13
」オェ 」オェ 」オェ ヲウチク・ツィウオヲトo、オヲオヲュエュサオヲoオヲウョェnオヲウチォ オ、oーィーーrオヲオヲoオティ :72 ュキoオチャヲヲヲ、 nェnーョoオクノウ、クオヲヲウサ、トヲーーサヲサェエ・ー :72 ヲウチォnオヌ ナo、クオヲ トo、オヲオヲュエュサオヲュnーー ([SRUW 6XEVLGLHV ー・nオツ。ヲnョィオ・ ツィウョィエュキハュサオヲ ヲウサ、ヲーーサヲサェエ・トュキoオチャヲ 7KH 8UXJXD\ 5RXQG $JUHHPHQW RQ $JULFXOWXUH 85$$ トe ノヲウサ、ナo、クオヲホオョチrオヲュエュサオヲュnーーュキoオ チャヲーヲウチォnオヌ チ}ヲエハツヲ テ・ョィオ・ヲウチォチョネoェ・クノウトョo、クオヲヲウチ、キ 、オヲオヲnオヌ クノチクノ・ェoーエオヲュエュサオヲュnーーュキoオチャヲ ツィウウ。キオヲオィオヲ ュエュサエィnオェィnーナエハトチキヲキ、オツィウヲウ、オクノエュヲヲトョo エハクハ ウナ、n、クオヲ チ。キノ、、オヲオヲュエュサオヲュnーーュキoオチャヲトョ、nヌ ケハ、オーク ー・nオナヲネオ、 85$$ ナonーヲチコノーナオヲキエキオヲウオヲトョoツnヲウチォ ホオィエ。エオクノナ、nエヲェ、チ}オヲュエュサオヲュnーー チn oサオヲホオィオ nオュn ツィウ nオヲヲ、チク・、ーコノヌ チ}o ヲェ、ケoーホオョクハナ、nシ。エケヲウチォoー・。エオクノ・エoーオヲ ェオ、nェ・チョィコーoオーオョオヲー・シn、オ オ、ヲオ・オー・nオチ}オオヲ」オ・トo $UWLFOH ー :72 トoーィュキoオ チャヲ トnェe ヲウチォトョnヌ クノ、クオヲュエュサオヲュnーートュキoオチャヲ ヲウチォ ナoトoヲウ、オチィクノ・nーe 。エィoオーィィオヲrュョヲエイ トオヲュエュサオヲュnーー ュキoオチャヲーチー テ・ュョ」オ。・サテヲトo、オヲオヲュエュサオヲュnーーュキoオチャヲュシュサ ケヲoー・ィウ ーnオトonオ・エィnオェ ヲーィ、オナoツn ュェキュチーヲrツィr ーヲrチェ・r ュョヲエイ ツオオ ュオオヲヲエチ サヲク テツィr ツー「ヲキオトo アエオヲク ティエ、チク・ ュオオヲヲエュティェエ チェチシチーィnオ ーキュヲオチーィ チ、ネキテ ナヲエュ ーーュチヲチィク・ ナーヲrツィr ツィウキェクツィr チ}o ตัวเลขทางการเกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนการสงออก และสินเชื่อการสงออกสินคาเกษตรเปนเพียงสวนนอย ทั้งนีประเด็นปญหาในทางปฎิบัติเกี่ยวกับการนับมาตรการตางๆ วาสนับสนุนการสงออกหรือไม ยังเปนประเด็นอยู ทําใหตัวเลข ทางการเปนเพียวตัวเลขบางสวนเทานั้น นอกจากนี้ ตัวเลขทางการเกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนการสงออก และสินเชื่อการ สงออกสินคาเกษตรเมื่อเทียบกับมาตรการสนับสนุนภายในประเทศยังนับวานอยกวามาก

ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-1 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ภาคผนวก ก-1 กฎระเบียบและการใชมาตรการสนับสนนุการคาระหวางประเทศ 

ตามขอตกลงขององคการการคาโลก (WTO) 

•  สินคาเกษตรกรรม ชวงกอนหนาทีจ่ะมีการประชุมในรอบอุรุกวัยของ WTO  ประเทศตางๆ  ไดมกีาร 

ใชมาตรการสนับสนุนการสงออก  (Export  Subsidies)  อยางแพรหลาย  และหลังส้ินสุดการ ประชุมรอบอุรุกวัยในสินคาเกษตร  (The  Uruguay  Round  Agreement  on  Agriculture: URAA)  ในป  1994  ที่ประชุมไดมกีารกําหนดกฎเกณฑการสนับสนุนการสงออกสินคา เกษตรของประเทศตางๆ  เปนครั้งแรก  โดยหลายประเทศเห็นดวยที่จะใหมีการประเมิน มาตรการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสนับสนุนการสงออกสินคาเกษตร และจะพิจารณาลดการ สนับสนุนดังกลาวลงตอไปทั้งในเชิงปริมาณและงบประมาณที่จัดสรรให  ทั้งนี ้ จะไมมีการ เพ่ิมมาตรการสนับสนนุการสงออกสินคาเกษตรใหมๆ ขึ้นมาอีก 

อยางไรก็ตาม  URAA  ไดผอนปรนเงื่อนไขการปฎิบัติบางประการใหแกประเทศ กําลังพัฒนาที่ไมนับรวมเปนการสนับสนุนการสงออก  เชน  ตนทุนการทําตลาด  คาขนสง  และ คาธรรมเนียมอ่ืนๆ  เปนตน  รวมถึงขอกําหนดนี้ไมผกูพันถึงประเทศดอยพัฒนาที่ยังตองการ ความชวยเหลือดานอาหารอยูมาก 

ตามรายงานอยางเปนทางการภายใต  Article  9  ของ  WTO  ในขอตกลงสินคา เกษตร 1  ในชวงป 1995 - 2000 ประเทศใหญๆ ที่มกีารสนับสนุนการสงออกในสินคาเกษตร 25 ประเทศ ไดใชงบประมาณเฉล่ียตอป 6.2 พันลานดอลลารสหรัฐฯ ในการสนับสนุนการสงออก สินคาเกษตรของตนเอง  โดยสหภาพยโุรปใชมาตรการสนับสนุนการสงออกสินคาเกษตรสูงสุด ถึงรอยละ 88.7 ของคาใชจายดังกลาว รองลงมาไดแก สวิสเซอรแลนด นอรเวย สหรัฐฯ แคนาดา สาธารณรัฐเชค ตรุก ี โปแลนด  แอฟรกิาใต  ฮังการี โคลัมเบีย สาธารณรัฐสโลวัค  เวเนซูเอลา อิสราเอล เม็กซิโก ไซปรัส ออสเตรเลีย ไอรแลนด และนิวซีแลนด เปนตน 1 ตัวเลขทางการเกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนการสงออก และสินเชื่อการสงออกสินคาเกษตรเปนเพียงสวนนอย ทั้งนี้ ประเด็นปญหาในทางปฎิบัติเกี่ยวกบัการนับมาตรการตางๆ วาสนับสนุนการสงออกหรือไม ยังเปนประเด็นอยู ทําใหตัวเลข ทางการเปนเพียวตัวเลขบางสวนเทานั้น นอกจากนี้ ตัวเลขทางการเกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนการสงออก และสินเชื่อการ สงออกสินคาเกษตรเมื่อเทียบกบัมาตรการสนับสนุนภายในประเทศยงันับวานอยกวามาก

