกตอง ก. ชาวภาคอีสานมักเรียกประเพณีสงกรานตวา บุญเดือนหา ข. ชาวภาคกลาง เร่ิมในวนัที ่14 เมษายนถือเปนวัน มหาสงกรานต ค. คนภาคใตถือวาเปนชวงเวลาการผลัดเปลี่ยนเทวดาผูรักษาดวงชะตาบานเมือง ง. วัน เนา หรือ วันเนา (14 เม.ย.) เปนวันทีช่าวภาคเหนือหามใครดาทอวาราย เพราะจะทําใหโชครายไปตลอดทั้งป

Page 47: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

11. ขอใดเรียงลําดับ พิธีการแตงงาน ไดอยางถูกตอง ก. พิธีทําบุญตักบาตร, พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้าํสังข, การกินเลี้ยงฉลองพิธีมงคลสมรส, พิธีปูที่นอนและสงตัว ข. พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้ําสังข,พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้ําสังข, การกินเล้ียงฉลองพิธีมงคลสมรส,

พิธีปูที่นอนและสงตัว ค. พิธีทําบุญตักบาตร, การกนิเล้ียงฉลองพธีิมงคลสมรส,พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้ําสังข,

พิธีปูที่นอนและสงตัว ง. การกินเล้ียงฉลองพิธีมงคลสมรส, พิธีทําบุญตักบาตร ,พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้ําสังข, พิธีปูที่นอนและสงตัว 12. ความเชื่อตามขอใดที่ไดมาจากการปลอยโคมลอย ไดแก ก. เปนการใหทานคนยากจน ข. โชครายทั้งหลายจะลอยไปกับโคม ค. การปลอยโคมลอยเปนการถวายพระพรใหแกพระพุทธเจา ง. ผูปลอยโคมลอยจะไดรับบุญมากกวาการปลอยโคมประเภทอืน่ 13. การจุดโคมลอยมีความสําคัญอยางไร ก. เพื่อบูชาดวงดาว ข. เพื่อบูชาพระเกษแกวจฬุามณ ี ค. เพื่อสรางความสวยงามบนทองฟา ง. เพื่อใหสอดคลองกับประเพณีลอยกระทง 14. ขอใดคือความสําคัญของ เรือนหอ ก. เรือนอันเปนที่อยูของฝายชาย ข. เรือนที่ชายหญิงใชประกอบพิธีแตงงาน ค. เรือนที่เก็บขาวของเครื่องใชในพิธีแตงงาน ง. เรือนอันจะเปนที่อยูของชายหญิงซึ่งจะทําการแตงงาน 15. ประตูดานสุดทายที่เจาบาวจะตองผานไดแก ก. ประตูชัย ข. ประตูมงคล ค. ประตูเงิน ง. ประตูทองหรือประตูนาค

Page 48: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

16. เพราะเหตใุด ชายหญิงทีแ่ตงงานกนัจะตองรวมกันปลูกตองกลวยและตนออย ก. ตองการใหหนุมสาวคูทีแ่ตงงานอยูดวยกันจนแกเฒา ข. เปนการเสี่ยงทายวาหากตนกลวยเจริญเติบโตดีจะไดลูกชาย ค. เปนการเสี่ยงทายวาหากตนกลวยเจริญเติบโตดีจะไดลูกสาว ง. เปนการเสี่ยงทายวา ความรักของหนุมสาว จะเปนไปอยางราบรื่น 17. ชวงเวลาใดที่คูบาวสาวมโีอกาสไดกลาวขอบคุณแขกที่มารวมงานแตงงาน ก. พิธีสงตัว ข. พิธีรดน้ําสังข ค. พิธีทําบุญตักบาตร ง. การกินเล้ียงฉลองพิธีมงคลสมรส 18. การจะผานประตูแตละประตู เจาบาวตองปฏิบัติตนอยางไร ก. ตองใหเฒาแกเปนผูเจรจาขอผานประตูนั้นๆ ข. ตองใหซองเงินหรือของชาํรวยแกผูกั้นประตูนั้นๆ ค. ตองนําขนมหวานในพานมอบใหแกผูกั้นประตนูั้นๆ ง. ตองนําสินสอดบางสวนจากในพานมอบใหแกผูกั้นประตูนั้นๆ 19. คําวา “ตรษุ” มีความหมายสอดคลองกับขอใด ก. จบ ข. ส้ินป ค. ลาจาก ง. เร่ิมตนป 20. ประเพณไีทย แสดงออกในดานใด อยางชัดเจนที่สุด ก. คานิยมของชาวไทย ข. การทําหนาที่ของชาวไทย ค. บงบอกเอกลักษณของชาวไทย ง. การเรียนรูเกี่ยวกับคุณคาของความเปนไทย 21.ขอใดกลาวถูกตอง ก. ประเพณีคือวิถีชีวิต ข. ประเพณีคือการทําบุญ ค. ประเพณีมกัสอดแทรกความเปนชาตนิยิม ง. ประเพณีมกัสอดแทรกความเชื่อทางศาสนา

Page 49: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

22. การสืบสานประเพณี มักมีสาเหตุจากอะไร ก. การเหน็คุณคา ข. การเปนพลเมือง ค. การปฏิบัติประเพณ ี ง.หนาที่และความรับผิดชอบ 23. ปจจัยในขอใดมีอิทธิพลตอ ประเพณยีี่เปง ก. ศาสนา ข. สภาพของภูมิภาค ค. สภาพของภูมิอากาศ ง. ความเชื่อของชุมชนทองถ่ิน 24. วิถีชีวิตของชาวลานนา หมายถึงขอใด ก. การสงเสริม ภูมิปญญาทองถ่ินของชาวลานนา ข. การจัดงานประเพณใีนทองถ่ินของชาวลานนา ค. ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกบัประเพณีของชาวลานนา ง. การประพฤติปฏิบัติของชุมชนทองถ่ินของชาวลานนา 25. ขอใดเปนความเชื่อแบบเดียวกันกับประเพณีแหนางแมว ก. บุญบั้งไฟ ค. แหพญานาค ข. ชักพระเดือน 6 ง. การแหพระพุทธสิหิงค 26. การรดน้ําดาํหัวในวันสงกรานต มีวัตถุประสงคเพื่อส่ิงใด ก. ขอพรจากผูใหญ ข. ทําบุญใหผูใหญ ค. การเลี้ยงดูผูใหญ ง. ชําระลางใหผูใหญ 27. ภาคใดมกีารจัดงานสงกรานตแบบชาวมอญ ก. ภาคใต ข. ภาคเหนือ ค. ภาคอีสาน ง. ภาคกลาง

Page 50: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

28.ส่ิงใดถูกละเลยในการแตงงานของยุคปจจุบัน ก. ขบวนขันหมาก ข. พิธีรดน้ําหรือหล่ังน้ําสังข ค. พิธีสงตัวเจาสาวและปูทีน่อน ง. การเลี้ยงฉลองพิธีมงคลสมรส 29. ชวงเวลาใดที่เหมาะสมในการการจดทะเบียนสมรส ก. กอนพิธีแตงงาน ข. หลังพิธีแตงงาน ค. ระหวางพธีิแตงงาน ง. ถูกทุกขอ 30. ประเพณใีด ตอไปนี้ตางจากประเพณีอ่ืน ก. ยี่เปง ข. แตงงาน ค. บุญบั้งไฟ ง. สงกรานต

Page 51: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ขอเฉลย จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ประเพณีไทย 1 ค 16 ง 2 ข 17 ง 3 ค 18 ข 4 ค 19 ข 5 ง 20 ง 6 ค 21 ง 7 ค 22 ข 8 ง 23 ก 9 ง 24 ง 10 ข 25 ก 11 ก 26 ก 12 ข 27 ง 13 ข 28 ค 14 ง 29 ค 15 ก 30 ข

Page 52: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ง

- ตาราง แสดงคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค (IOC) ของ แบบทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง ประเพณีไทย

- ตาราง แสดงคาความยากงาย ( p ) และคาอํานาจจําแนก ( r ) ของแบบทดสอบ วัดผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง ประเพณีไทย

- ตาราง แสดงคา p คา q ของแบบทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา และวัฒนธรรมไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง ประเพณีไทย

Page 53: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

แบบตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบเรื่อง ประเพณีไทย ___________________________________________________

คําชี้แจง ขอใหทานพิจารณาขอสอบวาวัดตรงตามจุดประสงคการเรียนรูหรือไม และโปรดระบุผลการพิจารณาขอสอบแตละขอ ถาแนใจวาขอสอบวัดตรงจุดประสงคให +1 ถาแนใจวาขอสอบไมตรงจุดประสงคให –1 และถาไมแนใจวาขอสอบวัดตรงจุดประสงคให 0 โดยกําหนดระดับความเหมาะสมดังนี ้ +1 หมายถึง สอดคลอง 0 หมายถึง ไมแนใจ -1 หมายถึง ไมสอดคลอง

Page 54: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 17 แสดงคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เร่ือง ประเพณไีทย โดยผูเชี่ยวชาญ

ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ∑R IOC

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

3 +1 0 +1 0 +1 3 0.60

4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 5 0 +1 0 +1 +1 3 0.60

6 +1 0 +1 +1 0 3 0.60

7 +1 0 +1 +1 0 3 0.60

8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 9 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 10 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

11 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 12 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 13 0 0 +1 +1 +1 3 0.60

