36
การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล ่เขา บริเวณทางระบายน้าล ้น โครงการอ่างเก็บน ้ามวกเหล็ก อาเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี ตามที่ที่ปรึกษางานด้านออกแบบอาคารชลประทาน (นายสมเกียรติ ตั ้งจตุพร) พร้อมคณะประกอบด้วย พส.พญ. ผอ.ผง. ผชช. อบ. 6 และ ผชช.อบ. 8 ได้เดินทางเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน ามวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2558 และเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน าล้นซึ ่งมีการตัดลาดไหล่เขาตามแบบแต่ ไม่ได้ออกแบบการป้องกันการพังทลายไว้ ซึ ่งเห็นสมควรให้สานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมและสานักสารวจด้าน วิศวกรรมและธรณีวิทยา ร่วมกันหาทางแก้ไขต่อไป สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา โดยส่วนวิศวกรรมธรณีและสานักงานชลประทานที่ 10โดยส ่วนวิศวกรรม ได้ ร่วมกันทาการศึกษาความมั่นคงของลาดไหล่เขา โดยการสารวจและวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดไหล่เขาของอาคารระบายน าล้นเพื่อ ใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบการป้องกันการพังทลายบริเวณลาดไหล่เขาของบริเวณทางระบายน าล้นของโครงการอ่างเก็บน มวกเหล็กต่อไป อาคารทางระบายน าล้นของโครงการ ตั ้งอยู่บริเวณ Abutment ฝั่งซ้าย แนวศูนย์กลางอาคารทางระบายน าล้น ตัดผ่านแนว ศูนย์กลางเขื่อนที่กม.1+115 ลักษณะของหินฐานรากประกอบด้วย หินดินดานเนื ้อปูนแทรกสลับกับหินทรายเนื ้อปูนและหินปูน สีน าตาลส้ม สีน าตาลอมเหลือง สีเทา และ สีเทาเข้ม มีระดับความแข็งอยู่ในเกณฑ์ Hard rock ถึงVery hard rock และมีอัตราการผุพังอยู่ ในเกณฑ์ปานกลาง (Moderately weathered rock) ชั ้นหินชุดนี ้มีการวางตัว N30 0 -50 0 w/20 0 -40 0 S วิธีการสารวจได้ดาเนินการสารวจชนิด ลักษณะ ทิศทางการวางตัว แนวเอียงเท รอยแตกและความต่อเนื่องของหิน โครงสร้าง ทางธรณีวิทยารวมทั ้งทิศทางและมุมเอียงของการตัดลาดไหล่เขาที่ปรากฏบริเวณพื ้นที่สารวจ เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์ความมั่นคงของ ลาดไหล่เขาที่เป็นหิน การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั ้งนี ้ใช้วิธี Kinematic (Stereographic interpretation) เพื่อประเมินโอกาสและรูปแบบของการ พังทลาย และวิธี Slope Mass Rating (SMR) เพื่อประเมินคุณภาพความมั่นคงของมวลหิน รูปแบบของการพังทลายและกาหนดวิธีการ การป้องกันการพังทลายของลาดไหล่เขา (Romana, 1993) การวิเคราะห์โดยวิธี Slope Mass Rating (SMR) เป็นการพิจารณาข้อมูลที่ได้จากการประเมินค่า RMR ร่วมกับความสัมพันธ์ ของรอยแตกกับมุมเอียงการตัดลาดไหล่เขา (Joint-slope face relationship) พารามิเตอร์ที่ขึ ้นอยู่กับวิธีการขุดเปิดหรือตัดลาดไหล่เขา

การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

การวเิคราะห์เสถยีรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา

บริเวณทางระบายน า้ล้น โครงการอ่างเกบ็น า้มวกเหลก็ อ าเภอวงัม่วง จงัหวดัสระบุรี

ตามท่ีท่ีปรึกษางานดา้นออกแบบอาคารชลประทาน (นายสมเกียรติ ตั้งจตุพร) พร้อมคณะประกอบดว้ย พส.พญ. ผอ.ผง. ผชช.อบ. 6 และ ผชช.อบ. 8 ไดเ้ดินทางเพื่อติดตามความกา้วหนา้ของการก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน ้ ามวกเหล็ก จงัหวดัสระบุรี เม่ือวนัท่ี 24 มกราคม 2558 และเสนอขอ้คิดเห็นเก่ียวกบับริเวณลาดไหล่เขาฝ่ังซ้ายของอาคารระบายน ้ าลน้ซ่ึงมีการตดัลาดไหล่เขาตามแบบแต่ไม่ได้ออกแบบการป้องกนัการพงัทลายไว ้ซ่ึงเห็นสมควรให้ส านักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมและส านักส ารวจด้านวศิวกรรมและธรณีวทิยา ร่วมกนัหาทางแกไ้ขต่อไป