Page 2: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-2 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

จากการที่ประเทศพัฒนาแลวทั้งยุโรปและอเมริกา  ใหการสนับสนุนการสงออก สินคาเกษตรในระดับสูง    นอกจากมาตรการสนับสนนุการสงออกแลว  ในขอตกลงสินคา เกษตรดังกลาวยังไดมคีวามพยายามในสินเชื่อการสงออกสินคาเกษตร  (Export  Credits) การประกันสินเชื่อสงออก การกลาวถึงขอกําหนดกฎเกณฑในมาตรการสนับสนนุ (Export Credit  Guarantees)  อยางไรก็ตาม  ปจจุบัน  ยังไมมีขอกําหนดในการปฎิบัตติอประเด็น ดังกลาวอยางเปนรูปธรรม ประเทศตางๆ จึงยังคงใชมาตรการเหลานี้ได 

ในงานศกึษาของ OECD (2000) เกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนสินเชื่อการสงออก สินคาเกษตร จากขอมูล Export Credit Agencies ของ OECD พบวา ผลกระทบของมาตรการ สินเชื่อเพ่ือการสงออกสินคาเกษตรที่มีตอการบิดเบือนทางการคามนีอย  โดยพบวา  สินเชื่อ เพื่อการสงออกสินคาเกษตรคิดเปนเพียงรอยละ 4.4 ของมูลคาการคาโลกในชวงป 1995 - 1998 ประเทศท่ีใชมาตรการสินเชื่อเพ่ือการสงออกสินคาเกษตรมากสุด  ไดแก  สหรัฐฯ  (86%) สหภาพยุโรป (7%) แคนาดา (5%) และออสเตรเลีย (2%) 

ขณะทีก่ารประชมุWTO รอบโดฮา ที่ประเทศกาตาร ซ่ึงเริ่มในป 2001 จนถึงขณะนี้ ยังไมส้ินสุดลง โดยการประชุมรอบลาสุดเมื่อเดือนธันวาคม 2005 ที่ประเทศฮองกง ที่ประชุม มีมติใหดําเนินการการลดมาตรการสนับสนุนการสงออกสินคาเกษตรอยางตอเนื่อง โดยการเจรจา ในสวนสินคาเกษตรกรรมภายใต WTO เมื่อเดือนธันวาคม 2005 ที่ฮองกง มีสาระที่สําคัญ คือ 

1. การเขาสูตลาด (Market Access)กําหนดใหประเทศตางๆ  แปลงมาตรการกีดกัน ทั้ง  ภาษีนําเขา  และที่ไมใชภาษีนําเขา  ใหเปนภาษีทั้งหมด  (Tariffication)  และ กําหนดใหอัตราภาษีดังกลาวลดลงอยางตอเนื่อง 

2. มาตรการสนับสนุนในประเทศ (Domestic Support) กําหนดใหประเทศตางๆทํา ตามกรอบการสนับสนุนที่ WTO กําหนดไวในมาตรการ Green Box, Blue Box และ Amber Box  (รายละเอียดในภาคผนวก ก-2) 

3.มาตรการสนับสนนุการสงออก  (Export  Subsidies)ที่ประชุมกําหนดใหประเทศ พัฒนาแลวลดการสนับสนนุมาตรการสงออกลงอยางตอเนือ่ง  โดยที่ประชุม กําหนดกรอบการลดลงอยางสมบูรณในป 2013 

•  สินคาอุตสาหกรรม เชนเดียวกับสินคาเกษตรกรรม  ภายหลังการประชุม  WTO  ในรอบอุรกุวัย  ที่ 

ประชุมไดใหความสําคญักับการลดอัตราภาษนีําเขาในสินคาอุตสาหกรรม  ที่ประเทศตางๆ ใชปกปองตลาดภายในประเทศ  ทําใหคาเฉล่ียอัตราภาษนีาํเขาของประเทศพัฒนาแลวมคีา ต่ําเพียงรอยละ  5  อยางไรกต็าม  อัตราภาษีสูง  (Tariff  Peak)  และอัตราภาษีแบบขั้นบนัได (Tariff  Escalation)  ที่ปจจุบันประเทศตางๆ  ยังใชอยูในบางอุตสาหกรรม  ที่แตละประเทศ ตองการปกปอง ซ่ึงมีท้ังประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา

Page 3: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-3 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

นอกจากนี้  ยังมนีโยบาย  local  content  protection  ซ่ึงใชอยางแพรหลายใน หลายประเทศ  โดยมุงหมายเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมาย  เชน  อุตสาหกรรมรถยนต แตภายหลังที่นโยบายนี ้ เขาบรรจุในขอตกลงวาดวยการคาที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน (Agreement on Trade-Related Investment Measures: TRIMs) ทําใหนโยบายดังกลาวถูก มองวาขัดกับมาตรการการคาเสรี  และถูกลดบทบาทลงภายหลังป  2002 นอกจากนี้ WTO ยังมีมาตรการที่สําคัญ คือ กรอบมาตรการอุดหนุนและการชดเชย (Agreement on Subsidies and Countervailing Measures: SCM) ที่แตละประเทศตองปฏิบัติตาม รวมทั้งขอตกลงวา ดวยการคาที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องทรัพยสินทางปญญา  (Agreement  on  Trade-Related  Aspects of Intellectual Property Rights: TRIPS) 