14 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 15 +1 +1 0 +1 +1 4 0.80

16 +1 +1 +1 0 +1 4 0.80

Page 55: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 17 (ตอ) แสดงคาดชันีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค (IOC) ของแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วชิา ภาษาและวฒันธรรมไทย ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่1 เร่ือง ประเพณีไทย โดยผูเชี่ยวชาญ

ผูเชี่ยวชาญ (R) ขอที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 ∑R IOC ______________________________________________________________________________

17 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 18 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 19 +1 +1 0 +1 +1 4 0.80 20 0 +1 +1 0 0 2 0.40

21 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 22 +1 0 0 0 +1 2 0.40

23 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 24 +1 0 +1 +1 +1 4 0.80 25 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 26 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 27 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 28 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 29 0 0 0 +1 +1 2 0.40

30 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

หมายเหตุ เกณฑที่เหมาะสมของคา IOC อยูระหวาง .60 – 1.00

Page 56: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 18 แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจาํแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 เร่ือง ประเพณไีทย

ขอ PH PL p r

1 .70 .37 .54 .34 2 .44 .26 .35 .20 3 .26 .22 .40 .39 4 .70 .37 .54 .34 5 .74 .51 .63 .24 6 .85 .44 .66 .45 7 .74 .44 .59 .31 8 .77 .48 .63 .31 9 .70 .33 .52 .37 10 .52 .14 .31 .42 11 .74 .30 .52 .44 12 .78 .30 .54 .47 13 .48 .22 .35 .29 14 .52 .15 .31 .42 15 .78 .19 .48 .59 16 .96 .63 .82 .52 17 .85 .63 .75 .52 18 .96 .74 .87 .42 19 .96 .67 .85 .52 20 .92 .74 .84 .30 21 .41 .19 .28 .26 22 .78 .41 .60 .39 23 .56 .33 .44 .24 24 .89 .22 .57 .67 25 .78 .30 .54 .47

Page 57: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 18 (ตอ) แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจาํแนก (r) ของแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที ่1 เร่ือง ประเพณไีทย

ขอ PH PL p r

26 .89 .22 .57 .67 27 .89 .41 .67 .54 28 .41 .22 .31 .21 29 .59 .37 .48 .22 30 .56 .19 .36 .40

หมายเหตุ: คา p , r ที่ไดเกิดจากการเปดตารางวิเคราะหขอสอบรายขอของ Chung The - Fan

Page 58: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 19 แสดงคา p คา q ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที ่1 เร่ือง ประเพณไีทย

ขอ จํานวนที่ตอบ ถูก p q pq

1 20 .80 .20 0.16 2 22 .88 .12 0.11 3 20 .80 .20 0.16 4 22 .88 .12 0.11 5 19 .76 .24 0.11 6 20 .80 .20 0.16 7 23 .92 .08 0.47 8 25 1.0 .00 0 9 23 .92 .08 0.47 10 21 .84 .16 0.13 11 24 .96 .04 0.38 12 20 .80 .20 0.16 13 18 .72 .28 0.20 14 23 .92 .08 0.47 15 22 .88 .12 0.11 16 20 .80 .20 0.16 17 22 .88 .12 0.11 18 24 .96 .04 0.38 19 20 .80 .20 0.16 20 18 .72 .28 0.20 21 20 .80 .20 0.16 22 21 .84 .16 0.13 23 24 .96 .04 0.38 24 23 .92 .08 0.47

Page 59: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 19 (ตอ) แสดงคา p คา q ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่1 เร่ือง ประเพณไีทย

ขอ จํานวนที่ตอบ ถูก p q pq

25 25 1.0 .00 0 26 23 .92 .08 0.47 27 18 .72 .28 0.20 28 24 .96 .04 0.38 29 24 .96 .04 0.38 30 25 1.0 .00 0

∑ pq 8.20

จากการใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย จํานวน 30 ขอกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ผานการประเมินวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยแลวจํานวน 25 คน ไดคะแนนรวม ( ∑x = 2069 n = 25 ∑x2 = 45275 )

- หาความแปรปรวน ( Variance ) จากสูตร กลุมทดลอง S1

2 = N ∑x2 – (∑x ) 2 N ( n – 1 ) เมื่อ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน

∑x2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแตละตวัยกกําลังสอง (∑x ) 2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง

N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง แทนคา S1

2 = N ∑x2 – (∑x ) 2 N ( n – 1 ) = 25 (12767) – ( 559) 2 25 ( 25 – 1 )

Page 60: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

= 319175 – 312481 600 = 6694 600 = 11.15 กลุมควบคุม S2

2 = N ∑x2 – (∑x ) 2 N ( n – 1 ) เมื่อ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนน

∑x2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแตละตวัยกกําลังสอง (∑x ) 2 แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง

N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง แทนคา S1

2 = N ∑x2 – (∑x ) 2 N ( n – 1 ) = 25 (9098) – ( 468) 2 25 ( 25 – 1 ) = 227000 – 219024 600 = 7976 600 = 13.29 - หาคาความเชือ่มั่นของแบบทดสอบสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาและวฒันธรรมไทย

โดยคํานวณจากสูตร KR–20 ของคูเดอร ริชารดสันโดยใชสูตร

r n = k [ 1 - ∑ pq ] k – 1 S2

i

Page 61: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

เมื่อ r n แทน คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ

K แทน จํานวนขอของขอสอบจํานวน = 30 ขอ P แทน สัดสวนของผูที่ทําไดในขอหนึ่งๆ หรือ จํานวนคนที่ตอบถูก จํานวนคนทั้งหมด

q แทน สัดสวนของผูที่ทําผิดในขอหนึ่งๆ หรือ 1– p

S2i แทน ความแปรปรวนของเครื่องมือฉบับนั้น

= 24.92

แทนคา r N = 40 [ 1- 5.124 ]

40 – 1 24.92

r N = (1.025)(.7943)

r N = .8142 คาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาและ

วัฒนธรรมไทย เทากับ .81 -หาคา t–test independent โดยใชสูตร (สุรศักดิ์ อมรรัตนและคณะ, 2545, หนา 248)

t =

⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡+

−+

−+−

nnnnsnn

xxS

2121

2

222

11

21

112

)1()1(

t =

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ +

−+−+−

251

251

2252529.13)125(15.11)125(

72.1836.22

t =

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ +

−++

251

251

2252529.13)24(15.11)24(

64.3

Page 62: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

t =

⎥⎦⎤

⎢⎣⎡+252

4896.31860.267

64.3

t = [ ]08.0

4856.58664.3

t = [ ]08.022.12

64.3

t = [ ]97.0

64.3

t = 3.71

คา t ที่ไดจากการคํานวณเทากับ 3.71 คา t ที่ไดจากการเปดตารางเทากับ 2.064 แสดงวา ปฏิเสธสมมุติฐานกลาง ยอมรับสมมุติฐานที่ตัง้ไว คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังการสอน โดยศูนยการเรยีนของกลุมทดลอง

สูงกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05

Page 63: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก จ

- ตาราง ผลการทดสอบผลสัมฤทธิท์างการเรียน วิชา ภาษาและวฒันธรรมไทย ของนกัเรยีนกลุมทดลอง( คือ กลุม ที่ไดรับการสอนแบบศูนยการเรียน) กอน และหลังเรียน - ตาราง แสดงผลการทดสอบของนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุม ( คือกลุม

ควบคุมที่ไดรับการสอนตามแบบปกตแิละกลุมทดลองที่ไดรับการสอนตามแบบศูนยการเรียน )

Page 64: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 20 ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรียน กลุมทดลอง (คือกลุม ที่ไดรับการสอนแบบศูนยการเรยีน) กอนและหลังเรียน

คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรยีน คนที่ คะแนน คนที่ คะแนน

1 13 1 24 2 14 2 20 3 12 3 19 4 11 4 18 5 13 5 24 6 10 6 24 7 13 7 20 8 8 8 23 9 15 9 28 10 11 10 24 11 8 11 28 12 9 12 21 13 5 13 25 14 14 14 20 15 12 15 22 16 11 16 20 17 11 17 20 18 15 18 30 19 13 19 21 20 9 20 27 21 11 21 20

Page 65: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 20 (ตอ) ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา ภาษาและวัฒนธรรมไทยของนักเรียนกลุมทดลอง (คือกลุม ที่ไดรับการสอนแบบศูนยการเรียน) กอนและหลังเรียน

คะแนนกอนเรียน คะแนนหลังเรยีน คนที่ คะแนน คนที่ คะแนน 22 12 22 15 23 13 23 17 24 12 24 18 25 10 25 24

x 11.4 x 22.08

Page 66: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 21 แสดงผลการทดสอบของนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุม ( คือกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนตามแบบปกติและกลุมทดลองที่ไดรับการสอนตามแบบศูนยการเรียน )

คนที่ กลุมทดลอง กลุมควบคุม X1 X1

1 X2 X22

1 24 576 23 529 2 20 400 19 361 3 19 361 10 100 4 18 324 21 441 5 24 576 24 576 6 24 576 22 484 7 20 400 20 400 8 23 529 22 484 9 28 784 23 529 10 24 576 16 256 11 28 784 23 529 12 21 441 17 289 13 25 625 20 400 14 20 400 17 289 15 22 484 18 324 16 20 400 14 196 17 20 400 20 400 18 30 900 20 400 19 21 441 19 361 20 27 729 15 225 21 20 400 21 441 22 24 576 15 225 23 20 400 21 441 24 19 361 12 144 25 18 324 16 256

Page 67: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตาราง 21 (ตอ) แสดงผลการทดสอบของนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุม ( คือกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนตามแบบปกติและกลุมทดลองที่ไดรับการสอนตามแบบศูนยการเรยีน )

