89
โครงการวิจัย กระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงาน ป 2553 - 2554 KM Processes Effecting on Work Efficiency in 2010-2011 สวนฝกอบรม สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล กรมชลประทาน พ.ศ. 2554

ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

โครงการวิจัย

กระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงาน

ป 2553 - 2554

KM Processes Effecting on Work Efficiency

in 2010-2011

สวนฝกอบรม

สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

กรมชลประทาน

พ.ศ. 2554

Page 2: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการวิจัยฉบับน้ี สําเร็จลุลวงไปไดดวยดีโดยไดรับความกรุณาอยางยิ่งจาก

ผูอํานวยการสวนฝกอบรม นางศิวพร ภมรประวัติ และนางสาวนันทพร เงินฉลาด เปนที่ปรึกษาที่ได

ใหคําแนะนําและขอคิดที่เปนประโยชนอยางมาก ในดานการทําวิจัยฉบับน้ี ตลอดจนตรวจแกไข

ขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสเปนอยางยิ่ง ต้ังแตเร่ิมตน จนกระทั่งสําเร็จลงดวยดี ผู วิจัย

ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่น้ี

ขอขอบพระคุณ คณะกรรมการและผูเชี่ยวชาญทุกทาน นางสาวลัดดา วรการพินิจ

และนายนพดล สิงหโต ที่กรุณาไดใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรองตางๆ และตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใชใน

การวิจัย จนทําใหผลงานวิจัยคร้ังน้ีสมบูรณมากขึ้น

ขอขอบพระคุณผูอํานวยการสํานัก/กอง สวนกลางและสวนภูมิภาค ที่ไดใหความ

รวมมือเปนอยางยิ่ง ในการใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการวิจัย

ทายที่สุดผูวิจัย ขอขอบคุณเพื่อนรวมงาน และผูที่มิไดเอยนาม ณ ที่น้ี ที่ไดเปนกําลังใจ

ใหตลอดมา ชวยเหลือผูวิจัยตลอดมาจนกระทั่งรายงานการวิจัยฉบับน้ีสําเร็จลุลวงดวยดี

ปาจรีย สิงหโต

Page 3: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

ชื่อโครงการวิจัย กระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงานป 2553-2554

ชื่อผูศึกษาโครงการ นางสาวปาจรีย สิงหโต

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหความสัมพันธกระบวนการจัดการความรูที่มีผลตอ

ประสิทธิภาพการทํางาน กลุมตัวอยางเปนขาราชการในกรมชลประทานสวนกลางและสวนภูมิภาคที่ใช

ในการวิจัยมีจํานวน 378 คน ซึ่งไดจากการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) โดย

ใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ ความถี่ รอยละ

คาเฉลี่ยเลขคณิต คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression

Analysis) และการวิเคราะห Gap Analysis

ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามที่เปนKM Team สวนใหญมีระยะเวลาการรวมทํา

กิจกรรม KM เพียง 1 ป ซึ่งแสดงใหเห็นวาการจัดการความรูมีการเปลี่ยนแปลง KM Team เปนประจํา

ทุกป ทําใหการทํางานดาน KM อาจไมตอเน่ืองเพราะตองเร่ิมตนใหมเสมอ ในดานการวัดความรูความ

เขาใจเกี่ยวกับ KM แตละสํานัก/กอง รอยละของภาพรวมคือ 56.2 ซึ่งถือวายังไมผานเกณฑการประเมิน

ทุกสํานัก/กอง ควรมีการถายถอดความรูดานการจัดการความรูเพื่อใหคนในหนวยงานตระหนักถึง

ประโยชนของการจัดการความรู การวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน

ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ซึ่งควรมีการปรับปรุงระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรค

นวัตกรรมใหตรงกับความตองการขององคกร การวัดความคิดเห็นดานการประเมินกระบวนการจัดการ

ความรู (KMA) ภาพรวมมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง ซึ่งควรมีการปรับปรุงวิธีการถายโอน

ความรูของบุคลากรที่เกษียณอายุ / ออกจากงาน / ยายไปอยูสายงานอ่ืน การวัดความคิดเห็นในการ

ประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู ภาพรวมของการจัดกิจกรรมตามแผนอยูใน

ระดับปานกลาง สิ่งที่ควรปรับปรุงคือ สื่อเผยแพร ประชาสัมพันธงาน KM โดยการจัดทําแผนพับ

โปสเตอร KM ควรออกแบบใหมีความนาสนใจ

ผลการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)ไดความสัมพันธเชิงบวก

ไปในทางเดียวกัน โดยกระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการสงผลตอประสิทธิภาพของ

งานมากที่สุด หากหนวยงานนําขอรองเรียนจากผูรับบริการมาปรับปรุงจะทําใหประสิทธิภาพของงาน

สูงขึ้น การนําองคกรดานการจัดการความรู โดยผูบริหารมีสวนในการผลักดันกระบวนการจัดการความรู

สงผลใหคนในองคกรเห็นความสําคัญการจัดการความรู โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการ

ความรูและเขาถึงขอมูล และกระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรมสงผลตอประสิทธิภาพของ

งาน ปจจัยเหลาน้ีสามารถอธิบายสมการไดรอยละ 66.3 สวนอีกรอยละ 33.7 มาจากปจจัยอ่ืนที่ผูวิจัย

ไมไดนํามาวิจัย โดยผลการวิจัยสอดคลองกับการวิเคราะห Gap Analysis

Page 4: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ

บทคัดยอ

สารบัญ ค

สารบัญตาราง

บทที่ 1 บทนํา 1

ความสําคัญของปญหา 1

วัตถุประสงคของการวิจัย 5

สมมติฐานงานวิจัย

ขอบเขตการวิจัย

กรอบแนวคิดงานวิจัย

นิยามศัพทเฉพาะ

5

5

8

9

ประโยชนที่ไดรับ 10

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม

ความหมาย ลักษณะ และประเภทความรู

ความหมายของการจัดการความรู

วัตถุประสงคและประโยชนของการจัดการความรู

กระบวนการจัดการความรู

ทฤษฎีการเรียนรู

ทฤษฎีแรงจูงใจ

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

11

15

17

18

22

24

30

บทที่ 3 วิธีวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง

เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

ขั้นตอนการสรางเคร่ืองมือ

การเก็บรวบรวมขอมูล

การจัดทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

35

37

38

39

39

40

Page 5: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

บทที่ 4 ผลการประเมินกระบวนการจัดการเรียนรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงาน

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปและคาสิถิติพื้นฐาน 43

ตอนที่ 2 การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรกระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอ

ประสิทธิภาพของกระบวนการทํางาน

ตอนที่ 3 การวิเคราะห Gap Analysis

52

60

วิจารณผลการศึกษา 64

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย

อภิปรายผลการวิจัย

65

68

ขอเสนอแนะ 73

เอกสารอางอิง 75

ภาคผนวก 78

Page 6: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 จํานวนกลุมตัวอยางตามหนวยงานที่สังกัด 36

2 รอยละจํานวนผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามหนวยงานที่สังกัด 43

3 รอยละความเกี่ยวของกับการจัดการความรู 44

4 รอยละระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM ของผูที่เปน KM Team 45

5 รอยละความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM แตละหนวยงาน 45

6 รอยละความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM ตามคําถามรายขอในภาพรวม 47

7 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานสถานะการจัดการความรูใน

หนวยงาน

47

8 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานการประเมินกระบวนการจัดการ

ความรู (KMA)

49

9 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานการประเมินความเหมาะสม

กิจกรรมตามแผนการจัดการความรู

51

10 กลุมตัวแปรดานสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน 53

11 กลุมตัวแปรดานการประเมินการจัดการความรู (KMA) 54

12 Model Summary 58

13 ANOVA 58

14 การทดสอบความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพของงานกับตัวแปรอิสระ 59

15 สรุปผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของงานตามขอคําถามแบงออกเปน 4 ปจจัย

63

Page 7: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

จากกระแสการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในยุคสังคมโลกาภิวัฒน การจัดการความรูแบบเดิมๆ

อาจจะทําใหการแกไขปญหาไมทันตอความตองการ จึงตองมีกระบวนการการจัดการความรูที่เปนระบบเขา

มาชวยในการเพิ่มศักยภาพในกระบวนการทํางาน และยังชวยใหองคกรมีฐานความรูที่ชวยใหบุคลากรใน

องคกรสามารถคนควาและนําความรูที่ไดไปใชประโยชนตรงตามความตองการ ซึ่งจะมีสวนชวยในการ

แกไขปญหาขององคกร รวมทั้งเพื่อเพิ่มผลผลิต ศักยภาพ และขีดความสามารถในการแขงขันขององคกร

ตามแผนการปฏิรูประบบบริหารงานภาครัฐที่มุงใหหนวยงานภาครัฐปรับเปลี่ยนการบริหารเปนการบริหาร

จัดการแนวใหม (New Public Management : NPM) ซึ่งตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย

พ.ศ. 2551 – 2555 กําหนดใหขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐทุกระดับมีหนาที่ในการพัฒนาตนเองตามขีด

สมรรถนะที่กําหนดไว โดยจัดใหมีระบบการเรียนรูและพัฒนาแบบใหม มุงเนนการเรียนรูจาก

ประสบการณจริงและกรณีศึกษามากกวาการบรรยายในชั้นเรียน และพยายามปรับใหตรงตามความตองการ

ของแตละบุคคลมากขึ้น รวมถึงการจัดใหมีระบบการใหคําแนะนํา (Coaching) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring)

การแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน การจัดทําคูมือการทํางานเพื่อสามารถปฏิบัติงานราชการไดอยางมี

คุณภาพมาตรฐาน รวมทั้งจัดใหมีการเตรียมแผนสรางบุคลากรทดแทน (Succession Plan) ในหนวยงาน

ราชการ และปรับปรุงระบบการประเมินผลบุคคลในวงราชการใหเกิดความโปรงใสเปนที่ยอมรับ

(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,2551-2555,หนา 36) ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 ไดสงเสริมใหมีการสรางวัฒนธรรมการเรียนรู ใหตระหนักถึงประโยชนและ

ความสําคัญของการเรียนรูตลอดชีวิตที่นําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดํารงชีวิต

ไดอยางรูเทาทัน ดวยการสรางกระแสสังคมใหการเรียนรูเปนหนาที่ของคนไทยทุกคน สรางนิสัยใฝรูต้ังแต

วัยเด็ก ควบคูกับการสงเสริมใหองคกรและสื่อทุกประเภทเปนแหลงเรียนรูอยางสรางสรรค (แผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11, 2555-2559,หนา95)

การจัดการความรูเปนสิ่งที่ไดทํากันมานานแลว ไมใชเร่ืองใหม โดยในอดีตที่ผานมาไดมีการสราง

ความรูตางๆ ขึ้นมากมาย มีการรักษา ถายทอดความรูภูมิปญญาจากรุนหน่ึงสูรุนหน่ึง ตลอดจนมีการ

นําไปใชและเกิดการพัฒนาความรูตอๆไป ทั้งโดยวิธีธรรมชาติที่ผานกระบวนการพูด คุย สังเกต จดจําและ

ผานกระบวนการสั่งสอนอยางมีระบบ เชน อุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งถายทอดกันมาต้ังแตรุนปู ยา ตา

ยาย สูรุนพอแม แลวตกทอดไปสูรุนลูก รุนหลาน โดยอาจไมมีการจดบันทึกไวเปนหลักฐานแตอยางใด

Page 8: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

2

จากพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3

มาตรา 11 ความวา “สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการเพื่อใหมีลักษณะเปนองคกรแหง

การเรียนรูอยางสม่ําเสมอ โดยตองรับรูขอมูลขาวสารและสามารถประมวลผลความรูในดานตางๆ เพื่อนํามา

ประยุกตใชในการปฏิบัติราชการไดอยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสมตอสถานการณ รวมทั้งตองสงเสริม

และพัฒนาความรู ความสามารถ สรางวิสัยทัศนและปรับเปลี่ยนทัศนคติของขาราชการในสังกัดใหเปน

บุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรูรวมกัน ทั้งน้ี เพื่อประโยชนในการปฏิบัติราชการของสวนราชการ

ใหสอดคลองกับการบริหารราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฏกีาน้ี” (สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ,2550)

ในการบริหารราชการแนวใหม สวนราชการจะตองพัฒนาความรูความเชี่ยวชาญใหเพียงพอแกการ

ปฏิบัติงาน ใหสอดคลองกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว และสถานการณของตางประเทศที่มี

ผลกระทบตอประเทศไทยโดยตรง ซึ่งในการบริหารราชการตามพระราชกฤษฎีกาน้ีจะตองมีการวาง

แผนการปฏิบัติราชการทุกระยะ ตองมีการปรับแผน เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตองมีการกําหนดผลสัมฤทธิ์

ของงานที่เปนความจริง ฉะน้ัน แนวความคิดของผูปฏิบัติงานภาครัฐจะตองเปลี่ยนแปลงทัศนคติเดิมเสียใหม

จากการที่ยึดแนวความคิดวาตองปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนที่วางไว ต้ังแตอดีตตอเน่ืองจนถึงปจจุบัน

เนนการสรางความคิดใหมๆ ตามวิชาการสมัยใหมและนํามาปรับใชกับการปฏิบัติราชการ ตลอดเวลาใน

พระราชกฤษฎีกาฉบับน้ีจึงกําหนดเปนหลักการวา สวนราชการตองมีการพัฒนาความรูเพื่อใหมีลักษณะเปน

องคกรแหงการเรียนรูอยางสม่ําเสมอ โดยแนวทางปฏิบัติดังน้ี

1. ตองสรางระบบใหสามารถรับรูขาวสารไดอยางกวางขวาง

2. ตองสามารถประมวลผลความรูในดานตางๆ เพื่อนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการได

อยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณที่มีการเปลี่ยนแปลงไป

3. ตองมีการสงเสริมและพัฒนาความรูความสามารถ สรางวิสัยทัศนและปรับเปลี่ยนทัศนคติ

ของขาราชการ เพื่อใหขาราชการทุกคนเปนผูมีความรูความสามารถในวิชาการสมัยใหม

ตลอดเวลา มีความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และมีคุณธรรม

4. ตองมีการสรางความมีสวนรวมในหมูขาราชการใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและ

กัน เพื่อการนํามาพัฒนาใชในการปฏิบัติราชการรวมกันใหเกิดประสิทธิภาพ

การจัดการความรูเปนเคร่ืองมือสราง “พลังทวีคูณ” (Synergy) ในการปฏิบัติราชการ คือ พลังของ

ขาราชการระดับสูง ขาราชการระดับกลาง และขาราชการระดับลาง ใหสามารถสรางผลงานในระดับ

สรางสรรค มีผลสัมฤทธิ์สูง การจัดการความรูเนนความรูของขาราชการทั้ง 3 ระดับ แตที่เนนมาก คือ

ความรูของขาราชการระดับลางหรือระดับปฏิบัติการ เนนความรูที่ควบคูอยูกับการปฏิบัติในลักษณะ “ไมทํา

Page 9: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

3

ไมรู” ซึ่งไมใชความรูเชิงทฤษฎี เปนการดึงเอาพลังปญญาที่ถูกละเลย คือพลังปญญาของขาราชการระดับ

ลางออกมาใช ซึ่งพลังปญญาของขาราชการระดับน้ีสวนใหญหรือเกือบทั้งหมดอยูในรูปของความรูฝงลึก

แตก็ไมละเลยความรูที่เปดเผยหรือความรูเชิงทฤษฎี (วิจารณ พานิช,2551, หนา 3)

องคประกอบสําคัญของกระบวนการจัดการความรู คือ คน เทคโนโลยี และกระบวนการการ

จัดการความรู (Knowledge Process) โดย “คน” ถือเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุด เพราะเปนแหลงความรู

และเปนผูนําความรูไปใชใหเกิดประโยชน “เทคโนโลยี” เปนเคร่ืองมือที่ชวยใหคนสามารถจัดเก็บ คนหา

แลกเปลี่ยน รวมทั้งนําความรูไปใชไดอยางสะดวกและรวดเร็วขึ้น สวน “กระบวนการจัดการความรู” เปน

การบริหารจัดการเพื่อนําความรูจากแหลงความรูไปใหผูใช เพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี

หรือในแนวทางที่ตองการ ซึ่งองคประกอบทั้ง 3 สวนน้ี จะตองเชื่อมโยงและบูรณาการเขาดวยกัน

ดังน้ัน ความรูจึงเปนทรัพยสินที่มีคาที่สุดขององคกร และมีลักษณะเฉพาะโดดเดนกวาทรัพยสิน

อ่ืนๆ และไมมีขีดจํากัด ยิ่งเรียนรูมากยิ่งมีความรูใหมมากขึ้น ยิ่งใชมาก ยิ่งมีคุณคาเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย

นอกจากน้ี เมื่อนําความรูเกามาบูรณาการเขากับความรูใหมก็จะกอใหเกิดความรูใหมๆ ขึ้นอีก และสามารถ

นําความรูไปใชประโยชนไดมากขึ้น ซึ่งเรียกวา “วงจรการเรียนรู” (บุญดี บุญญากิจ, นงลักษณ ประสพสุข

โชคชัยและคณะ, 2549, หนา 7-8)

กรมชลประทานตระหนักถึงความสําคัญของความรูที่เปนสินทรัพยที่มีความสําคัญที่สุดขององคกร

มีการจัดการความรู เพื่อขับเคลื่อนใหกรมชลประทานกาวสูลักษณะองคกรแหงการเรียนรูอยางสม่ําเสมอ

ตามแนวทางของสํานักงาน ก.พ.ร. มาต้ังแตป พ.ศ. 2548 จนถึงปจจุบัน ดวยวิสัยทัศนมุงบริหารจัดการองค

ความรูพัฒนาเครือขายและศูนยกลางการเรียนรูโดยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อความเปนเลิศดาน

การบริหารจัดการนํ้าอยางยั่งยืน ดวยการสงเสริมสนับสนุนของผูบริหารจัดการความรูทั้งในระดับกรมและ

ในระดับสํานัก/กองทุกคน ที่ชวยกันสรางวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู เสริมสรางสภาพแวดลอมใหมี

บรรยากาศการเรียนรู สรางขวัญกําลังใจ แรงจูงใจและปจจัยแหงความสําเร็จตางๆ ที่ เ อ้ือใหเกิด

ความกาวหนา เกิดนักปฏิบัติจัดการความรูทั่วทั้งกรมชลประทาน (ศุภชัย รุงศรี,2553,หนา 5)

การจัดการความรูในกรมชลประทานมี 2 กระบวนการสําคัญเปนหัวใจของการเรียนรูไดแก

1. กระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management Process) ซึ่งแบงเปน 7 กระบวนการ คือ

1.1 การคนหาความรู (Knowledge Identification) เปนการสํารวจความรูสําคัญที่ตองใชความรูใดที่

มีอยูแลวและความรูที่ยังไมมี

1.2 การสรางและแสวงหาความรู (Knowledge Creation and Acquisition) เปนการตรวจสอบ

ความรูสําคัญที่ยังไมมีในหนวยงานและสรางหรือแสวงหาความรูขึ้นมา

Page 10: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

4

1.3 การจัดเก็บความรูใหเปนระบบ (Knowledge Organization) เปนการรวบรวมความรูที่มีอยูใน

รูปแบบตางๆ

1.4 การประมวลและกลั่นกรองความรู (Knowledge Codification and Refinement) เปน

กระบวนการกลั่นกรององคความรูโดยจัดผูเชี่ยวชาญหรือผูรูในดานตางๆ มาตรวจสอบ

วิคราะหความถูกตอง

1.5 การเขาถึงความรู (Knowledge Access) การพิจารณาชองทางที่ทุกคนสามารถเขาถึงความรูได

อยางสะดวกรวดเร็วทั้งในพื้นที่จริงและพื้นที่เสมือน

1.6 การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู (Knowledge Sharing) จัดกิจกรรมเพื่อใหมีการแบงปน

แลกเปลี่ยนความรูที่เปน Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge

1.7 การเรียนรู (Learning) จากการปฏิบัติงานโดยแกไข ปรับปรุงงานจากการเรียนรู

2. กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) ซึ่งมีทั้งหมด 6 กระบวนการ

2.1 การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management) คือการ

เตรียมพื้นฐานของหนวยงานใหเหมาะสมกับการจัดการเรียนรู

2.2 การสื่อสาร (Communication) เปนการสื่อสารกับคนในหนวยงานในการสงเสริมใหเกิดการ

จัดการเรียนรู

2.3 กระบวนการและเคร่ืองมือ (Process and Tools) เปนการเลือกใชเคร่ืองมือหรือวิธีการที่

เหมาะสมในการจัดการความรูของหนวยงาน

2.4 การฝกอบรมและการเรียนรู (Learning) การทําใหบุคลากรในหนวยงานใชเคร่ืองมือเทคนิค

หรือวิธีการจัดการความรูตามที่เลือกไวไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด

2.5 การวัดผล (Measurement) การตรวจสอบสิ่งที่ไดทําไปแลววามีประสิทธิผลเพียงใดเพื่อ

ปรับปรุงสิ่งที่ยังไมดีใหดีขึ้น

2.6 การยกยองชมเชยและใหรางวัล (Recognition and Rewards) การกระตุนและสงเสริมการมีสวน

รวมในกิจกรรมการจัดการความรูของคนในหนวยงาน ทั้งในสวนของคณะทํางานและ

ผูปฏิบัติงาน (วารสารการจัดการความรูกรมชลประทาน,2553, หนา 12-15)

การจัดการความรูของกรมชลประทานอยางตอเน่ืองจากปพ.ศ. 2548 – ปจจุบันทําใหกรมชลประทาน

ไดรับคัดเลือกจากสํานักงาน ก.พ.ร. รวมกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติใหเปน สวนราชการนํารอง 6

หนวยงาน ไดแก สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรมชลประทาน กรมสงเสริม

อุตสาหกรรม กรมสุขภาพจิต สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด สํานักงานนโยบาย

Page 11: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

5

และแผนการขนสงและจราจร สงคณะทํางานตรวจประเมินการจัดการความรูเขารวมฝกอบรม หนวยงานละ

ประมาณ 8 คน รวมประมาณ 48 คน ในโครงการตรวจประเมินการจัดการความรูสูความเปนเลิศ (Knowledge Management Assenssment (KMA)) เพื่อเปนการตรวจประเมินการจัดการความรูในหนวยงาน

วามีสถานะการจัดการความรู

จะเห็นไดวากรมชลประทานมีการจัดการความรูอยางตอเน่ืองมาเปนเวลาหลายปแตยังไมมีการศึกษา

วิจัยผลของการใชกระบวนการจัดการความรูตอประสิทธิภาพของการทํางาน ซึ่งเมื่อมีการศึกษาวิจัยสํารวจ

ความคิดเห็นของขาราชการในกรมชลประทานจะทําใหสามารถนําขอมูลที่ไดรับมาปรับปรุงกระบวนการจัด

การความรู เพื่อใหบรรลุเปาหมายของการเปนองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization) อีกทั้งจาก

โครงการการตรวจประเมินการจัดการความรูสูความเปนเลิศ ในหมวดที่ 4 จะตองมีการหาผลลัพธของการ

จัดการความรู ซึ่งการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีจะเปนประโยชนในการนําเสนอขอเท็จจริงจากการจัดการความรูในองคกร

1.2 วัตถุประสงคของงานวิจัย

1. เพื่อศึกษาความรูความเขาใจกระบวนการจัดการความรูในกรมชลประทาน

2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรูในกรมชลประทาน

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธการจัดการความรูในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานในกรมชลประทาน

4. เพื่อศึกษาปจจัยจากการจัดการความรูที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานในกรมชลประทาน

1.3 สมมติฐานในการวิจัย

1. บุคลากรมีความรูความเขาใจกระบวนการจัดการความรูในกรมชลประทานผานเกณฑรอยละ 60

2. บุคลากรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรูในกรมชลประทานอยูในระดับปานกลาง

3. กระบวนการจัดการความรูมีความสัมพันธในเชิงบวกกับการมีประสิทธิภาพในการทํางาน

4. กระบวนการจัดการความรูสงผลตอประสิทธิภาพในการทํางาน

1.4 ขอบเขตของการวิจัย

ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิจัย คือ การศึกษาการดําเนินการจัดการความรูในกรมชลประทานดวย

การใชแบบสํารวจความรู ความเขาใจและความคิดเห็นของการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพใน

การทํางาน ของขาราชการในกรมชลประทานทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค โดยมีระยะเวลาในการวิจัยจาก

เดือนมิถุนายน – กันยายน พ.ศ. 2554

1.5 ตัวแปรท่ีใชในการวิจัย

1. ตัวแปรอิสระ คือ กระบวนการจัดการความรู

1.1 โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล

Page 12: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

6

- มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู (X1)

- จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ือง (X2)

- มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู (X3)

- มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู (X4)

- สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู (X5)

- มีการกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศและความรูที่นําเสนอในคลังความรู (X6)

- มีการเลือกใชเคร่ืองมือการจัดการความรู (X7)

- มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไปปรับปรุงงาน (X8)

1.2 กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม

- มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู (X9)

- มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม (X10)

- มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจากหนวยงานที่เปนแบบอยางที่ดี (X11)

- มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู (X12)

- มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของหนวยงาน (X13)

- มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินการจัดการความรู (X14)

- มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ (X15)

- สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM (X16)

- มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตามระยะเวลาที่กําหนด (X17)

1.3 การนําองคกรดานการจัดการความรู

- CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง (KMA1)

- CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก/กอง (KMA2)

- CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง (KMA3)

- CKO สงเสริมใหใชเคร่ืองมือการจัดการความรูในการพัฒนาปรับปรุงงาน (KMA4)

- มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเร่ือง KM ในการประชุมสําคัญของสํานัก/กอง (KMA5)

- มีแผนการจัดการความรูของสํานักชัดเจนตามรูปแบบที่กําหนด (KMA6)

1.4 กระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการ

- หนวยงานเลือกองคความรูที่จะจัดการความรูโดยคํานึงถึงการใหบริการลูกคา (KMA7)

- หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึงการใหบริการลูกคา (KMA8)

Page 13: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

7

- สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน(KMA9)

- ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพึงพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา (KMA10)

2. ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของงาน

1.1 บรรยากาศการทํางานขององคกร

- บุคลากรของสํานักเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการจัดการความรู (KMA16)

- สํานักทํา KM แลวมีบรรยากาศการทํางานรวมกันที่ดีขึ้น (KMA17)

- บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการความรู ไดรับความสนใจจากบุคลากรในหนวยงาน (KMA20)

- บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ มีความเปนกันเอง (KMA21)

- บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการความรู (KMA23)

1.2 การนําความรูจากการจัดการความรูไปใชประโยชนในการทํางาน

- บุคลากรในสํานักรูสึกวาความรูของตนเองมีคุณคา เปนประโยชนตอการพัฒนา

ประสิทธิภาพ (KMA18)

- สามารถระบุความเชี่ยวชาญของบุคลากรในภารกิจดานตางๆของหนวยงานได (KMA19)

- สํานัก / กองตระหนักวาการจัดการความรู มีประโยชนและใชประโยชนจากการจัดการ

ความรู (KMA22)

- สํานัก/ กองมีการใชประโยชนจากองคความรูที่ไดจากการจัดการความรู (KMA24)

- สํานัก / กองใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการ

ทํางาน (KMA25)

- สํานัก/ กองพบวาการจัดการความรูสงผลใหประสิทธิภาพของการทํางานสูงขึ้น (KMA26)

- สํานัก/ กองพบวาการจัดการความรูสงผลใหเกิดนวัตกรรมในการทํางาน (KMA27)

- การแลกเปลี่ยนความรูหรือขอมูลขาวสารภายในสํานักทําไดอยางรวดเร็ว (KMA28)

- ความรูหรือขอมูลที่ถายทอดจากเคร่ืองมือการจัดการความรู มีความทันสมัยทันตอ

เหตุการณ (KMA29)

- สํานัก/กองจัดกิจกรรมตางๆเพื่อใหเจาหนาที่ทุกคนไดมีโอกาสพบปะ สังสรรค พูดคุย

แลกเปลี่ยน (KMA30)

- สํานัก/กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของบุคลากรที่เกษยีณอาย ุ ออกจากงาน ยายไปอยูที่อ่ืน (KMA31)

- ทานตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการที่มีประโยชนและงายตอการปฏิบัติงาน (KMA32)