กฎ และมาตรการตาง  ๆที่ WTO กําหนดไว  เปนส่ิงที่ขดัขวางการเขาแทรกแซง เพ่ือสงเสริมอุตสาหกรรมของรัฐบาลของประเทศตางๆ  ซ่ึงแตละประเทศก็มีจุดมุงหมาย ในแตละอุตสาหกรรมที่แตกตางกนั  และมีนโยบายสินเชื่อที่แตกตางกันไป  อยางไรก็ตาม WTO ไดออกมาตรการที่มีลักษณะรวมบางประการที่สําคญั ไดแก 

o  มาตรการที่มีลักษณะเปน Trade Financing ไมใช Balance-of-Payment Financing o  กฎ  และมาตรการที่  WTO  ออกมาเปนแบบ  ownership  neutral  กลาวคือ  มี 

ความเปนกลางสําหรับประเทศท่ีจะไปลงทุน และประเทศผูรับการลงทุน o  กฎและมาตรการที่ WTO ออกมา สงผลใหประเทศตางๆ โดยเฉพาะประเทศ 

กําลังพัฒนามีขอจํากัดในการใชนโยบายอุตสาหกรรม  และทําใหนโยบาย อุตสาหกรรมมีลักษณะ Generic มากกวา Specific Policy Instruments ขณะทีใ่นการเจรจาในสวนสินคาอุตสาหกรรม  ภายใต  WTO  ที่ประเทศ 

ฮองกง เม่ือเดือนธันวาคม 2005 ที่ผานมา มีประเด็นเกีย่วกับการสงออก และนําเขาสินคา อุตสาหกรรม สรุปไดดังนี้ 

1. มาตรการปกปองตลาดในประเทศ (Import Protection)  ที่ประชุมมีมติให ประเทศตางๆ ลดอัตราภาษนีําเขาลงตอเนื่อง และขจัด tariff peak, high tariff, และ tariff  escalation  ในบางสินคาอุตสาหกรรมลง  โดยเฉพาะสินคาที่เปนประโยชน ตอประเทศกําลังพัฒนา 

2. มาตรการสงเสริมการสงออก (Export Promotion)  ที่ประชุมมีมติใหประเทศ ตางๆ  ไมใหมีการสนับสนุนการสงออกโดยตรง  แตมาตรการบางอยางยังอนุญาต ใหทําได เชน export credit,  insurance, และ export processing zones เปนตน

Page 4: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-4 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ภาคผนวก ก-2 การอุดหนนุสนิคาเกษตรภายใตกติกาองคกรการคาโลก 

o การอุดหนุนภายในที่บิดเบือนการผลิต-ตลาด สินคาที่มีการใหการอุดหนุนต่ํากวารอยละ 10 ของมูลคา การผลิต อาทิ เชน การพยุงราคา เปนมาตรการที่จัดอยูใน Amber Box ไมตองนํามูลคาการอุดหนุน มาคํานวณในยอดการอุดหนุนรวม 

o การอุดหนุนภายในที่ไมบิดเบือนตลาด  เปนการใหการคุมครองส่ิงแวดลอม R&D  การสราง โครงสรางพื้นฐาน การปรับโครงสรางการผลิต การพัฒนาชนบท ฯลฯ จัดอยูใน Green Box 

Green Box: การอุดหนุนที่ไมสงผลบิดเบือนการคา •  การใหบริการทั่วไปแกเกษตรกร (โครงสรางพื้นฐาน การขนสง ฯลฯ) •  การสตอกอาหารเพื่อความมั่นคงปลอดภัยในการบริโภค •  การชวยเหลือดานอาหารแกคนยากจนในประเทศ •  การจายเงินตรงใหแกเกษตรกรที่ไมเกี่ยวของกับการผลิต ราคาและปจจัยการผลิต •  การประกันรายไดขั้นต่ําใหแกเกษตรกร •  การใหความชวยเหลือเพื่อบรรเทาความสูญเสียจากภัยธรรมชาติ •  การใหความชวยเหลือในการปรับโครงสรางการผลิต (เลิกอาชีพ/เปล่ียนอาชีพ) •  การใหความชวยเหลือในการปรับโครงสรางเพื่อทดแทนการเลิกใชทรัพยากรเปาหมาย 

แตยังไมออกจากภาคเกษตร •  การใหความชวยเหลือในการปรับโครงสรางการลงทุนและ R&D •  การจายเงินภายใตโครงการส่ิงแวดลอม 

Amber Box: การอุดหนุนที่เปนการเบี่ยงเบนการผลิต-ตลาด •  การพยุงราคา (ผลผลิต และปจจัยการผลิต) •  การอุดหนุนที่เกี่ยวของกับปริมาณและราคา  (การชดเชยจากการที่ราคาตลาดตกต่ํา 

การใหเงินกูยืมดานการตลาด  การจายเพื่อตอกรกับวัฏจักร  การสํารอง  และการจายให เกษตรกรโดยตรง)

Page 5: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-5 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

o การอุดหนุนภายในที่ไดรับการยกเวน  การอุดหนุนดานปจจัยการผลิต การลงทนุ (การอุดหนนุเมล็ดพนัธุ ปุย การใหการกูยืมซ้ือเครื่องมือเครื่องจักร ฯลฯ) 

o การอุดหนุนภายใตโครงการจํากัดการผลิต จัดอยูใน Blue Box เชน การจายเงินชดเชยเกษตรกรโดยตรง 

o  อื่นๆ 

• ปรับลดการอุดหนุนการสงออก ตองไมใหการอุดหนุนเกินกวาที่ไดผูกพันไว โดยใชยอดการ อุดหนุนป 2529-31 เปนปฐาน แตยกเวนใหสําหรับประเทศกําลังพัฒนากรณีเปนการอุดหนุน การสงออกเพื่อลด (1)  ตนทุนการตลาดที่รวมถึงตนทุนในการปรับปรุงคุณภาพสินคาและ การขนสงระหวางประเทศ และ (2) ตนทุนการขนสงภายในประเทศ 

Blue Box: การอุดหนุนที่บิดเบือนตอการคาแตมีขอยกเวนใหทําได •  การจายเงินที่ขึ้นตรงกับพื้นที่ และผลผลิตตอหนวยที่กําหนดไวคงที่ลวงหนา •  จายเงินไมเกินรอยละ 85 ของมูลคาผลผลิต •  จายเงินสําหรับปศุสัตวตามจํานวนที่ไดกําหนดไวลวงหนา 

หากการอุดหนุนการผลิตที่มีปริมาณนอยมาก  (de  minimis)  จนถือวาไมสงผลใหเกิดการ บิดเบือนการคา  โดยการอุดหนุนดังกลาวมีสัดสวนไมเกินรอยละ  10  ของมูลคาผลผลิต สินคาที่ไดรับการอุดหนุน 