กลุมทดลอง กลุมควบคุม EX1 = 559 EX1

2 = 12767 EX2 = 486 EX22 = 9080

X = 22.36 S.D. = 3.33 X = 18.72 S.D. = 3.64

Page 68: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ฉ - ตัวอยางเนื้อหา ประเพณี สงกรานต - ตัวอยาง ชุดการสอนแบบศูนยการเรียน เร่ือง ประเพณี

สงกรานต

Page 69: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตัวอยางประเพณีไทย เรื่อง ประเพณี สงกรานต

3. ประเพณี สงกรานต 3.1 สงกรานตปใหมไทย

สงกรานต เปนประเพณีปใหมของประเทศไทย ลาว พมา กัมพูชา เนื่องจากไดแบบอยางมาจากสงกรานต ประเทศอินเดีย ความหมาย เปนคําภาษาสันสกฤต หมายถึง การผาน หรือ การเคลื่อนยาย ซ่ึงเปนการอุปมาถึงการขึ้นปใหมในความเชื่อของไทย ชวงเวลาของประเพณี ในที่นี้หมายถึง เปนวันที่พระอาทิตยผาน หรือเคลื่อนยายจากราศีมีน เขาสูราศีเมษ โดยวันแรกของเทศกาล ซ่ึงเปนวันที่พระอาทิตยยกขึ้นสูราศีเมษ (ยายจากราศีมีนไปราศีเมษ) เรียกวา “วันมหาสงกรานต” วันถัดมาเรียกวา “วนัเนา” และวันสุดทายซึ่งเปนวันเปลี่ยนจุลศักราช เรียกวา “วันเถลิงศก” จากหลักการขางตนนี้ ทําใหปจจุบันเทศกาลสงกรานตมักตรงกับ

• วันที่ 14 – 16 เมษายน (ยกเวนบางป เชนพ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2555 ที่สงกรานตกลับมาตรงกับวันที่ 13 – 15 เมษายน) อยางไรก็ตามปฏิทินไทยในขณะนี้กําหนดใหเทศกาลสงกรานตตรงกับวันที่ 13 – 15 เมษายน ของทุกป และเปนวันหยุดราชการสงกรานต เปนประเพณีเกาแกของไทย ซ่ึงสืบทอดมาแตโบราณคูมากับประเพณีตรุษจึงมีการเรียกรวมกันวา

Page 70: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ประเพณีตรุษสงกรานต หมายถึง ประเพณีสงทายปเกา และตอนรับปใหมคําวา ตรุษ เปนภาษาทมิฬ แปลวา การสิ้นป

พิธีสงกรานตอดีตและปจจุบัน

• เปนพิธีกรรมที่เกิดขึ้นในสมาชิกในครอบครัว หรือชุมชนบานใกลเรือนเคียง

• แตปจจุบันไดเปลี่ยนไปสูสังคมในวงกวาง และมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อไป ในความเชื่อดั้งเดิมใชสัญลักษณเปนองคประกอบหลักในพิธีไดแก การใชน้ําเปนตัวแทนแกกันกับความหมายของฤดูรอน ชวงเวลาที่พระอาทิตยเคล่ือนเขาสูราศีเมษ ใชน้ํารดใหแกกันเพ่ือความชุมชื่น มีการขอพรจากผูใหญ การรําลึกและกตัญูตอบรรพบุรุษที่ลวงลับ

• ในชีวิตสมยัใหมของสังคมไทยเกดิประเพณีกลับบานในเทศกาลสงกรานต นับวนั สงกรานตเปนวันครอบครัว ในพิธีเดิมมีการสรงน้ําพระที่นําสิริมงคล เพื่อใหเปนการ เร่ิมตนปใหมที่มีความสุข ปจจุบันมีพัฒนาการและมีแนวโนมวา ไดมีการเสริมจน คลาดเคลื่อนบิดเบือนไป เกิดการประชาสัมพันธในเชิงการทองเที่ยววาเปน Water Festival เปนภาพของการใชน้ํา เพื่อแสดงความหมายเพียงประเพณีการเลนน้ํา

• การที่สังคมเปลี่ยนไป มีการเคลื่อนยายที่อยูเขาสูเมืองใหญและถือวันสงกรานตเปนวัน กลับบาน ทําใหการจราจรคับคั่งในชวงวันกอนสงกรานต วันแรกของเทศกาล และวันสุดทายของเทศกาล เกิดอุบัติเหตุทางถนนสูง นับเปนปรากฏการณทางสังคมที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงหลายดานของสังคม นอกจากนี้ เทศกาลสงกรานตยังถูกใชในการสงเสริมการทองเที่ยว ทั้งตอคนไทย และตอนักทองเที่ยวตางประเทศ

Page 71: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3.2 ตํานาน วนัสงกรานต มีนิทานเกาแกเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของวันสงกรานต กลาววา ในสมัยโบราณกาล มีเศรษฐีคนหนึ่ง รํ่ารวยทรัพยสิน แตอาภัพไมมีบุตรไวสืบสกุล ตั้งบานเรือนอยูใกลกับบานนักเลงสุรา ซ่ึงมีบุตรสองคน วันหนึ่งนักเลงสุราเมามายไดกลาววาจาหยาบคายตอเศรษฐีวา“ตัวทานแมมีทรัพยมากมาย แตไมสามารถมีบุตรไวสืบสกุล แตตัวเราถึงแมยากจนแตมีบุตรไวสืบสกุลถึงสองคน” เศรษฐีไดยินดังนั้นก็เกิดความละอาย จึงไดบวงสรวงตอพระอาทิตย พระจันทรตั้งจิตอธิษฐานอยูถึงสามป แตก็ไมสมปรารถนา อยูมาวันหนึ่งพอถึงชวงที่พระอาทิตยยกขึ้นสูราศีเมษ เศรษฐี ไดพาบริวารไปยังตนไทรริมน้ํา พอถึงก็ไดเอาขาวสารลงลางในน้ําเจ็ดครั้ง แลวหุงบูชาอธิษฐานขอบุตรกบัรุกขเทวดา ณ ตนไทรนั้น รุกขเทวดาเห็นใจเศรษฐี จึงเหาะไปเฝาพระอินทรไมชาพระอินทรก็มีเมตตาประทานใหเทพบุตรองคหนึ่งนาม ธรรมบาล ลงไปปฏิสนธิในครรภภรรยาเศรษฐี ไมชาก็คลอดออกมา เศรษฐีตั้งชื่อใหกุมารนอยนี้วา ธรรมบาลกุมาร และไดปลูกปราสาทอยูใกลกับตนไทรริมน้ําใหกุมารนี้อยูอาศัย เมื่อเจริญวัยข้ึนก็ไดเรียนรูซ่ึงภาษานก และเรียนไตรเภทจบ เมื่ออายุไดเจ็ดขวบ ธรรมบาลกุมารไดเปนอาจารยบอกมงคลตางๆ แกคนทั้งหลายอยูมาวันหนึ่ง ทาวกบิลพรหม หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ทาวมหาสงกรานต ทราบวาธรรมบาลกุมารเปนผูมีชื่อเสียง และเปนที่นับถือของมนุษยทั้งหลาย จึงไดลงมาถามปญหากับธรรมบาลกุมาร 3 ขอ หากธรรมบาลกุมารตอบไดก็จะตัดเศียรบูชา แตถาตอบไมไดจะตัดศีรษะธรรมบาลกุมารเสีย ปญหาทั้ง 3 ขอ มีดังนี ้ 1. เวลาเชา ราศีอยูที่ไหน 2. เวลาเที่ยง ราศีอยูที่ไหน 3. เวลาค่ํา ราศีอยูที่ไหน ธรรมบาลกุมาร จึงขอผัดผอนกับทาวกบิลพรหมเปนเวลา 7 วัน เพื่อคิดคนหาคําตอบ ลวงเขาวันที่ 6 ธรรมบาลกุมารก็ลงจากปราสาทมานอนอยูใตตนตาล เขาคิดวา ขอตายในที่ลับยังดีกวาไปตายดวยอาญาทาวกบิลพรหม บังเอิญบนตนไมมีนกอินทรี 2 ตัวผัวเมียเกาะทํารังอยู และกําลังคุยกันถึงเรื่องของตนนางนกอินทรีถามสามีวา พรุงนี้ เราจะไปหาอาหารแหงใด สามีตอบนางนกวาเราจะไปกินเนื้อธรรมบาลกุมาร ซ่ึงทาวกบิลพรหมจะฆาเสีย ดวยแกปญหาไมได นางนกจึงถามวาคําถามที่ทาวกบิลพรหมถามคืออะไร สามีก็เลาใหฟง ซ่ึงนางนกก็ไมสามารถตอบได สามีจึงเฉลยวา 1. เวลาเชา ราศีอยูที่หนา คนทั้งหลายจึงเอาน้ําลางหนา 2. เวลาเที่ยง ราศีจะอยูที่อก คนทั้งหลายจึงเอาแปงและเครื่องหอมประพรมหนาอก