Page 14: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

8

1.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ : กระบวนการจัดการความรู

ตัวแปรตาม : ประสิทธิภาพของงาน

โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการ

ความรูและการเขาถึงขอมูล

- มีการกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศ

และความรูท่ีนําเสนอในคลังความรู

- เขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจาก

คลังความรู

- มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู

สรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม

- มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูท่ีมี

ผลงานดีเดนดานการจัดการความรู

- มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากร

สรางสรรคนวัตกรรม

- มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการ

จัดการความรู

การนําองคกรดานการจัดการความรู

- CKO กําหนดนโยบาย KM ของ

สํานัก/กอง

- CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จ

ของ KM อยางตอเน่ือง

กระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวของกับ

ผูรับบริการ

- หนวยงานมีการเรียนรูความตองการ

และความคาดหวังถึงการใหบริการ

ลูกคา

- ผลการจัดการความรูของสํานักสราง

ความพึงพอใจท่ีสูงขึ้นใหแกลูกคา

บรรยากาศการทํางานในองคกร

- บุคลากรของสํานักเปดใจ

ยอมรับเก่ียวกับการ

จัดการความรู

- สํานักทํา KM แลวมี

บรรยากาศการทํางาน

รวมกันท่ีดีขึ้น

การนําความรูจากการจัดการ

ความรูไปใชประโยชน

- สํานัก กองมีการใช

ประโยชนจากองคความรู

ท่ีไดจากการจัดการ

ความรู

- ทานตระหนักวาการ

จัดการความรูเปน

กระบวนการท่ีมี

ประโยชนและงายตอการ

ปฏิบัติงาน

Page 15: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

9

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ

1. การจัดการความรู หมายถึง การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในตัวบุคคลที่ไดจากการเรียนรู การ

ทํางาน หรือประสบการณ โดยกระบวนการจัดการความรูจะมีระบบหรือวิธีการแบบไหนขึ้นอยูกับ

ตัวบุคคล หรือองคกรน้ันๆ

2. กระบวนการจัดการความรู หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนในการจัดการความรูที่เปนระบบ

ประกอบดวย 7 กระบวนการคือ การคนหาความรู การสรางและแสวงหาความรู การจัดเก็บ

ความรูใหเปนระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู การเขาถึงความรู การแบงปน

แลกเปลี่ยนเรียนรู และการเรียนรู

3. กระบวนการบริหารการเปล่ียนแปลง หมายถึง การเตรียมความพรอมในกระบวนการบริหารการ

เปลี่ยนแปลงประกอบดวย 6 กระบวนการ คือ การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การ

สื่อสาร กระบวนการและเคร่ืองมือ การฝกอบรมและการเรียนรู การวัดผล และการยกยอง

ชมเชยและใหรางวัล

4. การประมวลและกล่ันกรองความรู หมายถึง กระบวนการกลั่นกรององคความรูโดยจัดผูเชี่ยวชาญ

หรือผูรูในดานตางๆ มาตรวจสอบ วิคราะหความถูกตองของขอมูลกอนการจัดเก็บขอมูล

5. การเขาถึงขอมูลความรู หมายถึง การพิจารณาชองทางที่ทุกคนสามารถเขาถึงความรูไดอยาง

สะดวกรวดเร็วทั้งในพื้นที่จริงและพื้นที่เสมือน

6. การสรางแรงจูงใจ หมายถึง การกระตุนและสงเสริมการมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการความรู

ของคนในหนวยงาน ทั้งในสวนของคณะทํางานและผูปฏิบัติงาน ดวยการยกยองชมเชยและให

รางวัล

7. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อใหมีการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู

ที่เปน Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge ระหวางผูปฏิบัติงานในโอกาสตางๆ ทั้งในพื้นที่

จริง และพื้นที่เสมือนทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ

8. การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมายถึง คือการเตรียมพื้นฐานของหนวยงานให

เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู เชนการแตงต้ังคณะทํางานและการติดตามประเมินผลของกิจกรรม

ตางๆ การแสดงความมุงมั่นของผูบริหาร และการสรางบรรยากาศที่สนับสนุนการจัดการความรู

เปนตน

Page 16: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

10

9. การเรียนรู หมายถึง การผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติ โดยการใหผูไดรับความรู

นําความรูไปปฏิบัติจริง เมื่อปฏิบัติตามแลวมีปญหาตรงไหน มีจุดที่ตองปรับปรุงแกไขอยางไร ผู

ปฏิบัติสามารถแจงขอมูลปอนกลับ (Feedback) เพื่อใหหนวยงานนําไปพิจารณาปรับปรุงงาน

10. พื้นท่ีจริง หมายถึง การจัดการความรูผานพื้นที่จริงที่คนสามารถ จับตองและสัมผัสได หรือเห็น

หนากันจริง เชน หองสมุด มุมกาแฟ มุมแลกเปลี่ยนเรียนรู เปนตน

11. พื้นท่ีเสมือน หมายถึง การจัดการความรูผานพื้นที่ เสมือนที่ไมใชของจริง แตเปนการนํา

เทคโนโลยีมาใชในการจัดการความรูทําใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการคนหาความรูหรือ

แลกเปลี่ยนกันโดยไมตองเสียเวลาเดินทางไปยังพื้นที่จริง เชน คลังความรูจากการจัดเก็บใน

อินเตอรเน็ต face book การใชเว็บบอรดแลกเปลี่ยนความรู เปนตน

1.8 ประโยชนท่ีไดรับจากการวิจัย

1. ทราบความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความรูของขาราชการในกรมชลประทานเพื่อวางแผนใน

การพัฒนาความรูดานการจัดการความรู

2. ทราบความกาวหนาในการใชกระบวนการจัดความรูในการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน

3. ทราบสาเหตุและปจจัยที่สงผลในกระบวนการจัดการความรูไปใชในการปรับปรุงประสิทธิภาพใน

การทํางาน

4. แนวทางในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการความรูใหเกิดประโยชนในการนําไปใชในการ

ทํางาน

Page 17: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

11

บทท่ี 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาคร้ังน้ีผูวิจัยไดทําการศึกษาและทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของ

โดยเนนศึกษากระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงานในกรมชลประทาน ในหัวขอ

ดังตอไปน้ี

1. ความหมาย ลักษณะ และประเภทความรู

2. ความหมายของการจัดการความรู

3. วัตถุประสงคและประโยชนของการจัดการความรู

4. กระบวนการจัดการความรู

5. ทฤษฎีการเรียนรู

6. ทฤษฎีแรงจูงใจ

7. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ความหมาย ลักษณะ และประเภทความรู

นิยามของคําวา “ความรู” มีผูใหคํานิยามอยางแพรหลาย ซึ่งโดยสวนใหญจะมีการใหความหมาย

ของความรูไวหลากหลายดังน้ี

ราชบัณฑิตยสถาน (2542, หนา 329) ไดระบุความหมายความรู (Knowledge) ในพจนานุกรมฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควาหรือประสบการณ

รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเขาใจหรือสารสนเทศที่ไดรับมาจากประสบการณ สิ่งที่

ไดรับจากการไดยิน ไดฟง การคิดหรือการปฏิบัติองควิชาในแตละสาขา

Hideo Yamazaki (อางถึงในสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ,2547) ใหความหมายของความรู คือ

สารสนเทศที่ผานกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรูอ่ืนจนเกิดเปนความเขาใจ และนําไปใช

ประโยชนในการสรุป และตัดสินใจในสถานการณตางๆ โดยไมจํากัดชวงเวลา และไดอธิบายความสัมพันธ

ขอมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู (Knowledge) และปญญา (Wisdom) ดังน้ี

1. ขอมูล (Data) คือเปนขอเท็จจริง ขอมูลดิบ หรือตัวเลขตางๆ ที่ยังไมไดผานการแปลความ

2. สารสนเทศ (Information) คือ ขอมูลที่ผานกระบวนการสังเคราะห วิเคราะห เพื่อนํามาใช

ประโยชนในการบริหารจัดการ และตัดสินใจ มีบริบทซึ่งเกิดจากความเชื่อ สามัญสํานึกหรือ

ประสบการณของผูใชสารสนเทศน้ันๆ โดยมักจะอยูในรูปของขอมูลที่วัดหรือจับตองได

Page 18: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

12

3. ความรู (Knowledge) คือ สารสนเทศที่ผานกระบวนการคิด เปรียบเทียบเชื่อมโยงกับความรูอ่ืนจน

เกิดเปนความเขาใจและนําไปใชประโยชนในการสรุป ตัดสินใจในสถานการณตางๆ ไดโดยไม

จํากัดชวงเวลา

4. ปญญา (Wisdom) คือ ความรูที่ฝงอยูในตัวคน กอใหเกิดประโยชนในการนําไปใชเพื่อใหมีความ

เขามากยิ่งขึ้น

รูป 1 : ความสัมพันธและลําดับขั้นความรู

ที่มา : Hideo Yamazaki อางถึงในเอกสารประกอบการคําบรรยายเร่ืองการจัดการความรูจากทฤษฎี

สูปฏิบัติ, สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ

ประเวศ วะสี (2545) ใหความหมายของความรู วาเปนเร่ืองของความจริง ซึ่งสามารถพิสูจนได

เชน ความรูเฉพาะเร่ือง การเห็นการเชื่อมโยงของสิ่งตางๆ ทําใหเกิดปญญา (wisdom) ปญญานําไปสูการ

เปลี่ยนจิตสํานึก การเรียนแตเน้ือหาโดยไมสามารถนําไปปฏิบัติหรือพัฒนาได ไมถือวาเปนความรูอยาง

แทจริง วิธีการใหไดมาซึ่งความรูตองสอนวิธีคิด วิธีตรวจสอบความรู วิธีวิจัย ดังน้ันสิ่งที่จําเปน คือ การคิด

เปนและวิธีสรางความรู

พรธิดา วิเชียรปญญา (2547) ความรู คือ การผสมผสานระหวางประสบการณ คานิยม ขอมูล

(Data) และความเขาใจอยางแทจริง ซึ่งทําใหเกิดกรอบความคิดในการประเมินและประสานขอมูลเขากับ

กรอบแนวคิดเดิมจนไดเปนสารสนเทศ (Information) ที่ผานกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับ

สารสนเทศอ่ืนๆ จนเกิดเปนความรู (Knowledge) มีความเขาใจและนําไปใชประโยชนในการสรุปแลว

ตัดสินใจ และนําไปสูการปฏิบัติหรือการทําใหคนในองคการ สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น

ปญญา

ความรู (Knowledge)

สารสนเทศ (Information)

ขอมูล (Data)

Page 19: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

13

เกษม วัฒนชัย (2547) กลาวถึง ความรูวาเปนการรวบรวมความคิดของมนุษย จัดใหเปนหมวดหมู

และประมวลสาระที่สอดคลองกัน โดยนํามาใชใหเกิดประโยชน ดังน้ัน สิ่งที่เปนสาระในระบบขอมูล

ขาวสาร คือ ความรู ความรูใหมตองสรางขึ้น บนฐานของความรูเดิมที่มีอยู ความรูใหมจึงเกิดจากฐาน

การวิจัย เพื่อสรางองคความรูใหม

ภราดร จินดาวงศ (2549 ) กลาววาความรู คือ พลังที่มีอยูในตัวของทุกคนที่ไมสามารถถายทอด

ผานพันธุกรรมได ผูใดมีความรูมากก็เสมือนมีพลังมาก สามารถตัดสินใจไดถูกตองและทํางานใหสําเร็จได

โดยงาย ความรู หากไมใชหรือปลอยใหผานไปโดยไมมีการทบทวนหรือประยุกต ก็จะเกิดการลืมหรืออาจ

สูญหาย การมีความรูแลวไมเผยแพร หรือปกปด ซอนเรนไว อาจเปนประโยชนในชวงเวลาสั้น แตอาจ

เปนผลเสียในระยะยาว ทั้งกับตัวองคกรหรือประเทศชาติ ความรูเปนทรัพยสินที่จับตองไมได(Intangible Asset)

ที่มีมูลคาสูงและมักเปนคุณคาที่มองขามและไมใหความสําคัญเทาที่ควรในประเทศที่กําลังพัฒนาความรูมีอยู

รอบตัวของทุกคน อยูที่วาจะสนใจหรือใสใจในการเก็บมาใช ซึ่งแหลงความรูที่พบเห็น เชน โทรทัศน

หนังสือพิมพ นิตยสาร วิทยุ ปายโฆษณา การพูดคุย หนังสือ เปนตน

จากนิยามของความรูที่หลากหลายขางตน “ความรู” คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การ

คนควาหรือประสบการณ เปนขอมูล (Data) ผานกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรูอ่ืนจนเกิด

เปนความเขาใจ และนําไปใชประโยชนในการสรุป และตัดสินใจในสถานการณตางๆ อยางไรก็ตามองคกร

ควรใหความสนใจทําความเขาใจวาความรูชนิดใดเปนความรูที่สําคัญและจําเปนตอการดําเนินงานขององคกร

และจะนําความรูเหลาน้ันมาใชใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดไดอยางไร

ประเภทของความรู

การแบงประเภทของความรู สามารถแบงไดหลายลักษณะ ขึ้นอยูกับเกณฑที่ใชในการแบงความรู

เกณฑในการแบงประเภทความรูและเปนที่ยอมรับกันอยางแพรหลายคือ ตามแนวคิดของ Teece (1981),

Nonaka (1991) , Nanaka and Takeuchi (1995 อางถึงในทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2549) ไดแก

1. ความรูแบบไมชัดแจง (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ซอนอยูในตัวบุคคล ยากที่จะถายถอด

ออกมาเปนตัวอักษร เชน ความรูที่ไดจากประสบการณ พรสวรรค ความรูสึกนึกคิด ทักษะในการทํางาน

งานฝมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห ความรูประเภทน้ีสามารถพัฒนาและแบงปนได และเปนความรูที่สราง

ความไดเปรียบในการแขงขัน

2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูที่เปนเหตุและผล สามารถเขียนบรรยาย

หรือถายทอดออกมาเปนตัวอักษร ขอความ กฏเกณฑ สูตร นิยาม หรือลักษณะตัวแบบทาง

คณิตศาสตรได เชน หนังสือ เอกสาร และคูมือตางๆ

Page 20: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

14

นอกจากน้ียังมีการแบงประเภทความรูเปนลักษณะตางๆ ไดอีกหลายแบบ Edvinsson (อางถึงในบุญดี

บุญญากิจและคณะ,2548) ไดแบงประเภทความรูไวดังน้ี

1. ความรูเฉพาะบุคคล (Individual Knowledge) เปนความรูที่มีอยูในตัวพนักงานแตละคน

2. ความรูขององคกร (Organization Knowledge) เปนความรูที่ไดมาจากการแลกเปลี่ยนความรู

ระหวางพนักงานที่อยูในกลุม หรือฝายงานตางๆ ในองคการทําใหเกิดความรูขององคกร ซึ่ง

สามารถนําไปใชประโยชนในการทํางานขององคกรโดยรวมไดมากขึ้น

3. ความรูที่เปนระบบ (Structural Knowledge) เปนความรูที่เกิดจากการสรางหรือตอยอดความรู

โดยผานกระบวนการคูมือจรรยาบรรณตางๆ ในองคกร ทั้งน้ีความรูความสามารถ เปนไดทั้ง

ในรูปของ Tacit Knowledge และ Explicit Knowledge

ในการแบงประเภทความรูมีนักวิชาการไดแบงความรูในลักษณะใกลเคียงกันน้ี (พรธิดา วิเชียรปญญา,

2547) คือ

1. ความรูที่เกิดจากวัฒนธรรม (Culture Knowledge) เปนความรูที่เกิดจากศรัทธา หรือความเชื่อที่ทํา

ใหกลายเปนความจริง ซึ่งขึ้นอยูกับสถานการณ การเฝาสังเกต และการสะทอนผลกลับของตัว

ความรูและสภาพแวดลอม องคกรที่พัฒนามาเปนระยะเวลาหน่ึงที่ตอเน่ืองกันอยางยาวนาน จะ

พัฒนาความเชื่อรวมกันในเร่ืองที่เกี่ยวกับธรรมชาติของธุรกิจ ความสามารถหลักขององคกร

การตลาด และคูแขงขัน

2. ความรูแฝงที่อยูในวิธีการทํางาน คูมือการทํางาน วัฒนธรรมองคกร กฏระเบียบ กระบวนการผลิต

เปนตน

ในการแบงประเภทความรูที่ใกลเคียงกันน้ี Borghoff (อางถึงในนํ้าทิพย วิภาวิน, 2547) ไดจําแนก

ประเภทความรูเพิ่มเติมอีก 2 ลักษณะคือ

1. ความรูอยางไมเปนทางการ (Informal Knowledge) เปนทักษะหรือความรูเฉพาะตัว ของแตละ

บุคคลที่มาจากประสบการณ ความเชื่อ ความคิดสรางสรรคในการปฏิบัติงาน ความรูประเภทน้ีเปน

หัวใจสําคัญที่ทําใหงานประสบความสําเร็จ ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับความรูแบบไมชัดแจง (Tacit

Knowledge)

2. ความรูอยางเปนทางการ (Formal Knowledge) เปนความรูที่บันทึกไวเปนลายลักษณอักษร และใช

รวมกันในรูปแบบตางๆ ซึ่งเปนความรูแบบชัดแจง (Explicit Knowledge)

นอกจากน้ี Sweden (อางถึงในปฐมพงศ ศุภเลิศ, 2550, หนา 63) ผูเชี่ยวชาญแหงศูนยพัฒนาศาสตร

ดานการจัดการความรูชื่อ Cynefin Centre ของบริษัท IBM ไดเสนอใหจําแนกความรูออกเปน 5 กลุมคือ

Page 21: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

15

1. Artifacts หมายถึง วัตถุซึ่งหอหุมความรูหรือเทคโนโลยีไว หรือกลาวอีกนัยหน่ึง มีความรูฝงอยู

ภายใน

2. Skills หมายถึง ทักษะในการปฏิบัติงานหรือกระทํากิจกรรมตางๆ อันเปนผลจากการไดฝกทําหรือ

ทํางานจนเกิดเปนทักษะ

3. Heuristics หมายถึง กฏแหงสามัญสํานึก หรือเหตุผลพื้นๆ ทั่วๆ ไป

4. Experience หมายถึง ประสบการณจากการไดผานงานหรือกิจกรรมเชนน้ันมากอน

5. Natural talent หรือ Talent หมายถึง พรสวรรคอันเปนความสามารถพิเศษเฉพาะตัวที่มีมาแตนา

เบื่อกําเนิดสุดๆ

ความหมายของการจัดการความรู

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร. ,2549) กลาววา การจัดการความรู เปนการ

รวบรวมองคความรูที่มีอยูในสวนราชการซึ่งกระจัดการจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาใหเปน

ระบบ เพื่อใหทุกคนในองคการสามารถเขาถึงความรูและพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยาง

มีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด

สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ (2550) ใหความหมาย การจัดการความรู คือ กระบวนการที่เปน

เคร่ืองมือ หรือวิธีการเพิ่มมูลคาหรือคุณคาของกิจกรรมขององคกรกลุมบุคคล หรือเครือขายของกลุม

บุคคลหรือองคกร

เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักด์ิ (2546) อธิบายวา การจัดการความรู คือ ความรูเกิดจากการประมวล

สังเคราะห และจําแนกแยกแยะสารสนเทศ เพื่อนําไปสูการตีความและทําความเขาใจกับสารสนเทศ

เหลาน้ันจนกลายเปนความรู ซึ่งความรูน้ีครอบคลุมทั้งสวนความรูโดยไมชัดแจง (Tacit Knowledge) ที่ซอน

อยูในความคิดของพนักงาน และฝงตัวอยูในองคกรกับความรูแจงชัด (Explicit Knowledge) ที่ปรากฏใน

เอกสารบันทึกหรือรายงานตางๆ ขององคกร การจัดการความรูทั้งสองประเภทน้ีใหเปนระบบระเบียบ

เพื่อใหคนที่ตองการเขาถึงไดงาย และดึงออกมาใชงานไดโดยสะดวก การจัดการความรูจะเกิดขึ้นในระดับ

ทีมงาน หรือระดับกลุมในองคกร ที่ตองการปฏิสัมพันธระหวางปจเจกแตละคน เพราะการจัดการความรู

จะเกิดขึ้นได ตอเมื่อมีการปฏิสัมพันธเพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ระหวางทีม ซึ่งอาจเปนปฏิสัมพันธ

บนเครือขาย Cyber Space หรืออาจผานการพบปะพูดคุยกันหนาตอหนาก็ได

Toyama (อางถึงในพรทิพย กาญจนนิยต, พัด นิลพันธุและนพรัตน ประสาทเขตการณ,2546,หนา

1) กลาววา การจัดการความรู หมายถึง การจัดการเพื่อเอ้ือใหเกิดความรูใหม โดยใชความรูที่มีอยูและ

Page 22: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

16

ประสบการณของคนในองคกรอยางเปนระบบ เพื่อพัฒนานวัตกรรมที่จะทําใหมีความไดเปรียบเหนือคูแขง

ทางธุรกิจ

Henrie and Hedgepeht (อางถึงในพรธิดา วิเชียรปญญา,2547,หนา 29) แหง University of Alaska

Anchorage สรุปวา การจัดการความรูเปนระบบบริหารจัดการทรัพยสินความรูขององคกรทั้งที่เปนความรู

โดยนัยและความรูที่เห็นไดอยางชัดแจง ระบบการจัดการความรูเปนกระบวนการที่เกี่ยวพันกับการจําแนก

ความรู การตรวจสอบความรู การจัดเก็บความรูเปนกระบวนการที่เกี่ยวพันกับการจําแนกความรู การ

ตรวจสอบความรู การจัดเก็บความรูที่ผานการตรวจสอบแลว การเตรียมการกรองความรู และเตรียมการ

เขาถึงความรูใหกับผูใช ทั้งน้ีโดยมีหลักการที่สําคัญคือ ทําใหความรูถูกใช ถูกปรับเปลี่ยนและถูกยกระดับ

ใหสูงขึ้น

การจัดการความรูเปนกลยุทธและกระบวนการในการจําแนก จัดหาและนําความรูมาใชประโยชน

เพื่อชวยใหองคกรประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่ ต้ังไว (European Foundation for Quality

Management,2550)

Turban et al.(อางถึงใน ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน,2548, หนา8) ใหความหมายของการจัดการ

ความรูวา หมายถึง กระบวนการที่ชวยองคกรในการระบุคัดเลือก จัดระบบ เผยแพรและถายโอน

สารสนเทศและความเชี่ยวชาญที่สําคัญซึ่งเปนสวนหน่ึงของความจําองคกรที่อยูในรูปที่ไมมีโครงสรางที่

ชัดเจน (Process that helps organizations identify, select, organize, disseminate, and transfer important

information and expertise that are part of the organization’s memory and that typically reside within the

organization in an unstructured manner)

องคการสหประชาชาติ(อางถึงใน ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน,2548,หนา 8) ไดใหความหมายวา

การจัดการความรู คือ กระบวนการในการสรางและเปลี่ยนสิ่งที่เราทราบเขาไปใชในการทํางาน เพื่อทําให

องคกรมีการทํางานที่ดีขึ้นหรือมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น เชน จากความรูเปนการกระทําจากนวัตกรรมไปสูการ

เปลี่ยนแปลง

The world Bank (อางถึงใน บุญดี บุญญากิจและคณะ,2547,หนา21) การจัดการความรู เปนการ

รวบรวมวิธีปฏิบัติขององคการและกระบวนการที่เกี่ยวของกับการสราง การนํามาใชและเผยแพรความรูและ

บริบทตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ

Arthur Anderson Business Consulting (อางถึงในบุญดี บุญญากิจและคณะ,2547, หนา21) กลาววา

การจัดการความรูเปนการสนับสนุนใหพนักงานในองคกรรวมรวม คนหา แลกเปลี่ยนความรูและนํามาใช

เพื่อบรรลุวัตถุประสงคทางธุรกิจขององคกร

Page 23: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

17

ดังน้ัน อาจกลาวไดวา การจัดการความรู หมายถึง การรวบรวมความรูที่เนนการปฏิบัติ ซึ่งเกิด

จากประสบการณการทํางาน จากทัศนคติ และพฤติกรรมการทํางานของแตละบุคคลในองคกร ซึ่ง

ปฏิบัติงานในเร่ืองเดียวกัน หรือทีมงานที่ทํางานรวมกัน แลวมีการจัดการใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู โดย

การปฏิสัมพันธระหวางผูปฏิบัติ เมื่อรวบรวมแลว มีการนําความรูที่ไดมาสังเคราะห จําแนก หรือจัดระบบ

ใหมเพื่อสรางเปนองคความรูมีการจัดเก็บอยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการเผยแพรความรู โดยวิธีเผยแพรดวย

สื่อทั้ง 2 ประเภท คือ สื่อทางอิเล็กทรอนิกส และสื่อสิ่งพิมพตางๆ เพื่อใหเกิดการตอยอดความรูหรือสราง

ประโยชนจากความรูและนําไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น

วัตถุประสงคและประโยชนของการจัดการความรู

เปาหมายหลักของการจัดการความรู คือ การใชประโยชนจากความรูมาเพิ่มประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลในการดําเนินงานขององคกร เพื่อสรางความไดเปรียบทางการแขงขันขององคกร การจัดการ

ความรูมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับองคกร ไมวาองคกรน้ันจะเปนองคกรประเภทใดก็ตาม วัตถุประสงค

ของการจัดการความรูมีดังน้ี

1. เพื่อปรับปรุงกระบวนการดําเนินงานทางธุรกิจที่ดําเนินการในปจจุบัน

2. เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมๆ

3. เพื่อปรับปรุงเทคนิค กระบวนการ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาองคความรูและนําความรูน้ันไปใช

ใหเกิดประโยชน

นอกจากวัตถุประสงคของการจัดการความรูดังที่ไดกลาวมาแลวน้ัน Bacha, 2000 (อางถึงใน พรธิดา

วิเชียรปญญา,2548) ยังไดกลาวถึงประโยชนอ่ืนๆ ของการจัดการความรูไวดังน้ี

1. ปองกันความรูสูญหาย การจัดการความรูทําใหองคกรสามารถรักษาความเชี่ยวชาญ ความชํานาญ

และความรูที่อาจจะสูญหายไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของบุคลากร เชน การเกษียณอายุ หรือ

ลาออกจากงานเปนตน

2. ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ โดยประเภท คุณภาพและความสะดวกในการเขาถึงความรู เปน

ปจจัยสําคัญของการเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจ ผูที่มีหนาที่ในการตัดสินใจตองสามารถเรียนรู

และประยุกตความรู เพื่อประกอบการตัดสินใจอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

3. ความสามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุน การทําใหผูปฏิบัติงานมีความเขาใจใน

วัตถุประสงคของงาน โดยไมตองมีการควบคุม หรือมีการแทรกแซงมากนัก ทําใหผูปฏิบัติงาน

สามารถทํางานในหนาที่ตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดการพัฒนาจิตสํานึกในการทํางาน

Page 24: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

18

4. ความไดเปรียบในการแขงขัน การจัดการความรูชวยใหองคกรมีความเขาใจลูกคาแนวโนมของ

ตลาดและการแขงขัน ทําใหสามารถลดชองวางและเพิ่มโอกาสในการแขงขันได

5. การพัฒนาทรัพยสิน เปนการพัฒนาความสามารถของการนําทรัพยสินทางปญญาที่มีอยูไดแก

สิทธิบัตร เคร่ืองหมายการคา

6. การยกระดับผลิตภัณฑ การนําการจัดการความรูมาใชเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ

บริการ ซึ่งจะเปนการเพิ่มคุณคาใหแกผลิตภัณฑน้ันๆ อีกดวย

7. การบริหารลูกคา การศึกษาความสนใจและความตองการของลูกคา จะเปนการสรางความพึงพอใจ

และเพิ่มยอดขายและสรางรายไดใหแกองคกร

8. การลงทุนทางทรัพยากรบุคคล การเพิ่มความสามารถในการแขงขันผานการเรียนรูรวมกัน การ

จัดการดานเอกสาร การจัดการกับความรูที่ไมเปนทางการเพิ่มความสามารถใหแกองคกรในการจาง

และฝกฝนบุคลากร

กลาวโดยสรุปการจัดการความรูน้ันจะสรางประโยชนในการดานสรางความรู ใหเปนทรัพยสินทาง

ปญญาขององคกร เพื่อที่องคกรจะไดนําความรูน้ันไปประยุกตใช ใหเปนทรัพยสินทางปญญาขององคกร

เพื่อที่องคกรจะไดนําความรูน้ันไปประยุกตใช ทําใหการผลิตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถตอบสนอง

ตอความตองการของลูกคาและทันทวงที สรางความไดเปรียบทางการแขงขันอยางยั่งยืน

กระบวนการจัดการความรู

ปจจุบันองคกรตางๆ เห็นความสําคัญของการจัดการความรู นักวิชาการหลายทานไดเสนอแนวคิด

เกี่ยวกับองคประกอบและกระบวนการของการจัดการความรู ดังตอไปน้ี

โกศล ดีศีลธรรม(2546,หนา 34) สรุปวา การจัดการความรูมีองคประกอบหลักเปน 2 สวนคือ

สังคม วัฒนธรรมและองคกร (social-cultural and organizational components) และ องคประกอบทาง

เทคโนโลยี (technological component) โดยองคประกอบทั้ง 2 สวนน้ีจะมีระบบ การจัดการความรู

(Knowledge management system) ที่เปนสวนเชื่อมโยงองคประกอบทั้ง 2 สวนเขาดวยกัน กระบวนการการ

จัดการความรูสามารถแบงออกไดเปน 4 ขั้นตอน ดังตอไปน้ี

1. การสรางและจัดหาความรู (Knowledge creation & acquisition) ตัวอยางที่เห็นไดก็คือ องคกรธุรกิจ

ญ่ีปุน ที่ใหความสําคัญตอการมุงเนนการพัฒนาความรูโดยนัย (Tacit Knowledge) ที่มิไดแสดงออก

ในรูปเอกสาร แตองคกรมักกระตุนใหบุคลากรสรางองคความรู เพื่อสรางกลยุทธใหสอดคลองกับ

วัฒนธรรมขององคกร โดยสงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดและใชสารสนเทศทางความรู

ตัวอยางของอุตสาหกรรมรถยนตที่ญ่ีปุนสรางความรูในการพัฒนารูปแบบของรถ โดยนโยบายการ

Page 25: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

19

พัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางการสับเปลี่ยนพนักงาน (Rotate) ใหทํางานในหนาที่ตางๆ เพื่อ

กอใหเกิด Tacit Knowledge ที่มุงพัฒนาบุคลากรใหเปน Knowledge Creator

2. การจัดการและจัดเก็บความรู (Knowledge Organization & Storage) เปนการจัดเก็บความรูที่สราง

ใหเปนหมวดหมู และเก็บลงในฐานขอมูล

3. การกระจายความรู (Knowledge Distribution) โดยใชเคร่ืองมือในการสืบคนสารสนเทศทางความรู

จากฐานขอมูลที่จัดเก็บ แลวกระจายสูหนวยงานตางๆ เพื่อการใชงาน

4. การประยุกตความรูในการใชงาน (Knowledge Application) การเชื่อมโยงกิจกรรมหลักตางๆ ผาน

ระบบการไหลของงาน ดวยระบบเครือขาย (network) ไปยังหนวยงานตางๆ

สํานักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ (2550) กระบวนการจัดการความรู

(Knowledge Management Process) เปนกระบวนการแบบหน่ึงที่จะชวยใหองคกรเขาใจถึงขั้นตอน

ที่ทํ าให เกิดกระบวนการจัดการความรู หรือพัฒนาการของความรูที่ จะเกิดขึ้นภายใน

องคกร ประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังน้ี

1) การบงชี้ความรู เชนพิจารณาวา วิสัยทัศน/ พันธกิจ/ เปาหมาย คืออะไร และเพื่อใหบรรลุ

เปาหมาย เราจําเปนตองรูอะไร ขณะน้ีเรามีความรูอะไรบาง อยูในรูปแบบใด อยูที่ใคร

2) การสรางและแสวงหาความรู เชนการสรางความรูใหม แสวงหาความรูจากภายนอก

รักษาความรูเกา กําจัดความรูที่ใชไมไดแลว

3) การจัดความรูใหเปนระบบ เปนการวางโครงสรางความรู เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการ

เก็บความรู อยางเปนระบบในอนาคต

4) การประมวลและกลั่นกรองความรู เชนปรับปรุงรูปแบบเอกสารใหเปนมาตรฐาน ใช

ภาษาเดียวกัน ปรับปรุงเน้ือหาใหสมบูรณ

5) การเขาถึงความรู เปนการทําใหผูใชความรูน้ันเขาถึงความรูที่ตองการไดงายและสะดวก

เชน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Web board บอรดประชาสัมพันธ เปนตน

6) การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ทําไดหลายวิธีการ โดยกรณีเปน Explicit Knowledge อาจ

จัดทําเปน เอกสาร, ฐานความรู, เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเปน Tacit Knowledge อาจ

จัดทําเปนระบบ ทีมขามสายงาน, กิจกรรมกลุมคุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแหงการเรียนรู,

ระบบพี่เลี้ยง, การสับเปลี่ยนงาน, การยืมตัว, เวทีแลกเปลี่ยนความรู เปนตน

7) การเรียนรู ควรทําใหการเรียนรูเปนสวนหน่ึงของงาน เชนเกิดระบบการเรียนรูจาก สราง

องคความรู นําความรูไปใช เกิดการเรียนรูและประสบการณใหม และหมุนเวียนตอไปอยาง

ตอเน่ือง

กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) เปนกรอบความคิด

Page 26: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

20

แบบหน่ึงเพื่อใหองคกรที่ตองการจัดการความรูภายในองคกร ไดมุงเนนถึงปจจัยแวดลอมภายใน

องคกร ที่จะมีผลกระทบตอการจัดการความรู ประกอบดวย 6 องคประกอบ ดังน้ี

1) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เชน กิจกรรมการมีสวนรวมและสนับสนุน

จากผูบริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น) โครงสรางพื้นฐานขององคกร ทีม/หนวยงานที่รับผิดชอบ มี

ระบบการติดตามและประเมินผล กําหนดปจจัยแหงความสําเร็จชัดเจน

2) การสื่อสาร เชน กิจกรรมที่ทําใหทุกคนเขาใจถึงสิ่งที่องคกรจะทํา ประโยชนที่จะเกิด

ขึ้นกับทุกคน แตละคนจะมีสวนรวมไดอยางไร

3) กระบวนการและเคร่ืองมือ ชวยใหการคนหา เขาถึง ถายทอด และแลกเปลี่ยนความรู

สะดวกรวดเร็วขึ้น โดยการเลือกใชกระบวนการและเคร่ืองมือ ขึ้นกับชนิดของความรู ลักษณะ

ขององคกร (ขนาด สถานที่ต้ัง ฯลฯ) ลักษณะการทํางาน วัฒนธรรมองคกร ทรัพยากร

4) การเรียนรู เพื่อสรางความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญและหลักการของการ

จัดการความรู โดยการเรียนรูตองพิจารณาถึง เน้ือหา กลุมเปาหมาย วิธีการ การประเมินผล

และปรับปรุง

5) การวัดผล เพื่อใหทราบวาการดําเนินการไดบรรลุเปาหมายที่ต้ังไวหรือไม มีการนําผล

ของการวัดมาใชในการปรับปรุงแผนและการดําเนินการใหดีขึ้น มีการนําผลการวัดมาใชใน

การสื่อสารกับบุคลากรในทุกระดับใหเห็นประโยชนของการจัดการความรู และการวัดผล

ตองพิจารณาดวยวาจะวัดผลที่ขั้นตอนไหนไดแก วัดระบบ (System) วัดที่ผลลัพธ (Out put)

หรือวัดที่ประโยชนที่จะไดรับ (Out come)

6) การยกยองชมเชยและใหรางวัล เปนการสรางแรงจูงใจใหเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

และการมีสวนรวมของบุคลากรในทุกระดับ โดยขอควรพิจารณาไดแก คนหาความตองการ

ของบุคลากร, แรงจูงใจระยะสั้นและระยะยาว บูรณาการกับระบบที่มีอยู ปรับเปลี่ยนใหเขา

กับกิจกรรมที่ทําในแตละชวงเวลา

นํ้าทิพย วิภาวิน (2547,หนา 30) กลาววา ความตองการนําความรูที่มีอยูในตัวบุคคลมาใช

ประโยชน เปนแนวางการจัดการความรูในองคกร โดยสรางแหลงจัดเก็บความรูและพัฒนา

วิธีการเขาถึงความรูไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยมีขั้นตอนดังน้ี

1. การจัดหาหรือการสรางความรู (Knowledge Acquisition) เปนกระบวนการพัฒนาการสราง

ความรูใหมจากทักษะและความสัมพันธระหวางคนในองคกรเปนวิธีการพัฒนาความรูของ

แตละบุคคลในลักษณะกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณโดยการระดมความคิด การ

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางบุคคลในกลุม (socialization)

2. การแบงปนความรู (Knowledge sharing) เปนขั้นตอนในการนําเอาความรูที่สรางไวหรือ

บันทึกไว ออกมาเผยแพรใหเปนที่รับรูและแพรหลายในองคกร โดยใชเคร่ืองมือในการ

ติดตอสื่อสารที่เรียกวา Collaborative tools ไดแก Email Newsgroup

Page 27: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

21

3. การใชหรือการเขาถึงความรู (Knowledge utilization) เปนการใชความรูในองคกรจาก

ฐานขอมูล วรรณกรรม เอกสาร การสนทนา เปนการผสมผสานความรูจากแหลงตางๆ

วิจารณ พานิช (2548) ไดเสนอ กระบวนการจัดการเพื่อใหมีการนําความรู มาใชประโยชน

ประกอบดวย

1. การกําหนดความรูที่ตองการใช (Define) เปนการนําความมุงมั่น วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายและ

วัตถุประสงคขององคการมากําหนดความรูที่ตองการใช เพื่อใหมีการจัดการความรู มีจุดเนน

2. การเสาะหา และยึดกุมความรู (Capture) เปนการพัฒนาขีดความสามารถในการเสาะหา และยึดกุม

ความรูที่กระจัดกระจาย หรือแฝงอยูตามที่ตางๆ มาใชประโยชน ดําเนินการอยางสม่ําเสมอ จนเกิด

ทักษะ และความชํานาญ ในการเสาะหาและยึดกุมแหลงของความรูที่จะเสาะหา อาจจะมาจาก

ภายนอก (คูแขง คูคา ผูที่เปนเลิศ วิธีการ หลักการ) หรือจากผูที่ทํางานดวยกันในองคกร

3. การสรางความรู (Create) ในมุมมองเดิม ความรูจะตองสรางโดยผูรู ผูเชี่ยวชาญในมุมมองใหม

ความรูเกิดขึ้นทุกจุดของการทํางาน โดยทุกคนที่ทํางาน เปนความรูที่ฝงอยูในสมอง ซึ่งอาจจะพูด

ออกมาไมได การสรางความรู อาจทําไดทั้งกอนลงมือทํา ระหวางการทํางาน และสรุปประมวล

ประสบการณ หลังจากการทํางาน ในการสรางความรู ไมจําเปนตองสรางใหมทั้งหมด 100% อาจ

เร่ิมจาก 10-20% ก็ได

4. การกลั่นกรอง (Distill) ความรูบางอยาง เปนสิ่งลาสมัย บางอยางเปนสิ่งที่ไมเหมาะสมกับบริบท

หรือสภาพแวดลอมสําหรับเรา จําเปนตองมีการกลั่นกรองเพื่อใหนําความรูที่เหมาะสมมาใช

5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู (Share) การแลกเปลี่ยนเรียนรูเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะแตละคนมีมุมมอง

ตอความรูไมเหมือนกัน ตองมาแลกเปลี่ยน มิฉะน้ันจะเก็บอยูภายในตัว ไมมีการยกระดับความรู

ถาขาดการแลกเปลี่ยน ความรูที่มีอยูจะเกา ลาสมัยอยางรวดเร็ว ไมงอกงาม ยิ่งแลกเปลี่ยนมาก ก็ยิ่ง

ไดกําไรมาก การแลกเปลี่ยนเรียนรู เปนสิ่งที่ยากที่สุด คนไมอยากแลกเปลี่ยนเพราะกลัวขาดทุน

กลัวเสียเปรียบ ตองสรางเงื่อนไขและกติกาที่สงเสริมการแลกเปลี่ยน การแบงปนใหเกิดประโยชน

แกผูมีพฤติกรรมแบงปนความรู และไมใหผลประโยชนแกผูมีพฤติกรรมกักตุน หรือปกปดความรู

6. การประยุกตใชความรู (Use) ทําใหเกิดผลจากการใชความรู เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ/บริการ พัฒนา

กระบวนการทํางาน พัฒนาสมาชิกองคกร

สรุปไดวา กระบวนการจัดการเรียนรู อาจมีลําดับขั้นตอนที่แตกตางกันในแตละหนวยงานซึ่ง

ในการนําไปใชตองขึ้นอยูกับบริบทของหนวยงาน วัฒนธรรมของคนในองคกร ซึ่งสรุปขั้นตอนได

ดังตอไปน้ี

1. การแสวงหาความรู เปนกระบวนของการคนหาความรู อาจแสวงหาจากภายในหรือจากภายนอก

องคกรก็ได หรือการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม คนควาหาขอมูลที่เปนประโยชนเรียนรู ยอมรับ

เปดรับความรูใหมสม่ําเสมอ เพื่อเกิดประโยชนสูงสุดตอตนเองและองคกร

Page 28: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

22

2. การสรางความรู เปนการพัฒนาความรูที่มีอยูในตัวบุคคลหรือในองคกรเปนการพัฒนา

สรางสรรคผลงานความรูที่ เกิดขึ้นจากภายในองคกรและภายนอกองคกร ปรับปรุง

เปลี่ยนแปลงพัฒนาใหเกิดสิ่งที่มีคุณคา การสรางแนวคิด ทฤษฎีใหม การเพิ่มคุณคาใหกับ

ความรูเดิม เกิดเปนความรูใหม

3. การจัดเก็บสืบคนความรู เปนกระบวนการในการรักษาความรูและจัดสรรความรูอยางเปน

ระบบ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงาน มีระบบการดําเนินการวิธีการในการเก็บรักษา มีการ

จัดหมวดหมู สามารถเขาถึงขอมูลไดโดยงาย เพื่อการนํามาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

4. การถายทอดความรูและการใชประโยชน เปนกระบวนการในการแบงปนความรูที่มีอยูแก

บุคคลหรือองคกรที่ตองการใชความรู ในการวางแผน การตัดสินใจ แกปญหาตางๆ เพื่อให

เกิดการใชประโยชนในตัวองคความรูอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ทฤษฎีการเรียนรู

ทฤษฎีการเรียนรู (Learning theory) การเรียนรูคือกระบวนการที่ทําใหคนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ความคิด คนสามารถเรียนไดจากการไดยินการสัมผัส การอาน การใชเทคโนโลยี การเรียนรูของเด็กและ

ผูใหญจะตางกัน เด็กจะเรียนรูดวยการเรียนในหอง การซักถาม ผูใหญมักเรียนรูดวยประสบการณที่มีอยู แต

การเรียนรูจะเกิดขึ้นจากประสบการณ มีการสรางบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอ้ืออํานวยตอการเรียนรู ที่จะให

เกิดขึ้นเปนรูปแบบใดก็ไดเชน ความเปนกันเอง มีบรรยากาศที่ดีในการแลกเปลี่ยน

การเรียนรูตามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) Bloom ไดแบงการเรียนรูเปน 6 ระดับ

1. ความรูที่เกิดจากความจํา (knowledge) ซึ่งเปนระดับลางสุด

2. ความเขาใจ (Comprehend)

3. การประยุกต (Application)

4. การวิเคราะห ( Analysis) สามารถแกปญหา ตรวจสอบได

5. การสังเคราะห ( Synthesis) สามารถนําสวนตางๆ มาประกอบเปนรูปแบบใหมไดใหแตกตางจาก

รูปเดิม เนนโครงสรางใหม

6. การประเมินคา ( Evaluation) วัดได และตัดสินไดวาอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบน

พื้นฐานของเหตุผลและเกณฑที่แนชัด

การเรียนรูตามทฤษฎีของเมเยอร (Mayor ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน การวิเคราะหความ

จําเปนเปนสิ่งสําคัญ และตามดวยจุดประสงคของการเรียน โดยแบงออกเปนยอยๆ 3 สวนดวยกัน

1. พฤติกรรม ควรชี้ชัดและสังเกตได

2. เงื่อนไข พฤติกรรมสําเร็จไดควรมีเงื่อนไขในการชวยเหลือ

Page 29: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

23

3. มาตรฐาน พฤติกรรมที่ไดน้ันสามารถอยูในเกณฑที่กําหนด

การเรียนรูตามทฤษฎีของบรูเนอร (Bruner)

1. ความรูถูกสรางหรือหลอหลอมโดยประสบการณ

2. ผูเรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน

3. ผูเรียนเปนผูสรางความหมายขึ้นมาจากแงมุมตางๆ

4. ผูเรียนอยูในสภาพแวดลอมที่เปนจริง

5. ผูเรียนเลือกเน้ือหาและกิจกรรมเอง

6. เน้ือหาควรถูกสรางในภาพรวม

การเรียนรูตามทฤษฎีของไทเลอร (Tylor)

1. ความตอเน่ือง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ตองเปดโอกาสใหมีการฝกทักษะในกิจกรรมและ

ประสบการณบอยๆ และตอเน่ืองกัน

2. การจัดชวงลําดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความงาย ไปสูสิ่งที่มีความยาก ดังน้ันการ

จัดกิจกรรมและประสบการณ ใหมีการเรียงลําดับกอนหลัง เพื่อใหไดเรียนเน้ือหาที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

3. บูรณาการ (integration) หมายถึง การจัดประสบการณจึงควรเปนในลักษณะที่ชวยใหผูเรียน ได

เพิ่มพูนความคิดเห็นและไดแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกัน เ น้ือหาที่ เ รียนเปนการเพิ่ม

ความสามารถทั้งหมด ของผูเรียนที่จะไดใชประสบการณไดในสถานการณตางๆ กัน ประสบการณ

การเรียนรู จึงเปนแบบแผนของปฏิสัมพันธ (interaction) ระหวางผูเรียนกับสถานการณที่แวดลอม

ทฤษฎีการเรียนรู 8 ข้ัน ของกาเย (Gagne)

1. การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผูเรียนเปนแรงจูงใจในการเรียนรู

2. การรับรูตามเปาหมายที่ต้ังไว (Apprehending Phase) ผูเรียนจะรับรูสิ่งที่สอดคลองกับความต้ังใจ

3. การปรุงแตงสิ่งที่รับรูไวเปนความจํา ( Acquisition Phase) เพื่อใหเกิดความจําระยะสั้นและระยะยาว

4. ความสามารถในการจํา (Retention Phase)

5. ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ไดเรียนรูไปแลว (Recall Phase )

6. การนําไปประยุกตใชกับสิ่งที่เรียนรูไปแลว (Generalization Phase)

7. การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู ( Performance Phase)

8. การแสดงผลการเรียนรูกลับไปยังผูเรียน ( Feedback Phase) ผูเรียนไดรับทราบผลเร็วจะทําใหมีผลดี

และประสิทธิภาพสูง

Page 30: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

24

องคประกอบท่ีสําคัญท่ีกอใหเกิดการเรียนรู จากแนวคิดนักการศึกษา กาเย (Gagne)

1. ผูเรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและ ระบบประสาทในการรับรู

2. สิ่งเรา ( Stimulus) คือ สถานการณตางๆ ที่เปนสิ่งเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

3. การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู

กลาวโดยสรุป ผูที่จะมีพฤติกรรมเรียนรู ตองมีพฤติกรรมในการเปลี่ยนแปลง เปดใจยอมรับการ

เปลี่ยนแปลงและพรอมที่จะเรียนรูสิ่งใหม ซึ่งในการเรียนรูอาจเกิดจากการเรียนรูจากประสบการณ หรือ

คนควาหาความรูจากเอกสาร ซึ่งการสรางบรรยากาศ หรือการมีแรงจูงใจก็จะชวยใหการเรียนรูเกิดผลได

ดวยความสุข พรอมนําความรูน้ันไปใชอยางคุมคาใหเกิดประโยชนสูงสุด

ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of motivation)

ความหมายของแรงจูงใจ

แรงจูงใจเปนคําที่ใชกันมากแตบางคร้ังก็ใชกันไมคอยถูกตอง ความจริงแลวแรงจูงใจใชเพื่ออธิบาย

วาทําไมอินทรียจึงการกระทําอยางน้ันและทําใหเกิดอะไรขึ้นมาบาง

คําวา “แรงจูงใจ” มาจากคํากริยาในภาษาละตินวา “Movere”(Kidd, 1973:101) ซึ่งมีความหมายตรง

กับคําในภาษาอังกฤษวา “to move” อันมีความหมายวา “เปนสิ่งที่โนมนาวหรือมักชักนําบุคคลเกิดการ

กระทําหรือปฏิบัติการ (To move a person to a course of action) ดังน้ันแรงจูงใจจึงไดรับความสนใจมากใน

ทุกๆวงการ

สําหรับโลเวลล (Lovell, 1980: 109) ใหความหมายของแรงจูงใจวา”เปนกระบวนการที่ชักนํา

โนมนาวใหบุคคลเกิดความมานะพยายามเพื่อที่จะสนองตอบความตองการบางประการใหบรรลุผลสําเร็จ”

ไมเคิล คอมแจน (Domjan 1996: 199) อธิบายวาการจูงใจเปนภาวะในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทํากิจกรรม

ของบุคคลโดยบุคคลจงใจกระทําพฤติกรรมน้ันเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการ

ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral View of Motivation)

ทฤษฎีน้ี ใหความสําคัญกับประสบการณในอดีต (Past Experience) วามีผลตอแรงจูงใจของบุคคล

เปนอยางมาก ดังน้ันทุกพฤติกรรมของมนุษยถาวิเคราะหดูแลวจะเห็นวาไดรับอิทธิพลที่เปนแรงจูงใจมาจาก

ประสบการณใน อดีตเปนสวนมาก โดยประสบการณในดานดีและกลายเปนแรงจูงใจทางบวกที่สงผลเราให

มนุษยมีความตอง การแสดงพฤติกรรมในทิศทางน้ันมากยิ่งขึ้นทฤษฎีน้ีเนนความสําคัญของสิ่งเราภายนอก

(Extrinsic Motivation)

Page 31: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

25

ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Learning View of Motivation)

ทฤษฎีน้ีเห็นวาแรงจูงใจเกิดจากการเรียนรูทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางเอกลักษณและการ

เลียนแบบ (Identification and Imitation) จากบุคคลที่ตนเองชื่นชม หรือคนที่มีชื่อเสียงในสังคมจะเปน

แรงจูงใจที่สําคัญในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล

ทฤษฎีพุทธินิยม (Cognitive View of Motivation)

ทฤษฎีน้ีเห็นวาแรงจูงใจในการกระทําพฤติกรรมของมนุษยน้ันขึ้นอยูกับการรับรู (Perceive) สิ่งตาง ๆ

ที่อยูรอบตัว โดยอาศัยความสามารถทางปญญาเปนสําคัญ มนุษยจะไดรับแรงผลักดันจากหลาย ๆ ทางใน

การแสดงพฤติกรรม ซึ่งในสภาพเชนน้ี มนุษยจะเกิดสภาพความไมสมดุล (Disequilibrium)ขึ้น เมื่อเกิด

สภาพเชนวาน้ีมนุษยจะตอง อาศัยขบวนการดูดซึม (Assimilation) และการปรับ (Accomodation) ความ

แตกตางของประสบการณที่ไดรับใหมใหเขากับประสบการณเดิมของตนซึ่งการจะทําไดจะตองอาศัย

สติปญญาเปนพื้นฐานที่สําคัญทฤษฎีน้ีเนนเร่ืองแรงจูงใจภายใน(Intrinsic Motivation) นอกจากน้ันทฤษฎีน้ี

ยังใหความสําคัญกับเปาหมาย วัตถุประสงค และการวางแผน ทฤษฎีน้ีใหความสําคัญกับระดับของความ

คาดหวัง (Level of Aspiration) โดยที่เขากลาววาคนเรามีแนวโนมที่จะต้ัง ความคาดหวังของตนเองใหสูงขึ้น

เมื่อเขาทํางานหน่ึงสําเร็จ และตรงกัน ขามคือจะต้ังความคาดหวังของตนเองตํ่าลง เมื่อเขาทํางานหน่ึงแลว

ลมเหลว

ทฤษฎีมานุษยนิยม (Humanistic View of Motivation)

แนวความคิดน้ีเปนของมาสโลว (Maslow) ที่ไดอธิบายถึงลําดับความตองการของมนุษย โดยที่ความตองการ

จะเปน ตัวกระตุนใหมนุษยแสดงพฤติกรรมเพื่อไปสูความตองการน้ัน ดังน้ีถาเขาใจความตองการของมนุษย

ก็สามารถ อธิบายถึงเร่ืองแรงจูงใจของมนุษยไดเชนเดียวกัน

แรงจูงใจตอพฤติกรรมของบุคคลในแตละสถานการณ

แรงจูงใจจะทําใหแตละบุคคลเลือกพฤติกรรมเพื่อตอบสนองตอสิ่งเราที่เหมาะสมที่สุดในแตละ

สถานการณที่แตกตางกันออกไป พฤติกรรมที่เลือกแสดงน้ี เปนผลจากลักษณะในตัวบุคคลสภาพแวดลอมดังน้ี

1. ถาบุคคลมีความสนใจในสิ่งใดก็จะเลือกแสดงพฤติกรรม และมีความพอใจที่จะทํากิจกรรมน้ันๆ

รวมทั้งพยายามทําใหเกิดผลเร็วที่สุด

2. ความตองการจะเปนแรงกระตุนที่ทําใหทํากิจกรรมตางๆเพื่อตอบสนองความตองการน้ัน

3. คานิยมที่เปนคุณคาของสิ่งตางๆ เชนคานิยมทางเศรษฐกิจ สังคม ความงาม จริยธรรม วิชาการ

เหลาน้ีจะเปนแรงกระตุนใหเกิดแรงขับของพฤติกรรมตามคานิยมน้ัน

Page 32: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

26

4. ทัศนคติที่มีตอสิ่งใดสิ่งหน่ึงก็มีผลตอพฤติกรรมน้ัน เชน ถามีทัศนคติที่ดีตอการทํางาน ก็จะทํางาน

ดวยความทุมเท

5. ความมุงหวังที่ตางระดับกัน ก็เกิดแรงกระตุนที่ตางระดับกันดวย คนที่ต้ังระดับความมุงหวังไวสูง

จะพยายามมากกวาผูที่ต้ังระดับความมุงหวังไวตํ่า

6. การแสดงออกของความตองการในแตละสังคมจะแตกตางกันออกไป ตามขนบธรรมเนียม

ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมของตน ยิ่งไปกวาน้ันคนในสังคมเดียวกัน ยังมีพฤติกรรมในการแสดง

ความตองการที่ตางกันอีกดวยเพราะสิ่งเหลาน้ีเกิดจากการเรียนรูของตน

7. ความตองการอยางเดียวกัน ทําใหบุคคลมีพฤติกรรมที่แตกตางกันได

8. แรงจูงใจที่แตกตางกัน ทําใหการแสดงออกของพฤติกรรมที่เหมือนกันได

9. พฤติกรรมอาจสนองความตองการไดหลายๆทางและมากกวาหน่ึงอยางในเวลาเดียวกัน เชนต้ังใจ

ทํางาน เพื่อไวขึ้นเงินเดือนและไดชื่อเสียงเกียรติยศ ความยกยองและยอมรับจากผูอ่ืน

ลักษณะของแรงจูงใจ แรงจูงใจมี 2 ลักษณะดังน้ี

1. แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)

แรงจูงใจภายในเปนสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคลซึ่งอาจจะเปนเจตคติ ความคิด ความสนใจ ความ

ต้ังใจ การมองเห็นคุณคา ความพอใจ ความตองการฯลฯสิ่งตางๆดังกลาวน้ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมคอนขาง

ถาวรเชนคนงานที่เห็นองคกรคือสถานที่ใหชีวิตแกเขาและครอบครัวเขาก็จะจงรักภักดีตอองคกร และ

องคกรบางแหงขาดทุนในการดําเนินการก็ไมไดจายคาตอบแทนที่ดีแตดวยความผูกพันพนักงานก็รวมกันลด

คาใชจายและชวยกันทํางานอยางเต็มที่

2.แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motives)

แรงจูงใจภายนอกเปนสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุคคลที่มากระตุนใหเกิดพฤติกรรมอาจจะเปนการ

ไดรับรางวัล เกียรติยศชื่อเสียง คําชม หรือยกยอง แรงจูงใจน้ีไมคงทนถาวร บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อ

ตอบสนองสิ่งจูงใจดังกลาวเฉพาะกรณีที่ตองการสิ่งตอบแทนเทาน้ัน

ที่มาของแรงจูงใจ

แรงจูงใจมีที่มาจากหลายสาเหตุดวยกันเชน อาจจะเน่ืองมาจากความตองการหรือแรงขับหรือสิ่งเรา