การอุดหนุนที่ไดรับการยกเวนสําหรับประเทศกําลังพัฒนา •  การใหการอุดหนุนดานการลงทุน (Investment Subsidies) •  การใหการอุดหนุนดานปจจัยการผลิตทางการเกษตร (Input Subsidies) 

Others •  การควบคุมการนําเขา •  การควบคุมการนําเขาเมล็ดพันธุและเคร่ืองมือ •  การจัดทําเขตและการอนุรักษดิน •  การกําหนดโควตาการผลิตและการตลาด •  โครงการสงเสริมอุปสงค/การสงออก

Page 6: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-6 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ภาคผนวก ก-3 มาตรการการคาของประเทศคูคาที่สําคัญของไทย 

มาตรการการคาของประเทศคูคาที่สําคัญของไทย 6 ประเทศ 1  ไดแก สหรัฐฯ แคนาดา สหภาพ ยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และญี่ปุน มีประเด็นที่สําคัญ ดังนี้ 

•  มาตรการทางการคาภาคเกษตร:  แคนาดา  สหภาพยุโรป  ญี่ปุน  และสหรัฐฯ  มีการใช มาตรการทางภาษีสูง  ขณะที่  ออสเตรเลีย  และนิวซีแลนด  ใชมาตรการทางภาษีนําเขากับ สินคาเกษตรต่ํามาก 

•  มาตรการทางการคาที่มิใชภาคเกษตร แบงเปน Ø  มาตรการภาษี (Tariff Barriers):ทุกประเทศเก็บภาษีนําเขาในอัตราใกลเคียงกนั 

ประมาณรอยละ 4 Ø  มาตรการที่มิใชภาษี (Non-Tariff Barriers): มีการใชมาตรการแตกตางกัน ดังนี้ 

o  ญี่ปุนใชมาตรการนี้นอยกวาประเทศอ่ืนอีก  5  ประเทศ  โดยมาตรฐาน สินคาอุตสาหกรรมของ ญี่ปุนสอดคลองกับนานาชาติ 

o  สหรัฐฯ ใชมาตรการที่มิใชภาษีเขมขน ทั้งมาตรการตอบโตการทุม ตลาด (Anti Dumping :AD) 2 และมาตรการตอบโตการอุดหนนุสินคา (Countervailing Duty: CVD) 3  และสวนใหญใชกับประเทศในเอเชีย รวมทั้งมีมาตรการปกปองตนเอง (Safeguard) 4 ตลอดจนมาตรการ เชิงเทคนิค (Technical Barrier to Trade: TBT) มาตรการคุมครอง แรงงานและส่ิงแวดลอม 

o  สหภาพยุโรปปกปองภาคเกษตรสูง ขณะที่มาตรการ AD และ CVD ลดลงแตมกีารเพิ่ม Safeguard ในอุตสาหกรรมเหล็ก มีมาตรการปกปอง

1 วิเคราะหและกลั่นกรองจากรายงาน “โครงการศึกษานโยบายและมาตรการการคาเชิงรุกกับประเทศคูคาสําคัญ โดย ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” (กันยายน 2548) 2 ความหมายทั่วไปของการทุมตลาด คือ เมื่อประเทศหนึ่งสงสินคาชนิดหนึ่งเขาไปจําหนายยังอีกประเทศหนึ่งดวยราคาต่ํากวาที่ควรจะเปน หากประเทศผูนําเขาเห็นวาสินคาที่สั่งเขามาจําหนายในประเทศของตน มีการตั้งราคาต่ําที่สะทอนถึงการทุมตลาด ก็สามารถตอบโตดวยการ เก็บภาษีขาเขาใหเทากับความแตกตางระหวางราคาสงออกของประเทศผูสงออกกับราคาขายภายในประเทศผูนําเขา (Import Levy) ทั้งนี้ แต ละประเทศจะออกกฏหมายปองกันการทุมตลาด (Anti-dumping law) ตามความเหมาะสม 3 เปนมาตรการเก็บภาษีจากสินคาเขาซึ่งประเทศผูขายไดอุดหนุนชวยเหลือผูสงออกของตน ประเทศผูซื้อจงึเก็บภาษีดังกลาวเปนการตอบโต ทั้งนี้ เพื่อเปนการขจัดความไดเปรียบของสินคาที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลของประเทศผูสงออก 4 มาตรการช่ัวคราวเพื่อชวยในการปรับตัวภายในระบบเศรษฐกจิ มาตรการนี้เปนมาตรการที่ GATT ยินยอมใหประเทศสมาชิกดําเนินการ เมื่อประเทศนั้นประสบปญหาจากประเทศคูแขง เชน อุตสาหกรรมภายในประเทศตองเผชิญกบัการแขงขันที่รุนแรงจากตางประเทศ และ การนําเขาจากตางประเทศเพิ่มขึ้นอยางผิดปกติ เปนตน ประเทศตางๆ อาจใชมาตรการ Safeguards ในลักษณะตางๆ เชน การเพิ่มพิกัดอัตรา ภาษีศุลกากร การกําหนดโควตา การทําขอตกลงจํากัดการสงออโดยสมัครใจ (Voluntary Restraint Agreement) เปนตน หากประเทศใด สามารถพิสูจนไดวาสินคาเขาที่เพิ่มขึ้นนั้น จะสงผลกระทบรายแรงตอผูผลิตหรือแรงงานภายในประเทศ ประเทศนั้นจะไดรับอนุญาตใหนํา มาตรการ “safeguards” มาใชได และตองใหสัญญาวาจะใชมาตรการนี้เปนการช่ัวคราวเทานั้น

Page 7: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-7 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ส่ิงแวดลอม  ขณะทีม่าตรการดานสุขภาพอนามยัพืชและสัตว  (Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ใกลเคียงกับออสเตรเลีย 

o  แคนาดาใชมาตรการ Safeguard รวมถึง AD และ CVD ในกลุมสินคา หลัก แตสวนใหญใชกับประเทศสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป 

o  ออสเตรเลีย  และนิวซีแลนดใช  มาตรการที่มใิชภาษีกับกลุมอาหาร เปนสวนใหญ  และใชมาตรการ  AD  กับประเทศในเอเชียในกลุม เครื่องจักร และเครื่องใชไฟฟา 