Page 72: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3. เวลาค่ํา ราศีจะอยูทีเ่ทา คนทั้งหลายจึงตองลางเทากอนเขานอน ธรรมบาลกุมารไดยินดังนั้น เกิดความดีใจ จึงจดจําคําเฉลยไว ดวยเหตุนี ้ทาวกบิลพรหม จึงพายแพตองตัดหัวถวายธรรมบาลกุมารตามสัญญา แตศีรษะของทาวกบิลพรหมนั้น ถาตั้งไวบนแผนดิน ไฟก็จะไหมโลก ถาโยนขึ้นไปบนอากาศฝนก็จะแลง ถาทิ้งในมหาสมทุรน้ําก็จะแหง ดังนั้น ทาวกบิลพรหม จึงใหธิดาทั้งเจ็ดนําพานมารองรับศีรษะของตน และสั่งใหคอยผลัดเปลี่ยนกันดูแลรักษา จากนั้นจึงตัดเศียรใหนางทุงษะ ผูเปนธิดาองคโต นางทุงษะก็อัญเชิญพระเศียรทาวกบิลพรหมเวียนขวารอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที แลวเกบ็รักษาไวในถ้ําคันธุลี ในเขาไกรลาศ จากนั้นมาทุกๆ 1 ป ธิดาของทาวกบิลพรหมทั้ง 7 ก็จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาทําหนาที่อัญเชิญพระเศียรทาวกบิลพรหมแหไปรอบเขาพระสุเมรุ เปนเวลา 60 นาที แลวประดิษฐานตามเดิม ในแตละปนางสงกรานตแตละนางจะทําหนาที่ผลัดเปลี่ยนกันตามวันมหาสงกรานต

ขอสังเกตุเก่ียวกับวันสงกรานต ในแตละปนางสงกรานตจะมาในเวลาตางกัน และประทับบนพาหนะ ในลักษณะทาทางแตกตางกัน เชน บางทีนางสงกรานตขี่พาหนะมา บางปยืนมา และบางก็นอนมามีหลักใหพิจารณา ดังนี้ ถานางสงกรานต ยืนมาบนหลังพาหนะ แสดงวา มาในตอนเชาถานางสงกรานต ขี่มาบนพาหนะ แสดงวา มาในตอนบายเลยเที่ยงวันไปแลวถานางสงกรานต นอนมาบนหลังพาหนะ แสดงวา มาในตอนกลางคืน แตยังไมถึงเที่ยงคืนถานางสงกรานต นอนหลับมาบนหลังพาหนะ แสดงวา มาในตอนกลางคืน เลยเที่ยงคืนไปแลว

Page 73: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ความสําคัญของวันสงกรานต 1. เปนวันหยดุพักผอนประจาํปตามประเพณีไทย และถือเปนวนัหยุด ประกอบการงาน หรือธุรกิจทั่วไป 2. เปนวันทําบญุตักบาตร บังสุกุลกระดูกบรรพบุรุษ กรวดน้ําอุทิศสวนกุศลใหแกญาติผูลวงลับ 3. เปนวันแสดงความกตัญูกตเวทีตอบรรพบุรุษ ในวันนี้จะมีการไปรดน้ํา ดําหัวขอพรจากพอแม ญาติผูใหญที่เคารพนับถือ และยังถือเปน วันผูสูงอายุแหงชาติ 4. เปนวันรวมญาติมิตรที่จากไปอยูแดนไกลเพื่อประกอบภาระหนาที่การงานของตน เมื่อถึงวันสงกรานตทุกคนจะกลับมารวมทําบุญสรางกุศล จึงถือเอาวันสงกรานตเปนวันครอบครัว 5. เปนวันอนุรักษวัฒนธรรมไทย และสงเสริมการละเลนตามประเพณีไทย เชน มีการทําบุญตักบาตร รดน้ําดําหัว ชักคะเยอ มอญซอนผา ฯลฯ 6. เปนวันประกอบพิธีทางศาสนา เชน มีการทําบุญตักบาตร การสรงน้ํา พระพุทธรูป สรงน้ําพระสงฆ ขนทรายเขาวัด (กอพระเจดียทราย) รับศีล ปฏิบัติธรรม

ภาพ การรดน้าํดําหัวผูสงูอายุ และ ภาพเดก็กําลังกอเจดียทรายรวมกัน 3.3 กิจกรรมนาสืบสาน 1. การทําบุญตักบาตร ถือวา เปนการสรางบุญสรางกุศลใหตัวเอง และอุทิศสวนกุศลนั้น แกผูลวงลับไปแลว โดยการนําอาหารไปตักบาตรถวายพระภิกษุที่ศาลาวัด ซ่ึงจัดเปนที่รวมสําหรับทําบุญ ในวันนี้หลังจากที่ไดทําบุญเสร็จแลว ก็จะมีการกอพระเจดียทรายซึ่งเปนการขนทรายเขาวัด

Page 74: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

สําหรับไวใชในการกอสรางโบสถวิหาร กลาวกันวา การขนทรายเขาวัดเพื่อเปนนิมิตโชคลาภ ใหมีความสุขความเจริญ เงินทองไหลมาเทมาดุจทรายที่ขนเขาวัด การปลอยนกปลอยปลา ถือเปนการลางบาปที่ทําไว เปนการสะเดาะเคราะหราย ใหมีแตความสุขความสบายในวันขึ้นปใหม 2. การสรงน้ําพระพุทธรูป จะนําดอกไมธูปเทียนไปบูชา แลวเอาน้ําอบประพรมที่องคพระ เพื่อความเปนสิริมงคล บางแหงมีการอัญเชิญพระพุทธรูปแหรอบหมูบานเพื่อใหชาวบานไดมีโอกาสสรงน้ํากันอยางทั่วถึง หรือจะอันเชิญพระพุทธรูปที่บาน มาทําพิธีสรงน้ํากันในหมูญาติพี่นองก็ได 3. การสรงน้ําพระสงฆ ชาวบานจะไปชุมนุมกันที่วัด นิมนตพระในวัดมายังสถานที่ประกอบพิธี โดยรดน้ําที่มือของพระ น้ําที่ใชตองเปนน้ําสะอาดผสมน้ําอบไทย เมื่อสรงน้ําแลวพระทานก็จะใหศีลใหพรเพื่อความเปนสิริมงคล 4. การรดน้ําญาติผูใหญและผูที่เคารพนับถือ คือ การไปขอขมาในสิ่งที่ไดลวงเกินไปแลว หรือขอศีลขอพรจากผูใหญที่เคารพนับถือ ซ่ึงหมายรวมถึง บิดามารดา ปูยาตายาย ครูบาอาจารย หรือญาติผูใหญ การรดน้ําจะเชิญผูใหญนั่งลงแลวผูที่รดก็จะเอาน้ําหอมน้ําอบเจือกับน้ํารดที่มือทาน ทานจะใหศลีใหพร ซ่ึงถือวา เปนการแสดงความเคารพผูมีอาวุโสและผูมีพระคุณตามธรรมเนียมอันดีงามของไทย 5. การเลนสาดน้ําสําหรับหนุมสาว หลังจากทําพิธีสรงน้ําพระพุทธรูป สรงน้ํา พระสงฆ และรพน้ําขอพรจากญาติผูใหญแลว พวกหนุมๆ สาวๆ ก็จะเลนสาดน้ํากันอยางสนุกสนานน้ําที่นํามาสาดกันนั้นตองเปนน้ําสะอาดผสมน้ําอบมีกล่ินหอม สงกรานต 4 ภาค 1. สงกรานตภาคเหนือ (สงกรานตลานนา) หรือ ประเพณีปใหมเมืองอันโดดเดนเปนเอกลักษณ เร่ิมตั้งแต วันสังขารลอง (13 เม.ย.) ที่มีการทําความสะอาดบาน เพื่อความเปนสิริมงคล วันเนา หรือ วันเนา (14 เม.ย.) วันที่หามใครดาทอวาราย เพราะจะทําใหโชครายไปตลอดทั้งป วันพญาวัน หรือ วันเถลิงศก (15 เม.ย.) วันนี้ชาวบานจะตื่นแตเชาทําบุญ ตักบาตร เขาวัดฟงธรรม กอนจะไปรดน้ําดําหัวขอขมาญาติผูใหญในชวงบาย วันปากป(16 เม.ย.) ชาวบานจะพากันไปรดน้ําเจาอาวาสตามวัดตางๆ เพื่อขอขมาคารวะ และ วันปากเดือน(17 เม.ย.) เปนวันที่ชาวบานสงเคราะหตางๆ ออกไปจากตัวเพื่อปดฉากประเพณีสงกรานตลานนา

Page 75: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาพ บรรยากาศสงกรานตแบบดั่งเดิม ในภาคเหนือ

2. สงกรานตภาคอีสาน นิยมจัดกันอยางเรียบงาย แตวามากไปดวยความอบอุน โดยคนอีสานจะเรียกประเพณีสงกรานตวา บุญเดือนหา หรือ ตรุษสงกรานต และจะถือฤกษในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 5 เวลาบาย 3 โมง เปนเวลาเริ่มงานโดยพระสงฆจะตีกลองโฮม เปดศักราชจากนั้นญาติโยมจะจัดเตรียมน้ําอบหาบไปรวมกนัที่ศาลาวัดเพื่อสรงน้ําพระพุทธรูป แลวตอดวยการรดน้ําดําหัว ปู ยา ตา ยาย และญาติผูใหญ เพื่อขอขมาลาโทษจากนั้นก็จะเปนการเลนสาดน้ําสงกรานตกันอยางสนุกสนาน

