17
การประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถาม 1 Independent-Samples T Test

การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

การประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถาม

1

Independent-Samples T Test

Page 2: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

Independent-Samples T Test

2

Page 3: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent-Sample T Test)

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ต้องการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจในรูปแบบของรายการ ระหว่างเพศหญิง และเพศชาย จะต้องใช้ค าสั่ง Compare Means--> Independent-Samples T Test โดยมีขั้นตอนการท างานดังนี้

3

1. เปิดไฟล์ จส.1000 แบบ 3_1.sav 2. เลือกเมนู Analyze เลือกค าสั่ง Compare Means เลือก Independent-Sample T Test

Page 4: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

Independent-Sample T Test

3. ที่หน้าต่าง Independent-Sample T Test คลิกเลือกตัวแปรพอใจในพิธีกรผู้จัด (พิธีกร), พอใจผู้โทรเข้าร่วม (ผู้โทร), พอใจความถูกต้อง (ถูกต้อง), พอใจความชัดเจน (ชัดเจน) และรวมพอใจ จากช่องด้านซ้าย

4. คลิกปุ่ม เพื่อน าตัวแปรใส่ในช่อง Test Variable[s]

4

Page 5: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

Independent-Sample T Test

5. คลิกเลือกตัวแปรเพศ 6. คลิกปุ่ม เพื่อน าตัวแปรเพศมาไว้ที่ช่อง Grouping Variables: 7. คลิกปุ่ม Define Groups เพื่อก าหนดค่าให้กับตัวแปรเพศ

5

Page 6: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

Independent-Sample T Test

8. ตั้งค่าตัวแปรตามรูป (เพศมี 2 ค่าย่อยได้แก่ เพศชาย เพศหญิง) 9. คลิกปุ่ม Continue โปรแกรมจะกลับไปยังหน้าต่าง Independent-Sample T Test และปรากฏ

รายการเพศ(1 2) ในช่อง Grouping Variables:

6

Page 7: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

Independent-Sample T Test

7

10. คลิกปุ่ม Options เพื่อก าหนดค่าความเชื่อมั่น 11. ก าหนดค่าความเชื่อมั่นในช่อง Confidence Interval ตามต้องการ (ในตัวอย่างก าหนดค่าความ

เชื่อมั่นที่ 95%) 12. คลิกปุ่ม Continue จะกลับมายังหน้าต่าง Independent-Sample T Test 13. คลิกปุ่ม OK โปรแกรมจะท าการประมวลผลออกมาที่ Output Window

Page 8: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

ผลของการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่เป็นอิสระต่อกัน

8

Page 9: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

ผลของการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่เป็นอิสระต่อกัน

9

ค่าความน่าจะเป็น (P) ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน

ค่าสถิติที่ค านวณได้จากข้อมูลตัวอย่าง ซึ่งใช้เทียบกับตารางทางสถิติโดยทั่วไป

ผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของกลุ่ม

ขอบเขตช่วงความเชื่อมั่นที่ 95% ของผลต่างค่าเฉลี่ย

ค่าความคาดเคล่ือนของผลต่าง

ผลต่างของค่าเฉลี่ยทั้ง 2 กลุ่ม

1 2

Sig. ใช้ตวัลา่ง

ไม่ Sig. ใช้ตวับน

ไม่ Sig. ใช้ตวับน

ไม่ Sig. ใช้ตวับน

ไม่ Sig. ใช้ตวับน

Page 10: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

ผลของการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัว ที่เป็นอิสระต่อกัน

การพิจารณาผลการทดสอบสมมติฐานดว้ย T-Test ที่เป็น Independent-Sample T Test จะพิจารณาค่า P จาก Sig. (2-tailed) ในช่อง เท่านั้น แต่ค่า P ในช่อง 2 มี 2 ตัว คือตัวบนที่เป็น Equal variances assumed และตัวล่างเป็น Equal variances not assumed จึงให้พิจารณาว่าจะเลือกค่า P จากตัวใดได้ดังนี้

1. ในขั้นแรกดูค่าความแปรปรวนของกลุ่มในช่อง ว่า Sig. หรือไม่ (Sig คือค่า P น้อยกว่าค่า 𝛼.05 เนื่องจากผู้วิจัยได้ก าหนดค่าความเชื่อมั่นไว้ 95%)

2. ในกรณีค่าความแปรปรวนของกลุ่มในช่อง Sig. แสดงว่าเป็น Equal variances not assumed ให้เลือกค่า P Sig. (2-tailed) จากตัวล่าง

3. ในกรณีค่าความแปรปรวนของกลุ่มในช่อง ไม่ Sig. แสดงว่าเป็น Equal variances assumed ให้เลือกค่า P Sig. (2-tailed) จากตัวบน