ส านกัส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา โดยส่วนวิศวกรรมธรณีและส านกังานชลประทานท่ี 10โดยส่วนวิศวกรรม ได้ร่วมกนัท าการศึกษาความมัน่คงของลาดไหล่เขา โดยการส ารวจและวิเคราะห์ความมัน่คงของลาดไหล่เขาของอาคารระบายน ้ าลน้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบการป้องกนัการพงัทลายบริเวณลาดไหล่เขาของบริเวณทางระบายน ้ าล้นของโครงการอ่างเก็บน ้ ามวกเหล็กต่อไป

อาคารทางระบายน ้ าลน้ของโครงการ ตั้งอยูบ่ริเวณ Abutment ฝ่ังซ้าย แนวศูนยก์ลางอาคารทางระบายน ้ าลน้ ตดัผา่นแนวศูนยก์ลางเข่ือนท่ีกม.1+115 ลกัษณะของหินฐานรากประกอบด้วย หินดินดานเน้ือปูนแทรกสลบักบัหินทรายเน้ือปูนและหินปูน สีน ้าตาลส้ม สีน ้าตาลอมเหลือง สีเทา และ สีเทาเขม้ มีระดบัความแขง็อยูใ่นเกณฑ ์Hard rock ถึงVery hard rock และมีอตัราการผุพงัอยู่ในเกณฑป์านกลาง (Moderately weathered rock) ชั้นหินชุดน้ีมีการวางตวั N300-500w/200-400S

วธีิการส ารวจไดด้ าเนินการส ารวจชนิด ลกัษณะ ทิศทางการวางตวั แนวเอียงเท รอยแตกและความต่อเน่ืองของหิน โครงสร้างทางธรณีวทิยารวมทั้งทิศทางและมุมเอียงของการตดัลาดไหล่เขาท่ีปรากฏบริเวณพื้นท่ีส ารวจ เพื่อน าขอ้มูลมาวิเคราะห์ความมัน่คงของลาดไหล่เขาท่ีเป็นหิน

การวเิคราะห์ขอ้มูลในการศึกษาคร้ังน้ีใชว้ธีิ Kinematic (Stereographic interpretation) เพื่อประเมินโอกาสและรูปแบบของการพงัทลาย และวธีิ Slope Mass Rating (SMR) เพื่อประเมินคุณภาพความมัน่คงของมวลหิน รูปแบบของการพงัทลายและก าหนดวิธีการการป้องกนัการพงัทลายของลาดไหล่เขา (Romana, 1993)

การวเิคราะห์โดยวธีิ Slope Mass Rating (SMR) เป็นการพิจารณาขอ้มูลท่ีไดจ้ากการประเมินค่า RMR ร่วมกบัความสัมพนัธ์ของรอยแตกกบัมุมเอียงการตดัลาดไหล่เขา (Joint-slope face relationship) พารามิเตอร์ท่ีข้ึนอยูก่บัวธีิการขดุเปิดหรือตดัลาดไหล่เขา

Page 2: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1
Page 3: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

1

รายงานการวิเคราะห์เสถียรภาพความม่ันคงของลาดไหล่เขา บริเวณทางระบายน้้าล้น โครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็ก อ้าเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี

1. บทน้า

ตามที่ที่ปรึกษางานด้านออกแบบอาคารชลประทาน (นายสมเกียรติ ตั้งจตุพร) พร้อมคณะประกอบด้วย พส.พญ. ผอ.ผง. ผชช.อบ. 6 และ ผชช.อบ. 8 ได้เดินทางเพ่ือติดตามความก้าวหน้าของ การก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2558 และเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้นซึ่งมีการตัดลาดไหล่เขาตามแบบแต่ไม่ได้ออกแบบการป้องกันการกัดเซาะไว้ ซึ่งเห็นสมควรให้ส้านักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมและส้านักส้ารวจ ด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ร่วมกันหาทางแก้ไขต่อไป

ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา โดยส่วนวิศวกรรมธรณีซึ่งเป็นหน่วยงานที่รั บผิดชอบการศึกษาความมั่นคงของลาดไหล่เขา จึงได้ท้าการส้ารวจและวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดไหล่เขาของอาคารระบายน้้าล้น เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบการป้องกันการกัดเซาะบริเวณลาดไหล่เขาของบริเวณ ทางระบายน้้าล้นของโครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็กต่อไป

2. วัตถุประสงค์

เพ่ือวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดไหล่เขาและประเมินรูปแบบของโอกาสที่จะเกิดการพังทลาย (Failures) รวมทั้งเสนอวิธีการป้องกันการพังทลายของลาดไหล่เขา (Supports) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบการป้องกันการกัดเซาะของลาดไหล่เขาบริเวณอาคารทางระบายน้้าล้น