จะเห็นไดวาพฒันาการทางการคาโลกที่เปล่ียนแปลงไป  โดยเฉพาะกฎเกณฑ  ระเบียบปฎิบัติของ องคกรที่เกีย่วของกับการคาระหวางประเทศที่มีมากขึ้น  ทั้งดานแนวปฎิบตัิทางดานพิธีการทางศุลกากร มาตรฐานการสงออกและนําเขาสินคา มาตรฐานการตรวจสอบสินคา ขอกําหนดดานอุปสรรคทางการคา ที่เปนภาษีและที่มิใชภาษี  และขอกําหนดในการใหการอุดหนุนภาคการผลิตและการคาของประเทศตางๆ ที่สามารถทําไดภายใตเงื่อนไขที่กําหนดไว เปนตน ลวนแลวแตมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการคา และการลงทนุของประเทศ  โดยเฉพาะของประเทศกาํลังพฒันา  เชน  ประเทศไทย  ทีจ่ําเปนตองศกึษา ขอกําหนด  และกฎระเบียบตางๆ  ที่องคกรการคาระหวางประเทศกําหนดไว  เพ่ือใชเปนแนวทางในการ กําหนดนโยบายการคาและการลงทุนของประเทศของตนที่ไมขัดตอกฎเกณฑระหวางประเทศ  และใช ประโยชนจากขอกําหนด  กฎระเบียบเหลานั้นที่อนุญาตใหกระทําได  จากการศกึษามาตรการการคาของ ประเทศคูคาที่สําคญัดังกลาวขางตน  พบไดวาแตละประเทศใชมาตรการการคาเพื่อสรางภูมคิุมกนัสินคา ภายในประเทศท่ีดาดวาจะไดรับผลกระทบจากการเปดตลาด  ขณะเกี่ยวกันก็ไดประโยชนจากการใช มาตรการการคาเพื่อรุกตลาดที่ประเทศตนไดเปรียบ  โดยการออกมาตรการที่เขมงวดที่คาดวาประเทศ คูแขงไมสามารถสูได  โดยกระทําอยูภายใตเงื่อนไขที่กรอบกติกาสากลเปดโอกาสใหทําได  ดังนัน้  ใน สวนของประเทศไทยจึงจําเปนตองมกีารกําหนดมาตรการการคาที่ชัดเจนเพ่ือเปนการปกปองตนเอง  และ รุกตลาดไปพรอมกัน

Page 8: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-8 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ภาคผนวก ก-4 ความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการ 

(General Agreement in Trade in Services: GATS) 

ความตกลงฉบับนี้ ถือเปนความตกลงระดับพหุภาคีภายใต WTO วาดวยการคา บริการฉบับแรกที่มีผลผูกพนัทางกฎหมายระหวางประเทศ โดยมีผลบังคับใชตั้งแตเริ่ม กอตั้งองคการการคาโลกในป 2538 ซ่ึงในความตกลงดังกลาวสามารถแบงเปนสามสวนยอย ดวยกนั ในสวนแรกจะเปนเนื้อหาหลักของสัญญา วาดวยพนัธกรณีทัว่ไป และกฎเกณฑ ตางๆ (General commitments หรือ General Obligations and Disciplines) สวนที่สองอยูใน Annexes วาดวยกฎเกณฑเฉพาะสําหรับบางสาขาบริการ (Rules for Specific Sectors) และ สวนสุดทาย เปนพันธกรณีเฉพาะของแตละประเทศสมาชิก ( Individual Countries’ Specific Commitments) ซ่ึงไมเหมือนกัน โดยสาระสําคัญในแตละสวนมดีังตอไปนี้ General Obligations and Disciplines 

ในความตกลงสวนนี้ กลาวถึงขอกําหนดและพันธกรณีผูกพันที่ทุกประเทศ สมาชิกตองปฏิบัติตาม โดยมีหลักการที่สําคญั คือ 

•  ขอบเขตกําหนดกรอบของสัญญาไววาจะครอบคลุมการคาบรกิารระหวางประเทศทัง้หมด 155 รายการ โดยแตละรายการ ถูกแบงแยกยอยเพื่อการเจรจาเปน 4 รูปแบบ (Mode) ไดแก 

Mode  1  รูปแบบการใหบรกิารขามพรมแดน  (Cross-Border  Supply)  กลาวคือ  ผู ใหบริการและผูรับบริการอยูคนละเขตประเทศ  เชน  การใหคําปรกึษาทางดานกฎหมาย ผานทางโทรศัพท เปนตน 

Mode  2  รูปแบบที่ผูรับบรกิารเดนิทางไปรับบริการที่อาณาเขตประเทศของผูใหบรกิาร (Consumption Abroad)เชน การเดนิทางไปทองเทีย่วในตางประเทศ การเดินทางไปศกึษาตอเปนตน 

Mode  3  รปูแบบที่ผูใหบรกิารตางชาติเขามาประกอบกิจการในประเทศ  ในรูปแบบ ของบริษัท (Commercial Presence) เชน ธนาคารตางชาติเขามาเปดสาขาในประเทศไทย เปนตน 

Mode 4 รูปแบบที่ผูใหบริการตางชาตใินรูปแบบของตัวบคุคล เขามาใหบรกิารใน อาณาเขตประเทศของผูรับบรกิาร (Presence  of Natural  Person) เชน นักบัญชีตางชาติเขา มาใหบริการดานบัญชตีอบริษัทในประเทศไทย  หรือ  คนไทยไปทํางานเปนหมอนวดใน ตางประเทศ เปนตน 1.มีขอสังเกตวา: ในการพิจารณาวาในแตละ Mode ของแตละสาขาบริการมีขอยกเวนสําหรับ Market Access และ National Treatment อยางไรบาง จะพิจารณาจาก Sector Specific Commitment กอนและ หากมีการอางอิงถึง Horizontal Commitment จึงจะพิจารณาใน Horizontal Commitment ตอ โดยหาก ไมมีขอยกเวนระบุอยูใน Limitation on Market Access และ Limitation on National Treatment เลย ก็ หมายความวาในสาขาบริการที่มีช่ืออยูใน Sector Specific Commitment นี้ตองปฏิบัติตามขอตกลงเรื่อง Market Access และ National Treatment ที่ปรากฏอยูใน General Obligations ทุกประการ

Page 9: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-9 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก

2 มีขอสังเกตวา: ในความตกลงเร่ืองการคาบริการนี้จะไมนํา การใหบริการของรัฐ (a services supplied in the exercise of governmental authority) และการจัดซื้อจัดจางภาครัฐ (Government Procurement) เขา มาอยูในความตกลงดวย กลาวคือ การใหบริการของรัฐและการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐจะไมตองทําตาม ขอตกลงที่อยูใน General Obligation นี้ใดๆ ทั้งสิ้น (ในสวนของ Government Procurement ไดมีการ เจรจาความตกลงเพิ่มเติมแยกออกมา คือ Government Procurement Agreement: GPA โดยอยูในรูปแบบ ของ Plurilateral Agreement) และ GATS ไมไดมีการกําหนดใหตองมีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจแตอยางใด โดยการบริการจากภาครัฐหมายถึงการคาบริการที่ไมไดใหบริการเพื่อการคาและไมมีการแขงขันกับผูให บริการรายอ่ืน 