หรืออาจเน่ืองมาจากการคาดหวังหรือจากการเก็บกดซึ่งบางทีเจาตัวก็ไมรูตัว จะเห็นไดวาการจูงใจใหเกิด

พฤติกรรมที่ไมมีกฎเกณฑแนนอนเน่ืองจากพฤตกรรมมนุษยมีความซับซอน แรงจูงใจอยางเดียวกันอาจทํา

ใหเกิดพฤติกรรมที่ตางกัน แรงจูงใจตางกันอาจเกิดพฤติกรรมที่เหมือนกันก็ไดดังน้ันจะกลาวถึงที่มาของ

แรงจูงใจที่สําคัญพอสังเขปดังน้ี

Page 33: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

27

ความตองการ (Need)

เปนสภาพที่บุคคลขาดสมดุลทําใหเกิดแรงผลักดันใหบุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อสรางสมดุลให

ตัวเอง เชน เมื่อรูสึกวาเหน่ือยลาก็จะนอนหรือน่ังพัก ความตองการมีอิทธิพลมากตอพฤติกรรมเปนสิ่ง

กระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการ นักจิตวิทยาแตละทานอธิบายเร่ืองความ

ตองการในรูปแบบตางๆกันซึ่งสามารถแบงความตองการพื้นฐานของมนุษยไดเปน 2 ประเภททําใหเกิด

แรงจูงใจ

1.แรงจูงใจทางดานรางกาย (physical motivation)

เปนความตองการเกี่ยวกับอาหาร นํ้า การพักผอน การไดรับความคุมครอง ความปลอดภัย การไดรับ

ความเพลิดเพลิน การลดความเครงเคียด แรงจูงใจน้ีจะมีสูงมากในวัยเด็กตอนตนและวัยผูใหญตอนปลาย

เน่ืองจากเกิดความเสื่อมของรางกาย

2.แรงจูงใจทางดานสังคม (social motivation)

แรงจูงใจดานน้ีสลับซับซอนมากเปนความตองการที่มีผลมาจากดานชีววิทยาของมนุษยในความ

ตองการอยูรวมกันกับครอบครัว เพื่อนฝูงในโรงเรียน เพื่อนรวมงาน เปนความตองการสวนบุคคลที่ไดรับ

อิทธิพลมาจากสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมซึ่งในบางวัฒนธรรมหรือบางสังคมจะมีอิทธิพลที่เขมแข็งและ

เหนียวแนนมาก

ความแตกตางของแรงจูงใจดานสังคมและแรงจูงใจดานรางกาย คือแรงจูงใจดานสังคม เกิดจาก

พฤติกรรมที่เขาแสดงออกดวยความตองการของตนเองมากกวา ผลตอบแทนจากวัตถุและสิ่งของ

แรงขับ (Drives)

เปนแรงผลักดันที่เกิดจากความตองการทางกายและสิ่งเราจากภายในตัวบุคคล ความตองการและ

แรงขับมักเกิดควบคูกัน เมื่อเกิดความตองการแลวความตองการน้ันไปผลักดันใหเกิดพฤติกรรมที่เรียกวาเปน

แรงขับ เชนในการประชุมหน่ึงผูเขาประชุมทั้งหิว ทั้งเหน่ือย แทนที่การประชุมจะราบร่ืนก็อาจจะเกิดการ

ขัดแยงหรือเพราะวาทุกคนหิวก็รีบสรุปการประชุมซึ่งอาจจะทําใหขาดการไตรตรองที่ดีก็ได

สิ่งลอใจ (incentives)

เปนสิ่งชักนําบุคคลใหกระทําการอยางใดอยางหน่ึงไปสูจุดมุงหมายที่ต้ังไวถือเปนแรงจูงใจภายนอก

เชน ตองการใหพนักงานมาทํางานสม่ําเสมอก็ใชวิธียกยองพนักงานที่ไมขาดงานโดยจัดสรรรางวัลในการ

คัดเลือกพนักงานที่ไมขาดงานหรือมอบโลใหแกฝายที่ทํางานดีประจําป สิ่งลอใจอาจเปนวัตถุ เปนสัญลักษณ

หรือคําพูดที่ทําใหบุคคลพึงพอใจ

Page 34: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

28

การต่ืนตัว (arousal)

เปนภาวะที่บุคคลพรอมที่จะแสดงพฤติกรรม สมองพรอมที่จะคิด กลามเน้ือพรอมจะเคลื่อนไหว

นักกีฬาที่อุนเคร่ืองเสร็จพรอมที่จะแขงขันหรือเลนกีฬา องคการที่มีบุคลากรที่มีความต่ืนตัวก็ยอมสงผลให

ทํางานดี การศึกษาธรรมชาติพฤติกรรมของมนุษยมีความต่ืนตัว 3 ระดับคือ

-การต่ืนตัวระดับสูงจะต่ืนตัวมากไปจนกลายเปนต่ืนตกใจหรือต่ืนเตนเกินไปขาดสมาธิ

-การต่ืนตัวระดับกลางคือระดับต่ืนตัวที่ดีที่สุด

-การต่ืนตัวระดับตํ่ามักจะทําใหทํางานเฉื่อยชา งานเสร็จชา

จากการศึกษาพบวาปจจัยที่ทําใหบุคคลต่ืนตัวมีทั้งสิ่งเราภายนอกและภายใน ไดแกลักษณะสวนตัว

ของบุคคลแตละคนที่มีตางกันทั้งบุคลิกภาพ นิสัยและระบบสรีระของผูน้ัน

การคาดหวัง (expectancy)

เปนการต้ังความปรารถนาที่จะเกิดขึ้นของบุคคลในสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เชน พนักงานคาดหวัง

วาเขาจะไดโบนัสประมาณ 4-5 เทาของเงินเดือนในปน้ี การคาดหวังทําใหพนักงานมีชีวิตชีวาซึ่งบางคนอาจ

สมหวัง บางคนอาจผิดหวังก็ได สิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่คาดหวังมักไมตรงกันเสมอไป ถาสิง่ที่เกิดขึ้นหางกับสิ่ง

ที่คาดหวังมากก็อาจจะทําใหพนักงานคับของใจในการทํางาน การคาดหวังกอใหเกิดแรงผลักดันหรือเปน

แรงจูงใจที่สําคัญตอพฤติกรรม ถาองคการกระตุนใหพนักงานยกระดับผลงานตนเองไดและพิจารณา

ผลตอบแทนที่ใกลเคียงกับสิ่งที่พนักงานคาดหวังวาควรจะไดก็จะเปนประโยชนทั้งองคกรและพนักงาน

การต้ังเปาหมาย (goal setting)

เปนการกําหนดทิศทางและจุดมุงหมายปลายทางของการกระทํากิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงของบุคคล

จัดเปนแรงจูงใจจากภายในของบุคคลผูน้ันในการทํางาน ธุรกิจที่มุงเพิ่มปริมาณและคุณภาพควรมีการ

ต้ังเปาหมายในการทํางานเพราะจะสงผลใหการทํางานมีแผนในการดําเนินการเหมือนเรือที่มีหางเสือ เพราะ

มีเปาหมายชัดเจน

นอกจากน้ีรูปแบบของแรงจูงใจ บุคคลแตละคนมีรูปแบบแรงจูงใจที่แตกตางกัน ซึ่งนักจิตวิทยาไดแบง

รูปแบบ แรงจูงใจของมนุษยออกเปนหลายรูปแบบที่สําคัญ มีดังน้ี

1. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ (Achievement Motive) หมายถึง แรงจูงใจที่เปนแรงขับใหบุคคลพยายามที่จะ

ประกอบพฤติกรรมที่จะประสบสัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐานความเปนเลิศ (Standard of Excellence) ที่

ตนต้ังไว บุคคลที่มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์จะไมทํางานเพราะหวังรางวัล แตทําเพื่อจะประสบ

ความสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ต้ังไว ผูมีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์จะมีลักษณะสําคัญ ดังน้ี

Page 35: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

29

1. มุงหาความสําเร็จ (Hope of Success) และกลัวความลมเหลว (Fear of Failure)

2. มีความทะเยอทะยานสูง

3. ต้ังเปาหมายสูง

4. มีความรับผิดชอบในการงานดี

5. มีความอดทนในการทํางาน

6. รูความสามารถที่แทจริงของตนเอง

7. เปนผูที่ทํางานอยางมีการวางแผน

8. เปนผูที่ต้ังระดับความคาดหวังไวสูง

2. แรงจูงใจใฝสัมพันธ (Affiliative Motive)ผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมพันธ มักจะเปนผูที่โอบออมอารี เปนที่

รักของเพื่อน มีลักษณะเห็นใจผูอ่ืน ซึ่งเมื่อศึกษาจากสภาพครอบครัวแลวผูที่มีแรงจูงใจใฝสัมพันธ

มักจะเปนครอบครัวที่อบอุน บรรยากาศในบานปราศจาก การแขงขัน พอแมไมมีลักษณะขมขู พี่

นองมีความรักสามัคคีกันดี ผูมีแรงจูงใจใฝสัมพันธจะมีลักษณะสําคัญ ดังน้ี

1. เมื่อทําสิ่งใด เปาหมายก็เพื่อไดรับการยอมรับจากกลุม

2. ไมมีความทะเยอทะยาน มีความเกรงใจสูง ไมกลาแสดงออก

3. ต้ังเปาหมายตํ่า

4. หลีกเลี่ยงการโตแยงมักจะคลอยตามผูอ่ืน

3. แรงจูงใจใฝอํานาจ (Power Motive) สําหรับผูที่มีแรงจูงใจใฝอํานาจน้ัน พบวา ผูที่มีแรงจูงใจแบบน้ี

สวนมากมักจะพัฒนามาจากความรูสึกวา ตนเอง "ขาด" ในบางสิ่งบางอยางที่ตองการ อาจจะเปน

เร่ืองใดเร่ืองหน่ึงก็ไดทําใหเกิดมีความรูสึกเปน "ปมดอย" เมื่อมีปมดวยจึงพยายามสราง "ปมเดน"

ขึ้นมาเพื่อชดเชยกับสิ่งที่ตนเองขาด ผูมีแรงจูงใจใฝอํานาจจะมีลักษณะสําคัญ ดังน้ี

1. ชอบมีอํานาจเหนือผูอ่ืน ซึ่งบางคร้ังอาจจะออกมาในลักษณะการกาวราว

2. มักจะตอตานสังคม

3. แสวงหาชื่อเสียง

4. ชอบเสี่ยง ทั้งในดานของการทํางาน รางกาย และอุปสรรคตาง ๆ

5. ชอบเปนผูนํา

4. แรงจูงใจใฝกาวราว (Aggression Motive)ผูที่มีลักษณะแรงจูงใจแบบน้ีมักเปนผูที่ไดรับการเลี้ยงดู

แบบเขมงวดมากเกินไป บางคร้ังพอแมอาจจะใชวิธีการลงโทษที่รุนแรงเกินไป ดังน้ันเด็กจึงหาทาง

ระบายออกกับผูอ่ืน หรืออาจจะเน่ืองมาจากการเลียนแบบ บุคคลหรือจากสื่อตาง ๆ ผูมีแรงจูงใจใฝ

กาวราว จะมีลักษณะที่สําคัญดังน้ี

1. ถือความคิดเห็นหรือความสําคัญของตนเปนใหญ

2. ชอบทํารายผูอ่ืน ทั้งการทํารายดวยกายหรือวาจา

Page 36: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

30

5. แรงจูงใจใฝพึ่งพา (Dependency Motive)สาเหตุของการมีแรงจูงใจแบบน้ีก็เพราะการเลี้ยงดูที่พอแม

ทะนุถนอมมากเกินไป ไมเปดโอกาสใหเด็กไดชวยเหลือตนเอง ผูที่มีแรงจูงใจใฝ พึ่งพา จะมี

ลักษณะสําคัญ ดังน้ี

1. ไมมั่นใจในตนเอง

2. ไมกลาตัดสินใจในเร่ืองตาง ๆ ดวยตนเอง มักจะลังเล

3. ไมกลาเสี่ยง

4. ตองการความชวยเหลือและกําลังใจจากผูอ่ืน

สรุปไดวาการสรางแรงจูงใจเปนกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุนจากสิ่งเราโดยจงใจใหกระทําหรือ

ด้ินรนเพื่อใหบรรลุจุดประสงคบางอยางซึ่งจะเห็นไดพฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเปนพฤติกรรมที่มิใชเปน

เพียงการตอบสนองสิ่งเราปกติธรรมดา ยกตัวอยางลักษณะของการตอบสนองสิ่งเราปกติคือ การขานรับเมื่อ

ไดยินเสียงเรียก แตการตอบสนองสิ่งเราจัดวาเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการจูงใจเชน พนักงานต้ังใจทํางาน

เพื่อหวังความดีความชอบเปนกรณีพิเศษ

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

จากงานวิจัยของ วิจารณ พานิช (2548) สรุปวา ยุคแรกๆของการพัฒนาศาสตรดานการจัดการ

ความรู มองวาความรู มาจากการจัดระบบและตีความสารสนเทศ (Information) ตามบริบทและสารสนเทศ

มาจากการประมวลขอมูล (data) ความรู จะไมมีประโยชน ถาไมนําไปสูการกระทําหรือการตัดสินใจ ใน

การจัดการสมัยใหมโดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคแหงสังคมที่ใชความรูเปนฐาน (Knowledge-based society) มอง

ความรูวาเปนทุนปญญา การจัดการความรูจึงเปนกระบวนการใชทุนปญญา นําไปสรางคุณคา และมูลคา

ซึ่งอาจเปนมูลคาทางธุรกิจหรือคุณคาทางสังคมก็ได

สวนงานวิจัยของ กิตติยาภรณ ซุยลา (2548) ไดศึกษาการจัดการความรูเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการ

เทศบาล ตําบลหนองหิน กิ่งอําเภอหนองหิน จังหวัดเลย ผลการศึกษาพบวา เทศบาลตําบลหนองหินมี

สภาพการบริหารจัดการที่มีความพรอมในดานบุคลากร วัสดุอุปกรณและงบประมาณ แตขาดการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดี หลังจากการใชการจัดการเรียนรูโดยการแบงปนและ

แลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดเก็บและนําความรูไปใช กอใหเกิดคณะทํางานจัดการความรูหลากหลายมากขึ้น

ทุกสัปดาหในวันศุกร เวลา 15.00 น. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในองคกรทําใหเทศบาลตําบลหนอง

หิน มีการจัดการความรูอยางเปนระบบ “พรอมใช” เกิดประสบการณในการจัดการความรู บุคลากรมี

วัฒนธรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและเปนแหลงเรียนรูสําหรับองคกรอ่ืนๆ จากการจัดการความรู สงผลให

เทศบาลตําบลหนองหินเกิดการพัฒนางาน คน และองคกรอยางมีประสิทธิผลและมีแนวโนมที่จะพัฒนาสู

การเปนองคการแหงการเรียนรูมากขึ้น

Page 37: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

31

นอกจากน้ีงานวิจัยของวลัยพร หวันทาและคณะ (2548) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอการจัดการความรู

กรณีศึกษาฝายบํารุงรักษาโยธา บริษัท กฟผ. จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่ผลตอผลสัมฤทธิ์

ของการจัดการความรูตามกรอบงานวิจัยน้ี คือ ความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความรู การสนับสนุนของ

ผูบริหาร วัฒนธรรมขององคกร เทคโนโลยีที่รองรับการจัดการความรู และการฝกอบรมพัฒนาบุคลากร

โดยปจจัยดังกลาวมีความสัมพันธเชิงบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนรู

จากงานวิจัยของ ธิดา จุลินทร (2549) ศึกษากระบวนการและปจจัยแหงความสําเร็จของการจัดการ

ความรูในองคกร กรณีศึกษา ศูนยสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ผลการศึกษาพบวา กระบวนการจัดการ

ความรูในศูนยสุขภาพจิตในสวนของขั้นตอนนการจัดการความรูน้ัน ศูนยสุขภาพจิต B ดําเนินการครบทั้ง 7

ขั้นตอน คือ (1) การบงชี้ความรู (2) การสรางและการแสวงหาความรู (3) การจัดความรูใหเปนระบบ (4)

การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู (5) การเขาถึงความรู (6) การเรียนรูและการนําความรูไปใชและ (7) การ

ติดตามและประเมินผลการนําความรูไปใช ในขณะที่ศูนยสุขภาพ Q ดําเนินการ 6 ขั้นตอน คือ 1 2 3 4 5

6 แตขาดขั้นตอนที่ 7 และศูนยสุขภาพจิต X ดําเนินการเพียง 5 ขั้นตอน คื 2 3 4 5 และ 6 ซึ่งแสดงใหเห็น

วาในกรณีดังกลาวแมวาเปนศูนยสุขภาพจิตที่อยูภายใตกรมสังกัดเดียวกันมีอิสระในการกําหนดรูปแบบ

สามารถเลือกวิธีปฏิบัติในการดําเนินการจัดการความรูไดเอง

งานวิจัยของทิพยรัตน อติวัฒนชัย (2550) ศึกษาการจัดการความรูในวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการ

จัดการมหาวิทยาลัยของแกน ผลการศึกษาพบวา สภาพการจัดการความรูดานการเรียนรู องคกรมีสถานที่

เคร่ืองมือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมตอการเรียนรูมากที่สุด รองลงมาบุคลากรไดรับการ

สงเสริมการเรียนรู มีสวนรวมและมีอิสระในการทํางานและการคิดสรางสรรคสิ่งใหมๆและนอยที่สุดมีแผน

ยุทธศาสตร แผนกลยุทธโดยที่ยังไมมีนโยบายเชื่อมโยงในการจัดการความรู ดานการรวบรวมความรูมีการ

จัดทําเอกสารสรุป คูมือการปฏิบัติงาน รายงาน สรุปผลการดําเนินงานมีมากที่สุด รองลงมามีการรวบรวม

หลักฐาน เอกสารที่ไดรับจากการเขารวมประชุม อบรม สัมมนา รวบรวมจัดเก็บไวดวยกันอยางเปนระบบ

ในแฟมเอกสารหรือสถานที่เดียวกันเพื่อใชประโยชนในการสรางความรูในองคกร และนอยที่สุด คือการ

สรุปความรูอันเกิดจากการเขารวมอบรม สัมมนา เสวนา หรือบุคลากรไดรับการเชิญปนวิทยากร ยังไมมี

การจัดทําเปนเน้ือหาเอกสาร หรือรายงาน หรือคูมือ ดานการจัดเก็บอยางเปนระบบพบวา เทคโนโลยี

รองลงมามีสถานที่เพื่อใชในการจัดเก็บเอกสาร หลักฐาน ผลงาน ชิ้นงาน มีการจัดเก็บขอมูลอยางเปน

ระบบและพบวาไมมีระบบ E-Library หรือเว็บไซต เพื่อใชในการสรางความรูอยางเปนระบบที่เหมาะสม

ตอการเรียนรูและเทคโนโลยีที่กอใหเกิดคลังความรูที่ทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงได ดานการแบงปน

แลกเปลี่ยนเรียนรู พบวา เทคโนโลยีชวยใหบุคลากรใชประโยชนสื่อสาร เชื่อมโยงขอมูลในองคกรมาก

ที่สุด รองลงมาพบวา มีคุณคาความรูและทักษะที่อยูในตัวบุคลากรอันเกิดจากประสบการณและการเรียนรู

ของแตละคนไดนําไปใชประโยชน เพื่อกระจายความรูและขยายฐานความรูสูสังคมและนอยที่สุด ไดแก

การประชุมหารือ แลกเปลี่ยนความรูที่ไดรับอบรม เรียนรูเพื่อถายทอดความรู

Page 38: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

32

ผลงานวิจัยของ นิธิพล นวลมณี (2550) ศึกษามุมมองของขาราชการกรมสงเสริมการปกครอง

ทองถิ่นที่เกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกร ผลการศึกษาพบวา ขาราชการกรมสงเสริมการปกครอง

ทองถิ่นมีมุมมองความพรอมในการนําการจัดการความรูในองคกรอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณามุมมอง

ความพรอมเกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกรอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณามุมมองความพรอม

เกี่ยวกับการจัดการความรูใน 4 ดาน พบวามีความพรอมสูงสุดในการสรางและแสวงหาความรู รองลงมาคือ

การเรียนรู การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู และการเขาถึงความรู ตามลําดับ ขณะที่ปจจัยในองคกรดานผูนํา

เปนปจจัยที่มีผลตอความพรอมของขาราชการเกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกร ซึ่งมีความสัมพันธ

ทางบวกในดานตางๆ ไดแก การใหความสําคัญตอการสงเสริมการจัดการความรูในองคกร การสราง

แรงจูงใจเพื่อกระตุนใหกระบวนการจัดการความรูประสบผลสําเร็จและการเปนตัวอยางที่ดีเกี่ยวกับการ

จัดการความรูในองคกร นอกจากน้ีปจจัยสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับความพรอมของขาราชการกรม

สงเสริมการปกครองทองถิ่นเกี่ยวกับการจัดการความรูใจองคกร ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา กลุม

งาน ตําแหนง และรายได

ผลงานวิจัยของ อภิพันธ ภคสกุลวงศ (2550) ศึกษาแนวทางการจัดการความรูในฝายเภสัชกรรม

โรงพยาบาลรมฉัตร อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ผลการศึกษาพบวา ปญหาในการจัดการความรูในฝาย

เภสัชกรรมโรงพยาบาลรมฉัตรในภาพรวมอยูในระดับนอย เมื่อพิจารณารายดานพบวาปญหา อันดับที่ 1

คือ ดานเทคโนโลยีในการจัดการความรู อันดับที่ 2 คือดานวัฒนธรรมองคกรในการจัดการความรู อันดับที่ 3

คือ ดานการวัดผลในการจัดการความรู อันดับที่ 4 คือ ดานภาวะผูนําในการแลกเปลี่ยนเรียนรู จากการศึกษา

ไดแนวทางการจัดการความรูในการจัดการความรูในฝายเภสัชกรรม ดังตอไปน้ี ดานกระบวนการในการ

จัดการความรูตองมีการออกแบบระบบและกําหนดเปนระเบียบ โดยผูบริหารตองใหการสนับสนุนการ

ถายทอดความรู ทักษะและประสบการณในการทํางานแกคนในองคกรมีการดําเนินงานที่เปนขั้นตอน

ชัดเจน เปดโอกาสใหเจาหนาที่ทุกฝายเขามามีสวนรวม ดานภาวะผูนําในการจัดการความรู ผูบริหาร

ระดับสูงตองยอมรับและใหความสําคัญกับการจัดการความรูในองคกร กําหนดกลยุทธเกี่ยวกับการสราง

บรรยากาศใหบุคลากรกลาคิด กลาทํา กลาเปดเผยตัวเองไววางใจกันและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง

วัฒนธรรมองคกรใหเอ้ือตอการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานเทคโนโลยีในการจัดการความรู ผูบริหารตอง

สนับสนุนใหองคกรนําเทคโนโลยีที่เอ้ือตอการสรางคลังความรู และนําระบบสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช

ดานการวัดผลในการจัดการความรู ผูบริหารตองต้ังตัวชี้วัดและเกณฑสําหรับใชประเมินระบบและกิจกรรม

ที่ทําในองคกร ทั้งน้ีในทุกดานผูบริหารตองเปนแบบอยางที่ดี

ผลงานวิจัยของณาตยา สีหานาม (2551) ศึกษาประสิทธิผลในการจัดการความรู กรณีศึกษาการ

จัดการความรูในโรงพยาบาลกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ ผลการศึกษาพบวา ในดานกระบวนการจัดการ

ความรูในโรงพยาบาลมีการดําเนินการจัดการความรูประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ การกําหนดความรู การ

เสาะหาความรู การปรับปรุง/สรางความรู การใชความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการบันทึกความรู

กระบวนการจัดการความรู มีคาเฉลี่ยในภาพรวมเทากับ 3.40 เมื่อแปลผลอยูในระดับปานกลาง ดานปจจัย

Page 39: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

33

สนับสนุนการจัดการความรู มีคาเฉลี่ยในภาพรวมเทากับ 3.46 เมื่อแปลผลแลวอยูในระดับมาก ผลการ

วิเคราะหความสัมพันธ ดานกระบวนการจัดการความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการบันทึกความรู มี

ความสัมพันธกับประสิทธิผลในการจัดการความรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 โดยมี

ความสัมพันธเชิงบวก ( r ) เทากับ 0.726 / 0.825 / 0.859 / 0.846 และ 0.801 ตามลําดับ

งานวิจัยของ จุฑารัตน ศราวณะวงศ (2552) พัฒนาตัวแบบกลยุทธการจัดการความรูของ

มหาวิทยาลัยขอนแกน ผลการศึกษาพบวา สภาพ และปญหาการจัดการความรูของมหาวิทยาลัยขอนแกน

เนนการใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาการปฏิบัติงานดานการบริหารทั่วไป กระบวนการ

จัดการความรูเนนการแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุมบุคลากร โดยใชเคร่ืองมือ ไดแก เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู

และชุมชนนักปฏิบัติ แตยังขาดความสามารถในการจัดเก็บ จัดระบบ การจับและประมวลความรู

ผูปฏิบัติงานขาดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูสวนใหญยังไมเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู

เน่ืองจากเปนเร่ืองใหม ตัวแบบกลยุทธการจัดการความรู ประกอบดวย 12 กลยุทธหลัก และ 19 กลยุทธรอง

โดยกลยุทธหลักสําคัญที่สงเสริมความสําเร็จในการประยุกตการจัดการความรูสําหรับมหาวิทยาลัยขอนแกน

ประกอบดวย การผลักดันวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนความรูที่ฝงลึกระหวางผูปฏิบัติงาน การสงเสริม

ความรู ความเขาใจในดานกระบวนการและเคร่ืองมือ จัดการความรูแกผูปฏิบัติงาน การปรับโครงสราง

องคกรเปนแนวราบและการสงเสริมผลักดัน การทํางานเปนทีม และการจัดหาซอฟแวรดานการจัดการ

ความรู เพื่อนํามาใชในการสรางคลังขอมูลเพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงและใชประโยชนได

นอกจากน้ี Choi (2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม,2549) ไดวิจัยเร่ือง การศึกษาโดยจําแนกปจจัยที่

มีผลกระทบตอการนํา KM ไปใชอยางบรรลุผล ผลการวิจัยพบวา ปจจัยที่ทําใหการนํา KM ไปใชให

บรรลุผลไดมี 11 ประการ คือ การฝกทักษะบุคลากร การมีสวนรวมของบุคลากร การทํางานเปนทีม การ

เอ้ืออํานาจแกบุคลากร การวัดการดําเนินการ บรรยากาศเสมอภาค การเทียบวัด โครงสรางความรู อีกทั้ง

Epstein (2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม,2549) ไดวิจัยเร่ือง การแบงปนแลกเปลี่ยนความรูใน

องคกร ผลการวิจัยพบวา อุปกรณสื่อสารมีความสําคัญตอการแพรกระจายความรูที่ซับซอน มากกวา

ความรูธรรมดาทั่วไป ในการแบงปนแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรูที่ซอนเรนในตัวบุคคล การสื่อสาร

แบบพบปะสนทนาโดยตรงจะใหผลดีกวาจดหมายอิเล็กทรอนิกส (email) ความสัมพันธใกลชิดจะมีบทบาท

สําคัญมากตอการแพรกระจายความรู การเปนเพื่อนจะทําใหการแลกเปลี่ยนประสบการณความรูไดมากกวา

การขาดความสําคัญเปนเพื่อน บุคคลที่มีบุคลิกภาพเปดเผยจะสื่อสารความรูไดดีกวา

Gruber (2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม, 2549) ไดวิจัยเร่ือง วัฒนธรรมองคกรวามีผลตอการใช

ความรู รวมกันหรือไม ผลการวิจัยพบวา ปจจัยที่อิทธิพลตอการใชความรูรวมกันขององคกร ไดแก

วัฒนธรรมที่มีการเปดเผยและไววางใจกัน ชองทางการสื่อสาร การใหการสนับสนุนของผูบริหารและการมี

ระบบการใหรางวัลซึ่งผลการวิจัยชิ้นน้ี ไดชี้ประเด็นสําคัญเอาไวในขอเสนอแนะวา การสรางวัฒนธรรม

องคกรใหบุคลากรทุกคน ไดมีการยึดถืออุดการณรวมกัน (Share value) เปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะสงผลให

ปจจัยอ่ืนๆเกิดตามมา

Page 40: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

34

Mantas Manovans (2000 อางถึงใน จิราพร ชายสวัสด์ิ,2550) ศึกษาความสัมพันธระหวาง ความ

เหมาะสมกับการจัดองคความรูและความสําเร็จในการถายทอดองคความรู ผลการศึกษาพบวา การถายโอน