3. สภาพธรณีวิทยาและข้อมูลด้านธรณีเทคนิค

สภาพธรณีวิทยาทั่วไปบริเวณโครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็กปกคุลมด้วยตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยู่กับที่ สะสมตัวอยู่ตามเชิงเขาและที่ราบ เป็นตะกอนยุคควอเทอร์นารี (Quaternary) ประกอบด้วย กรวด ทราย ทรายแป้ง ศิลาแลงและเศษหิน ชั้นหินที่รองรับตะกอนประกอบด้วยหินตะกอน ยุคเพอร์เมียน (Permain) กลุ่มหินสระบุรี ในหมวดหินเขาขวางและหมวดหินหนองโป่ง ประกอบด้วยหินปูน แทรกด้วยหินดินดานและหินทราย หินปูนมีสีด้าและสีเทา เนื้อโดโลไมต์ แสดงลักษณะชั้นดี ชั้นบางถึงหนามาก นอกจากนี้ยังพบหินแอนดีไซด์แทรกดันขึ้นมาในยุคเพอร์โม-ไทรแอสซิก (Permo-Triassic) ถึงยุคไทรแอสซิกตอนบน (Upper Triassic)

ธรณีวิทยาโครงสร้าง พบว่าบริเวณพ้ืนที่โครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็กและพ้ืนที่ใกล้เคียงรองรับด้วยชั้นหินตะกอนอายุช่วงเพอร์เมียนตอนกลางถึงตอนล่าง (Middle-Lower Permian) ซึ่งประกอบด้วยหินปูน หินปูนแทรกสลับหินดินดาน หินดินดาน หินทรายและหินทรายแป้ง สีเทาและสีน้้าตาล โดยได้รับอิทธิพลของหินอัคนีท่ีแทรกดันในบริเวณพ้ืนที่ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทางทิศใต้ ท้าให้ชั้นหินโค้งงอ (Folding) เกิดชั้นหินโค้งรูปประทุนหงาย(Syncline) และประทุนคว่้า(Anticline) พบรอยเลื่อนทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพ้ืนที่โครงการ โดยมีชั้นตะกอนตามเชิงเขาและ ที่ลาดเชิงเขาประกอบด้วย กรวด ทรายและเศษหินที่ถูกน้้าพัดพามาสะสมกัน บางแห่งพบเป็นชั้นทราเวอร์ทีน

อาคารทางระบายน้้าล้นของโครงการ ตั้ งอยู่บริเวณ Abutment ฝั่งซ้าย (ภาพแสดงพ้ืนที่ที่มี การตัดลาดไหล่เขาแสดงในรูปที่ 1 และรูปที่ 2) แนวศูนย์กลางอาคารทางระบายน้้าล้น ตัดผ่านแนวศูนย์กลาง

Page 4: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

2

เขื่อนที่กม.1+115 ลักษณะของหินฐานรากประกอบด้วย หินดินดานเนื้อปูนแทรกสลับกับหินทรายเนื้อปูนและหินปูน สีน้้าตาลส้ม สีน้้าตาลอมเหลือง สีเทา และ สีเทาเข้ม มีระดับความแข็งอยู่ในเกณฑ์ Hard rock ถึง Very hard rock และมีอัตราการผุพังอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (Moderately weathered rock) ชั้นหินชุดนี้ มีการวางตัว N30-50w/20-40S (กรมชลประทาน 2548)

4. วิธีการส้ารวจและวิเคราะห์

วิธีการส้ารวจได้ด้าเนินการส้ารวจชนิด ลักษณะ ทิศทางการวางตัว แนวเอียงเท รอยแตกและ ความต่อเนื่องของหิน โครงสร้างทางธรณีวิทยารวมทั้งทิศทางและมุมเอียงของการตัดลาดไหล่เขาที่ปรากฏบริเวณพ้ืนที่ส้ารวจ เพ่ือน้าข้อมูลและวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดไหล่เขาท่ีเป็นหิน

การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธี Kinematic (Stereographic interpretation) เพ่ือประเมินโอกาสและรูปแบบของการพังทลาย และวิธี Slope Mass Rating (SMR) เพ่ือประเมินคุณภาพ ความมั่นคงของมวลหิน รูปแบบของการพังทลายและก้าหนดวิธีการการป้องกันการพังทลายของลาดไหล่เขา (Romana, 1993)

การจ้าแนกทางด้านธรณีเทคนิคของลาดไหล่เขาที่เป็นหินโดยวิธี Slope Mass Rating (SMR) เป็นวิธีการที่ได้รับการยอมรับและเป็นที่แพร่หลาย ซึ่งเป็นวิธีการที่พัฒนามาจากการจ้าแนกคุณภาพมวลหิน (Rock Mass Rating; RMR) ของ Bieniaski (1989) โดย RMR ประกอบด้วยพารามิเตอร์ของหิน ที่ต้องพิจารณา ได้แก่ (1) Strength of intact rock material (2) Drill core quality (RQD) (3) Spacing of discontinuities (4) Condition of discontinuities และ (5) Groundwater in joint โดยรายละเอียดการแบ่งช่วงค่าของแต่ละพารามิเตอร์แสดงในตารางที่ 1

RMR = (1) + (2) + (3) + (4) + (5)