ภาพ หนุมสาวชาวอีสานในชดุพื้นเมืองเลนสาดน้ํา

3. สงกรานตภาคใต ตามความเชื่อของประเพณีสงกรานตแบบดั้งเดิมที่ภาคใตแลว สงกรานตเปนชวงเวลาแหงการผลัดเปลี่ยนเทวดาผูรักษาดวงชะตาบานเมือง พวกเขาจึงถือเอาวันแรกของสงกรานต (13 เม.ย. เปน วันสงเจาเมืองเกา โดยจะทําพิธีสะเดาะเคราะหส่ิงไมดีออกไป สวน วนัวาง (14 เม.ย.) ชาวใต เชน นครศรีธรรมราชจะไปทําบุญตักบาตรที่วัด และสรงน้ําพระพุทธรูปและวันสุดทายเปน วันรับเจาเมืองใหม (15 เม.ย.) จะทําพิธีตอนรับเทวดาองคใหมดวยการแตงองคทรงเครื่องอยางสวยงามสงทายประเพณีสงกรานต

Page 76: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาพ ขบวนแหประกวดเทพีสงกรานต ในจังหัดนครศรีธรรมราช

4. สงกรานตภาคกลาง เร่ิมขึ้นในวันที่ 13 เมษายน เปนวัน มหาสงกรานตวันที่ 14 เปน วันกลาง หรือ วันเนา วันที่ 15 เปน วันเถลิงศก ทั้ง 3 วันประชาชนจะประกอบพิธีทางศาสนา มีการทําบุญตักบาตร ปลอยนกปลอยปลา การกรวดน้ําอุทิศสวนกุศล ใหแกญาติผูลวงลับ การสรงน้ําพระ และการขนทรายเขาวัดกอพระเจดียทราย

ภาพ การเลนน้ําสงกรานตแบบดั่งเดิม ในชุดพืน้เมืองภาคกลาง

Page 77: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

3.4 ผูกสัมพันธ วันครอบครวั

3.4.1 ความสําคัญของวันครอบครัว

ครอบครัว คือ สถาบันมูลฐานของมนุษยชาติ เปนหนวยขนาดเล็กที่สุดของสังคม เปนผูสรางและกําหนดสถานภาพ สิทธิ หนาที่ของบุคคลอันพึงปฏิบัติตอกันในสังคม เปน สถาบันแหงแรกในการถายทอดวัฒนธรรมและพัฒนา ผูรวมครัวเรือน คือ สามี ภรรยา และบุตร การที่ทางราชการกําหนดวันครอบครัวขึ้นมานั้น เนื่องจากตองการใหประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญของครอบครัวใหมากขึ้น เพราะการที่วิถีชีวิตของคนในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไป ยอมทําใหครอบครัวมีความขัดแยง และหางเหินกันมากขึ้น ซ่ึงอาจกอใหเกิดปญหาสังคมตามมาทีหลังได

3.4.2 ประวัติวันครอบครัว

เมื่อ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2532 คณะรัฐมนตรี ซ่ึงมีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนายกรัฐมนตรีไดเสนอมติโดยคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น เปนผูเสนอ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบดวยและอนุมัติ ให วันที่ 14 เมษายน ของทุกป เปนวันแหงครอบครัว ซ่ึงตรงกับวันสงกรานตของไทย เพราะโดยสวนใหญในวันนี้เปนวันที่สมาชิกในครอบครัวมีโอกาสพบปะกันไดโดยสะดวก การ ที่ทางราชการกําหนดวันครอบครัวข้ึนมานั้น เนื่องจากคณะกรรมมาธิการกิจการสตรีและเยาวชน สภาผูแทนราษฎร ไดสรุปผลจากการศึกษาปญหาเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน วาปญหาครอบครัวเปนปญหาหนึ่งที่สําคัญที่กอใหเกิดเหตุการณตาง ๆ ตามมาเปนอันมาก ไมวาจะเปนปญหายาเสพติดอาชญากรรม และปญหาตาง ๆ อีกมากมาย

Page 78: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ปญหาเหลานี้สวนหนึ่งเกิดจากครอบครัวดวย เนื่องจากครอบครัว ที่ไมมีความอบอุน ขัดแยง ความไมเขาใจกันระหวางคนในครอบครัว อีกทั้งลักษณะวิถีชีวิตของครอบครัวในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก สมาชิกในครอบครัวตางตองดิ้นรนทํามาหาเลี้ยงชีพ หนุมสาวที่อยูตางจังหวัดก็เขามาในเมืองเพื่อหางานทํา ทําใหตองทิ้งพอแมที่ชราภาพไวตามลําพัง พอแมที่ตองทํางานหนักเพื่อเปนคาใชจายสําหรับลูก และครอบครัว ไมมีเวลาสั่งสอนอบรมลูก ซ่ึงส่ิงเหลานี้ลวน แตจะสรางปญหาใหกับสังคม

3.4.3 ความหมายทั่วไป

บบพจนานุกรม]]ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายของคําวา "สถาบัน" และ "ครอบครัว" ไวดังนี้

สถาบัน หมายถึง ส่ิงซึ่งคนในสวนรวม คือ สังคมจัดตั้งใหมีขึ้นเพราะเห็นประโยชนวามีความตองการและจําเปนแกวิถีชีวิตของตน เชน สถาบนัครอบครัว ฯลฯ

ครอบครัว หมายถึง ผูรวมครัวเรือน คือ สามี ภรรยา และบุตร

3.4.4 ความหมายในแงสถาบัน

ครอบครัว หมายถึง การอยูรวมกันของชายหญิง ในรูปของสามี ภรรยา มีหนาที่ใหกําเนิดบุตรและเลี้ยงดูบุตร เพื่อใหสามารถดํารงชีพอยูในสังคมได สมาชิกในครอบครัวมีการแสดงออกทางพฤติกรรมตอกันและกัน ในรูปของการปฏิบัติตามสถานภาพและบทบาทอันเปนหนาที่ของสมาชิก ครอบครัว คือ สถาบันมูลฐานของมนุษยชาติ เปนหนวยงานขนาดเล็กที่สุดของสังคม เปน

Page 79: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ผูสรางและกําหนดสถานภาพ สิทธิ หนาที่ของบุคคลอันพึงปฏิบัติตอกันในสังคม เปน สถาบันแหงแรกในการถายทอดวัฒนธรรมและพัฒนา ผูรวมครัวเรือน คือ สามี ภรรยา และบุตร การที่ทางราชการกําหนดวันครอบครัวขึ้นมานั้น เนื่องจากตองการใหประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญ

การที่ทางราชการกําหนดวันครอบครัวข้ึนมานั้น เนื่องจากตองการใหประชาชนไดตระหนักถึงความสําคัญ ของครอบครัวใหมากขึ้นเพราะการที่วิ ถีชีวิตของคนในสังคมไทยเปล่ียนแปลงไป ยอมทําใหครอบครัวมีความขัดแยง และหางเหินกันมากขึ้น ซ่ึงอาจกอใหเกิดปญหาสังคมตามมาทีหลังได

บทบาทหนาท่ีของสมาชิกในครอบครัวท่ีพึงปฏบิัตติอกัน

1. ใหความรัก ความอบอุนและความเอื้ออาทรตอกัน 2. หันหนาเขาหากนัและยอมรับฟงความคิดเหน็ซึ่งกันและกัน 3. ชวยเหลือ ดูแล เกื้อกูล ซ่ึงกันและกัน 4. ดูแลเอาใจใสและใหเวลากับครอบครัวมากขึ้น 5. รูจักวางแผนการใชจายอยางประหยัด/ไมฟุมเฟอย 6. รูจักใหอภยัซ่ึงกันและกัน 7. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธในครอบครัวรวมกันเชน การเขาวดัอบรมปฏิบัติธรรมนําครอบครัวอบอุนครอบครัวสนุกกบัหองสมุด ศิลปะสุดสัปดาห

Page 80: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

หลักในการปฏบิัติในชีวิตประจําวันท่ีงาย ๆ สําหรับครอบครัวคือ ใชหลกั 5 อ.

1. อ. อภัย เมื่อฝายหนึ่งฝายใดทําผิดพลาดไปบางใหนึกถึงคําวาอภยัเสมอ และจะไมนําเอาสิ่งที่ผิดพลาดนั้นมาพูดซ้ําเติมอีก

2. อ. เอ้ือเฟอ สมาชิกทุกคนในครอบครัว ตองชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยาคิดวาไมใชเร่ืองของฉันไมใชหนาที่ของฉัน ฉันไมเกี่ยวเชน คุณพอซักผา แมถูบาน ลูกลางจาน อยาคิดวาเปนงานของใครคนใดคนหนึ่ง

3. อ. อารมณขัน ฝกใหมีอารมณขันเสียบาง มีการกระเซาเยาแหยกันบางในบางโอกาสอาจเปนทั้งพอทั้งแม เพื่อนและพี่สําหรับลูกกไ็ด

4. อ. อดทน อดกลั้น อดออม ชีวิตครอบครัวที่จะตองมี 3 อ นี้ดวย อดทนตอความยากลําบากตาง ๆ ในครอบครัวอดกลั้นตอส่ิงที่มากระทบจากฝายใดฝายหนึ่งหรือกิเลสที่มากระตุนเราใหหลุมหลง และใหรูจักอดออมเงินทองที่หามาไดแบงไวใชเปนสัดสวน สวนที่หนึ่ง ใชจายในครอบครัวสวนที่สองสําหรับการศึกษาของบุตร สวนที่สามสําหรับคารักษาพยาบาลเมื่อยามเจ็บไข สวนที่ส่ีบริจาคทานทําบุญสรางกุศลไวเปนเสบียง เมื่อยามจะจากโลก นี้ไป แลวอีกสวนหนึ่ง เก็บออมไวใชเมื่อยามแกเฒา