ความรูจะสงผลสําเร็จในเทคโนโลยีสารสนเทศในบริษัท

จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของจะเห็นไดวาแตละหนวยงานใหความสําคัญกับการจัดการเรียนรู

โดยคิดวาเปนประโยชนกับองคการอยางมากในอนาคต ซึ่งปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จในการจัดการความรู

จะตองเร่ิมตนจากผูบริหาร มีการผลักดันวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนความรูที่ฝงลึกระหวางผูปฏิบัติงาน

การสงเสริมความรู ความเขาใจในดานกระบวนการและเคร่ืองมือ จัดการความรูแกผูปฏิบัติงาน การปรับ

โครงสรางองคกรเปนแนวราบและการสงเสริมผลักดัน การทํางานเปนทีม และการจัดหาซอฟแวรดานการ

จัดการความรู เพื่อนํามาใชในการสรางคลังขอมูลเพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงและใชประโยชนได

Page 41: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

35

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาคนควาคร้ังน้ีเปนการวิเคราะหความสัมพันธของกระบวนการจัดการความรูที่มีผลตอ

ประสิทธิภาพในการทํางานของกรมชลประทาน

รายละเอียดของการศึกษามีดังน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

3.3 ขั้นตอนการสรางเคร่ืองมือ

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.5 การจัดทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

3.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.1 ประชากรไดแก ขาราชการในกรมชลประทานสวนกลางและสวนภูมิภาค กระทรวง

เกษตรและสหกรณ ปงบประมาณ 2554 จํานวน 6,911 คน

1.2 กลุมตัวอยางไดแก ขาราชการในกรมชลประทานสวนกลางและสวนภูมิภาค

กระทรวงเกษตรและสหกรณ จํานวน 378 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการใชเทคนิคการ

สุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2550)

ตามข้ันตอนการสุมกลุมตัวอยางดังตอไปน้ี

1.2.1 กําหนดขนาดของกลุมตัวอยางผูวิจัยไดทําการสุมตัวอยางโดยใชสูตรของทาโร ยามาเน

(Taro Yamane, 1967) เพื่อสุมจํานวนตัวอยางที่มีขนาดที่เหมาะสมโดยมีความ

คลาดเคลื่อนในคาสถิติที่คลาดเคลื่อนเพียง 0.05

สูตรดังกลาวคือ 21 NeNn

+=

เมื่อกําหนดให

N = จํานวนขาราชการในกรมชลประทาน 6,911 คน

e = ความคลาดเคลื่อนของการสุม .05 คน

n = ขนาดของตัวอยางที่สุมได 378 คน

แทนคา 2)5.0(911,61911,6

+=n = 378 คน

Page 42: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

36

1.2.2 คํานวณจํานวนกลุมตัวอยางจากสัดสวนของประชากรโดยการมีสูตรคํานวณขนาด

กลุมตัวอยางจากสัดสวนของประชากร(ทวีศักด์ิ ศิริพรไพบูลย, 2549 , หนา 62 ) ดังน้ี

n h = nNNh *

เมื่อ nh แทน ขนาดตัวอยาง

hN แทน จํานวนขาราชการแตละสํานัก/กอง

N แทน จํานวนขาราชการทั้งหมด

n แทน กลุมตัวอยางที่ไดจากคํานวณ

ซึ่งไดกลุมตัวอยางดังตารางตอไปน้ี

ตาราง 1 : จํานวนกลุมตัวอยางตามหนวยงานท่ีสังกัด

หนวยงาน จํานวนประชากร จํานวนกลุมตัวอยาง

กลุมตรวจสอบภายใน

กลุมกิจกรรมพิเศษ

สํานักเลขานุการกรม

กองการเงินและบัญชี

กองกฏหมายและที่ดิน

กองแผนงาน

กองพัสดุ

ศูนยสารสนเทศ

สํานักเคร่ืองจักรกล

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักบริหารโครงการ

สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

สํานักวิจัยและพัฒนา

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม

สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า

สํานักผูมีสวนรวมของประชาชน

กลุมพัฒนาระบบบริหาร

สํานักงานจัดรูปที่ดินกลาง

28

10

59

145

173

64

94

56

368

329

148

145

108

276

219

239

15

7

142

4

2

3

8

10

4

5

3

16

15

8

8

6

16

13

14

4

2

8

Page 43: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

37

หนวยงาน จํานวนประชากร จํานวนกลุมตัวอยาง

สชป. 1

สชป. 2

สชป. 3

สชป. 4

สชป. 5

สชป. 6

สชป. 7

สชป. 8

สชป. 9

สชป. 10

สชป. 11

สชป. 12

สชป. 13

สชป. 14

สชป. 15

สชป. 16

สชป. 17

225

222

244

226

275

318

225

312

304

305

297

337

236

171

257

204

128

13

13

14

13

14

15

13

15

15

15

15

16

14

10

15

12

7

รวม 6,911 378

3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น โดยลักษณะ

แบบสอบถามเปนแบบปลายปด ปลายเปด และแบบทดสอบ แบงเปน 6 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM

ตอนที่ 3 สถานะการจัดการความรูในหนวยงาน

ตอนที่ 4 การประเมินกระบวนการจัดการความรู (KMA)

ตอนที่ 5 การประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู

ตอนที่ 6 ขอเสนอแนะ

Page 44: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

38

ซึ่งแบบสอบถามตอนที่ 3 – 5 เปนการประมาณคา (Rating Scale) มีระดับดําเนินการแบงเปน 5 ระดับ ดังน้ี

5 = ปฏิบัติเปนประจํา มีรูปแบบเปนระบบ ทําซ้ําได

4 = ปฏิบัติสม่ําเสมอ มีแนวทางที่ดี

3 = ทําตามแนวทางที่กําหนดครบถวน ตามระยะเวลาที่กําหนด

2 = มีแนวทางปฏิบัติบาง ยังไมชัดเจน ไมไดทําประจํา

1 = ไมมีการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ ปฏิบัติตามที่มีการสั่งการหรือเมื่อมี

การรองขอ

3.3 ข้ันตอนการสรางเคร่ืองมือ

1. ศึกษาเอกสาร ตํารา ที่เกี่ยวของกับกระบวนการจัดการความรูในกรมชลประทานและศึกษา

กิจกรรมการจัดการเรียนรูในกรมชลประทานเพื่อนําการสรางแบบสอบถาม

2. นําขอมูลที่ไดมาสรางแบบสอบถามใหครอบคลุมเร่ืองที่จะทําการศึกษาคนควา

3. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้น เสนอผูบังคับบัญชา ตรวจพิจารณาแลวนํามาแกไขตาม

ขอเสนอแนะ

4. นําเคร่ืองมือเสนอตอผูเชี่ยวชาญเพื่อปรับปรุงแกไขการใชสํานวนภาษาสําหรับสื่อความหมาย

ความเหมาะสมถูกตองของเน้ือหา และความตรงเชิงเน้ือหา(contentvalidity)ของแบบสอบถาม โดยให

คะแนน +1 เมื่อแนใจวาวัดไดตรงจุดประสงค ใหคะแนน -1 เมื่อแนใจวาวัดไดไมตรงจุดประสงค และให

คะแนน 0 เมื่อไมแนใจวาวัดตรงจุดประสงค นําคะแนนที่ไดไปหาคาดัชนีความสอดคลอง ซึ่งมีเกณฑใน

การพิจารณาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดังน้ี คือ ถาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ที่คํานวณไดมากกวา

หรือเทากับ 0.5 แสดงวาแบบสอบถามที่สรางขึ้นมีองคประกอบที่สอดคลองกันอยางแทจริง แตถาคาดัชนี

ความสอดคลอง (IOC) ที่คํานวณไดมีคานอยกวา 0.5 แสดงวาองคประกอบของแบบสอบถาม ที่สรางขึ้นไม

มีความสอดคลองกันจึงตองทําคัดออก จากการพิจารณาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ พบวาขอถามทั้งหมด

จํานวน 68 ขอ เขาเกณฑ มีคาต้ังแต 0.5 ขึ้นไป

5. นําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงสมบูรณแลว ไปทดลองใช (Try out) กับขาราชการใน

กรมชลประทานที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน เพื่อหาความเชื่อมั่น (Reliability) เปนรายขอของ

แบบสอบถามโดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบัค (Alpha Cronbach coefficient) ไดคาความเชื่อมั่น

ทั้งฉบับ เปน 0.97

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม แลวนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยตอไป

Page 45: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

39

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการตามขั้นตอนตอไปน้ี

1. ทําหนังสือแนะนํา และชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัยสงไปยังแตละสํานัก/กอง

2. ติดตอสํานัก/กอง เพื่อขอความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม

3. จัดเตรียมแบบสอบถามและดําเนินการ จัดสงแบบสอบถามไปยังสํานัก/กองทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค

4. ติดตามผลการตอบแบบสอบถามโดยโทรศัพทติดตอสํานัก/กองที่เปนกลุมตัวอยาง

5. เก็บรวบรวมขอมูลแบบสอบถามที่ไดรับกลับคืนและเปนแบบสอบถามที่สมบูรณสามารถนํามา

วิเคราะหขอมูลไดจํานวน 378 ตัวอยาง

3.5 การจัดทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยนําแบบสอบถามที่ไดเก็บรวบรวมมาตรวจสอบความถูกตองและความสมบูรณของ

แบบสอบถาม และนํามาวิเคราะห โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติดังน้ี

1. การวิเคราะหขอมูลทั่วไปใชสถิติพื้นฐาน คือ คาความถี่ รอยละ คาเฉลีย่ และคาเบีย่งเบนมาตรฐาน

เกณฑที่ใชในการแปลความหมายของขอมูล

ใชคารอยละและคาเฉลี่ยที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความรู

สถานะการจัดการความรูในหนวยงาน การประเมินกระบวนการจัดการความรู (KMA) และ การประเมิน

ความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรูไปเทียบกับเกณฑการประเมินของคูมือการปฏิบัติงาน

การประเมินผลโครงการฝกอบรม กรมชลประทาน(การประเมินผลโครงการฝกอบรม,2553,หนา 34และ53) ดังน้ี

เกณฑท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับรอยละคะแนนทดสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความรู

81 – 100 หมายถึง ดีมาก

71 – 80 หมายถึง ดี

61 – 70 หมายถึง พอใช

ตํ่ากวาหรือเทากับ 60 หมายถึง ไมผานการประเมิน

เกณฑท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นในการดําเนินการจัดการความรู

4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูมาก

3.41 – 4.20 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูคอนขางมาก

2.61 – 3.40 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูปานกลาง

1.81 – 2.60 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูคอนขางนอย

1.00 – 1.80 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูนอย

Page 46: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

40

เกณฑท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับรอยละระดับความคิดเห็นในการดําเนินการจัดการความรู

84 – 100 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูดีมาก

68 – 83 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูดี

52 – 67 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูปานกลาง

36 – 51 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูคอนขางนอย

20 – 35 หมายถึง ระดับการดําเนินการจัดการความรูนอย

2. การแบงกลุมตัวแปร ดวยวิธีการวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis)

3. การวิเคราะหความสัมพันธกระบวนการจัดการความรูที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานดวย

วิธีการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

4. การวิเคราะห Gap Analysis

3.6 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

3.6.1 สถิติท่ีใชหาคุณภาพของเคร่ืองมือ

หาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยใชวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบัค (Alpha

Cronbach Coefficient) (Cronbach, 1990, p 202)

−= ∑

2

2

11 x

i

SS

nnα

เมื่อ n แทน จํานวนขอถาม

α แทน คาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบัค

2iS แทน ความแปรปรวนรายขอ

2xS แทน ความแปรปรวนของคะแนนของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด

3.6.2 สถิติพื้นฐาน

1. คารอยละ (Percentage)

nfp = * 100

เมื่อ p แทน คารอยละ

f แทน จํานวนกลุมตัวอยางที่สนใจ

n แทน จํานวนตัวอยางทั้งหมด

Page 47: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

41

2. คาเฉลี่ย (Mean) มีสูตรดังน้ี

nx

x ∑=

เมื่อ x แทน คาเฉลี่ย

∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุมตัวอยาง

n แทน จํานวนตัวอยาง

3. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

1)(

..2

−= ∑

nxx

DS

เมื่อ ..DS แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

x แทน คะแนนแตละขอ

x แทน คาเฉลี่ย

n แทน จํานวนตัวอยาง

4. การวิเคราะหปจจัยองคประกอบ (Factor Analysis)

เปนเทคนิคทางสถิติที่มีวัตถุประสงคในการลดปริมาณของตัวแปรใหมีจํานวนนอยลง เพื่องายตอ

ความเขาใจ ทั้งน้ีเทคนิคการวิเคราะหปจจัยองคประกอบเปนเทคนิคที่จะจับกลุมหรือรวมตัวแปรที่มี

ความสัมพันธกันไวในกลุมหรือ Factor เดียวกัน โดยตัวแปรที่อยูในปจจัยเดียวกันจะมีความสัมพันธกันมาก

สวนตัวแปรที่อยูคนละปจจัย จะไมมีความสัมพันธหรือมีความสัมพันธนอย (กัลยา วานิชยบัญชา,2548,หนา

7-11) ในขั้นตอนของการวิเคราะหปจจัยองคประกอบ ผูวิจัยเลือกการหมุนแกนปจจัย (Factor Rotation)

โดยการหมุนแกนแบบมุมฉาก (Orthogonal) ซึ่งเปนวิธีการหมุนแกนจากตําแหนงเดิมในลักษณะต้ังฉากกัน

ตลอด เปนการหมุนแกนที่ปจจัยแตละปจจัยไมมีความสัมพันธกัน ซึ่งเปนวิธีของการหมุนแกนแบบมุมฉาก

ที่ใชคือปจจัยแบบอิควาแมกซ (Equamax) ที่เปนการลดทั้งจํานวนตัวแปรในแตละปจจัย และเปนการลด

ปจจัยที่ใชอธิบายความหมายของตัวแปร ซึ่งผูวิจัยแบงการวิเคราะหปจจัยเปน 2 สวนคือ

1. การวิเคราะหปจจัยกลุมตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ซึ่งเปนปจจัยที่

สงผลตอประสิทธิภาพการทํางาน

2. การวิเคราะหปจจัยกลุมตัวแปรตาม (Dependent Variables) ซึ่งเปนปจจัยที่

เกี่ยวของกับประสิทธิภาพของงาน

Page 48: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

42

การวิเคราะหปจจัยกลุมตัวแปรอิสระ และกลุมตัวแปรตาม จากการพิจารณาการสกัดปจจัย (Factor

Extraction) โดยวิธีองคประกอบ (Principle Component) โดยพิจารณาจากปจจัยที่มีคา Eigenvalue มากกวา

1 พบวาคําถามจากตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 49 คําถาม สามารถจําแนกคําถามที่มีความสัมพันธกันได

ทั้งหมด 6 กลุม ที่ผูวิจัยนําไปวิเคราะหการถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

5. การวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

การวิเคราะหการถดถอย เปนวิธีการทางสถิติอยางหน่ึง ที่ใชในการตรวจสอบลักษณะของ

ความสัมพันธระหวางตัวแปร ต้ังแต 2 ตัวขึ้นไป โดยแบงเปนตัวแปรอิสระ (Independent variable) และตัว

แปรตาม (Dependent variable) ผลของการศึกษาจะใหทราบถึง

(1) ขนาดของความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ ที่มีตอตัวแปรตาม และ

(2) แบบจําลองความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม

แบบจําลองการถดถอยเชิงเสน

ตัวแปรอิสระ (X) n ตัว ตัวแปรตาม (Y) 1 ตัว

Y = β0 + β1X1 + β2X2 +….+ βnXn + ε เปนสมการถดถอยของประชากร

Y’ = b0 + b1X1 + b2X2 +….+ bnXn เปนสมการถดถอยของกลุมตัวอยาง

nXnXXY ZBZBZBZ +++=′ ...

21 21 เปนสมการถดถอยของกลุมตัวอยาง ในรูป

คะแนนมาตรฐาน

การวิเคราะหการถดถอยเชิงเสนแบบพหุ เปนการศึกษาความสัมพันธเชิงเสนระหวางตัวแปรอิสระ

หลายๆตัว กับตัวแปรตาม ดังน้ันในการสรางแบบจําลองสมการพยากรณ จะพิจารณาจากการมีตัวแปรอยูใน

ระบบสมการ ซึ่งเรียกวา การนําตัวแปรเขาระบบสมการ ผูวิจัยใชวิธีการ Enter ถือวาตัวแปรอิสระทุกตัวมี

อิทธิพลตอตัวแปรตาม จึงนําตัวแปรอิสระทุกตัวเขาระบบสมการพรอมๆกันในทีเดียว (กัลยา วานิชยบัญชา

,2549 ,หนา 353-354)

Page 49: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

43

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหคาสถิติพื้นฐาน

1. จํานวนรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามความเกี่ยวของกับการจัดการความรู ระยะเวลาใน

การรวมทํา KM และความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM

2. คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับการดําเนินงานของตัวแปรกระบวนการจัดการ

ความรูที่สงผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานโดยรวม รายขอและรายดาน จําแนกตาม

สถานะการจัดการความรูในหนวยงาน การประเมินการบวนการจัดการความรู (KMA) และ

การประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู

ตาราง 1 : รอยละจํานวนผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามหนวยงานท่ีสังกัด

หนวยงาน จํานวน (คน) รอยละ

กลุมตรวจสอบภายใน

กลุมกิจกรรมพิเศษ

สํานักเลขานุการกรม

กองการเงินและบัญชี

กองกฏหมายและที่ดิน

กองแผนงาน

กองพัสดุ

ศูนยสารสนเทศ

สํานักเคร่ืองจักรกล

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักบริหารโครงการ

สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

สํานักวิจัยและพัฒนา

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม

สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า

สํานักผูมีสวนรวมของประชาชน

กลุมพัฒนาระบบบริหาร

4

2

5

8

9

4

4

6

14

18

9

8

6

9

10

12

4

2

1.1

0.5

1.3

2.1

2.4

1.1

1.1

1.6

3.7

4.8

2.4

2.1

1.6

2.4

2.6

3.2

1.1

0.5

Page 50: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

44

หนวยงาน จํานวน (คน) รอยละ

สชป. 2

สชป. 3

สชป. 4

สชป. 5

สชป. 6

สชป. 7

สชป. 8

สชป. 9

สชป. 10

สชป. 11

สชป. 13

สชป. 14

สชป. 15

สชป. 16

สชป. 17

20

16

15

13

15

16

16

20

20

11

19

12

20

16

15

5.3

4.2

4.0

3.4

4.0

4.2

4.2

5.3

5.3

2.9

5.0

3.2

5.3

4.2

4.0

รวม 378 100

จากตาราง 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามจํานวนมากสุดจากสํานักงานชลประทานที่ 9 , 10 และ 15

รอยละ 5.3 เพราะจากหลักการสุมตัวอยางแบบสัดสวนหากจํานวนประชากรมีมากก็จะไดจํานวนกลุม

ตัวอยางที่มากขึ้น สวนผูตอบแบบสอบถามจํานวนนอยที่สุดจากกลุมพัฒนาระบบบริหารและกลุมกิจกรรม

พิเศษ รอยละ 0.5 เน่ืองจากจํานวนประชากรมีนอยทําใหไดกลุมตัวอยางจํานวนนอยตามลําดับ

ตาราง 2 : รอยละความเกี่ยวของกับการจัดการความรู (การทํางานดาน KM)

ความเกี่ยวของกับการจัดการความรู จํานวน (คน) รอยละ

เปน KM Team

ไมไดเปน KM Team

199

179

52.6

47.4

รวม 378 100

จากตาราง 2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปน KM Team คิดเปนรอยละ 52.6 และผูไมได

เปน KM Team คิดเปนรอยละ 47.4

Page 51: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

45

ตาราง 3 : รอยละระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM ของผูท่ีเปน KM Team

ระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM (ป) จํานวน (คน) รอยละ

1

2

3

4

5

6

93

42

40

13

8

3

46.7

21.1

20.1

6.5

4.0

1.5

รวม 199 100

จากตาราง 3 พบวา ผูตอบแบบสอบถามที่เปน KM Team มีระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM

มากที่สุด คือ 1 ป คิดเปนรอยละ 46.7 รองลงมาไดแก ระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM 2 ป คิดเปน

รอยละ 21.1 ระยะเวลาในการรวมทํากิจกรรม KM 3 ป คิดเปนรอยละ 20.1 และระยะเวลาในการรวมทํา

กิจกรรม KM 6 ป มีจํานวนนอยที่สุด คิดเปนรอยละ 1.5 แสดงใหเห็นวาการจัดการความรูมีการเปลี่ยนแปลง

KM Team เปนประจําทุกป ทําใหการทํางานดาน KM อาจไมตอเน่ืองเพราะตองเร่ิมตนใหมเสมอ

ตาราง 4 : รอยละความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM แตละหนวยงาน

หนวยงาน จํานวน (คน) รอยละ

ศูนยสารสนเทศ

กองการเงินและบัญชี

กลุมตรวจสอบภายใน

กลุมพัฒนาระบบบริหาร

สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า

สํานักชลประทานที ่9

กองกฏหมายและที่ดิน

กองพัสดุ

สํานักสงเสริมการมีสวนรวมประชาชน

สํานักวิจัยและพัฒนา

กองแผนงาน

6

8

4

2

12

20

9

4

4

6

4

90

82

80

80

77

77

72

68

65

63

60

Page 52: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

46

หนวยงาน จํานวน (คน) รอยละ

สํานักชลประทานที ่8

สํานักสํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา

สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรม

สํานักชลประทานที ่15

สํานักงานเลขานุการกรม

สํานักชลประทานที ่10

สํานักเคร่ืองจักรกล

สํานักชลประทานที ่14

กลุมกิจกรรมพิเศษ

สํานักชลประทานที ่6

สํานักชลประทานที ่11

สํานักโครงการขนาดใหญ

สํานักชลประทานที ่16

สํานักชลประทานที ่17

สํานักชลประทานที่ 2

สํานักชลประทานที ่7

สํานักพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารงานบุคคล

สํานักชลประทานที ่3

สํานักชลประทานที ่13

สํานักบริหารโครงการ

สํานักชลประทานที ่5

สํานักชลประทานที ่4

16

9

10

20

5

20

14

19

2

15

11

18

16

15

20

16

8

16

19

9

13

15

60

58

58

54

52

52

51

51

50

48

47

46

46

46

44

42

40

40

40

38

38

38

รวม 378 100

รวมเฉลี่ยรอยละ 56.2

จากตาราง 4 พบวา คาเฉลี่ยรวมรอยละของแตละสํานัก/กองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการ

ความรู รอยละ 56.2 ซึ่งบุคลากรในกรมชลประทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการความรูไมผาน

เกณฑการประเมิน โดยศูนยสารสนเทศ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM มากที่สุด คิดเปนรอยละ 90 อันดับ

Page 53: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

47

ที่ 2 ไดแก กองการเงินและบัญชี มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM คิดเปนรอยละ 82 อันดับที่ 3 ไดแก กลุม

ตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหาร มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM คิดเปนรอยละ 80 สวน

หนวยงานที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM นอยที่สุด คือ สํานักชลประทานที่ 4, 5 และสํานักบริหาร

โครงการ คิดเปนรอยละ 38

ตาราง 5 : รอยละความรูความเขาใจเก่ียวกับ KM ตามคําถามรายขอในภาพรวมและแบงเปน KM Team

และไมไดเปน KM Team

รายการคําถามท่ีทดสอบความรูความเขาใจ รอยละภาพรวม เปน KM Team ไมเปน KM Team

ตอบถูก ตอบผิด ตอบถูก ตอบผิด ตอบถูก ตอบผิด

ขั้นตอนแรกของกระบวนการจัดการความรู

เคร่ืองมือ KM คือ COPs

ความหมายการจัดการความรู

การเก็บรวบรวมความรูของกรมชลประทาน

เสนทางสูองคกรแหงการเรียนรู

37.8

61.9

35.7

45.8

82.3

62.2

38.1

64.3

54.2

17.7

46.2

72.4

46.2

50.8

83.4

53.8

27.6

53.8

49.2

16.6

28.5

50.3

24.0

40.2

81.0

71.5

49.7

76.0

59.8

19.0

รวม 100 100 100

จากตาราง 5 พบวา ในภาพรวมของผูตอบแบบสอบถามโดยยังไมแยกเปน KM Team และไมเปน

KM Team มีความรูความเขาใจมากที่สุด เร่ืองเสนทางสูองคกรแหงการเรียนรู คิดเปนรอยละ 82.3

รองลงมาคือ ในเคร่ืองมือ KM คือการทํา COPs คิดเปนรอยละ 61.9 สวนความเขารูความเขาใจเกี่ยวกับ

ความหมายของการจัดการความรู มีคานอยที่สุด ซึ่งเมื่อนํามาแยกคิดเปน KM Team และไมเปน KM Team

ก็จะไดขอมูลตรงกันคือคนสวนใหญมีความรูความเขาใจเสนทางสูองคกรแหงการเรียนรู และเคร่ืองมือ KM

ในเร่ืองการทํา COPs สูงเกินกวารอยละ 50 สวนความรูความเขาใจที่ควรปรับปรุงใหเกิดขึ้น คือ ความหมาย

การจัดการความรู ขั้นตอนแรกของกระบวนการจัดการความรูและการเก็บรวบรวมความรู

ตาราง 6 : คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

1. มีการกําหนดทีมงานจัดการความรูและทุกคนมีสวน

รวมในการกําหนดแผน

2. จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ืองเพื่อ

กํากับใหมีการดําเนินการตามแผนการจัดการความรู

3. มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการ

3.15

3.01

3.01

0.96

1.01

0.95

63.00

60.20

60.20

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

Page 54: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

48

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

ความรูใหผูเกี่ยวของรับทราบอยางทั่วถึง

4. มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บความรูในคลัง

ความรูของหนวยงาน

5. สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลัง

ความรูของสํานัก/กองและศูนยความรูกลาง

6. มีการกํากับดูแลใหขอมูล สารสนเทศ และความรูที่

นํา เสนอในคลังความรูของหนวยงานครบถวน

ถูกตอง และทันสมัย

7. มีการเลือกใชเคร่ืองมือการจัดการความรู (เชน CoP

AAR CFT K-Forum ) ที่เหมาะสมกับบริบทของ

หนวยงาน

8. ผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติ และนํา

บทเรียนจากการปฏิบัติไปพิจารณาปรับปรุงงาน

9. มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการ

จัดการความรู

10. มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม

11. มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรู ของสํานัก/

กองโดยศึกษาจากหนวยงานที่เปนแบบอยางที่ด ี

12. มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู

13. มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู

ของหนวยงาน

14. มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินการจัด

กิจกรรมการจัดการความรู

15. มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนํา

ความรูเขาคลังอยางสมํ่าเสมอ

16. สงผลงาน นวัตกรรมเข าร วมการประกวดตาม

โครงการ KM Award ไดสมํ่าเสมอทุกป

17. มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํา

รายงานตามระยะเวลาท่ีกําหนด

3.11

3.35

3.15

2.79

2.97

2.89

2.69

3.01

2.98

2.76

2.78

2.89

2.71

2.91

0.99

0.97

0.95

0.96

0.94

1.13

1.07

0.99

1.01

1.16

0.95

0.97

1.16

0.94

62.20

67.00

63.00

55.80

59.40

57.80

53.80

60.20

59.60

55.20

55.60

57.80

54.20

58.20

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

รวม 2.95 0.95 59.00 ปานกลาง

Page 55: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

49

จากตาราง 6 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นคาเฉลี่ยรวม คือ 2.95 อยูในระดับปานกลาง

โดยสามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรูของสํานัก/กองและศูนยความรูกลาง มีคาเฉลี่ย

มากที่สุด คือ 3.35 อยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยรองลงมา คือ มีการกําหนดทีมงานจัดการความรูและทุกคน

มีสวนรวมในการกําหนดแผน และ มีการกํากับดูแลใหขอมูล สารสนเทศ และความรูที่นําเสนอในคลัง

ความรูของหนวยงานครบถวน ถูกตอง และทันสมัย มีคาเฉลี่ย 3.15 อยูในระดับปานกลาง สวนมีระบบการ

จูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ 2.69 อยูในระดับปานกลาง โดยมีเฉลี่ยรวม

รอยละของสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน รอยละ 59.0 ซึ่งยังตองมีการปรับปรุงและพัฒนาตอไป

ตาราง 7 : คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานการประเมินกระบวนการจัดการความรู (KMA)