โดยที่ RMR มีค่าคะแนนอยู่ในช่วง 0+100

การวิเคราะห์โดยวิธี Slope Mass Rating (SMR) เป็นการพิจารณาข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ค่า RMR ร่วมกับความสัมพันธ์ของรอยแตกกับมุมเอียงการตัดลาดไหล่เขา (Joint-slope face relationship) พารามิเตอร์ที่ขึ้นอยู่กับวิธีการขุดเปิดหรือตัดลาดไหล่เขา โดยมีความสัมพันธ์ดังนี้

SMR = RMR + (F1.F2.F3) + F4

โดยที่ RMR = ค่าคะแนนจากตารางที่ 1 มีค่าคะแนนอยู่ในช่วง 0+100

การพิจารณาค่าคะแนนส้าหรับรอยแตก (Joints) ดูตารางที่ 2 และวิธีการขุดเปิดลาดไหล่เขาดูตารางที่ 3 ซึ่งมีรายละเอียดของพารามิเตอร์มีดังนี้

Page 5: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

5

ตารางที่ 1 Bieniawski Ratings for Rock Mass Rating (RMR)

Parameter Ranges of values

Strength of intact rock material Point load index >10 MPa 4-10 MPa 2-4MPa 1-2MPa For this low rang uniaxial

compressive test in preferred

Uniaxial compressive

>250 MPa 100-250MPa 50-100MPa 25-50MPa 5-25 MPa 1-5 MPa <1 MPa

Rating 15 12 7 4 2 1 0

Drill core quality ; RQD 90-100 % 75-90 % 50-75 % 25-50 % <25%

Rating 20 17 13 8 3

Spacing of discontinuities >2 m 0.6-2 m 200-600 mm 60-200 mm < <60 mm

Rating 20 15 10 8 5

Condition of discontinuities Very rough surfaces. Not discontinuous

No separation Unweathered wall

rock

Slightly rough Surfaces.

Separation < 1 mm. Slightly

weathered walls

Slightly rough Surfaces.

Separation < 1 mm. Slightly

weathered walls

Slickensided Surfaces or gouge < 5 mm thick or separation 1-5

mm. Continuous

Soft gouge > 5 mm. or separation > 5 mm.

Continuous

Rating 30 25 20 10 0

Groundwater in joints Completely Damp Wet Dripping Flowing

Rating 15 10 7 4 0

Page 6: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

6

ตารางที่ 2 Adjustment Rating for Joints Case Very

favorable Favorable Fair Unfavorable Very

unfavorable

P | |

T |( ) |

P/T

P | |

P

T

P

T

P/T

P, plane failure ; T, toppling failure ; ,joint dip direction ; , slope dip direction ; , joint dip ; , slope dip

ตารางที่ 3 Adjustment Rating for Methods of Excavation of Slopes

Method Natural Slope

Presplitting Smooth blasting

Blasting or mechanical

Deficient blasting

1) F1 ขึ้นอยู่กับการขนานกันของทิศทางการวางตัวของชั้นหินและทิศทางของการขุดเปิด (Joints and slope face strikes) มีค่าอยู่ในช่วง 1.0 (กรณีที่ทิศทางการวางตัวขนานกัน) ถึง 0.15 (กรณีที่มุมระหว่าง Joint และ Slope face มากกว่า 300) โดยที่

F1 = (1 - sine A)2

โดยที่ A = มุมระหว่างทิศทางการวางตัวของ Joints และ Slope face

2) F2 เป็นค่ามุมเอียงเทของรอยแตก (Joint dip angle ; )

F2 =

3) F3 เป็นค่าความสัมพันธ์ระหว่าง Slope face และ Joints dip

4) F4 เป็นค่าคะแนนส้าหรับวิธีการขุดเปิด

Page 7: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

7

5. ผลการวิเคราะห์

ผลการวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดไหล่เขาบริเวณอาคารทางระบายน้้าล้น โดยการวิเคราะห์ ทิศทางการวางตัวของรอยแยก (joint) ชั้นหิน (bedding) รอยเลื่อน (fault) ทิศทางและมุมเอียงของพ้ืนที่หน้าตัดลาดไหล่เขา (Slope face) โดยวิธี Kinematic (Stereographic interpretation) เพ่ือประเมินโอกาสและรูปแบบของการพังทลาย และวิธี Slope Mass Rating (SMR) เพ่ือประเมินคุณภาพ ความมั่นคงของมวลหิน รูปแบบของการพังทลายและก้าหนดวิธีการการป้องกันการพังทลายของลาดไหล่เขา ภาพถ่ายแสดงวิธีการเก็บข้อมูลการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินแสดงในรูปที่ 3 ถึงรูปที่ 23 แสดงในภาคผนวก ก ภาพแสดงผลการวิเคราะห์โดยวิธี Kinematic (Stereographic interpretation) แสดงในภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์โดยวิธี Slope Mass Rating (SMR) แสดงในภาคผนวก ค และผลการวิเคราะห์และ แนวทางการออกแบบการป้องกันการพังทลายสรุปในตารางที่ 4 โดยมีรายละเอียดดังนี้