อยางไรก็ดี ตามกรอบความตกลงนี้ไมไดหมายความวาแตละประเทศสมาชกิ ตองเปดเสรีหมดทุกสาขาและในทุก Mode กลาวคือ การเปดเสรีในดานบริการของแตละ ประเทศนั้น แตละประเทศมีสิทธเิลอืกที่จะเปดในสาขาใดกไ็ด ไมจําเปนตองเปดทั้งหมด และมีสิทธิที่จะกําหนดวาเปดมากนอยเพียงใดในสาขาบริการเหลานัน้ มีขอแมอะไรหรือไม ซ่ึงการเจรจาลักษณะนีเ้รียกวา Positive List  (จะถือวามีการเปดเสรีก็ตอเมื่อมีการระบุสาขา และ mode ไวอยางชัดเจน) โดยรายละเอียดในสวนนี้ระบอุยูใน Specific Commitment ของ แตละประเทศ  ดังจะเห็นไดจากหัวขอ  Commitments  on  Market  Access  and  National Treatment ที่อยูในความตกลงสวนนี้เชนกัน 

•  Commitment  on Market Access  and National Treatment สาขาบริการที่ถือวาเปด นั้น  คือสาขาบรกิารที่มีการระบุอยูใน  Specific  Commitment  Schedule  ของแตละประเทศ โดยสาขาบรกิารเหลานัน้ตองปฏิบัตติามขอกาํหนดวาดวยเรื่อง  Market  Access  และ  National Treatment  อยางไรก็ดขีอยกเวนจากขอกําหนดทั้งสองถูกระบุอยูใน  Specific  Commitment Schedule ของแตละประเทศในรายการบรกิาร 

Market Access กําหนดวา ในสาขาการคาบรกิารที่อยูใน Specific Commitment รัฐบาล จะตองไมมีมาตรการ  จํากัดจํานวนผูใหบรกิารทั้งหมดในประเทศ  มูลคาของการบรกิารทั้งหมด ใน  ประเทศ  จํานวนการบริการทั้งหมดภายในประเทศ  จํานวนการจางงานทั้งหมดภายในประเทศ สัดสวนการถือหุนของผูถือหุนตางชาติ  ในสาขาบรกิารนัน้ๆ  และตองไมมีมาตรการทีก่ําหนด รูปแบบของบริษัทที่จะสามารถใหบริการในสาขานัน้ๆได  ยกเวนแตมกีารระบขุอยกเวนไว ใน Specific Commitment Schedule ในรูปของ Limitations on Market Access อยางไรก็ดี การยกเวนนีต้องไมเปนไปเพื่อการเอ้ือประโยชนตอผูประกอบการภายในประเทศ 

National Treatment กําหนดวาผูประกอบการในสาขาบรกิารที่อยูใน Specific Commitment Schedule  ตางชาติ  ตองไดรับสิทธเทากับผูประกอบการภายในประเทศในสาขาบริการนั้นๆ ยกเวนแตวาจะมกีารยกเวนระบุอยูใน Specific Commitment Schedule ในรปูของ Limitations on National  Treatment  อยางไรกด็ี  การยกเวนนีจ้ะตองไมเปนไปเพื่อการเอ้ือประโยชนตอ ผูประกอบการภายในประเทศ

Page 10: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-10 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

Most  Favored  Nation  (MFN)  กลาวคือ  ประเทศสมาชิกตองมีการเปดเสรีดาน การคาบริการตอประเทศสมาชิกหนึ่งๆ  ในระดับที่ไมนอยไปกวาประเทศสมาชิกอ่ืนที่ เหลือทั้งหมด อยางไรก็ดี เนื่องจากกอนที่ GATS จะมีผลบังคับใช ประเทศสมาชิกตางๆ ก็ ไดมีการทําความตกลงในระดับทวิภาคีวาดวยเรื่องการคาบริการไวแลว และเม่ือ GATS มี ผลบังคับใช  ประเทศสมาชิกเหลานั้นก็ยังไมพรอมที่จะใหสิทธ์ิกับทุกประเทศสมาชิก WTO  ในระดับเดยีวกับที่มีการใหกับประเทศที่มีการทําความตกลงในระดับทวิภาคดีวย ดังนั้น  GATS  จึงอนุญาตใหแตละประเทศสามารถกําหนดสาขาบรกิารที่ตองการไดรับ การยกเวนจาก  MFN  (MFN  Exemptions)ไดชั่วคราว  แตละประเทศจะสามารถกําหนด รายการที่ตองการยกเวนไดเพียงครั้งเดียว กลาวคือ  ไมสามารถเพ่ิมรายการที่ตองการไดรับ การยกเวนไดในอนาคต และการยกเวนนี้ ตองส้ินสุดลงภายในระยะเวลาที่กําหนด คือไม มากกวา 10 ป 

Transparency  กําหนดใหรัฐบาลของประเทศสมาชิกตองเปดเผยขอมูลเกี่ยวกบั กฎหมายและขอกําหนดภายในประเทศ  รวมถึงจัดตั้งองคกรที่จะใหขอมูลแกผูประกอบการ ตางชาติและรัฐบาลตางชาติ  ที่มีความสงสัยในเรื่องของสาขาบริการตางๆภายในประเทศ นอกจากนี้  หากมีการแกกฎหมายใดๆภายในประเทศที่จะสงผลกระทบตอสาขาบริการที่ มีการระบใุน specific commitment ของประเทศนั้นๆ จะตองมีการแจงตอ WTO ดวย 

•  Domestic  Regulations  กําหนดใหรัฐบาลควรจะมกีารควบคุมการบริการภายในประเทศ อยางมีเหตุผล (reasonably) และไมลําเอียง (impartially) และรัฐบาลควรที่จะจดัตั้งองคกร ที่เปนกลางในการตรวจสอบการตัดสินใจของรัฐบาลในเรือ่งที่เกี่ยวกับการบรกิาร  เชน จัดตั้งคณะอนุญาโตตุลาการ เปนตน 