5. อ. อบอุน เมื่อเราปฏิบัติได 4 อ. ขางตนแลว อ.ที่ 5 ก็จะตามมาอยางแนนอน คอื อบอุน เมื่อสมาชิก ทุกคนรูหนาที่และบทบาทของตัวเองแลว ชีวิตครอบครัวก็คงหนีไมพนคําวา “สุขภาพจิตเร่ิมตนที่บาน” ดังคําขวัญที่วาไวอยางแนนอน

กิจกรรมในวันครอบครัว

ภาพ ครอบครัวสุขสันต

Page 81: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

1. จัดนิทรรศการเพื่อใหประชาชนเกดิความรู ความเขาใจในบทบาท หนาที่ ของสมาชิกในครอบครัว

2. จัดมอบรางวัลใหสําหรับครอบครัวดีเดน เพื่อยกยองเชิดชูเกียรติครอบครัวที่ทําคุณประโยชนแกสังคม

จากหลักในการปฏิบัติในชีวิตประจําวันจะเห็นไดวา สมาชิกทุกคนในครอบครัวตางมีบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบและความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน โดยเฉพาะการเสียสละเวลาแกครอบครัวเพื่อสรางความสุขความสัมพันธที่ดีของสมาชิกในบาน เพราะการไดมีเวลาอยูดวยกันมากเทาใดทุกคนในครอบครัวจะมีโอกาสไดพูดคุยอบรมสั่งสอน รับฟงความคิดเห็น ใหความชวยเหลือหรือมีคําแนะนําที่ดีใหแกกัน สรางความผูกพัน ความรักใครสามัคคีและที่สําคัญคือเปนแบบอยางที่ดีแกลูกหลาน เมื่อเขาเจริญเติบโตขึ้นในอนาคต วันครอบครัว จึงถือเปนวันที่มีความสําคัญวันหนึ่งที่ทุกคนควรใหความสําคัญเพราะเปนวันที่รวมความหมายของความอบอุนในครอบครัวเพื่อมอบแกสมาชิกทุกคนในครอบครัว ซ่ึงไมเพียงแตเฉพาะในวันครอบครัวเทานั้น แตหมายถึงทุกวันที่มีโอกาสดวย

Page 82: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ตัวอยาง ชดุการสอนแบบศนูยการเรียน เร่ือง ประเพณสีงกรานต

ศูนยท่ี 1 สงกรานต ปใหมไทย

บัตรคําสั่ง

1. อานเนื้อหาใหเขาใจ 2. อานกิจกรรมแลวปฏิบัติตามคําสั่ง 3. ศึกษาภาพของประเพณภีาคตางๆของไทย ใหเขาใจ 4. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ใหเก็บสื่อการเรียนใหเรียบรอย และคงอยูในสภาพเดิม 5. ขณะเปลี่ยนศนูย ขอใหเปนไปโดยความเรียบรอย ไมสงเสียงรบกวนศูนยอ่ืน และนํา

กระดาษคําตอบ ติดตัวไปดวย

บัตรเนื้อหา

สงกรานต : เปนคําสันสกฤต หมายถึง การผาน หรือ การเคลื่อนยาย ซ่ึงเปนอุปมาการขึ้นปใหมในความเชื่อของ ไทย ชวงเวลาของประเพณี : เปนวันที่พระอาทิตยผาน หรือเคลื่อนยายจากราศีมนี เขาสูราศีเมษ โดยวนัแรกของเทศกาล ซ่ึงเปนวันที่ดวงอาทติยยกขึ้นสูราศีเมษ (ยายจากราศีมีนไปราศีเมษ) เรียกวา “วันมหาสงกรานต” วันถัดมาเรียกวา “วันเนา” และวนัสุดทายซ่ึงเปนวนัเปลี่ยนจุลศักราช เรียกวา “วนัเถลิงศก” จากหลักการขางตนนี ้ทําใหปจจุบันเทศกาลสงกรานตมักตรงกับวนัที ่ 14 – 16 เมษายน อยางไรก็ตามปฏิทินไทยในขณะนีก้ําหนดใหเทศกาลสงกรานตตรงกับวันที ่13 – 15 เมษายน ของทุกป และเปนวันหยุดราชการสงกรานต เปนประเพณีเกาแกของไทย ซ่ึงสืบทอดมาแตโบราณคูมากบัประเพณตีรุษจึงมีการเรยีกรวมกันวา ประเพณีตรุษสงกรานต หมายถึง ประเพณีสงทายปเกา และตอนรบัปใหมคําวา ตรุษ เปนภาษาทมิฬ แปลวา การสิ้นป

บัตรกิจกรรม

ใหนกัเรียนเขียนถึงความสาํคัญของวันสงกรานต มา1 ตัวอยาง พรอมทั้งอธิบายเหตุประกอบ เชน เปนวันที่ทุกคนกลบับานเกิด เพื่อไปเยีย่มพี่นอง เปนตน

Page 83: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรคําถาม เร่ือง สงกรานตปใหมไทย

คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด โดยตอบในกระดาษคําตอบที่เตรียมให 1.คําวา “ตรุษ” มีความหมายสอดคลองกับขอใด ก. จบ ข. ส้ินป ค. ลาจาก ง. เร่ิมตนป 2.เหตุใดประเพณีสงกรานต จึงเปนประเพณีที่ควรอนุรักษและสงเสริมใหอยูคูกับคนไทย ก. เปนการสนบัสนุนใหผูที่อยูไกลบานไดเดินทางกลับบาน ข. เปนประเพณีที่ทุกคนสามารถรวมกันทําบุญไดอยางเตม็ที่ ค. เปนการแสดงใหเห็นถึงความรักและความสามัคคีของคนในชาต ิ ง. เปนการสงเสริมการละเลนตามประเพณีไทยและแสดงใหเห็นถึงความกตัญู ตอบรรพบุรุษ 3.วันสุดทายซึ่งเปนวนัเปลี่ยนจุลศักราช เรียกวา วันอะไร

ก. “วันเนา” ข. “วันมหาสงกรานต” ค. “วันเถลิงศก” ง. “วนัตรุษ”

4.วันแรกของเทศกาล ซ่ึงเปนวันทีด่วงอาทติยยกขึ้นสูราศีเมษ (ยายจากราศีมีนไปราศีเมษ) เรียกวา วันอะไร

ก. “วันเนา” ข. “วันมหาสงกรานต” ค. “วันเถลิงศก” ง. “วนัตรุษ”

5.วันถัดมาจากวันแรก เปนวันอะไร ก. “วันเนา” ข. “วันมหาสงกรานต” ค. “วันเถลิงศก” ง. “วนัตรุษ”

บัตรคําตอบ เฉลย

1. ข 2. ง 3. ค 4. ข 5. ก

Page 84: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรรูปภาพ

เร่ือง : สงกรานตปใหมไทย

การรดน้ําดาํหัวผูสูงอาย ุส่ือใหเหน็ถึงความกตัญูรูคุณ เปนการแสดงออกถึงการเคารพนบนอบตอผูอาวุโส โดยประเพณดีังกลาวมักจะสอดแทรกถึงคุณธรรมและความรกัและผูกพนัธระหวางญาต

มิตรและคนในชุมชนอีกดวย

Page 85: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ศูนยท่ี 2 ตํานาน วันสงกรานต

บัตรคําสั่ง 1. อานเนื้อหาใหเขาใจ 2. อานกิจกรรมแลวปฏิบัติตามคําสั่ง 3. ศึกษาเนื้อหา ตํานาน วนัสงกรานต ใหเขาใจ 4. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ใหเก็บสื่อการเรียนใหเรียบรอย และคงอยูในสภาพเดิม 5. ขณะเปลี่ยนศนูย ขอใหเปนไปโดยความเรียบรอย ไมสงเสียงรบกวนศูนยอ่ืน และนํา

กระดาษคําตอบ ติดตัวไปดวย

บัตรเนื้อหา ตํานานวนัสงกรานต : มีนิทานเกาแกเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของวันสงกรานต กลาววา ในสมัยโบราณกาล มีเศรษฐีคนหนึ่ง รํ่ารวยทรัพยสิน แตอาภัพไมมีบุตรไวสืบสกุล อยูมาวันหนึ่งพอถึงชวงที่พระอาทิตยยกขึ้นสูราศีเมษ เศรษฐ ีไดพาบริวารไปยังตนไทรริมน้ํา พอถึงก็ไดเอาขาวสารลงลางในน้ําเจ็ดครั้ง แลวหุงบูชาอธษิฐานขอบุตรกับรุกขเทวดา ณ ตนไทรนั้น ไมชาพระอินทรกม็ีเมตตาประทานใหเทพบุตรองคหนึ่งนาม ธรรมบาล ลงไปปฏิสนธิในครรภภรรยาเศรษฐี ไมชาก็คลอดออกมา เศรษฐีตั้งชื่อใหกุมารนอยนีว้า ธรรมบาลกุมาร และไดปลูกปราสาทอยูใกลกบัตนไทรริมน้าํใหกุมารนี้อยูอาศัยทาวมหาสงกรานต ทราบวาธรรมบาลกุมารเปนผูมีช่ือเสียง และเปนที่นับถือของมนุษยทั้งหลาย จึงไดลงมาถามปญหากับธรรมบาลกุมาร 3 ขอ หากธรรมบาลกุมารตอบไดกจ็ะตัดเศียรบูชา แตถาตอบไมไดจะตัดศรีษะธรรมบาลกุมารเสีย ปญหาทั้ง 3 ขอ มีดังนี1้. เวลาเชา ราศีอยูทีไ่หน2. เวลาเทีย่ง ราศีอยูที่ไหน3. เวลาค่ํา ราศีอยูที่ไหน ธรรมบาลกุมาร จึงขอผัดผอนกับทาวกบิลพรหมเปนเวลา 7 วัน เพื่อคิดคนหาคําตอบ ลวงเขาวันที ่6 ธรรมบาลกุมารก็ลงจากปราสาทมานอนอยูใตตนตาล เขาคิดวา ขอตายในที่ลับยังดกีวาไปตายดวยอาญาทาวกบิลพรหม บังเอิญบนตนไมมีนกอินทรี 2 ตัวผัวเมียเกาะทํารังอยู และกําลังคุยกันถึงเรื่องของตนนางนกอินทรีถามสามีวา พรุงนี้ เราจะไปหาอาหารแหงใด สามีตอบนางนกวาเราจะไปกินเนื้อธรรมบาลกุมาร ซ่ึงทาวกบิลพรหมจะฆาเสีย ดวยแกปญหาไมได นางนกจงึถามวาคําถามที่ทาวกบิลพรหมถามคืออะไร สามีก็เลาใหฟง ซ่ึงนางนกก็ไมสามารถตอบได สามีจึงเฉลยวา