1) บริเวณพ้ืนที่ลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารทางระบายน้้าล้น โดยทั่วไปพบเศษหินที่เกิดการแตกหักอันเนื่องมาจากการระเบิดและตัดลาดไหล่เขา ร่วงหล่นลงมาตามพ้ืนที่หน้าตัดของลาดไหล่เขา แต่มีการตัดลาดไหล่เขาท่ีเป็นขั้นบันได (Berm) ซึ่งจะช่วยป้องกันการร่วงลงมาของเศษหินได้ ส่วนรายละเอียดมีดังนี ้

- กม.ที่ 0+000 ถึง กม.ที่ 0+020 มีสภาพมั่นคง มีค่า SMR ค่อนข้างสูง มีค่า 60-63 - กม.ที่ 0+020 ถึง กม.ที่ 0+120 มีโอกาสจะเกิดการพังทลายของมวลหิน เนื่องจากมีโครงสร้างที่เป็นรอยเลื่อนตัดผ่านท้าให้คุณภาพหินลดลง มีค่า SMR อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างไม่ดี มีโอกาสเกิดการพังทลายของมวลหินได้ซึ่งรูปแบบการพังทลายจะเป็นแบบรูปลิ่ม (Wedge failure) และการหักหล่นของมวลหิน (Topping failure) - กม.ที่ 0+120 ถึง กม.ที่ 0+180 มีสภาพมั่นคง คุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก มีค่า SMR ค่อนข้างสูง - กม.ที่ 0+180 ถึง กม.ที่ 0+220 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR อยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่มีโอกาสจะเกิดการพังทลายของมวลหินแบบหักหล่น (Topping failure) หรือการพังทลายของหินรูปลิ่ม (Wedge failure) - กม.ที่ 0+220 ถึง กม.ที่ 0+310 มีสภาพมั่นคง ผลการวิเคราะห์ค่า SMR อยู่ในเกณฑ์ท่ีดี

2) บริเวณพ้ืนที่ลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารทางระบายน้้าล้น พบว่ามีการขุดเปิดพ้ืนที่หน้าตัด ของลาดไหล่เขาที่มีแนวทิศทางการวางตัวของ Slope face ขนานในทิศทางเดียวกับทิศทางการวางตัวของ ชั้นหิน (Strike) ซึ่งอาจท้าให้เกิดการเลื่อนไถลของชั้นหินแต่อย่างไรก็ตามในพ้ืนที่ดังกล่าวชั้นหินมีคุณภาพค่อนข้างดี มีความแข็งแรงซึ่งถ้าไม่มีการขุดเปิดชั้นหินบริเวณฐานด้านล่างก็จะไม่เกิดการ เสียสมดุลและไม่เกิดการเลื่อนไถลของชั้นหิน ส่วนรายละเอียดมีดังนี้

- กม.ที่ 0+000 ถึง กม. 0+180 มีสภาพมั่นคง ผลการวิเคราะห์พบว่าหินมีคุณภาพค่อนข้างดีมีค่า SMR ค่อนข้างสูงถึงสูงมาก

- กม.ที่ 0+180 ถึง กม. 0+310 ผลการวิเคราะห์พบว่าหินมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ปานกลางมีค่า SMR ค่อนข้างสูง แต่มีโอกาสเกิดการพังทลายของมวลหินบ้างในรูปแบบของการพังทลายเป็นรูปลิ่มหรือหล่นเป็นก้อน

Page 8: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

13

6. สรุปและข้อเสนอแนะ

1) บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้น กม.ที่ 0+000 ถึง กม.ที่ 0+120 เป็นบริเวณ ที่มีรอยเลื่อนตัดผ่านและมวลหินถูกบดอัด ท้าให้มวลหินมีคุณภาพไม่ดี มีทิศทางการวางตัวของรอยแยกตัดกันในต้าแหน่งที่มีโอกาสเกิดการพังทลายของลาดไหล่เขา เป็นรูปลิ่ม (Wedge failure) และหินการร่วงหล่น ของมวลหิน (Topping failure) ควรท้าการออกแบบปรับปรุงพ้ืนที่ลาดไหล่เขา โดยวิธีขึงตาข่ายติดหน้าตัด พร้อมท้าการพ่นน้้าปูน (Nets spot and shotcrete) และติดตั้งอุปกรณ์เพ่ือระบายน้้า (Drainage) 2) บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้นบริเวณ กม.ที่ 0+120 ถึง กม.ที่ 0+220 มีมวลหินบางส่วนมีคุณภาพไม่ดี และทิศทางการวางตัวของรอยแยกบางส่วน ตัดกันในต้าแหน่งที่อาจเกิดการพังทลายของลาดไหล่เขา การออกแบบปรับปรุงพื้นท่ีลาดไหล่เขา โดยวิธีขึงตาข่ายติดหน้าตัด พร้อมท้าการพ่นน้้าปูน และติดตั้งอุปกรณ์เพ่ือระบายน้้า หรือท้าการปรับแต่งมวลหินบนลาดไหล่เขาแล้วคงสภาพตามธรรมชาติ 3) บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้นต้าแหน่งอ่ืนๆ ที่ท้าการศึกษาและวิเคราะห์ความมั่นคงบนลาดไหล่เขา พบว่ามวลหินมีคุณภาพดี ถึงดีมาก มีความแกร่งสูง (High strength) ท้าให้มวลหินบนลาดไหล่เขามีเสถียรภาพที่มั่นคงดี อาจไม่ต้องท้าการปรับปรุงพ้ืนที่หน้าตัดบนลาดไหล่เขา แต่ควรน้าหินและเศษหินที่พลัดหล่นอยู่บนลาดไหล่เขาออกให้หมด 4) บริเวณพ้ืนที่ลาดไหล่เขาฝั่งขวาของอาคารทางระบายน้้าล้น ชั้นหินมีคุณภาพค่อนข้างดี มีความแข็งแรงซึ่งถ้าไม่มีการขุดเปิดชั้นหินบริเวณฐานด้านล่างก็จะไม่เกิดการเสียสมดุลและไม่เกิดการเลื่อนไถล ของชั้นหิน แต่เพ่ือเป็นการป้องกันควรท้าการออกแบบปรับปรุงพ้ืนที่ลาดไหล่เขา โดยวิธีขึงตาข่ายติดหน้าตัด พร้อมท้าการพ่นน้้าปูน (Nets spot and shotcrete)