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

1. CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก / กอง

2. CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก / กอง

3. CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM ตอเน่ือง

4. CKO สงเสริมใหใชเคร่ืองมือการจัดการความรูใน

การพัฒนาปรับปรุงงาน

5. มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเร่ือง KM ในการ

ประชุมสําคัญของสํานัก/กอง

6. มีแผนการจัดการความรูของสํานัก/กองชัดเจนตาม

รูปแบบที่กรมกําหนด

7. หนวยงานเลือกองคความรูที่จะจัดการความรูโดย

คํานึงถึงการใหบริการลูกคาของหนวยงาน

8. หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความ

คาดหวังของลูกคาเพื่อนํามาปรับปรุงการใหบริการ

9. สํานัก/กองนําองคความรูจากลูกค ามาใช เพื่ อ

ปรับปรุงกระบวนการทํางาน

10. ผลจากการจัดการความรูของสํานัก/กอง สรางความ

พึงพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา

11. สํานัก / กอง มีการระบุชื่อฐานขอมูลความรูที่สําคัญ

ที่ตองใชในการทํางานของสํานัก/กอง

12. สํานัก / กอง มีการระบุชื่อฐานขอมูลความรูที่สําคัญ

ที่ตองใชในการทํางานของสํานัก/กอง

3.29

3.27

3.31

3.24

3.21

3.34

3.19

3.03

2.97

2.96

3.06

3.07

1.05

1.05

1.07

1.01

1.04

0.95

0.94

0.94

0.94

0.90

0.94

0.92

65.80

65.40

66.20

64.80

64.20

66.80

63.80

60.60

59.40

59.20

61.20

61.40

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

Page 56: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

50

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

13. สํานัก/กองมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย

และเหมาะสมรองรับการทํางาน

14. สํานัก/กองจัดสรรเวลาใหบุคลากรดําเนินการ

กิจกรรมการจัดการความรู โดยไมถือวาเปนงานเพิ่ม

15. สํานัก/กองสนับสนุนใหบุคลากรที่รับผิดชอบงาน

KM ไปเรียนรูเพิ่มเติมอยางตอเน่ือง

16. บุคลากรของสํานัก / กองเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการ

จัดการความรู (KM)

17. สํานัก/กองทํา KM แลว มีบรรยากาศการทํางาน

รวมกันที่ดีขึ้น

18. บุคลากรในสํานัก/กองรูสึกวาความรูของตนเองมี

คุณคา เปนประโยชนตอการพัฒนาประสิทธิภาพ

งานในภาพรวม

19. สามารถระบุความเชี่ยวชาญของบุคลากรในภารกิจ

ดานตางๆ ของหนวยงานได

20. บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการความรู (KM)

ไดรับความสนใจจากบุคลากรในหนวยงาน

21. บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มี

ความเปนกันเอง อิสระในการแลกเปลี่ยนความรู

22. สํานัก / กองตระหนักวาการจัดการความรู (KM) มี

ประโยชน และใชประโยชนจากการจัดการความรู

(KM) ในการทํางาน

23. บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวน

รวมในการจัดการเรียนรู

24. สํานัก / กองมีการใชประโยชนจากองคความรูที่ได

จากการจัดการความรู (KM)

25. สํานัก / กองใชการจัดการความรู( KM) เปน

เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร ป รั บ ป รุ ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น

กระบวนการทํางาน

26. สํานัก / กองพบวาการจัดการความรู (KM) สงผลให

ประสิทธิภาพของการทํางานสูงขึ้น

3.24

2.99

3.24

3.02

3.08

3.12

3.13

2.90

2.97

3.19

2.86

3.13

3.11

3.11

0.85

0.91

0.96

0.95

0.98

0.89

0.90

0.95

0.97

0.96

0.91

0.91

0.90

0.91

64.80

59.80

64.80

60.40

61.60

62.40

62.60

58.00

59.40

63.80

57.20

62.60

62.20

62.20

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

Page 57: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

51

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

27. สํานัก / กองพบวาการจัดการความรู (KM) สงผลให

เกิดนวัตกรรมในการทํางาน

28. การแลกเปลี่ยนความรูหรือขอมูลขาวสารภายใน

สํานัก/กอง ทําไดอยางรวดเร็ว

29. ความรูหรือขอมูลที่ถายทอดจากเคร่ืองมือการจัดการ

ความรู (KM) มีความทันสมัยทันตอเหตุการณ

30. สํานัก / กองจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อใหเจาหนาที่ทุก

คนไดมีโอกาสพบปะ สังสรรค พูดคุยและ

แลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน

31. สํานัก / กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของ

บุคลากรที่เกษียณอายุ / ออกจากงาน / ยายไปอยูสาย

งานอ่ืน

32. ทานตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการ

ที่มีประโยชนและงายตอการปฏิบัติ

3.08

3.10

3.10

2.98

2.79

3.41

0.92

0.88

0.91

1.00

0.97

1.00

61.60

62.00

62.00

59.60

55.80

68.20

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

คอนขาง

มาก

รวม 3.11 0.94 62.20 ปานกลาง

จากตาราง 7 พบวา การประเมินกระบวนการจัดการความรู (KMA)ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 3.11 อยู

ในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยรายขอมีคามากที่สุด คือ ตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการที่มี

ประโยชนและงายตอการปฏิบัติ มีคาเฉลี่ย 3.41 อยูในระดับคอนขางมาก คาเฉลี่ยรองลงมาคือ มีแผนการ

จัดการความรูของสํานัก/กองชัดเจนตามรูปแบบที่กรมกําหนด 3.34 อยูในระดับปานกลาง สวนคาเฉลี่ยนอย

ที่สุด คือ สํานัก / กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของบุคลากรที่เกษียณอายุ / ออกจากงาน / ยายไปอยูสาย

งานอ่ืน มีคาเฉลี่ย 2.79 อยูในระดับปานกลาง โดยคิดเปนรอยละเฉลี่ยการประเมินกระบวนการจัดการความรู

(KMA) รอยละ 62.20 ซึ่งยังตองมีการปรับปรุงตอไป

ตาราง 8 : คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและคารอยละดานการประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

1. การใหสํานัก/กองจัดทําแผนการจัดการความรูตาม

แนวทางที่กรมกําหนด

2. การสื่อสารแนวทางการจัดทําแผนการจัดการความรู

และการดําเนินการตามแผน

3. แผนพับ โปสเตอร KM

2.83

2.74

2.54

0.69

0.68

0.70

56.60

54.80

50.80

ปานกลาง

ปานกลาง

คอนขางนอย

Page 58: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

52

รายการประเมิน คาเฉลี่ย SD รอยละ ระดับ

4. กิจกรรม KM Site Visit

5. การพัฒนาศูนยความรูกลางและคลังความรู

6. การกําหนดเกณฑการคัดเลือกตามโครงการ KM

Award

7. กิจกรรมการประกวดหนวยงานจัดการความรูดีเดน

8. กิจกรรมการประกวดผูบริหารจัดการความรูดีเดน

9. กิจกรรมการประกวดผลงาน – นวัตกรรมสรางสรรค

ดีเดน

10. โครงการฝกอบรมการถอดความรูจากการเลาเร่ือง

11. โครงการฝกอบรมพัฒนาทักษะการเปนวิทยากรมือ

อาชีพ

12. โครงการฝกอบรมโปรแกรม Joomla

2.63

2.81

2.68

2.73

2.75

2.70

2.68

2.74

2.63

0.75

0.74

0.65

0.67

0.70

0.75

0.76

0.73

0.74

52.60

56.20

53.60

54.60

55.00

54.00

53.60

54.80

52.60

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

รวม 2.70 0.71 54.00 ปานกลาง

จากตาราง 8 พบวา การประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรูคาเฉลี่ยรวมอยูใน

ระดับปานกลาง โดยมีการใหสํานัก/กองจัดทําแผนการจัดการความรูตามแนวทางที่กรมกําหนด มีคาเฉลี่ย

มากสุด คือ 2.83 อยูในระดับปานกลาง รองลงมาคือ การพัฒนาศูนยความรูกลางและคลังความรู มีคาเฉลี่ย

คือ 2.81 อยูในระดับปานกลาง สวนคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ กิจกรรมแผนพับ โปสเตอร KM มีคาเฉลี่ย 2.54

อยูในระดับ คอนขางนอย ในภาพรวมรอยละเฉลี่ยของการประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการ

จัดการความรู คิดเปนรอยละ 54.00 ซึ่งควรตองมีการปรับปรุงตอไป

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหคาสถิติข้ันสูง

1. การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรกระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของ

กระบวนการทํางานจากการใชการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

2. การวิเคราะห Gap Analysis เพื่อใชในการลําดับปญหาที่ตองควรแกไขตามความสําคัญของปญหา

ซึ่งกอนการวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรกระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพ

ของกระบวนทํางาน และสภาพบรรยากาศการจัดการเรียนรูจะตองมีการนําตัวแปรทุกตัวที่จัดเก็บนํามา

วิเคราะหปจจัย (factor) เพื่อจัดกลุมตัวแปรใหมีความเหมาะสมดังตอไปน้ี

Page 59: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

53

ตาราง 9 : ตัวแปรดานสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน

Rotated Component Matrix

ตัวแปรสถานะการจัดการความรูในหนวยงาน Component

1 2

มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู .186 .756

จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ือง .295 .764

มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู .320 .767

มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู .285 .699

สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู .357 .554

มีการกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศและความรูที่นําเสนอในคลัง

ความรู .436 .639

มีการเลือกใชเคร่ืองมือการจัดการความรู .537 .559

มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไป

ปรับปรุงงาน .452 .569

มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู .834 .203

มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม .801 .252

มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจากหนวยงานที่เปน

แบบอยางที่ดี .659 .420

มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู .672 .446

มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของ

หนวยงาน .681 .461

มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินการจัดการความรู .649 .513

มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนําความรูเขาคลัง

อยางสม่ําเสมอ .505 .647

สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM .714 .283

มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตาม

ระยะเวลาที่กําหนด .664 .438

Extraction Method: Principal Component Analysis. Rotation Method: Varimax with Kaiser

Normalization. a Rotation converged in 3 iterations.

Page 60: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

54

จากตาราง 9 จะเห็นไดวา ในการวิเคราะหการจัดกลุมตัวแปรดวยการใช Factor จะไดกลุมตัวแปรดาน

สถานะการจัดการความรู 2 กลุมตัวแปรดวยกัน

กลุมท่ี 1 ไดแก ตัวแปรดังตอไปน้ี มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู (X1) , จัดการประชุมการจัดการ

ความรูอยางตอเน่ือง (X2) , มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู (X3) , มีการกําหนด

ระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู (X4) , สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู (X5) , มี

การกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศและความรูที่นําเสนอในคลังความรู (X6) , มีการเลือกใชเคร่ืองมือการ

จัดการความรู (X7) , มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไปปรับปรุงงาน (X8) และมี

การพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ (X15) ,ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อตัว

แปรกลุมที่ 1 วา โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล (Access)

กลุมท่ี 2 ไดแกตัวแปรดังตอไปน้ี มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู (X9) , มี

ระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม (X10) , มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจาก

หนวยงานที่เปนแบบอยางที่ดี (X11) , มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู (X12) , มีการจัด

กิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของหนวยงาน (X13) , มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการ

ดําเนินการจัดการความรู (X14) , สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM (X16) , และ

มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตามระยะเวลาที่กําหนด (X17) ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อ

ตัวแปรกลุมที่ 2 วา กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม (Emotivation)

ตาราง 10 : ตัวแปรดานการประเมินการจัดการความรู (KMA)

Rotated Component Matrix

ตัวแปรการประเมินการจัดการความรู (KMA)

Component

1 2 3 4

CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง .254 .862 .205 .173

CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก/กอง .275 .861 .207 .145

CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง .356 .829 .181 .185

CKO สงเสริมใหใชเคร่ืองมือการจัดการความรูในการพัฒนา

ปรับปรุงงาน

.377 .743 .202 .264

Page 61: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

55

ตัวแปรการประเมินการจัดการความรู (KMA)

Component

1 2 3 4

มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเร่ือง KM ในการประชุม

สําคัญของสํานัก/กอง .297 .629 .251 .310

มีแผนการจัดการความรูของสํานักชัดเจนตามรูปแบบที่

กําหนด .231 .596 .331 .403

หนวยงานเลือกองคความรูที่จะจัดการความรูโดยคํานึงถึง

การใหบริการลูกคา .249 .414 .628 .260

หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึง

การใหบริการลูกคา .321 .249 .794 .210

สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุง

กระบวนการทํางาน .377 .266 .749 .164

ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพึงพอใจที่สูงขึ้น

ใหแกลูกคา .404 .249 .688 .333

สํานักมีการระบุชื่อฐานขอมูลความรูที่สําคัญที่ตองใชในการ

ทํางานของสํานัก .340 .858 .259 .277

สํานักใชฐานขอมูลและฐานความรูที่จัดเก็บไวประกอบการ

ทํางานจริง .346 .286 .422 .520

สํานักมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและเหมาะสม

รองรับการทํางาน .190 .277 .200 .762

สํานักจัดสรรเวลาใหบุคลากรดําเนินการกิจกรรมการจัด

ความรูโดยไมถือวาเปนงานเพิ่ม .317 .289 .362 .587

สํานักกองสนับสนับสนุนใหบุคลากรที่รับผิดชอบงาน KM

ไปเรียนรูเพิ่มเติมอยางตอเน่ือง .328 .361 .346 .448

บุคลากรของสํานักเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการจัดการความรู .635 .259 .397 .118

สํานักทํา KM แลวมีบรรยากาศการทํางานรวมกันที่ดีขึ้น .681 .271 .404 .121

บุคลากรในสํานักรูสึกวาความรูของตนเองมีคุณคา เปน

ประโยชนตอการพัมนาประสิทธิภาพ .719 .257 .303 .141

Page 62: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

56

สามารถระบุความเชี่ยวชาญของบุคลากรในภารกิจดานตางๆ

ของหนวยงานได

.584 .275 .242 .363

ตัวแปรการประเมินการจัดการความรู (KMA) Component

1 2 3 4

บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการความรู ไดรับความ

สนใจจากบุคลากรในหนวยงาน .730 .312 .294 .154

บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ มีความเปน

กันเอง .701 .319 .279 .118

สํานัก กองตระหนักวาการจัดการความรู มีประโยชนและใช

ประโยชนจากการจัดการความรู .689 .327 .221 .240

บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวนรวมในการ

จัดการความรู .761 .257 .232 .230

สํานัก กองมีการใชประโยชนจากองคความรูที่ไดจากการ

จัดการความรู .750 .325 .241 .212

สํานัก กองใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการ

ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทํางาน .752 .284 .192 .267

สํานัก กองพบวาการจัดการความรูสงผลใหประสิทธิภาพ

ของการทํางานสูงขึ้น .763 .191 .203 .227

สํานัก กองพบวาการจัดการความรูสงผลใหเกิดนวัตกรรมใน

การทํางาน .778 .188 .158 .276

การแลกเปลี่ยนความรูหรือขอมูลขาวสารภายในสํานักทําได

อยางรวดเร็ว .622 .176 .084 .567

ความรูหรือขอมูลที่ถายทอดจากเคร่ืองมือการจัดการความรู

มีความทันสมัยทันตอเหตุการณ .658 .249 .119 .477

สํานัก กองจัดกิจกรรมตางๆเพื่อใหเจาหนาที่ทุกคนไดมี

โอกาสพบปะ สังสรรค พูดคุย แลกเปลี่ยน .550 .273 .245 .468

สํานัก กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของบุคลากรที่

เกษียณอายุ ออกจากงาน ยายไปอยูที่อ่ืน .547 .257 .228 .386

Page 63: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

57

ทานตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการที่มี

ประโยชนและงายตอการปฏิบัติ .469 .277 .125 .456

Extraction Method: Principal Component Analysis. Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization. a Rotation converged in 7 iterations.

จากตาราง 10 จะเห็นไดวา ในการวิเคราะหการจัดกลุมตัวแปรดวยการใช Factor จะไดกลุมตัวแปรดาน

สถานะการจัดการความรู 4 กลุมตัวแปรดวยกัน

กลุมท่ี 1 ไดแกตัวแปรดังตอไปน้ี CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง (KMA1) , CKO รวมกิจกรรม

KM ของสํานัก/กอง (KMA2) , CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง (KMA3) , CKO

สงเสริมใหใชเคร่ืองมือการจัดการความรูในการพัฒนาปรับปรุงงาน (KMA4) , มีการกําหนดใหมีวาระการ

ประชุมเร่ือง KM ในการประชุมสําคัญของสํานัก/กอง (KMA5) และ มีแผนการจัดการความรูของสํานัก

ชัดเจนตามรูปแบบที่กําหนด (KMA6) ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อตัวแปรกลุมที่ 1 การนําองคกรดานการจัดการความรู

(Leader)

กลุมท่ี 2 ไดแกตัวแปรดังตอไปน้ี หนวยงานเลือกองคความรูที่จะจัดการความรูโดยคํานึงถึงการใหบริการ

ลูกคา (KMA7) , หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึงการใหบริการลูกคา (KMA8) ,

สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน(KMA9) และ ผลการจัดการความรูของ

สํานักสรางความพึงพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา (KMA10) ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อตัวแปรกลุมที่ 2 กระบวนการ

จัดการความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการ (Customer)

กลุมท่ี 3 ไดแกตัวแปรดังตอไปน้ี บุคลากรของสํานักเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการจัดการความรู (KMA16) ,

สํานักทํา KM แลวมีบรรยากาศการทํางานรวมกันที่ดีขึ้น (KMA17) , บุคลากรในสํานักรูสึกวาความรูของ

ตนเองมีคุณคา เปนประโยชนตอการพัมนาประสิทธิภาพ (KMA18) , สามารถระบุความเชี่ยวชาญของ

บุคลากรในภารกิจดานตางๆของหนวยงานได (KMA19) ,บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการความรู

ไดรับความสนใจจากบุคลากรในหนวยงาน (KMA20) , บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ มีความ

เปนกันเอง (KMA21) , สํานัก/กองตระหนักวาการจัดการความรู มีประโยชนและใชประโยชนจากการ

จัดการความรู (KMA22) , บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการความรู

(KMA23) , สํานัก / กองมีการใชประโยชนจากองคความรูที่ไดจากการจัดการความรู (KMA24) , สํานัก

กองใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทํางาน (KMA25) , สํานัก

กองพบวาการจัดการความรูสงผลใหประสิทธิภาพของการทํางานสูงขึ้น (KMA26) , สํานัก/กองพบวาการ

จัดการความรูสงผลใหเกิดนวัตกรรมในการทํางาน (KMA27), การแลกเปลี่ยนความรูหรือขอมูลขาวสาร

ภายในสํานักทําไดอยางรวดเร็ว (KMA28), ความรูหรือขอมูลที่ถายทอดจากเคร่ืองมือการจัดการความรู มี

ความทันสมัยทันตอเหตุการณ (KMA29) , สํานัก กองจัดกิจกรรมตางๆเพื่อใหเจาหนาที่ทุกคนไดมีโอกาส

Page 64: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

58

พบปะ สังสรรค พูดคุย แลกเปลี่ยน (KMA30) , สํานัก/กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของบุคลากรที่

เกษียณอายุ ออกจากงาน ยายไปอยูที่อ่ืน (KMA31) และทานตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการ

ที่มีประโยชนและงายตอการปฏิบัติ (KMA32) ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อตัวแปรกลุมที่ 3 วาประสิทธิภาพ

กระบวนการทํางาน (Efficiency)

กลุมท่ี 4 ไดแกตัวแปรดังตอไปน้ีบุคลากรของสํานักเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการจัดการความรู (KMA16) ,

สํานักทํา KM แลวมีบรรยากาศการทํางานรวมกันที่ดีขึ้น (KMA17) , บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการ

ความรู ไดรับความสนใจจากบุคลากรในหนวยงาน (KMA20) , บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ

มีความเปนกันเอง (KMA21)และ , บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการความรู

(KMA23) ซึ่งผูวิจัยไดต้ังชื่อตัวแปรกลุมที่ 4 วา บรรยากาศการจัดการเรียนรู (Environment for Knowledge)

ผลการวิเคราะห

1. การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรกระบวนการจัดการความรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของ

กระบวนการทํางานจากการใชการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis)

สมมติฐานการทดสอบ

Ho : ประสิทธิภาพของงานไมขึ้นอยูกับโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล,

กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม,การนําองคกรดานการจัดการความรูและกระบวนการ

จัดการความรูที่เกี่ยวกับผูรับบริการ

H 1 : ประสิทธิภาพของงานขึ้นอยูกับโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล,

กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม,การนําองคกรดานการจัดการความรูและกระบวนการ

จัดการความรูที่เกี่ยวกับผูรับบริการ

ตาราง 11 Model Summary(b)

Model R

R

Square

Adjusted

R Square

Std.

Error of

Estimate Change Statistics

R Square

Change

F

Change df1 df2

Sig. F

Change

1 .814(a) .663 .659 .44181 .663 179.310 4 365 .000

a Predictors: (Constant), Access, , Emotivation, Behavior, Learning b Dependent Variable: Efficiency

ตาราง 12 ANOVA(b)

Model Sum of Squares df Mean Square F Sig.

Page 65: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

59

1 Regression 140.000 4 35.000 179.310 .000(a)

Residual 71.246 365 .195

Total 211.246 369

a Predictors: (Constant), Access, , Emotivation, Behavior, Learning b Dependent Variable: Efficiency

จากตาราง11 และ 12 จะเห็นไดวาจากการทดสอบคา F test ไดคา Sig .05 แสดงวาปฏิเสธ Ho น่ันคือ

โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล,กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัด

กิจกรรม,การนําองคกรดานการจัดการความรูและกระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวกับผูรับบริการสงผลตอ

ประสิทธิภาพของงานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05

ตาราง 13 แสดงการทดสอบความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพของงานกับตัวแปรอิสระ : Coefficients(a)

Model

Unstandardized

Coefficients

Standardized

Coefficients t Sig.

95% Confidence Interval for

B

B

Std.

Error Beta

Lower

Bound Upper Bound

1 (Constant) .520 .103 5.043 .000 .318 .723

Access .151 .059 .147 2.577 .010 .036 .267

Emotivation .108 .054 .121 2.026 .044 .003 .214

Leader .231 .043 .277 5.393 .000 .147 .315

Customer .334 .041 .369 8.139 .000 .253 .414

a Dependent Variable: Efficiency

จากตาราง 13 พบวาจากคา T แตละตัวแปร Sig .05 น่ันคือตัวแปรอิสระไดแก โครงสราง

พื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล,กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม,

การนําองคกรดานการจัดการความรูและกระบวนการจัดการความรูที่ เกี่ยวกับผูรับบริการสงผลตอ

ประสิทธิภาพของงานซึ่งเปนไปตามสมการความสัมพันธของตัวแปรดังตอไปน้ี

Efficiency = 0.520 + 0.334 Customer + 0.231 Leader + 0.151 Access + 0.108 Emotivation

R2 = 0.663 และ Adjusted R2 = 0.659

จากสมการ กระบวนการจัดการความรูที่ เกี่ยวกับผู รับบริการ การนําองคกรดานการจัดการความรู

โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล และกระบวนการสรางแรงจูงใจและ

Page 66: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

60

การจัดกิจกรรมสงผลตอประสิทธิภาพของงาน ซึ่งสามารถอธิบายไดวาตัวแปรอิสระสงผลตอประสิทธิภาพ

ในการทํางานรอยละ 66.3 ที่เหลือรอยละ 33.7 มาจากปจจัยอ่ืนที่ไมนํามาวิเคราะห โดยกระบวนการจัดการ

ความรูที่เกี่ยวกับผูรับบริการ มีผลตอประสิทธิภาพของงานมากที่สุด หากหนวยงานนําขอรองเรียนจาก

ผูรับบริการมาปรับปรุงจะทําใหประสิทธิภาพของงานสูงขึ้น รองลงมา คือการนําองคกรดานการจัดการ

ความรู โดยผูบริหารมีสวนในการผลักดันกระบวนการจัดการเรียนรูสงผลใหคนในองคกรเห็นความสําคัญ

การจัดการความรู รองลงมา คือ โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล และ

สุดทาย คือ กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม ซึ่งความสัมพันธของสมการเปนไปในทางบวก

หรือทางเดียวกัน น่ันคือประสิทธิภาพของงานจะเพิ่มมากขึ้น ขึ้นอยูกับกระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวกับ

ผูรับบริการ การนําองคกรดานการจัดการความรู โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูและการ

เขาถึงขอมูล และกระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม จากการนําเสนอสมการความสัมพันธ

Regression ไดแสดงผลในภาพรวมซึ่งจะเห็นปญหาในภาพรวม ผูวิจัยจึงนํามาตัวแปรแตละตัวมาวิเคราะห

Gap Analysis ใหเห็นปญหาไดชัดเจนยิ่งขึ้น

แสดงผลการวิเคราะห Gap Analysis

First Priority

Page 67: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

61

3rd Priority

Low Importance – High Satisfaction

ปจจัยท่ีอยูในQuarter น้ีเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญไม

มากนักแตมีประสิทธิภาพของงานสูงซึ่งไดแก

- สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลัง

ความรู(X5) - มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู (X1) - มีการกํากับดูแลขอมูลสารสนเทศและความรูท่ี

นําเสนอในคลังความรู(X6) - มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลัง

ความรู (X4)

2nd Priority

High Importance-High Satisfaction

ปจจัยท่ีอยูใน Quarter น้ีเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญสูงและ

บุคลากรมีประสิทธิภาพของงานสูงถือเปนจุดสําคัญของ

องคกร ควรรักษามาตรฐานน้ีไวไดแก

- มีแผนการจัดการความรูของสํานักชัดเจนตามรูปแบบท่ี

กําหนด(KMA6)

- CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง

(KMA3)

- กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง (KMA1)

- CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก/กอง (KMA2)

- CKO สงเสริมใหใชเครื่องมือการจัดการความรูในการ

พัฒนาปรับปรุงงาน(KMA4)

- มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเรื่อง KM ในการ

ประชุมสําคัญของสํานัก/กอง (KMA5)

4th Priority

Low Importance – Low Satisfaction

ปจจัยท่ีอยูใน Quarter น้ีเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญไม

มากนักและมีประสิทธิภาพของงานตํ่า ดังน้ันคงไม

จําเปนตองปรับปรุงในขณะน้ี ไดแก

- จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ือง (X2)

- มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการ

ความรู (X3)

- มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติ

และนําไปปรับปรุงงาน(X8)

- มีการเลือกใชเครื่องมือการจัดการความรู (X7)

- มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมท้ังนํา

ความรูเขาคลังอยางสมํ่าเสมอ (X15)

- มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจาก

หนวยงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี (X11)

- มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู

1st Priority

High Importance – Low Satisfaction

ปจจัยท่ีอยูใน Quarter น้ีเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญสูง แต

บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทํางานตํ่า ตองปรับปรุง

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงานเปนอันดับตนๆ

- หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวัง

ถึงการใหบริการลูกคา (KMA8)

- สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุง

กระบวนการทํางาน (KMA9)

- ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพอใจท่ีสูงขึ้น

ใหแกลูกคา (KMA10)

Page 68: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

62

ประสิทธิภาพ

ของงาน

KMA7 : หนวยงานเลือกองคความรูท่ีจะจัดการความรูโดยคํานึงถึงการใหบริการลูกคา KMA8 : หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึงการใหบริการลูกคา KMA9 : สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน KMA10 : ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพอใจท่ีสูงขึ้นใหแกลูกคา

กระบวนการจัดการ

ความรูท่ีเกี่ยวของ

กับผูรับบริการ

KMA1: CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง KMA2: CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก/กอง KMA3: CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเนื่อง KMA4: CKO สงเสริมใหใชเครื่องมือการจัดการความรูในการพัฒนาปรับปรุงงาน KMA5: มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเรื่อง KM ในการประชุมสําคัญของสํานัก/กอง KMA6: มีแผนการจัดการความรูของสํานักชัดเจนตามรูปแบบท่ีกําหนด

การนําองคกรดานการ

จัดการเรียนรู

X1 : มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู X2 : จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเนื่อง X3 : มีการส่ือสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู X4 : มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู X5 : สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู X6 : มีการกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศและความรูท่ีนําเสนอในคลังความรู X7: มีการเลือกใชเครื่องมือการจัดการความรู X8: มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไปปรับปรุงงาน X15 : มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเนื่องพรอมท้ังนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ

โครงสรางพื้นฐานท่ี

สนับสนุนการจัดการ

ความรูและการเขาถึง

ขอมูล

X9 : มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูท่ีมีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู X10: มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม X11: มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจากหนวยงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี X12: มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู X13: มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูของหนวยงาน X14: มีการจัดสรรทรัพยากรท่ีจําเปนในการํ ิ ั

การสรางแรงจูงใจ

และกิจกรรม

41%

28%

18 %

Page 69: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

63

สรุปผลการวิเคราะหประสิทธิภาพของงานตามขอคําถามแบงออกเปน 4 ปจจัย

ปจจัย คาเฉลี่ย

E1 : กระบวนการจัดการความรูท่ีเกี่ยวของกับผูรับบริการ 3.04

KMA7 : หนวยงานเลือกองคความรูที่จะจัดการความรูโดยคํานึงถึงการใหบริการลูกคา 3.19

KMA8 : หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึงการใหบริการลูกคา 3.03

KMA9 : สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน 2.97

KMA10 : ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา 2.96

E2 : การนําองคกรดานการจัดการความรู 3.28

KMA1: CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก/กอง 3.29

KMA2: CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก/กอง 3.27

KMA3: CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง 3.31

KMA4: CKO สงเสริมใหใชเคร่ืองมือการจัดการความรูในการพัฒนาปรับปรุงงาน 3.24

KMA5: มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเร่ือง KM ในการประชุมสําคัญของสํานัก/กอง 3.21

KMA6: มีแผนการจัดการความรูของสํานักชัดเจนตามรูปแบบที่กําหนด 3.34

E3 : โครงสรางพื้นฐานท่ีสนับสนุนการจัดการความรูและการเขาถึงขอมูล 3.05

X1 : มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู 3.15

X2 : จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ือง 3.01

X3 : มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู 3.01

X4 : มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู 3.11

X5 : สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู 3.35

X6 : มีการกํากับดูแลขอมูล สารสนเทศและความรูที่นําเสนอในคลังความรู 3.15

X7: มีการเลือกใชเคร่ืองมือการจัดการความรู 2.79

X8: มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไปปรับปรุงงาน 2.97

X15 : มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ 2.89

E4 : กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม 2.84

X9 : มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู 2.89

13%

Page 70: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

64

X10: มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม 2.69

X11: มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจากหนวยงานที่เปนแบบอยางที่ดี 3.01

X12: มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู 2.98

X13: มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของหนวยงาน 2.76

ปจจัย คาเฉลี่ย

X14: มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินการจัดการความรู 2.78

X16 : สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM 2.71

X17 : มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตามระยะเวลาที่กําหนด 2.91

สรุปสิ่งท่ีควรปรับปรุงอันดับตนๆ

- ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา (KMA10)

- สํานักนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน (KMA9)

- หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังถึงการใหบริการลูกคา (KMA8)

สรุปสิ่งท่ีควรปรับปรุงอันดับตอไป

- มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม (X10)

- สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM (X16)

- มีการจัดกิจกรรม KM Day หรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูของหนวยงาน (X13)

- มีการจัดสรรทรัพยากรที่จําเปนในการดําเนินการจัดการความรู (X14)

- มีการเลือกใชเคร่ืองมือการจัดการความรู (X7)

- มีการพัฒนาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมทั้งนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ (X15)

- มีการยกยอง ใหรางวัลแกผูที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู (X9)

- มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตามระยะเวลาที่กําหนด (X17)

- มีการผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติและนําไปปรับปรุงงาน(X8)

- มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู (X12)

- มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรูจากหนวยงานที่เปนแบบอยางที่ดี (X11)

- จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเน่ือง (X2)

- มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรู (X3)

- มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บคลังความรู (X4)

Page 71: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

65

- มีการกํากับดูแลขอมูลสารสนเทศและความรูที่นําเสนอในคลังความรู(X6)

- มีการกําหนดทีมงานจัดการความรู (X1) - สามารถเขาถึงและสืบคนเพื่อใชความรูจากคลังความรู (X5)

บทท่ี 5

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง กระบวนการจัดการเรียนรูที่สงผลตอประสิทธิภาพของงาน เพื่อวิเคราะห

ความสัมพันธกระบวนการจัดการความรูที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานดวยวิธีการวิเคราะหความถดถอย

เชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) และการวิเคราะห Gap Analysis

ประชากรไดแก ขาราชการในกรมชลประทานสวนกลางและสวนภูมิภาค กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ ปงบประมาณ 2554 จํานวน 6,911 คน

กลุมตัวอยางไดแก ขาราชการในกรมชลประทานสวนกลางและสวนภูมิภาค กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ จํานวน 378 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการใชเทคนิคการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage

Sampling)

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี เปนแบบสอบถามแบบมีขอคําถามจํานวน 69 ขอ ครอบคลุมตัว

แปรเกี่ยวกับกลุมตัวแปรที่มีอิทธิพลตอความประสิทธิภาพของงาน โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นมา

ปรับปรุงแกไขจากน้ันนําไปตรวจสอบความถูกตอง โดยผูเชี่ยวชาญแลวนําไปหาคา IOC และนําไปใชกับ

ขาราชการที่ไมใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน จากน้ันนําไปหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบัค (Alpha

Cronbach coefficient)ไดคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับเปน .97

การเก็บรวบรวมขอมูล คณะผูวิจัยเก็บรวมรวมขอมูลโดยการจัดสงทางไปรษณียและโทรศัพท

ติดตามผล โดยสงแบบสอบถามจํานวน 400 ฉบับ ไดรับแบบสอบถามกลับคืนและเปนแบบสอบถามที่

สมบูรณสามารถนํามาวิเคราะหขอมูลไดจํานวน 378 ฉบับ

การวิเคราะหขอมูลทั่วไปใชสถิติพื้นฐาน คือ คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิต และคาเบี่ยงเบน

มาตรฐาน และสถิติที่ใชวิเคราะหการแบงกลุมตัวแปร ดวยวิธีการวิเคราะหปจจัย (Factor Analysis) การ

วิเคราะหความสัมพันธกระบวนการจัดการความรูที่มีผลตอประสิทธิภาพการทํางานดวยวิธีการวิเคราะห

ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) และการวิเคราะห Gap Analysis

Page 72: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

66

สรุปผลการวิจัย

สามารถสรุปการวิจัยออกเปน 3 ตอนดังน้ี

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

กลุมตัวอยางที่นํามาศึกษา เปนKM Team รอยละ 52.6 และ ผูที่ไมเปน KM Team รอยละ 47.4

ซึ่งเปนสัดสวนที่ใกลเคียงกัน ผูที่เปน KM Team สวนใหญมีระยะเวลาการรวมทํากิจกรรม KM เพียง 1 ป

และระยะเวลาการรวมทํากิจกรรม KM นานสุด 6 ปแตมีจํานวนนอยมาก แสดงใหเห็นวามีการเปลี่ยนแปลง

KM Team เปนประจําทุกป ซึ่งจะทําใหการสื่อสารงาน KM ไมตอเน่ืองตองเร่ิมตนกับผูรวม Team KM ใหม

ตลอด

การวัดความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM แตละหนวยงาน รอยละของภาพรวมคือ 56.2 ซึ่งถือวาอยูใน

ระดับไมผานเกณฑการประเมิน ควรมีการปลูกฝงใหคนในหนวยงานมีความรูดานการจัดการความรูเพื่อ

นํามาใชในการจัดการความรู สวนหนวยงานที่มีคะแนนการวัดความรูสูงที่สุด คือ ศูนยสารสนเทศ คิดเปน

รอยละ 90 สวนหนวยงานที่มีคะแนนการวัดความรูตํ่าสุด คือ สํานักบริหารโครงการ สํานักชลประทานที่ 5

และ สํานักชลประทานที่ 4 คิดเปนรอยละ 38 คนสวนใหญมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเสนทางสูองคกร

แหงการเรียนรู สูงถึงรอยละ 82.3 สวนความหมายของการจัดการเรียน ไดคะแนนออกมาตํ่าสุด คิดเปนรอยละ

35.7 ซึ่งตองทําการปรับปรุงเปนอันดับตน

การวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับดําเนินการดานสถานะการจัดการความรูในหนวยงานภาพรวมอยู

ในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยที่ 2.95 คิดเปนรอยละ 59 สวนใหญใหความเห็นวาสามารถเขาถึงและสืนคน

เพื่อใชความรูจากคลังความรูของสํานัก/กอง จากศูนยความรูกลาง มากที่สุด มีคาเฉลี่ย 3.35 คิดเปนรอยละ

67 สวนความคิดเห็นที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด คือ มีระบบแรงจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม มี

คาเฉลี่ยอยูที่ 2.69 คิดเปนรอยละ 53.8 ซึ่งควรมีการปรับปรุงระบบแรงจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรค

นวัตกรรม

Page 73: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

67

การวัดความคิดเห็นดานการประเมินกระบวนการจัดการความรู (KMA) พบวา ภาพรวมความ

คิดเห็นอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยอยูที่ 3.11 คิดเปนรอยละ 62.2 คนสวนใหญมีความตระหนักวาการ

จัดการความรูเปนกระบวนการที่มีประโยชนและงายตอการปฏิบัติงานมีคาเฉลี่ยมากที่สุด 3.41 คิดเปนรอยละ

68.20 สวนความคิดเห็น สํานัก/กองมีวิธีการที่จะถายโอนความรูของบุคลากรที่เกษียณอายุ / ออกจากงาน /

ยายไปอยูสายงานอ่ืน มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด 2.79 คิดเปนรอยละ 55.89 ซึ่งควรมีการปรับปรุงวิธีการ รูปแบบที่

หลากหลายและนําไปใชไดจริง

การวัดความคิดเห็นระดับการดําเนินการดานการประเมินความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการ

จัดการความรู พบวา ภาพรวมของการจัดกิจกรรมตามแผนอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยอยูที่ 2.70 คิด

เปนรอยละ 54.00 สวนใหญมีความคิดเห็นวามีการใหสํานัก/กองจัดทําแผนการจัดการความรูตามแนวทางที่

กรมกําหนด มีคาเฉลี่ยมากที่สุด 2.83 คิดเปนรอยละ 56.6 สวนความคิดเห็นในเร่ืองสื่อเผยแพร

ประชาสัมพันธงาน KM โดยการจัดทําแผนพับ โปสเตอร KM มีคาเฉลี่ยนอยที่สุด 2.54 คิดเปนรอยละ 50.80

ซึ่งควรมีการปรับปรุงในกิจกรรมแผนพับใหมีความถี่มากขึ้นและควรออกแบบใหมีความนาสนใจ

ตอนท่ี 2 ขอมูลกระบวนการจัดการความรูท่ีมีสงผลตอประสิทธิภาพของงาน

กอนทําการวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) จะตองมีการจัดกลุมตัว

แปรเพื่อใหตัวแปรที่อยูในปจจัยเดียวกันจะมีความสัมพันธกันมาก สวนตัวแปรที่อยูคนละปจจัย จะไมมี

ความสัมพันธหรือมีความสัมพันธนอยจะไดไม เกิดปญหาความสัมพันธของตัวแปรแตละกลุมมี

ความสัมพันธกันสูงเกินไปหรือเรียกวาเกิดปญหา Multicorrelation ซึ่งจากการแบงกลุมตัวแปรแบงตัวแปร

ตามที่ตองการทดสอบ 2 กลุม คือ ประสิทธิภาพของงาน และสภาพบรรยากาศการจัดการความรู

การวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) กระบวนการจัดการเรียนรูที่

สงผลตอประสิทธิภาพของงาน ไดสมการถดถอยเชิงเสนคือ

Efficiency = 0.520 + 0.334 Customer + 0.231 Leader + 0.151 Access + 0.108 Emotivation

R2 = 0.663 และ Adjusted R2 = 0.659

จากสมการถดถอยเชิงเสน พบวา เปนความสัมพันธเชิงบวกไปในทางเดียวกัน โดยกระบวนการ

จัดการความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการสงผลตอประสิทธิภาพของงานมากที่สุด น่ันคือองคกรตองให

ความสําคัญกับผูรับบริการและนําขอรองเรียนมาปรับปรุงการทํางานเพื่อใหงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น การ

Page 74: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

68

นําองคกรดานการจัดการเรียนรูนับวาเปนสิ่งที่สําคัญที่จะชวยผลักดันใหองคกรมีการจัดการเรียนรูที่พัฒนา

อยางตอเน่ืองเพราะผูบริหารมีสวนในการผลักดันกระบวนการจัดการความรูสงผลใหคนในองคกรเห็น

ความสําคัญของการจัดการความรู อีกทั้งยังเกี่ยวของกับโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรู

และเขาถึงขอมูล ในปจจุบันหากหนวยงานใดไมมีโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการจัดการความรูทําให

หนวยงานสูญเสียทรัพยากรความรู โดยในหนวยงานตองนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการจัดการความรู

เพื่อใหเกิดความสะดวกในการสืบคนขอมูล และงายตอการเขาถึงซึ่งจะทําใหเกิดการนําความรูมาใชในการ

ปฏิบัติงาน สวนกระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม เมื่อมีการสรางแรงจูงใจคนในหนวยงานจะ

มีความกระตือรือรนในการรวมกิจกรรมการจัดการความรู แตควรเปนแรงจูงใจที่บุคลากรใหความสนใจ

โดยอาจสรางตัวชี้วัดของผลงานสรางสรรคนวัตกรรมที่ไดรับรางวัลใหมีผลตอระบบการประเมินผลการ

ปฏิบัติราชการ และจายคาตอบแทนหรือแรงจูงใจโดยเลื่อนเงินเดือนใหสอดคลองกับผลงาน ซึ่งปจจัย

ดังกลาวสงผลตอประสิทธิภาพของงานสามารถอธิบายไดรอยละ 66.3 (R square = .663) สวนอีกรอยละ 33.7 มาจากปจจัยอ่ืน

ตอนท่ี 3 การวิเคราะห Gap Analysis

จากการวิเคราะห Gap Anaylysis พบวาสิ่งที่ควรปรับปรุงอันดับตนๆ เพื่อสงผลตอประสิทธิภาพ

ของงานมากขึ้น ไดแก ผลการจัดการความรูของสํานักสรางความพอใจที่สูงขึ้นใหแกลูกคา สํานักนําองค

ความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางานและหนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความ

คาดหวังถึงการใหบริการลูกคา ซึ่งผลการวิจัยสอดคลองกับวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple

Regression Analysis)

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการวิจัย

การวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression Analysis) กระบวนการจัดการเรียนรูที่

สงผลตอประสิทธิภาพของงาน เปนความสัมพันธเชิงบวกไปในทางเดียวกัน โดยกระบวนการจัดการ

ความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการ , การนําองคกรดานการจัดการเรียนรู , โครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการ

จัดการความรูและเขาถึงขอมูลและ กระบวนการสรางแรงจูงใจและการจัดกิจกรรม

ซึ่งจะเห็นไดวาจากผลงานวิจัยไดมีงานวิจัยตางๆที่สอดคลอง ดังงานวิจัยของ นํ้าทิพย วิภาวิน

(2547, หนา 30) กลาววา ความตองการนําความรูที่มีอยูในตัวบุคคลมาใชประโยชนเปนแนวทางการจัดการ

ความรูในองคการ โดยสรางแหลงจัดเก็บความรูและพัฒนาวิธีเขาถึงความรูไดอยางรวดเร็วและมี

ประสิทธิภาพ โดยมีขั้นตอนดังน้ี (1) การจัดหาหรือการสรางความรู (Knowledge acquisition) เปน

กระบวนการพัฒนาการสรางความรูใหมจากทักษะและความสัมพันธระหวางคนในองคกรเปนวิธีการพัฒนา

ความรูของแตละบุคคลในลักษณะกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณโดยการระดมความคิด การ

Page 75: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

69

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางบุคคลในกลุม (socialization) (2) การแบงปนความรู (Knowledge sharing)

เปนขั้นตอนในการนําเอาความรูที่สรางไวหรือบันทึกไว ออกมาเผยแพรใหเปนที่รับรูและแพรหลายใน

องคกร โดยใชเคร่ืองมือในการติดตอสื่อสารที่เรียกวา Collaborative tools ไดแก Email Newsgroup (3)

การใชหรือการเขาถึงความรู (Knowledge utilization) เปนการใชความรูในองคการจากฐานขอมูล

วรรณกรรม เอกสาร การสนทนา เปนการผสมผสานความรูจากแหลงตางๆ และจากงานวิจัยของ วิจารณ

พานิช (2548) สรุปวา ยุคแรกๆของการพัฒนาศาสตรดานการจัดการความรู มองวาความรู มาจากการ

จัดระบบและตีความสารสนเทศ (Information) ตามบริบทและสารสนเทศมาจากการประมวลขอมูล (data)

ความรู จะไมมีประโยชน ถาไมนําไปสูการกระทําหรือการตัดสินใจ ในการจัดการสมัยใหมโดยเฉพาะอยาง

ยิ่งในยุคแหงสังคมที่ใชความรูเปนฐาน (Knowledge-based society) มองความรูวาเปนทุนปญญา การจัดการ

ความรูจึงเปนกระบวนการใชทุนปญญา นําไปสรางคุณคา และมูลคาซึ่งอาจเปนมูลคาทางธุรกิจหรือคุณคา

ทางสังคมก็ได สวนงานวิจัยของ กิตติยาภรณ ซุยลา (2548) ไดศึกษาการจัดการความรูเพื่อพัฒนาการ

บริหารจัการเทศบาล ตําบลหนองหิน กิ่งอําเภอหนองหิน จังหวัดเลย ผลการศึกษาพบวา เทศบาลตําบล

หนองหินมีสภาพการบริหารจัดการที่มีความพรอมในดานบุคลากร วัสดุอุปกรณและงบประมาณ แตขาด

การแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดี หลังจากการใชการจัดการเรียนรูโดยการแบงปนและ

แลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดเก็บและนําความรูไปใช กอใหเกิดคณะทํางานจัดการความรูหลากหลายมากขึ้น

ทุกสัปดาหในวันศุกร เวลา 15.00 น. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในองคกรทําใหเทศบาลตําบลหนอง

หิน มีการจัดการความรูอยางเปนระบบ “พรอมใช” เกิดประสบการณในการจัดการความรู บุคลากรมี

วัฒนธรรมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและเปนแหลงเรียนรูสําหรับองคกรอ่ืนๆ จากการจัดการความรู สงผลให

เทศบาลตําบลหนองหินเกิดการพัฒนางาน คน และองคกรอยางมีประสิทธิผลและมีแนวโนมที่จะพัฒนาสู

การเปนองคกรแหงการเรียนรูมากขึ้น นอกจากน้ี งานวิจัยของวลัยพร หวันทาและคณะ (2548) ไดศึกษา

ปจจัยที่มีผลตอการจัดการความรู กรณีศึกษาฝายบํารุงรักษาโยธา บริษัท กฟผ. จํากัด (มหาชน) ผล

การศึกษาพบวา ปจจัยที่ผลตอผลสัมฤทธิ์ของการจัดการความรูตามกรอบงานวิจัยน้ี คือ ความเขาใจเกี่ยวกับ

การจัดการความรู การสนับสนุนของผูบริหาร วัฒนธรรมขององคกร เทคโนโลยีที่รองรับการจัดการ

ความรู และการฝกอบรมพัฒนาบุคลากร โดยปจจัยดังกลาวมีความสัมพันธเชิงบวกกับผลสัมฤทธิ์ของการ

จัดการเรียนรู จากวิจัยของ ธิดา จุลินทร (2549) ศึกษากระบวนการและปจจัยแหงความสําเร็จของการ

จัดการความรูในองคกร กรณีศึกา ศูนยสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ผลการศึกษาพบวา กระบวนการจัดการ

ความรูในศูนยสุขภาพจิตในสวนของขั้นตอนนการจัดการความรูน้ัน ศูนยสุขภาพจิต B ดําเนินการครบทั้ง 7

ขั้นตอน คือ (1) การบงชี้ความรู (2) การสรางและการแสวงหาความรู (3) การจัดความรูใหเปนระบบ (4)

การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู (5) การเขาถึงความรู (6) การเรียนรูและการนําความรูไปใชและ (7) การ

ติดตามและประเมินผลการนําความรูไปใช ในขณะที่ศูนยสุขภาพ Q ดําเนินการ 6 ขั้นตอน คือ 1 2 3 4 5

6 แตขาดขั้นตอนที่ 7 และศูนยสุขภาพจิต X ดําเนินการเพียง 5 ขั้นตอน คื 2 3 4 5 และ 6 ซึ่งแสดงใหเห็น

วาในกรณีดังกลาวแมวาเปนศูนยสุขภาพจิตที่อยูภายใตกรมสังกัดเดียวกันมีอิสระในการกําหนดรูปแบบ

Page 76: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

70

สามารถเลือกวิธีปฏิบัติในการดําเนินการจัดการความรูไดเอง จากงานวิจัยของทิพยรัตน อติวัฒนชัย (2550)

ศึกษาการจัดการความรูในวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการมหาวิทยาลัยของแกน ผลการศึกษาพบวา สภาพ

การจัดการความรูดานการเรียนรู องคกรมีสถานที่เคร่ืองมือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมตอการ

เรียนรูมากที่สุด รองลงมาบุคลากรไดรับการสงเสริมการเรียนรู มีสวนรวมและมีอิสระในการทํางานและ

การคิดสรางสรรคสิ่งใหมๆและนอยที่สุดมีแผนยุทธศาสตร แผนกลยุทธโดยที่ยังไมมีนโยบายเชื่อมโยงใน

การจัดการความรู ดานการรวบรวมความรูมีการจัดทําเอกสารสรุป คูมือการปฏิบัติงาน รายงาน สรุปผล

การดําเนินงานมีมากที่สุด รองลงมามีการรวบรวมหลักฐาน เอกสารที่ไดรับจากการเขารวมประชุม อบรม

สัมมนา รวบรวมจัดเก็บไวดวยกันอยางเปนระบบในแฟมเอกสารหรือสถานที่เดียวกันเพื่อใชประโยชนใน

การสรางความรูในองคกร และนอยที่สุด คือการสรุปความรูอันเกิดจากการเขารวมอบรม สัมมนา เสวนา

หรือบุคลากรไดรับการเชิญปนวิทยากร ยังไมมีการจัดทําเปนเน้ือหาเอกสาร หรือรายงาน หรือคูมือ ดาน

การจัดเก็บอยางเปนระบบพบวา เทคโนโลยีรองลงมามีสถานที่เพื่อใชในการจัดเก็บเอกสาร หลักฐาน

ผลงาน ชิ้นงาน มีการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและพบวาไมมีระบบ E-Library หรือเว็บไซต เพื่อใชใน

การสรางความรูอยางเปนระบบที่เหมาะสมตอการเรียนรและเทคโนโลยีที่กอใหเกิดคลังความรูที่ทุกคนใน

องคกรสามารถเขาถึงได ดานการแบงปนแลกเปลี่ยนเรียนรู พบวา เทคโนโลยีชวยใหบุคลากรใชประโยชน

สื่อสาร เชื่อมโยงขอมูลในองคกรมากที่สุด รองลงมาพบวา มีคุณคาความรูและทักษะที่อยูในตัวบุคลากร

อันเกิดจากประสบการณและการเรียนรูของแตละคนไดนําไปใชประโยชน เพื่อกระจายความรูและขยาย

ฐานความรูสูสังคมและนอยที่สุด ไดแก การประชุมหารือ แลกเปลี่ยนความรูที่ไดรับอบรม เรียนรูเพื่อ

ถายทอดความรู จากผลงานวิจัยของ นิธิพล นวลมณี (2550) ศึกษามุมมองของขาราชการกรมสงเสริมการ

ปกครองทองถิ่นที่เกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกร ผลการศึกษาพบวา ขาราชการกรมสงเสริมการ

ปกครองทองถิ่นมีมุมมองความพรอมในการนําการจัดการความรูในองคกรอยูในระดับมาก และเมื่อ

พิจารณามุมมองความพรมเกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกรอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณามุมมอง

ความพรอมเกี่ยวกับการจัดการความรูใน 4 ดาน พบวามีความพรอมสูงสุดในการสรางและแสวงหาความรู

รองลงมาคือ การเรียนรู การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู และการเขาถึงความรู ตามลําดับ ขณะที่ปจจัยใน

องคกรดานผูนํา เปนปจจัยที่มีผลตอความพรอมของขาราชการเกี่ยวกับการจัดการความรูในองคกร ซึ่งมี

ความสัมพันธทางบวกในดานตางๆ ไดแก การใหความสําคัญตอการสงเสริมการจัดการความรูในองคกร

การสรางแรงจูงใจเพื่อกระตุนใหกระบวนการจัดการความรูประสบผลสําเร็จและการเปนตัวอยางที่ดีเกี่ยวกับ

การจัดการความรูในองคกร นอกจากน้ีปจจัยสวนบุคคลที่มีความสัมพันธกับความพรอมของขาราชการกรม

สงเสริมการปกครองทองถิ่นเกี่ยวกับการจัดการความรูใจองคกร ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา กลุม

งาน ตําแหนง และรายได งานวิจัยของ อภิพันธ ภคสกุลวงศ (2550) ศึกษาแนวทางการจัดการความรูใน

ฝายเภสัชกรรมโรงพยาบาลรมฉัตร อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค ผลการศึกษาพบวา ปญหาในการ

จัดการความรูในฝายเภสัชกรรมโรงพยาบาลรมฉัตรในภาพรวมอยูในระดับนอย เมื่อพิจารณารายดานพบวา

ปญหา อันดับที่ 1 คือ ดานเทคโนโลยีในการจัดการความรู อันดับที่2 คือดานวัฒนธรรมองคกรในการ

Page 77: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

71

จัดการความรู อันดับที่ 3 คือ ดานการวัดผลในการจัดการความรู อันดับที่ 4 คือ ดานภาวะผูนําในการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู จากการศึกษาไดแนวทางการจัดการความรูในการจัดการความรูในฝายเภสัชกรรม

ดังตอไปน้ี ดานกระบวนการในการจัดการความรูตองมีการออกแบบระบบและกําหนดเปนระเบียบ โดย

ผูบริหารตองใหการสนับสนุนการถายทอดความรู ทักษะและประสบการณในการทํางานแกคนในองคกรมี

การดําเนินงานที่เปนขั้นตอนชัดเจน เปดโอกาสใหเจาหนาที่ทุกฝายเขามามีสวนรวม ดานภาวะผูนําในการ

จัดการความรู ผูบริหารระดับสูงตองยอมรับและใหความสําคัญกับการจัดการความรูในองคกร กําหนดกล

ยุทธเกี่ยวกับการสรางบรรยากาศใหบุคลากรกลาคิด กลาทํา กลาเปดเผยตัวเองไววางใจกันและสนับสนุน

การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองคกรใหเอ้ือตอการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานเทคโนโลยีในการจัดการความรู

ผูบริหารตองสนับสนุนใหองคกรนําเทคโนโลยีที่เอ้ือตอการสรางคลังความรู และนําระบบสารสนเทศที่

ทันสมัยมาใช ดานการวัดผลในการจัดการความรู ผูบริหารตองต้ังตัวชี้วัดและเกณฑสําหรับใชประเมิน

ระบบและกิจกรรมที่ทําในองคกร ทั้งน้ีในทุกดานผูบริหารตองเปนแบบอยางที่ดี งานวิจัยของณาตยา สีหา

นาม (2551) ศึกษาประสิทธิผลในการจัดการความรู กรณีศึกษาการจัดการความรูในโรงพยาบาลกมลาไสย

จังหวัดกาฬสินธุ ผลการศึกษาพบวา ในดานกระบวนการจัดการความรูในโรงพยาบาลมีการดําเนินการ

จัดการความรูประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ การกําหนดความรู การเสาะหาความรู การปรับปรุง/สรางความรู

การใชความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการบันทึกความรู กระบวนการจัดการความรู มีคาเฉลี่ยใน

ภาพรวมเทากับ 3.40 เมื่อแปลผลอยูในระดับปานกลาง ดานปจจัยสนับสนุนการจัดการความรู มีคาเฉลี่ยใน

ภาพรวมเทากับ 3.46 เมื่อแปลผลแลวอยูในระดับมาก ผลการวิเคราะหความสัมพันธ ดานกระบวนการ

จัดการความรู การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการบันทึกความรู มีความสัมพันธกับประสิทธิผลในการจัดการ

ความรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 โดยมีความสัมพันธเชิงบวก ( r ) เทากับ 0.726 / 0.825 / 0.859