Page 86: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรเนื้อหา(ตอ)

1. เวลาเชา ราศีอยูที่หนา คนทั้งหลายจึงเอาน้ําลางหนา 2. เวลาเที่ยง ราศีจะอยูที่อก คนทั้งหลายจึงเอาแปงและเครื่องหอมประพรมหนาอก 3. เวลาค่ํา ราศีจะอยูทีเ่ทา คนทั้งหลายจึงตองลางเทากอนเขานอน ธรรมบาลกุมารไดยินดังนั้น เกิดความดีใจ จึงจดจําคําเฉลยไว ดวยเหตุนี ้ทาวกบิลพรหม จึงพายแพตองตัดหัวถวายธรรมบาลกุมารตามสัญญา แตศีรษะของทาวกบิลพรหมนั้น ถาตั้งไวบนแผนดนิ ไฟก็จะไหมโลก ถาโยนขึ้นไปบนอากาศฝนก็จะแลง ถาทิ้งในมหาสมุทรน้ําก็จะแหง ดังนัน้ ทาวกบิลพรหม จึงใหธิดาทั้งเจ็ดนําพานมารองรับศีรษะของตน และสั่งใหคอยผลัดเปลี่ยนกนัดูแลรักษา จากนั้นจึงตัดเศยีรใหนางทุงษะ ผูเปนธิดาองคโต นางทุงษะก็อัญเชิญพระเศียรทาวกบิลพรหมเวยีนขวารอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที แลวเก็บรักษาไวในถํ้าคันธุลี ในเขาไกรลาศ จากนั้นมาทุกๆ 1 ป ธิดาของทาวกบิลพรหมทั้ง 7 ก็จะผลัดเปลี่ยนหมนุเวยีนมาทําหนาที่อัญเชิญพระเศียรทาวกบิลพรหมแหไปรอบเขาพระสุเมรุ เปนเวลา 60 นาที แลวประดิษฐานตามเดิม ในแตละปนางสงกรานตแตละนางจะทําหนาที่ผลัดเปลี่ยนกันตามวันมหาสงกรานต

บัตรกิจกรรม

คําชี้แจง : เมื่อนักเรียนอานบัตรเนื้อหาแลว ใหอภิปรายในประเดน็ตอไปนี ้

1. เพราะเหตุใด ธรรมบาลกุมาร จึงสามารถตอบคําถามทาวกบิลพรหมได 2. นักเรียนคิดวา ราศีเชา ราศีเที่ยงและราศีค่ํา มีความสําคัญตอวิถีชีวิต คนไทยอยางไร 3. จํานวน นางสงกรานต มีกี่นาง จากขอสันนิฐานแลวนางสงกรานตนาจะหมายถึงอะไร

Page 87: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ศูนยท่ี 3 ตํานาน วันสงกรานต

บัตรคําสั่ง 1. อานเนื้อหาใหเขาใจ 2. อานกิจกรรมแลวปฏิบัติตามคําสั่ง 3. ศึกษาเนื้อ กิจกรรมนาสืบสาน ใหเขาใจ 4. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ใหเก็บสื่อการเรียนใหเรียบรอย และคงอยูในสภาพเดิม 5. ขณะเปลี่ยนศนูย ขอใหเปนไปโดยความเรียบรอย ไมสงเสียงรบกวนศูนยอ่ืน และนํา

กระดาษคําตอบ ติดตัวไปดวย

บัตรเนื้อหา

สงกรานต4 ภาค : 1. สงกรานตภาคเหนือ (สงกรานตลานนา) หรือ ประเพณปีใหมเมืองอันโดดเดนเปนเอกลักษณ เร่ิมตั้งแต วันสังขารลอง (13 เม.ย.) ที่มีการทําความสะอาดบาน เพื่อความเปนสิริมงคล วนัเนา หรือ วันเนา (14 เม.ย.) วันที่หามใครดาทอวาราย เพราะจะทําใหโชครายไปตลอดทั้งป วันพญาวัน หรือ วนัเถลิงศก (15 เม.ย.) วันนี้ชาวบานจะตืน่แตเชาทําบุญตักบาตร เขาวัดฟงธรรม กอนจะไปรดน้ําดําหัวขอขมาญาติผูใหญในชวงบาย วันปากป(16 เม.ย.) ชาวบานจะพากันไปรดน้ําเจาอาวาสตามวัดตางๆ เพื่อขอขมาคารวะ และ วันปากเดือน(17 เม.ย.) เปนวันที่ชาวบานสงเคราะหตางๆ ออกไปจากตวัเพื่อปดฉากประเพณีสงกรานตลานนา

ภาพ บรรยากาศสงกรานตแบบดั่งเดิม ในภาคเหนือ

Page 88: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรเนื้อหา(ตอ) 2. สงกรานตภาคอีสาน นิยมจัดกันอยางเรียบงาย แตวามากไปดวยความอบอุน โดยคนอีสานจะเรียกประเพณีสงกรานตวา บุญเดอืนหา หรือ ตรุษสงกรานต และจะถือฤกษในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 5 เวลาบาย 3 โมง เปนเวลาเริ่มงานโดยพระสงฆจะตีกลองโฮม เปดศักราชจากนั้นญาติโยมจะจดัเตรียมน้าํอบหาบไปรวมกันที่ศาลาวดัเพื่อสรงน้ําพระพุทธรูป แลวตอดวยการรดน้ําดําหวั ปู ยา ตา ยาย และญาติผูใหญ เพือ่ขอขมาลาโทษจากนั้นกจ็ะเปนการเลนสาดน้ํา สงกรานตกันอยางสนุกสนาน

ภาพ หนุมสาวชาวอีสานในชดุพื้นเมืองเลนสาดน้ํา

3. สงกรานตภาคใต ตามความเชื่อของประเพณีสงกรานตแบบดั้งเดิมทีภ่าคใตแลว สงกรานตเปนชวงเวลาแหงการผลัดเปลี่ยนเทวดาผูรักษาดวงชะตาบานเมือง พวกเขาจงึถือเอาวันแรกของสงกรานต (13 เม.ย. เปน วันสงเจาเมืองเกา โดยจะทําพิธีสะเดาะเคราะหส่ิงไมดีออกไป สวน วันวาง (14 เม.ย.) ชาวใต เชน นครศรีธรรมราชจะไปทําบุญตักบาตรที่วัด และสรงน้ําพระพทุธรูปและวันสุดทายเปน วนัรับเจาเมืองใหม (15 เม.ย.) จะทําพิธีตอนรับเทวดาองคใหมดวยการแตงองคทรงเครื่องอยางสวยงามสงทายประเพณีสงกรานต

ภาพ ขบวนแหประกวดเทพีสงกราต ในจังหัดนครศรธีรรมราช

Page 89: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรเนื้อหา(ตอ)

4. สงกรานตภาคกลาง เร่ิมขึ้นในวันที ่13 เมษายน เปนวนั มหาสงกรานตวันที ่14 เปน วันกลาง หรือ วันเนา วันที่ 15 เปน วันเถลิงศก ทั้ง 3 วันประชาชนจะประกอบพิธีทางศาสนา มีการทําบุญตักบาตร ปลอยนกปลอยปลา การกรวดน้ําอุทศิสวนกุศล ใหแกญาติผูลวงลับ การสรงน้ําพระ และการขนทรายเขาวดักอพระเจดยีทราย

ภาพ การเลนน้ําสงกรานตแบบดั่งเดิม ในชุดพืน้เมืองภาคกลาง

บัตรกิจกรรม

คําชี้แจง : เมื่อนักเรียนอานบัตรเนื้อหาแลว ใหอภิปรายในประเดน็ตอไปนี ้

1. ใหนกัศึกษาดภูาพเกีย่วกับสงกรานตภาคตางๆ 2. ใหนกัเรียนอภิปรายถึงความเหมือนและความตางเกีย่วกับประเพณีสงกรานตแตละภาคของ

ไทย 3. ใหนกัเรียนอภิปรายผลที่เกดิขึ้น จากการเฉลิมฉลองเทศกาลสงกรานตของไทยในปจจุบัน หมายเหตุ : เลขานุการกลุมสงสรุปความคิดเห็นของกลุมนําสงครู

Page 90: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ศูนยท่ี 4 ผูกสัมพันธวันครอบครัว