7. เอกสารอ้างอิง

1. กรมชลประทาน 2548 งานจ้างส้ารวจออกแบบโครงการอ่างเก็บน้้ามวกเหล็ก อ้าเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี

2. Bieniawski, zt., 1989. Enginerring Rock Mass Classifications. Wiley. New York. 251 p.

3. Romana, M.R., 1993, A Geomechanics Classification for Slopes; Slope Mass Rating. (In "Comprehesive Rock Engineering" Ed. J. Hudson). Pergamon, Vol 3, pp 575-600.

Page 9: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

14

ผู้ส้ารวจ / จัดท้ารายงาน เสนอ / เห็นชอบ

............................................... …………………………………………………..

1. (นายกัมปนาท ขวัญศิริกุล) (นายปกรณ์ เพชระบูรณิน)

นักธรณีวิทยาช้านาญการพิเศษ ผวธ.สธ.

………………………………………………

2. (นายอุทัย หงษ์ใจสี)

นักธรณีวิทยาช้านาญการพิเศษ

……………………………………………….

3. (นายสวาท เคนวิเศษ)

นักธรณีวิทยาช้านาญการ

Page 10: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

15

ภาคผนวก ก

ภาพถ่ายแสดงวิธีการเก็บข้อมูลการวางตัวและรอยแตกของช้ันหิน

- บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้น (Station 1-18) - บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งขวาของอาคารระบายน้้าล้น (Station 18-21)

Page 11: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

16

รูปที่ 3 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 1 (กม. 0+020)

รูปที่ 4 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 2 (กม. 0+041)

Page 12: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

17

รูปที่ 5 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 3 (กม. 0+053)

รูปที่ 6 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 4 (กม. 0+058) (Berm 5)

Page 13: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

18

รูปที่ 7 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 5 (กม. 0+070)

รูปที่ 8 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 6 (กม. 0+080) (Berm 3)

Page 14: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

19

รูปที่ 9 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 7 (กม. 0+091)

รูปที่ 10 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 8 (กม. 0+098) (Berm 5)

Page 15: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

20

รูปที่ 11 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 9 กม. (0+120)

รูปที่ 12 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 10 (กม. 0+150)

Page 16: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

21

รูปที่ 13 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 11 (กม. 0+180)

รูปที่ 14 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 12 (กม.0+190) (Berm 3)

Page 17: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

22

รูปที่ 15 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 13 (กม.0+195)

รูปที่ 16 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 14 (กม. 0+200)

Page 18: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

23

รูปที่ 17 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 15 (กม. 0+230)

รูปที่ 18 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 16 (กม. 0+252) (Berm 2)

Page 19: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

24

รูปที่ 19 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 17 (กม. 0+260)

รูปที่ 20 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 18 (กม. 0+310)

Page 20: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

25

รูปที่ 21 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 19 (กม. 0+260) (ฝั่งขวาของอาคารระบายน้้าล้น)

รูปที่ 22 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 20 (กม. 0+180) (ฝั่งขวาของอาคารระบายน้้าล้น)

Page 21: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

26

รูปที่ 23 แสดงลักษณะการวางตัวและรอยแตกของชั้นหินที่ Station 21 (กม. 0+095) (ฝั่งขวาของอาคารระบายน้้าล้น)

Page 22: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1
Page 23: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1
Page 24: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

27

ภาคผนวก ข

ผลการวิเคราะห์โดยวิธี Kinematic (Stereographic interpretation)

- บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งซ้ายของอาคารระบายน้้าล้น (Station 1-18) - บริเวณลาดไหล่เขาฝั่งขวาของอาคารระบายน้้าล้น (Station 18-21)