•  Recognition  Requirements  กําหนดวา  หากประเทศสองประเทศ  มีการยอมรับ มาตรฐานในสวนของอาชีพบรกิารของกันและกัน  เชน  ยอมรับวุฒิการศกึษาของประเทศ คูภาคี  และยอมรับใบอนญุาตการประกอบอาชีพที่ออกใหคนในประเทศคูภาคี  ประเทศ ทั้งสองนี้ตองใหการยอมรับมาตรฐานของประเทศสมาชิกอ่ืนทั้งหมดในระดับเดียวกับท่ี ใหกับประเทศคูภาคีดวย 

อยางไรกด็ี โดยทั่วไปแลว GATS จะไมเขาไปยุงเกี่ยวกับการทีร่ัฐบาลของประเทศ หนึ่งๆ  จะกําหนดมาตรฐานของวิชาชีพท่ีใหบรกิารในประเทศของตน  ขอเพียงแควาการ กําหนดมาตรฐานของวิชาชพีภายในประเทศจะเปนไปโดยโปรงใส และไมเปนการกีดกัน ทางการคาโดยแอบแฝง นอกจากนี้การกําหนดมาตรฐานเหลานี้ตองมีการแจงให WTOทราบดวย 

•  International Transfers and Payments โดยทัว่ไปแลว ความตกลงจะหามมใิห รัฐบาลมกีารจํากดัการเคล่ือนยายเงนิทนุออกนอกประเทศในรูปแบบของการจายคาบรกิารใน สาขาบริการที่ประเทศสมาชกิมกีารระบุวามกีารเปดเสรีและอยูใน Specific Commitment ของ ประเทศนั้นๆอยางไรกด็ี GATS ไดระบุขอยกเวนไววา หากประเทศสมาชิกมีปญหาดุล การ ชําระเงิน (Balance-of-Payment Difficulties) รัฐบาลจะสามารถจํากัดการเคล่ือนยาย

Page 11: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-11 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

เงินทุนออกนอกประเทศได แตตองเปนการจํากัดโดยชัว่คราว (a temporary nature) ที่ใชกับ ทุกผูประกอบการอยางไมมกีารเลือกปฏิบัติ (non-discriminatory) และตองพยายามหลีกเล่ียง ความเสียหายทางการคาที่ไมจําเปนตอประเทศสมาชิกอ่ืนที่จะไดรับผลกระทบ 

•  Economic  Integration  กําหนดใหสมาชิกตั้งแตสองรายขึ้นไปสามารถเจรจาเพื่อจัดทํา ขอตกลงการคาแบบทวภิาคีหรือในระดับภูมภิาคได  ซ่ึงถือวาเปนการใหสิทธ์ิแกคูสัญญา มากกวาที่ใหไวกับสมาชิก WTO อ่ืนโดยที่ไมขัดกับขอตกลงในหัวขอ MFN ก็ตอเมื่อ ความ ตกลงระหวางคูสัญญาพิเศษจะตอง (1) มีความครอบคลุมเกือบทุกสาขาบรกิาร (2) ไมไดทํา ใหผลประโยชนดานขอผกูพันของสมาชิก WTO  อ่ืนนอยลง  (3)  ไมมีลักษณะเปนการเลือก ปฏิบัติ  (4)  ไมมีการกําหนดมาตรการที่เปนการเลือกปฏิบัติขึ้นมาใหมหรือมาตรการเลือก ปฏิบัติที่มากกวาเดิม 

•  Denial  of  Benefits  กําหนดใหประเทศที่ไมไดเปนสมาชกิของ  WTO  ไมไดรับ ประโยชนจากการเปดเสรีดานบรกิารในความตกลงฉบับนีจ้ากประเทศสมาชิก 

•  Monopolies and Exclusive Service Suppliers กําหนดใหรัฐบาลควบคุมดูแล ผูประกอบการ ที่ผูกขาดและผูประกอบการที่มีอภิสิทธ์ิ  ไมใหดําเนินการใดๆที่เปนการขดัตอ  GATS  และ Specific  Commitment  ของแตละประเทศ  รวมถึงกําหนดใหประเทศสมาชิกผูเสียหายจาการ กระทําของผูประกอบการผูกขาดสามารถบังคับใหผูประกอบการดังกลาวเปดเผยขอมูล ตางๆของผูประกอบการได  ภายใตอํานาจของ  Council  for  Trade  in  Services  นอกจากนี้ รัฐบาลยังตองแจงตอ Council  for Trade  in Services ถึงการที่รัฐบาลไดใหสัมปทานผูกขาด เพ่ิมเติมภายในประเทศดวย 

•  Business  Practices  กําหนดใหประเทศสมาชกิควรดําเนินการยกเลิกกิจกรรมทางธุรกจิ ภายในประเทศท่ีกดีขวาง  หรือเปนอุปสรรคตอการแขงขันและการเปดเสรกีารคาบริการ และตองใหความรวมมือและเปดเผยขอมูลตอประเทศผูเสียหายตามที่ไดขอความรวมมือมาดวย 

•  Progressive Liberalization กําหนดใหตองมีการเจรจาเพื่อเปดเสรีและคอยๆ ยกเลิก ขอยกเวนที่แตละประเทศมีใน Specific Commitment Schedule อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยัง อนุญาตใหมีการยกเลิกหรือแกไขพันธกรณีเฉพาะ  (Specific  Commitment)  หลังจากความ ตกลงฉบับนี้มีผลบังคับใชไปแลว  3  ป  แตการยกเลิกหรือแกไขนี้ตองผานความตกลง ระหวางประเทศท่ีตองการยกเลิกหรือแกไขและประเทศสมาชิกที่ไดรับผลกระทบจากการ ยกเลิกหรือแกไขดังกลาว ซ่ึงอาจจะตองมี มาตรการชดเชยผูไดรับผลกระทบดวย และหากไมสามารถตกลงกันได คณะ อนุญาโตตุลาการตองเขามาตัดสินและจะถือเปนสิ้นสุด

Page 12: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-12 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

Rules for Specific Sectors ในความตกลงจะมี Annexes อยูหลายหวัขอที่แยกออกจากกัน โดยเกือบทั้งหมดจะ 

เปนเรื่องกฎเกณฑเฉพาะสําหรับบางสาขาบรกิาร  (Rules  for  Specific  Sectors)  เนื่องจาก การคาบริการในตางรายการจะมคีวามหลากหลายมากดังตอไปนี้ 

•  Movement on Natural Persons กําหนดใหบุคคลธรรมดาชาวตางชาติสามารถเขามา ใหบรกิารภายในประเทศไดในรายการคาบรกิารที่มกีารเปดเสรี  ภายใตขอกําหนดบางประการ ดังที่ระบุอยูใน Specific Commitment  Schedule อยางไรก็ดี  ความตกลงไมครอบคลุมไปถึง การจางงานและการยายถ่ินฐานถาวร  และมาตรการที่เกี่ยวเนื่องกับการจางงาน  และการได สัญชาติจะไมไดรับผลกระทบจากความตกลงนี้ 