บัตรคําสั่ง 1. อานเนื้อหาใหเขาใจ 2. อานกิจกรรมแลวปฏิบัติตามคําสั่ง 3. ศึกษาภาพของประเพณภีาคตางๆของไทย ใหเขาใจ 4. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว ใหเก็บสื่อการเรียนใหเรียบรอย และคงอยูในสภาพเดิม 5. ขณะเปลี่ยนศนูย ขอใหเปนไปโดยความเรียบรอย ไมสงเสียงรบกวนศูนยอ่ืน และนํา

กระดาษคําตอบ ติดตัวไปดวย

บัตรเนื้อหา วันครอบครัว : วันครอบครัวมีวัตถุประสงคในการจัดตั้ง คือ ดําเนินการใหสถาบันครอบครัวซ่ึงเปนหนวยยอยที่สุดในสังคม เปนสถาบันที่สมาชิกในครอบครัวจําเปนที่จะตอง ตระหนักถึงบทบาท หนาที่และความรับผิดชอบตอตนเองและสมาชิกคนอื่นๆที่อยูรวมกนั ชวงเวลา : เมื่อ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2532 รัฐบาลไดกําหนดใหวันที่ 14 เมษายน ของทุกป เปนวันแหงครอบครัว ซ่ึงตรงกับวันสงกรานตของไทย เพราะโดยสวนใหญในวันนี้เปนวันที่สมาชิกในครอบครัวมีโอกาสพบปะกนัไดโดยสะดวก

ความหมาย : พจนานกุรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ไดใหความหมายของคําวา "สถาบัน" และ "ครอบครัว" ไวดังนี ้ สถาบัน หมายถึง ส่ิงซึ่งคนในสวนรวม คือ สังคมจัดตั้งใหมีขึ้นเพราะเห็นประโยชนวามคีวามตองการและจําเปนแกวิถีชีวิตของตน เชน สถาบันครอบครัว ฯลฯ ครอบครัว หมายถึง ผูรวมครัวเรือน คือ สามี ภรรยา และบุตร

หลักในการปฏบิัติในชีวิตประจําวันท่ีงาย ๆ สําหรับครอบครัวคือ ใชหลกั 5 อ.

1. อ. อภัย เมื่อฝายหนึ่งฝายใดทําผิดพลาดไปบางใหนึกถึงคําวาอภยัเสมอ และจะไมนําเอาสิ่งที่ผิดพลาดนั้นมาพูดซ้ําเติมอีก

Page 91: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรเนื้อหา(ตอ)

2. อ. เอ้ือเฟอ สมาชิกทุกคนในครอบครัว ตองชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยาคิดวาไมใชเร่ืองของฉันไมใชหนาที่ของฉัน ฉันไมเกี่ยวเชน คุณพอซักผา แมถูบาน ลูกลางจาน อยาคิดวาเปนงานของใครคนใดคนหนึ่ง

3. อ. อารมณขัน ฝกใหมีอารมณขันเสียบาง มีการกระเซาเยาแหยกันบางในบางโอกาสอาจเปนทั้งพอทั้งแม เพื่อนและพี่สําหรับลูกกไ็ด

4. อ. อดทน อดกลั้น อดออม ชีวิตครอบครัวที่จะตองมี 3 อ นี้ดวย อดทนตอความยากลําบากตาง ๆ ในครอบครัวอดกลั้นตอส่ิงที่มากระทบจากฝายใดฝายหนึ่งหรือกิเลสที่มากระตุนเราใหหลุมหลง และใหรูจักอดออมเงินทองที่หามาไดแบงไวใชเปนสัดสวน สวนที่หนึ่ง ใชจายในครอบครัวสวนที่สองสําหรับการศึกษาของบุตร สวนที่สามสําหรับคารักษาพยาบาลเมื่อยามเจ็บไข สวนที่ส่ีบริจาคทานทําบุญสรางกุศลไวเปนเสบียง เมื่อยามจะจากโลก นี้ไป แลวอีกสวนหนึ่ง เก็บออมไวใชเมื่อยามแกเฒา

5. อ. อบอุน เมื่อเราปฏิบัติได 4 อ. ขางตนแลว อ.ที่ 5 ก็จะตามมาอยางแนนอน คอื อบอุน เมื่อสมาชิก ทุกคนรูหนาที่และบทบาทของตัวเองแลว ชีวิตครอบครัวก็คงหนีไมพนคําวา “สุขภาพจิตเร่ิมตนที่บาน” ดังคําขวัญที่วาไวอยางแนนอน จากหลกัในการปฏิบัติในชีวิตประจําวนัจะเห็นไดวา สมาชิกทุกคนในครอบครัวตางมีบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบและความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากนั โดยเฉพาะการเสียสละเวลาแกครอบครัวเพื่อสรางความสุขความสัมพันธที่ดีของสมาชิกในบาน เพราะการไดมีเวลาอยูดวยกันมากเทาใดทุกคนในครอบครัวจะมโีอกาสไดพูดคุยอบรมสั่งสอน รับฟงความคิดเห็น ใหความชวยเหลือหรือมีคําแนะนําทีด่ีใหแกกัน สรางความผูกพัน ความรักใครสามัคคีและที่สําคัญคือเปนแบบอยางที่ดแีกลูกหลาน เมื่อเขาเจริญเตบิโตขึ้นในอนาคต วันครอบครัว จึงถือเปนวันที่มคีวามสําคัญวนัหนึ่งที่ทกุคนควรใหความสําคัญเพราะเปนวันที่รวมความหมายของความอบอุนในครอบครัวเพือ่มอบแกสมาชิกทุกคนในครอบครัว ซ่ึงไมเพียงแตเฉพาะในวนัครอบครัวเทานัน้ แตหมายถึงทุกวันที่มีโอกาสดวย

บัตรกิจกรรม ใหนกัเรียนศกึษาประวัติการเปลี่ยนแปลของสถาบันครอบครัว จากอดีตจนถึงปจจุบันพรอมแสดงความเหน็เกี่ยวกับสถาบันครอบครัววามีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรอืไมอยางไร

Page 92: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

บัตรคําถามเรือ่ง ผูกสัมพนัธวันครอบครวั คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด โดยตอบในกระดาษคําตอบที่เตรียมให

1. คําวา หมายถึงครอบครัวหมาย ถึงอะไร

ก. ผูรวมครัวเรือน คือ สามี ภรรยา และบุตร ข. สามีและ ภรรยาเทานัน้ ค. ผูที่อยูบานหลังเดียวกัน ง. ขอ ก และ ค

2. หลักในการปฏิบัติในชีวิตประจําวนั ใชหลัก 5 อ. หมายถึง

ก. อ. อดทน อดกลั้น ข. อ. อภัย ค. อ. เอื้อเฟอ ง. ถูกทุกขอ

3. คําวา “สุขภาพจิตเริ่มตนที่บาน” เกี่ยวของกบั หลัก 5 อ.ใด

ก. อ. อดทน อดกลั้น ข. อ. อบอุน ค. อ. อภัย ง. อ. เอื้อเฟอ

4. รัฐบาลไดกําหนดใหวนัแหงครอบครัว ตรงกับวันทีเ่ทาไหรของทุกป

ก. วันที่ 12 เมษายน ของทุกป ข. วันที่ 13 เมษายน ของทุกป ค. วันที่ 14 เมษายน ของทุกป ง. วันที่ 15 เมษายน ของทุกป

Page 93: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

5. วันครอบครัวมีวัตถุประสงคในการจดัตั้ง คือ

ก. เพื่อสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวไดทองเที่ยวรวมกนั ข. เพื่อสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวไดสรรสรรครวมกัน ค. เพื่อสงเสริมใหสมาชิกในคอบครัวไดตระหนักถึงบทบาท หนาที่และการอยูรวมกัน ง. ไมมีขอใดถูก

บัตรคําตอบ เฉลย

1. ง 2. ง 3. ข 4. ค 5. ค

Page 94: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ภาคผนวก ช

รายนามผูเช่ียวชาญ

Page 95: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

รายนามผูเชี่ยวชาญ ในการแนะนํา ตรวจสอบ และแกไขเครื่องมือวิจัย

1.อาจารยโสภติ แสนทวีสุข ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา ศ.ศ.ม. มหาวิทยาลัยรามคําแหง สถานที่ทํางาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม 2. อาจารยพรรณา แสงนภาเพ็ญ ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา กศ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สถานที่ทํางาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม 3. อาจารยสุกญัญา การะเกด ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา ค.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สถานที่ทํางาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง 4.อาจารยวิไลลักษณ วิไลพล ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา ศ.ศ.บ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง สถานที่ทํางาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนบางพลีราษฎรบํารุง 5.อาจารยธันยานันท ธนรักษแสงด ี ตําแหนง ครูชํานาญการ วุฒิการศึกษา กศ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สถานที่ทํางาน กลุมสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

โรงเรียนบางพลีราษฎรบาํรุง

Page 96: ภาคผนวก - -CUSTOMER VALUE-thesis.rru.ac.th/files/pdf/475_2012_11_24_115847.pdf · 2015-08-15 · 1.1 ครูนํ าเขู าสีบทเร โดยยน

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ นาย ลํ้าทัพ สุชาฎา วันเดือนปเกิด วันที่ 18 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2518 สถานที่เกิด อําเภอ เมือง จงัหวัดกระบี ่สถานที่อยูปจจุบัน 254/59 ซอยเคหะรมเกลา 39 หมูบาน พูนสินไพรเวซี แขวง คลองสอง

ตนนุน เขต ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-8414-5435-6, 0-2918-4572 ตําแหนงหนาท่ีการงาน ครูประจําวชิา ภาษาและวัฒนธรรมไทย สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนนานาชาติคริสเตียนกรุงเทพ เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542 ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