Page 25: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

28

Station 1 กม.ที่ 0+020 ไม่มีโอกาสเกิดการพังทลายของมวลหิน เนื่องจากตัวอย่างหินที่วิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (60-63) ระดับคุณภาพปกติถึงดีและรอยแยกตัดกันอยู่ในนอกเขตการพังทลาย (non-daylight zone)

Station 2 กม.ที่ 0+041 เมื่อเทียบผลการวิเคราะห์ค่า SMR แล้วอยู่ในเกณฑ์ปกติถึงดี (55-62) ค่ามุม Ø จึงอยู่ในเกณฑ์สูงเช่นกัน แต่มีรอยแยกJ2 ตัดกับ J3 อยู่ในเขตพังทลาย (daylight zone) จึงมีโอกาสที่บางรอยแยกท่ีตัดกันดังกล่าวเกิดการพังทลายเป็นรูปลิ่ม (wedge failure)

Page 26: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

29

Station 3 กม.ที่ 0+053 มีรอยเลื่อนตัดผ่าน ท้าให้คุณภาพหินลดลง โดยมีค่า SMR ต้่า (37-44) ค่ามุม Ø จึงอยู่ในเกณฑ์ต่้าด้วย จึงมีโอกาสเกิดการพังทลายของมวลหินเป็นรูปลิ่ม (wedge failure) จาก รอยแยก J4กับ J2 ตัดกันอยู่ในเขตพังทลาย (daylight zone)

Station 4 กม.ที่ 0+058 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าปานกลาง (51-52) คุณภาพหินจัดอยู่ในเกณฑ์ดีปาน กลาง แต่ไม่มีรอยแยกท่ีตัดกัน หรือวางตัวอยู่ในระนาบเดียวกันกับพ้ืนที่หน้าตัดลาดไหล่เขา ที่จะ ท้าให้เกิดโอกาสการพังทลายของมวลหินได้

Page 27: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

30

Station 5 กม.0+070 คุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ที่ดีถึงดีมาก โดยมีค่า SMR สูงถึงสูงมาก (74-91) ค่ามุม Ø จึงอยู่ในเกณฑ์สูงเช่นกันและการตัดกันของรอยแยกอยู่นอกเขตการพังทลาย (non-daylight zone) มวลหินจึงไม่มีโอกาสเกิดการพังทลาย

Station 6 กม.ที่ 0+080 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าต่้า คุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างไม่ดี เนื่องจากมวลหินถูกแรงที่เกิดจากรอยเลื่อนบดอัด แต่ทิศทางการวางตัวของรอยแยกไม่อยู่ใน สภาพที่ตัดกัน หรือขนานกับระนาบหน้าตัดของลาดไหล่เขา จึงท้าให้มีโอกาสเกิดการพังทลาย ของมวลหินเกิดขึ้นได้บ้าง

Page 28: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

31

Station 7 กม.ที่ 0+091 มวลหินผลการวิเคราะห์ค่า SMR อยู่ในเกณฑ์สูง (65-74) คุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดี จึงมีค่ามุม Ø สูง ไม่พบการตัดกันของรอยแยกอยู่ในเขตเกิดการพังทลาย (non-daylight zone) จึงไม่ปรากฏลักษณะที่จะเกิดการพังทลายของมวลหิน

Station 8 กม.ที่ 0+098 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าต่้า (37 และ 61) จัดคุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ไม่ดี เนื่องจากเป็นบริเวณท่ีมีรอยเลื่อนตัดผ่าน (fault zone) ซึ่งจะสอดคล้องกับค่ามุม Ø ที่มีค่าต่้า ด้วย โดยพบรอยแยก J1 วางตัวอยู่ในเขตที่จะท้าให้มวลหินเกิดการพังทลาย (daylight zone) เป็นแนวระนาบขนานกับพ้ืนที่หน้าตัดของลาดไหล่เขา และพบว่ารอยแยก J2 มีข้ัวของมุม เอียงตัวของรอยแยกอยู่ในเขตที่อาจจะเกิดการหักหล่นของมวลหิน (topping failure) ได้

Page 29: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

32

Station 9 กม.ที่ 0+120 ผลการวิเคราะห์คุณภาพมวลหินมีค่า SMR สูงถึงสูงมาก (69-89) คุณภาพหินอยู่ ในเกณฑ์ที่ดีถึงดีมาก จึงมีค่ามุม Ø ที่อยู่ในเกณฑ์สูงเช่นกัน และไม่ปรากฏรอยแยกตัดกันอยู่ใน เขตการเกิดพังทลาย (non-daylight zone) จึงไม่เกิดโอกาสการพังทลายของมวลหิน

Station 10 กม.ที่ 0+150 มวลหินมีผลการวิเคราะห์ค่า SMR ที่สูงมาก (65-100) จัดอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมากซ่ึง ค่ามุม Øจะอยู่ในเกณฑ์สูงเช่นกันและพบการตัดกันของรอยแยก หรือรอยแยกที่จะท้าให้เกิดการ พังทลายอยู่ในทิศทางเดียวกับตัดของลาดไหล่เขา อยู่ในเขตที่เกิดการพังทลาย (non-daylight zone) จึงไม่พบโอกาสที่จะการเกิดการพังทลายของมวลหิน