•  Financial  Services  กําหนดใหความตกลงไมครอบคลุมไปถึงมาตรการของรัฐที่มี ขึ้นเพื่อปกปอง ผูฝากเงิน ผูเอาประกัน และนักลงทุน รวมถึงมาตรการที่มีขึน้เพื่อความมัน่คง และความมปีระสิทธิภาพของระบบการเงนิของประเทศ  นอกจากนีก้ารบรกิารทีม่ีขึน้เมื่อรัฐบาล มีการใชอํานาจภาครัฐตอระบบการเงินก็จะถูกครอบคลุมโดยGATS เชนกัน 

•  Telecommunications  กําหนดใหผูประกอบการตางชาติตองไดรับบริการดานโทรคมนาคม สาธารณะอยางเทาเทียมกับผูบริโภคอ่ืนภายในประเทศ 

•  Air Transport Services กําหนดใหเรื่องสิทธิการบิน (traffic rights) และการบรกิาร ที่เกี่ยวของ ไมถูกครอบคลุมโดย GATS เนื่องจากเรื่องนี้ไดอยูในความตกลงทวิภาคีฉบับอ่ืน อยูแลว  (Bilateral Air-Service Agreement Conferring Landing Rights)  อยางไรกด็ี GATS จะครอบคลุม  การใหบริการดูแลและซอมแซมเครื่องบิน  การใหบริการดานการตลาดของ การบรกิารขนสงทางอากาศ และการใหบรกิารจองตั๋วเครื่องบินผานระบบคอมพวิเตอร Individual Countries’ Specific Commitments 

Specific  Commitment  Schedule  เปนตารางที่บงบอกวาประเทศสมาชกิจะปฏิบัติ ตามขอตกลงวาดวยเรื่อง  Market  Access  และ  National  Treatment  ในสาขาบริการใดบาง โดยมีขอยกเวนอยางไรบาง  ซ่ึง  Specific Commitment  Schedule ของแตละประเทศสมาชิก แบงเปนสองสวนดวยกนั คือ 

1. Horizontal Commitments  เปนขอผูกพันที่จะใชกับทุกสาขาบริการที่มีการกลาวถึงใน sector  specific  commitment  โดยครอบคลุมขอผูกพัน  Limitation  on Market  Access  และ Limitation on National Treatment 

2.  Sector  Specific  Commitment เปนการระบุกฎเกณฑทีน่อกเหนือไปจาก Horizontal Commitment  ในรายสาขาบรกิาร  โดยครอบคลุมขอผกูพนั  Limitation  on  Market  Access และ Limitation on National Treatment เชนกัน

Page 13: ภาคผนวก ก -1 - thaifta.comthaifta.com/trade/strat_appendix1.pdf · ก -1 ภาภาคผนคผนววก ก กก ภาคผนวก ก -1 กฎระเบียบและการใช

ก-13 

ภาคผนวก ก ภาคผนวก ก 

ภาคผนวก  ก-5 ความตกลงวาดวยมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการคา 

(Agreement on Trade-Related Investment Measures: TRIMs) 

ความตกลงวาดวยมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวกับการคา  (Agreement  on  Trade- Related Investment Measures) เปนความตกลงในกรอบของ WTO ที่ประเทศสมาชิก WTO ของทกุประเทศตองยกเลิกมาตรการการลงทุนทีก่อใหเกดิการกดีกนัทางการคา  โดยมีผลบังคับ ใชตั้งแต วนัที่ 1 มกราคม 2538 เปนตนมา สําหรับประเดน็ที่เปนหลักการสําคัญของ TRIMs ซ่ึงประเทศสมาชิก WTO ตองปฏิบัติตาม คือ 

•  มาตรการการลงทุนของประเทศสมาชิก WTO  ตองไมกอใหเกิดการเลือกปฏิบัติกับ สินคานําเขาจากประเทศสมาชิก  WTO  แตกตางไปจากสินคาที่ผลิตไดเองในประเทศ  โดย เปนไปตามการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment) 

•  มาตรการการลงทุนของประเทศสมาชกิ  WTO  ตองไมกอใหเกิดการดําเนินมาตรการ ทางการคาใดๆ  อันเปนการกีดกันทางการคาตามหลักการของ GATT ที่หามประเทศสมาชิก จํากัดปริมาณการนําเขาหรือสงออกสินคา 

•  มาตรการการลงทุนทีป่ระเทศสมาชิกตองยกเลิกภายใตกรอบความตกลง TRIMs ไดแก 1)  ยกเลิกการกําหนดสัดสวนการใชวัตถุดิบภายในประเทศ  (Local  Content  Requirements) ซ่ึงครอบคลุมการกําหนดใหกจิการลงทนุตางๆ  ใชวตัถุดิบหรือชิ้นสวนที่มีแหลงกําเนดิสินคา จากในประเทศเปนสัดสวนตอปริมาณหรือมูลคาการผลิตสินคาแตละหนวย  และปริมาณ หรือมูลคาการผลิตรวมของสินคานัน้ๆ  2)  ยกเลิกการกาํหนดสัดสวนการนําเขา  และ/หรือ การสงออกสินคา (Trade Balancing Requirements) ไดแก การกําหนดใหกิจการลงทุนตางๆ ตองทําการสงออกเปนสัดสวนตอการผลิตของกิจการนัน้ๆ  (Export  Requirement)  และการ นําเขาสินคาเปนสัดสวนตามการผลิตสินคาเพื่อการสงออกของกิจการนัน้ๆ  รวมถึงการซ้ือ หรือชําระคาสินคาไดไมเกินจํานวนเงินตราตางประเทศท่ีกจิการนัน้ๆ นําเขามา 

•  ระยะเวลาในการปรับตัว  WTO  ใหเวลาในการปรับตวัเพื่อยกเลิกมาตรการการ ลงทุนที่ไมสอดคลอง  และปรับปรุงกฏหมายภายในประเทศใหสอดคลองกับความตกลง TRIMs  ดังนี้  ประเทศพัฒนาแลว  มีเวลาปรับตัวนาน  2  ป  (ภายในป  2539)  ประเทศกําลัง พัฒนา มีเวลาปรับตวันาน 5 ป (ภายในป 2542) และประเทศพัฒนานอยท่ีสุด มีเวลาปรับตัว นาน 7 ป (ภายในป 2544)

ที่มา: WTO