Equal variances assumed หมายถึง ความแปรปรวนของกลุ่มเท่ากัน Equal variances not assumed หมายถึง ความแปรปรวนของกลุ่มไม่เท่ากัน

10

2

1

1

1

Page 11: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

สมมติฐานทางสถิติ

(1) ความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัด สมมติฐานทางสถิติ

H0 : 𝜇ชาย = 𝜇หญงิ เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัดไม่แตกต่างกัน H1 : 𝜇ชาย ≠ 𝜇หญงิ เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัดแตกต่างกัน P (ความน่าจะเป็น) = .000, 𝛼 ระดับนัยส าคัญ = .05 ดังนั้น ค่า P น้อยกว่า ค่า 𝛼

(เท่ากับ Sig.) จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1

สรุปได้ว่า เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัดแตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

11

Page 12: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

สมมติฐานทางสถิติ

(2) ความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมงานการจราจร สมมติฐานทางสถิติ

H0 : 𝜇ชาย = 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมงานการจราจรไม่

แตกต่างกัน H1 : 𝜇ชาย ≠ 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมงานการจราจรแตกต่าง

กัน P (ความน่าจะเป็น) = .002, 𝛼 ระดับนัยส าคญั = .05 ดังนั้น ค่า P น้อยกว่า ค่า 𝛼 (เท่ากับ

Sig.) จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1

สรุปไดว้่า เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมงานการจราจรแตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยส าคญัทางสถิติที่ระดับ .05

12

Page 13: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

สมมติฐานทางสถิติ

(3) ความพึงพอใจในความถูกต้องแม่นย า สมมติฐานทางสถิติ

H0 : 𝜇ชาย = 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความถูกต้องแม่นย าไม่ แตกต่าง

กัน H1 : 𝜇ชาย ≠ 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความถูกต้องแม่นย าแตกต่างกัน P (ความน่าจะเป็น) = .456, 𝛼 ระดับนัยส าคญั = .05 ดังนั้น ค่า P มากกว่า ค่า 𝛼 (เท่ากับ

Sig.) จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1

สรุปไดว้่า เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความถูกต้องแม่นย าไม่แตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยส าคญัทางสถิติที่ระดับ .05

13

Page 14: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

สมมติฐานทางสถิติ

(4) ความพึงพอใจในความชัดเจนของคลื่น สมมติฐานทางสถิติ

H0 : 𝜇ชาย = 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความชัดเจนของคลืน่ไม่แตกต่างกัน

H1 : 𝜇ชาย ≠ 𝜇หญิง เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความชัดเจนของคลืน่แตกต่างกัน P (ความน่าจะเป็น) = .075, 𝛼 ระดับนัยส าคญั = .05 ดังนั้น ค่า P มากกว่า ค่า 𝛼 (เท่ากับ

Sig.) จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1

สรุปไดว้่า เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในความชัดเจนของคลืน่ ไม่แตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยส าคญัทางสถิติที่ระดับ .05

14

Page 15: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

สมมติฐานทางสถิติ

(5) ความพึงพอใจโดยรวม สมมติฐานทางสถิติ

H0 : 𝜇ชาย = 𝜇หญงิ เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจโดยรวมไม่แตกต่างกัน H1 : 𝜇ชาย ≠ 𝜇หญงิ เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจโดยรวมแตกต่างกัน P (ความน่าจะเป็น) = .885, 𝛼 ระดับนัยส าคัญ = .05 ดังนั้น ค่า P มากกว่า ค่า 𝛼

(เท่ากับ Sig.) จึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1

สรุปได้ว่า เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจโดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

15

Page 16: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

การรายงานผลของการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจจ าแนกตามสถานภาพด้านเพศ

ตารางที่ 13-21 แสดงค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานของการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจในรูปแบบรายการ จ าแนกตามสถานภาพด้านเพศ

16

Page 17: การประมวลผลข้อมูลจาก ...Independent-Sample T Test 3. ท หน าต าง Independent-Sample T Test คล กเล อกต วแปรพอใจในพ

การรายงานผลของการเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจจ าแนกตามสถานภาพด้านเพศ

จากตารางที่ 13-21 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบความแตกต่างของความพึงพอใจในรูปแบบรายการ จ าแนกตามสถานภาพด้านเพศ พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส าหรับรายข้อพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จ านวน 2 ข้อ ได้แก่ ความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัด โดยเพศหญิงมีความพึงพอใจในพิธีกรผู้จัดมากกว่าเพศชาย และความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมรายงานการจราจรโดยเพศชายมีความพึงพอใจในผู้โทรเข้าร่วมรายงานการจราจรมากกว่าเพศหญิง

17