Page 30: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

33

Station 11 กม.ที่ 0+180 มีผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าค่อนข้างสูง (60-67) มวลหินมีคุณภาพปกติถึงดี จึงมีค่ามุม Ø ที่อยู่ในเกณฑ์สูง ถึงแม้จะมีรอยแยกมากแต่ไม่พบรอยแยกตัดกันอยู่ในเขตที่จะเกิด การพังทลาย (non-daylight zone) จึงไม่พบลักษณะโอกาสที่จะเกิดการพังทลายของมวลหิน

Station 12 กม.ที่ 0+190 วิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (63-67) คุณภาพหินจัดอยู่ในเกณฑ์ดี ไม่มีรอยแยกแนว ใดที่จะตัดกันหรือขนานท้ามุมพอดีกับหน้าตัดลาดไหล่เขา ที่ท้าให้เกิดการพังทลายของมวลหิน

Page 31: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

34

Station 13 กม.ที่ 0+195 ผลวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าปานกลาง (46-47) จัดคุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ดี โดยค่า มุม Ø อาจมีค่าต่้าบางต้าแหน่ง ท้าให้มีรอยแยกตัดกันอยู่ในเขตท่ีมีโอกาสเกิดการพังทลาย (daylight zone) ของมวลหินบนลาดไหล่เขาได้

Station 14 กม.ที่ 0+200 มีผลการวิเคราะห์ค่า SMR อยู่ในเกณฑ์ปกติ (52-59) และบางส่วนอยู่ในเกณฑ์สูง (103) จึงมีโอกาสที่อาจจะเกิดการพังทลายของมวลหินแบบหักหล่น (topping failure) ของรอย แยก J3 หรือโอกาสเกิดหินพังทลายรูปลิ่ม (wedge) ของรอยแยก J1 ตัดกับ J4

Page 32: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

35

Station 15 กม.ที่ 0+230 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (71-78) คุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ค่ามุม Ø จึง มีโอกาสสูงตามด้วย จึงไม่พบการตัดกันของรอยแยกอยู่ในเขตท่ีจะเกิดการพังทลาย(non- daylight zone) ซึ่งมวลหินที่วิเคราะห์ได้มีเสถียรภาพที่มั่นคง

Station 16 กม. 0+252 ผลการวิเคราะห์ค่าSMRมีค่าสูงถึงสูงมาก (61-90) คุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ถึงดีมากท้าให้ค่ามุมØ มีค่าสูง และไม่เกิดการตัดกันของรอยแยกอยู่ในเขตที่จะเกิดการ พังทลาย(non-daylight zone) จึงไม่พบโอกาสที่จะเกิดการพังทลายของมวลหิน

Page 33: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

36

Station 17 กม.ที่0+260 แสดงผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (69-76) มวลหินมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ดี จึงไม่พบการตัดกันของรอยแยกท่ีอยู่ในเขตของการพังทลาย ทั้งแบบรูปลิ่ม และระนาบ ท้าให้ เสถียรภาพความมั่นคงของมวลหินมั่นคง

Station 18 กม.ที่ 0+310 แสดงผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (71-78) มวลหินมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ท่ีดี จึงไม่พบการตัดกันของรอยแยกท่ีอยู่ในเขตของการพังทลาย ทั้งแบบรูปลิ่ม และระนาบ ท้าให้ เสถียรภาพความมั่นคงของมวลหินมั่นคง

Page 34: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

37

Station 19 กม. 0+260 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (60-76) จัดคุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงดี แต่มีรอยแยกบางจุดตัดกันอยู่ในเขตที่มีโอกาสเกิดการพังทลาย (daylight zone) จึงอาจเกิด โอกาสการพังทลายของมวลหินได้บ้าง

Station 20 กม.ที่ 0+180 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูง (62-67) จัดคุณภาพหินอยู่ในเกณฑ์ท่ีดี จึงท้าให้ ค่ามุม Ø มีค่าสูงเช่นกันจึงไม่พบรอยแยกท่ีตัดกัน หรือมีระนาบการวางตัวที่อยู่ในเขตที่มีโอกาส เกิดการพังทลาย (daylight zone) จึงท้าให้มวลหินมีความมั่นคงดี

Page 35: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

38

Station 21 กม.ที่ 0+095 ผลการวิเคราะห์ค่า SMR มีค่าสูงถึงสูงมาก (71-92) ท่้าให้ค่ามุม Ø มีค่าสูงตามไป ด้วย จึงไม่พบการตัดกันของรอยแยก หรือระนาบรอยแยกอยู่ในเขตที่จะเกิดการพังทลาย (daylight zone) ของมวลหิน

Page 36: การวิเคราะห์เสถียรภาพความมั่นคงของลาดไหล่เขา บริเวณทาง ...kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/1

39

ภาคผนวก ค

ผลการวิเคราะห์โดยวิธี Slope Mass Rating (SMR)