/ 0.846 และ 0.801 ตามลําดับ งานวิจัยของ จุฑารัตน ศราวณะวงศ (2552) พัฒนาตัวแบบกลยุทธการ

จัดการความรูของมหาวิทยาลัยขอนแกน ผลการศึกษาพบวา สภาพ และปญหาการจัดการความรูของ

มหาวิทยาลัยขอนแกน เนนการใชการจัดการความรูเปนเคร่ืองมือในการพัฒนาการปฏิบัติงานดานการ

บริหารทั่วไป กระบวนการจัดการความรูเนนการแลกเปลี่ยนเรียนรูในกลุมบุคลากร โดยใชเคร่ืองมือ ไดแก

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู และชุมชนนักปฏิบัติ แตยังขาดความสามารถในการจัดเก็บ จัดระบบ การจับและ

ประมวลความรู ผูปฏิบัติงานขาดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูสวนใหญยังไมเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับการ

จัดการความรู เน่ืองจากเปนเร่ืองใหม ตัวแบบกลยุทธการจัดการความรู ประกอบดวย 12 กลยุทธหลัก และ

19 กลยุทธรอง โดยกลยุทธหลักสําคัญที่สงเสริมความสําเร็จในการประยุกตการจัดการความรูสําหรับ

มหาวิทยาลัยขอนแกน ประกอบดวย การผลักดันวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนความรูที่ฝงลึกระหวาง

ผูปฏิบัติงาน การสงเสริมความรู ความเขาใจในดานกระบวนการและเคร่ืองมือ จัดการความรูแก

ผูปฏิบัติงาน การปรับโครงสรางองคกรเปนแนวราบและการสงเสริมผลักดัน การทํางานเปนทีม และการ

จัดหาซอฟแวรดานการจัดการความรู เพื่อนํามาใชในการสรางคลังขอมูลเพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึง

และใชประโยชนได นอกจากน้ี Choi (2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม,2549) ไดวิจัยเร่ือง การศึกษาโดย

Page 78: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

72

จําแนกปจจัยที่มีผลกระทบตอการนํา KM ไปใชอยางบรรลุผล ผลการวิจัยพบวา ปจจัยที่ทําใหการนํา KM

ไปใชใหบรรลุผลไดมี 11 ประการ คือ การฝกทักษะบุคลากร การมีสวนรวมของบุคลากร การทํางานเปน

ทีม การเอ้ืออํานาจแกบุคลากร การวัดการดําเนินการ บรรยากาศเสมอภาค การเทียบวัด โครงสรางความรู

อีกทั้ง Epstein (2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม) ไดวิจัยเร่ือง การแบงปนแลกเปลี่ยนความรูในองคกร

ผลการวิจัยพบวา อุปกรณสื่อสารมีความสําคัญตอการแพรกระจายความรูที่ซับซอน มากกวาความรู

ธรรมดาทั่วไป ในการแบงปนแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรูที่ซอนเรนในตัวบุคคล การสื่อสารแบบ

พบปะสนทนาโดยตรงจะใหผลดีกวาจดหมายอิเล็กทรอนิกส (email) ความสัมพันธใกลชิดจะมีบทบาท

สําคัญมาก ตอการแพรกระจายความรู การเปนเพื่อนจะทําใหการแลกเปลี่ยนประสบการณความรูได

มากกวาการขาดความสําคัญเปนเพื่อน บุคคลที่มีบุคลิกภาพเปดเผยจะสื่อสารความรูไดดีกวา สวนGruber

(2000 อางถึงใน กชกร ถนอมน่ิม, 2549) ไดวิจัยเร่ือง วัฒนธรรมองคกรวามีผลตอการใชความรู รวมกัน

หรือไม ผลการวิจัยพบวา ปจจัยที่อิทธิพลตอการใชความรูรวมกันขององคกร ไดแก วัฒนธรรมที่มีการ

เปดเผยและไววางใจกัน ชองทางการสื่อสาร การใหการสนับสนุนของผูบริหารและการมีระบบการให

รางวัลซึ่งผลการวิจัยชิ้นน้ี ไดชี้ประเด็นสําคัญเอาไวในขอเสนอแนะวา การสรางวัฒนธรรมองคกรให

บุคลากรทุกคน ไดมีการยึดถืออุดการณรวมกัน (Share value) เปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะสงผลใหปจจัยอ่ืนๆ

เกิดตามมา และ Mantas Manovans (2000 อางถึงใน จิราพร ชายสวัสด์ิ,2550) ศึกษาความสัมพันธระหวาง

ความเหมาะสมกับการจัดองคความรูและความสําเร็จในการถายทอดองคความรู ผลการศึกษาพบวา การ

ถายโอนความรูจะสงผลสําเร็จในเทคโนโลยีสารสนเทศในบริษัท

สรุป การบริหารจัดการความรูมีความสัมพันธกับองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization)

องคกรที่ตองการพัฒนาใหเปนองคกรแหงการเรียนรูตองจัดการความรูภายในองคใหเปนระบบ เพื่อ

สงเสริมใหทรัพยากรมนุษยในองคกร ไดเรียนรูและพัฒนาอยางจริงจังและตอเน่ือง องคกรตองหาแนวทาง

ใหบุคลากรถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูกับผูอ่ืน แตสิ่งที่ควรคํานึงถึงก็คือ ผูบริหารจัดการความรู

(Knowledge Management Officer) ที่จะทําหนาที่บริหารจัดการความรู โดยมีเปาหมายและทิศทางของการ

จัดการความรู หาแนวทางในการแลกเปลี่ยนความรูและเรียนรูสิ่งใหมๆ และหาเทคนิคการจัดเก็บความรู

เฉพาะไวกับองคกร อยางมีระบบ เพื่อนํามาใชพัฒนาบุคลากรและองคกรอยางมีประสิทธิภาพ การเรียนรู

ของบุคลากรจะเปนจุดเร่ิมตนซึ่งผูบริหารจัดการความรู ตองหากลยุทธทําใหคนในองคการใหความสําคัญ

กับการเรียนรู ฝกฝนปฏิบัติและเรียนรูอยางตอเน่ืองไปตลอดชีวิต เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเองอยูเสมอ การ

ที่บุคลากรมีความคิด ความเชื่อ ทัศนะคติ จากการสั่งสมประสบการณ กลายเปนกรอบความคิดที่ทําให

บุคคลน้ันๆ มีความสามารถในการทําความเขาใจ วินิจฉัย ตัดสินใจในเร่ืองตางๆ ไดอยางเหมาะสม การ

สรางทัศนะคติรวมของคนในองคกร ใหสามารถมองเห็นภาพและมีความตองการที่จะมุงหวัง มุงสู

เปาหมายในทิศทางที่รวดเร็ว ประหยัดและปลอดภัย และการเรียนรูรวมกัน เปนเปาหมายสําคัญที่จะตอง

ทําใหเกิดขึ้น เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยน ถายทอดความรู และประสบการณกันอยางสม่ําเสมอเนนการทํางาน

เพื่อกอใหเกิดความรวมแรงรวมใจ มีความสามัคคีในการรวมมือ การแกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นและมี

Page 79: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

73

ความสามารถที่จะเชื่อมโยงสิ่งตางๆ โดยมองเห็นภาพความสัมพันธกันเปนระบบ ไดอยางเขาใจและมีเหตุมี

ผล เปนลักษณะการมองภาพรวมหรือระบบใหญกอน ทําใหสามารถนําไปวางแผนและดําเนินการทํา

สวนยอยๆ น้ันใหสําเร็จ

ขอเสนอแนะ

1. จากการวิจัยวิเคราะหความสัมพันธถดถอยเชิงพหุและ Gap Analysis จะพบวาเราควรมีการสราง

วัฒนธรรมในองคกรในดานการเรียนรูใหเกิดขึ้นทุกสํานัก/กอง ทุกระดับต้ังแตระดับปฏิบัติการถึง

ระดับผูบริหาร โดยนํากระบวนการจัดการความรูที่เกี่ยวของกับผูรับบริการมาปรับปรุงทํางานอยาง

เปนระบบ มีการศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นในงาน และหาแนวทางในการแกปญหา และสามารถ

ปอนกลับขอมูลได เมื่อเกิดขึ้นในแตละคร้ังก็สามารถแกปญหาไดทุกคร้ังไดจากการเรียนรูในการ

ปฏิบัติงานหรือคนควาหาความรูจากคลังความรู โดยมีการใชกระบวนการ PDCA หรือ ADLI

หรืออาจมีการใชเคร่ืองมืออ่ืนมาชวย

2. จากผลการวิจัยการวัดความรูความเขาใจของคนเกี่ยวกับการจัดการความรูตองมีการพัฒนาใหทุกคน

มีความรูความเขาใจใหมากกวาน้ี ทุกคนควรจะตระหนักการจัดการความรูเปนประโยชนตอองคกร

อยางมาก เปดใจยอมรับและพรอมที่จะเรียนรู โดยใชวิธีการวิทยากรตัวคูณ พรอมมีสื่อการเรียนรู

KM ที่สามารถเรียนรูดวยตนเองได

3. จากการวิจัยความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานะการจัดการความรูพบวา สิ่งที่ควรปรับปรุงคือ ระบบการจูง

ใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม หากระบบแรงจูงใจนาสนใจจะทําใหบุคลากรสงผลงาน

สรางสรรคนวัตกรรมมากขึ้น ดังน้ันควรมีการสํารวจแรงจูงใจที่บุคลากรใหความสนใจและอยาก

ไดหรืออาจสรางตัวชี้วัดของผลงานสรางสรรคนวัตกรรมที่ไดรับรางวัลใหมีผลตอระบบการ

ประเมินผลการปฏิบัติราชการและการจายคาตอบแทนหรือแรงจูงใจโดยการเลื่อนเงินเดือนให

สอดคลองกับผลงาน

4. การจัดการความรูควรเกิดขึ้นกับคนทุกระดับ โดยเฉพาะระดับปฏิบัติการควรมีการกระตุนใหมีการ

นําความรูดานการจัดการความรูไปใชอยูตลอดเวลา จากที่วิจัยจะพบวาสํานัก / กองมีวิธีการที่จะถาย

โอนความรูของบุคลากรที่เกษียณอายุ / ออกจากงาน / ยายไปอยูสายงานอื่น ยังมีการดําเนินการที่นอย

อาจจะตองมีการกระตุนดวยวิธีการตางๆ ดวยการเสริมแรง มีการประกวดหรือนําตัวอยางการถอด

ความรูที่ดีเผยแพรใหทุกสํานัก/กองไดใช แตอยางไรก็ตามเมื่อมีการจัดเก็บความรูแลวควรมีการ

กระตุนใหคนไดนําความรูเหลาน้ันไปใช

5. จากความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู พบวา สื่อเผยแพร

ประชาสัมพันธงาน KM โดยการจัดทําแผนพับ โปสเตอร KM ควรมีการปรับปรุง โดยจัดทําให

มากขึ้นและออกแบบใหมีความนาสนใจ อาจทําเปนรูปแบบการตูนสนุกๆ หรืออาจทําสีสรรคให

นาสนใจและเก็บรักษาไวได

Page 80: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

74

ขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังตอไป

1. ควรมีการศึกษาขอมูลในลักษณะสัมภาษณแบบเจาะลึก สัมภาษณประชากรกลุมตัวอยาง เพื่อนํา

ขอมูลที่ไดมาสนับสนุนกับขอมูลเชิงปริมาณ ซึ่งจะทําใหไดขอมูลที่ชัดเจนและแทจริง

2. ในการจัดทําแบบสอบถามคร้ังตอไปควรใหครอบคลุมปจจัยแตละดานใหชัดเจน เพื่อใหสะดวกใน

การวิเคราะหขอมูลตอไป

3. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในเร่ืองของวัฒนธรรมขององคกรในการเรียนรู เพราะถาหนวยงานมี

วัฒนธรรมขององคกรที่ดีจะทําใหการพัฒนาดานการจัดการความรูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. ควรศึกษาเคร่ืองมือที่ใชในการจัดการความรู เพื่อใหเกิดการใชเคร่ืองมืออยางมีประสิทธิภาพและ

เหมาะสมกับความตองการของผูใชในการจัดเก็บความรู

5. ควรมีการสํารวจความตองการในการจัดหลักสูตรการอบรมดานการจัดความรูเพื่อใหเกิดการพัฒนา

ถูกตองตามความตองการของผูเขารับการอบรมจะทําใหเกิดการนําความรูไปใชอยางเกิดประโยชน

สูงสุด

6. ควรมีการสํารวจความตองการรางวัลที่ตองการใชเสริมแรง อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความ

ตองการของทุกคนเพื่อใหเกิดแรงกระตุนในการทํากิจกรรมตามความสนใจในรางวัล เชน อาจเปน

ต๋ัวไปเที่ยว หรือ อุปกรณ IT ซึ่งทุกสํานัก/กองควรจะมีการเสริมแรงในกิจกรรมการจัดการความรู

ใหมีความนาสนใจ

Page 81: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

75

เอกสารอางอิง

กชกร ถนอมน่ิม. (2550).การพัฒนากิจกรรม 5 ส ดวยการจัดการความรูของสํานักคลังจังหวัดนครสวรรค.

วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎ

นครสวรรค.

กิตติญาภรณ ซุยลา. (2548). การจัดการความรูเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการเทศบาลตําบลหนองหิน กิ่ง

อําเภอหนองหิน จังหวัดเลย. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร

เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

เกษม วัฒนชัย. ( 2547). การจัดการองคความรูในมหาวิทยาลัย. วันที่สืบคน 23 กันยายน 2554,เขาถึงไดจาก

http://intra.chiangmai.ac.th/pr_cmu/news2547/oop-message-12_3.html

เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักด์ิ. (2546).การคิดเชิงมโนทัศน. กรุงเทพมหานคร:ซัคเซสมีเดีย.

โกศล ดีศีลธรรม.(2547).การจัดการความรูแหงโลกธุรกิจใหม.กรุงเทพมหานคร:ธนาเพรส

แอนดกราฟฟค.

คูมือการปฏิบัติงาน. (2553).การประเมินผลโครงการฝกอบรม: กรมชลประทาน, 32-35.

จุฑารัตน ศราวณะวงศ. (2548).การจัดการความรู: มหาวิทยาลัยขอนแกน.วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึง

ไดจาก http://www.riclib.nrct.go.th

ณาตยา สีหานาม. (2551). ประสิทธิผลในการจัดการความรู กรณีศึกษาการจัดการความรูในโรงพยาบาล

กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการ

พัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ทวีศักด์ิ ศิริพรไพบูลย. (2549) เทคนิคการสุมตัวอยาง. โรงพิมพเทียนวัฒนา, 62

ทิพยรัตน อติวัฒนชัย. (2550).การจัดการความรูในวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการมหาวิทยาลัยขอนแกน.

รายงานการศึกษาอิสระปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน. ( 2548). การจัดการความรู.วารสารพัฒนบริหารศาสตร, 1-21

ทฤษฎีการเรียนรู. วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก http://th.wikipedia.org/wiki

Page 82: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

76

ทฤษฎีการแรงจูงใจ. วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก http://th.wikipedia.org/wiki

ธิดา จุลินทร. (2549).กระบวนการและปจจัยแหงความสําเร็จของการวัดการจัดการความรูในองคกร:

กรณีศึกษาศูนยสุขภาพจิตเขต กรมสุขภาพจิต.วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัญฑิต

สาขาวิชาการพัฒนามนุษยและองคการสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

นิธิพล นวลมณี. (2550). มุมมองของขาราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นเกี่ยวกับการจัดการความรู

ในองคกร.รายงานการศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง

ทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน.

นํ้าทิพย วิภาวิน. (2547).การจัดการความรูกับคลังความรู. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพเอสอาร พร้ินต้ิง

แมสโปรดักส.

บุญดี บุญญากิจ, นงลักษณ ประสพสุขโชคชัย, ดิสพงศ พรชนกนาถและปรียวรรณ กรรณลวน. (2547).

การจัดการความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติ(พิมพคร้ังที่ 3).จิรวัฒน เอ็กซเพรส.

ปฐมพงศ ศุภเลิศ. (2550). การจัดการความรู.พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพเทียนวัฒนา.

ประเวศ วะสี. (2545). ระดมสมองสรางเครือขายจัดการความรูสังคมไทย. วันที่สืบคน 25 กันยายน 2554,

เขาถึงไดจาก http://www.thaihealth.or.th

พรทิพย กาญจนนิยต, พัด นิลพันธุ และนพรัตน ประสาทเขตการณ. (2546). การจัดการความรูสูวงจร

คุณภาพท่ีเพิ่มพูน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย, สํานักมาตรฐาน

อุดมศึกษา.

พรธิดา วิเชียรปญญา. (2547). การจัดการความรู:พื้นฐานและการประยุกต.กรุงเทพมหานคร:เอ็กซเปอรเน็ท.

ภารดร จินดาวงศ. (2549). การจัดการความรู (KM).กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพซีดับบลิวซีพร้ินต้ิง.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542. กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพโนวเลจด.

วลัยพร หวันทาและคณะ. (2548).ปจจัยท่ีมีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการความรู:กรณีศึกษา ฝาย

บํารุงรักษาโยธา บริษัท กฟผ. จํากัด (มหาชน). วิทยานิพนธปริญญารัฐประศาสนศาสตร

มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วารสารการจัดการความรู, (2553-54).การจัดการความรูป 2553-2554 กรมชลประทาน, 3

วิจารณ พานิช, (2547). การจัดการองคความรูดานภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาและแกไขปญหา

สังคม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท.

Page 83: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

77

วิจารณ พานิช. (2550). ความหมายของการจัดการความรู. วันที่สืบคน 2 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก

http://www.ckr.ac.th/web/KM/Know.htm

สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ. (2550). การจัดการความรูคืออะไร. วันที่สืบคน 2 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก

http://www.kmi.or.th

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2549). KM คืออะไร. วารสารกรมประชาสัมพันธ,

11(127), 52-53.

สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ. (2551-2555).แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ

ไทย. วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก http://www.opdc.go.th/index.php

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2555-2559).ทิศทางแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11.

วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395

สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2550). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร.พิมพที่ กรุงเทพฯ,หางหุนสวนจํากัด

สามลดา

อภิพันธ ภคสกุลวงศ. (2550).แนวทางการจัดการความรูในฝายเภสัชกรรมโรงพยาบาลรมฉัตร อําเภอเมือง

จังหวัดนครสวรรค. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค.

Yamazaki. (2550).ความรูคืออะไร. วันที่สืบคน 5 ตุลาคม 2554,เขาถึงไดจาก

http://www.ckr.ac.th/web/Km/Know/htm

Page 84: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

78

ภาคผนวก

Page 85: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

79

แบบสํารวจความรู ความเขาใจ และความคิดเห็นของการจัดการความรู (KM) คําชี้แจง แบบสํารวจความรู ความเขาใจและความคิดเห็นของการจัดการความรูแบงออกเปน 5 ตอน ทั้งนี ้

ขอความรวมมือใหผูตอบแบบประเมินตอบตามสภาพจริงเพื่อเปนประโยชนในการวิเคราะหขอมูลสูการพัฒนา

การจัดการความรูของกรมชลประทาน โดยมีระดบัการดําเนนิการแบงเปน 5 ระดับ

5 = ปฏิบัติเปนประจํา มีรูปแบบเปนระบบ ทําซํ้าได 4 = ปฏิบัติสม่ําเสมอ มแีนวทางท่ีดี

3 = ทําตามแนวทางท่ีกําหนดครบถวน ตามระยะเวลาท่ีกําหนด 2 = มีแนวทางปฏิบัติบาง ยังไมชัดเจน ไมไดทําประจํา

1 = ไมมีการกําหนดแนวทางการปฏิบัติ ปฏิบัติตามท่ีมีการสั่งการหรือเมื่อมีการรองขอ

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

1. ทานเก่ียวของกับการจัดการความรูโดย เปน KM Team ไมไดเปน KM Team

2. ตําแหนงงานในปจจุบัน.....................................................................................................................

สังกัด.................................................................................................................................................

3. ทานรวมทํา KM ในสวนท่ีทานเก่ียวของมาเปนระยะเวลา (โดยประมาณ )....................ป

ตอนท่ี 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับ KM

จงเลือกคําตอบท่ีถูกตองท่ีสุด และกากบาทลงในกระดาษคําตอบ

1. ข้ันตอนแรกของกระบวนการจัดการความรูคืออะไร

ก. การสรางและแสวงหาความรู

ข. การประมวลและกลั่นกรองความรู

ค. การจัดระบบความรู

ง. การบงชี้ความรู

2. หากคนในสํานัก/กองของทานมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน

ประสบปญหาเดียวกัน วิธีปฏิบัติท่ีในรูปแบบเดียวกัน

จะใชเครื่องมือ KM รูปแบบใดเพ่ือจัดการความรู

ก. AAR ข. CoPs ค. K-Center ง. Storytelling

3. ขอใดถูกตองมากท่ีสุด

ก. ความรูในองคกรสวนใหญเปนความรูในเอกสาร

ข. การจัดการความรู คือ การจัดการขอมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนความรู

ค. CKO ของสํานัก/กอง รับบทบาทเปนคุณเอ้ือ

ง. ความรูท่ีเปน Explicit Knowledge เปลี่ยนเปน Tacit ไมไดแต Tacit เปลี่ยนเปน Explicit

Knowledge ได

4. กรมชลประทานเก็บรวบรวมความรูโดยใชเครื่องมือใดเปนหลัก

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง

1

2

3

4

5

Page 86: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

80

ก. หองสมุด

ข. เว็บกรมชลประทาน

ค. ศูนยความรูกลาง

ง. คลังความรู

5. เสนทางสูองคกรแหงการเรียนรูคนในองคกรตองมีลักษณะอยางไรบาง

ก. Share Vision , Team Learning

ข. Team Learning , Personal Mastery

ค. Systems Thinking, Mental Models

ง. ถูกทุกขอท่ีกลาวมา

ขอ รายการประเมิน ระดับการดําเนินการ

5 4 3 2 1

ตอนท่ี 3 สถานะ KM ในหนวยงาน

1 มีการกําหนดทีมงานจัดการความรูและทุกคนมีสวนรวมในการกําหนดแผน

2 จัดการประชุมการจัดการความรูอยางตอเนื่องเพ่ือกํากับใหมีการดําเนินการตามแผนการจัดการความรู

3 มีการสื่อสารความคืบหนาของกิจกรรมการจัดการความรูใหผูเก่ียวของรับทราบอยางท่ัวถึง

4 มีการกําหนดระบบใหบุคลากรจัดเก็บความรูในคลังความรูของหนวยงาน

5 สามารถเขาถึงและสืบคนเพ่ือใชความรูจากคลังความรูของสํานัก/กองและศูนยความรูกลาง

6 มีการกํากับดูแลใหขอมูล สารสนเทศ และความรูท่ีนําเสนอในคลังความรูของหนวยงานครบถวน ถูกตอง และทันสมัย

7 มีการเลือกใชเครื่องมือการจัดการความรู (เชน CoP AAR CFT K-Forum ) ท่ีเหมาะสมกับบริบทของหนวยงาน

8 ผลักดันใหผูปฏิบัติงานเรียนรูจากการปฏิบัติ และนําบทเรียนจากการปฏิบัติไปพิจารณาปรับปรุงงาน

9 ยกยอง ใหรางวัลแกผูท่ีมีผลงานดีเดนดานการจัดการความรู

10 มีระบบการจูงใจเพื่อใหบุคลากรสรางสรรคนวัตกรรม

11 มีการกําหนดเปาหมายการจัดการความรู ของสํานัก/กองโดยศึกษาจากหนวยงานท่ีเปนแบบอยางท่ีดี

12 มีการจัดกิจกรรมใหความรูดานการจัดการความรู

ขอ รายการประเมิน ระดับการดําเนินการ

Page 87: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

81

5 4 3 2 1

13 มีการจัดกิจกรรม KM Day หรอื เวทีแลกเปล่ียนเรียนรูของหนวยงาน

14 มีการจัดสรรทรัพยากรท่ีจําเปนในการดําเนินการจัดกิจกรรมการจัดการความรู

15 มีการพฒันาคลังความรูอยางตอเน่ืองพรอมท้ังนําความรูเขาคลังอยางสม่ําเสมอ

16 สงผลงาน นวัตกรรมเขารวมการประกวดตามโครงการ KM Award ไดสม่ําเสมอทุกป

17 มีการวัด ประเมินผลการจัดการความรูและจัดทํารายงานตามระยะเวลาท่ีกําหนด

ตอนที่ 4 การประเมินการจัดการความรู (KMA) 1 CKO กําหนดนโยบาย KM ของสํานัก / กอง 2 CKO รวมกิจกรรม KM ของสํานัก / กอง 3 CKO สนับสนุนปจจัยความสําเร็จของ KM อยางตอเน่ือง

4 CKO สงเสริมใหใชเครื่องมือการจัดการความรูในการพัฒนาปรับปรุงงาน

5 มีการกําหนดใหมีวาระการประชุมเรื่อง KM ในการประชุมสําคัญของสํานัก/กอง

6 มีแผนการจัดการความรูของสํานัก/กองชัดเจนตามรูปแบบท่ีกรมกําหนด

7 หนวยงานเลือกองคความรูท่ีจะจัดการความรูโดยคํานึงถึงการใหบริการลูกคาของหนวยงาน

8 หนวยงานมีการเรียนรูความตองการและความคาดหวังของลูกคาเพื่อนํามาปรับปรุงการใหบริการ

9 สํานัก/กองนําองคความรูจากลูกคามาใชเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางาน

10 ผลจากการจัดการความรูของสํานัก/กอง สรางความพึงพอใจท่ีสูงขึ้นใหแกลูกคา

11 สํานัก / กอง มีการระบุชื่อฐานขอมูลความรูท่ีสําคัญท่ีตองใชในการทํางานของสํานัก/กอง

12 สํานัก / กองใชฐานขอมูลและฐานความรูท่ีจัดเก็บไวประกอบการทํางานจริง

13 สํานัก/กองมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยและเหมาะสมรองรับการทํางาน

14 สํานัก/กองจัดสรรเวลาใหบุคลากรดําเนินการกิจกรรมการจัดการความรู โดยไมถือวาเปนงานเพิ่ม

ขอ รายการประเมิน ระดับการดําเนินการ

Page 88: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

82

5 4 3 2 1

15 สํานัก/กองสนับสนุนใหบุคลากรท่ีรับผิดชอบงาน KM ไปเรียนรูเพิ่มเติมอยางตอเน่ือง

16 บุคลากรของสํานัก / กองเปดใจยอมรับเกี่ยวกับการจัดการความรู (KM)

17 สํานัก/กองทํา KM แลว มีบรรยากาศการทํางานรวมกันท่ีดีขึ้น

18 บุคลากรในสํานัก/กองรูสึกวาความรูของตนเองมีคุณคา เปนประโยชนตอการพัฒนาประสิทธิภาพงานในภาพรวม

19 สามารถระบุความเชี่ยวชาญของบุคลากรในภารกิจดานตางๆ ของหนวยงานได

20 บรรยากาศการจัดกิจกรรมการจัดการความรู (KM) ไดรับความสนใจจากบุคลากรในหนวยงาน

21 บรรยากาศการจัดกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) มีความเปนกันเอง อิสระในการแลกเปล่ียนความรู

22 สํานัก / กองตระหนักวาการจัดการความรู (KM) มีประโยชน และใชประโยชนจากการจัดการความรู (KM) ในการทํางาน

23 บุคลากรมีความกระตือรือรนในการเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนรู

24 สํานัก / กองมีการใชประโยชนจากองคความรูท่ีไดจากการจัดการความรู (KM)

25 สํานัก / กองใชการจัดการความรู( KM) เปนเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการทํางาน

24 สํานัก / กองพบวาการจัดการความรู (KM) สงผลใหประสิทธิภาพของการทํางานสูงขึ้น

25 สํานัก / กองพบวาการจัดการความรู (KM) สงผลใหเกิดนวัตกรรมในการทํางาน

26 การแลกเปล่ียนความรูหรือขอมูลขาวสารภายในสํานัก/กอง ทําไดอยางรวดเร็ว

27 ความรูหรือขอมูลท่ีถายทอดจากเครื่องมือการจัดการความรู (KM) มีความทันสมัยทันตอเหตุการณ

28 สํานัก / กองจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อใหเจาหนาท่ีทุกคนไดมีโอกาสพบปะ สังสรรค พูดคุยและแลกเปล่ียนความรูระหวางกนั

29 สํานัก / กองมีวิธีการท่ีจะถายโอนความรูของบุคลากรท่ีเกษียณอายุ / ออกจากงาน / ยายไปอยูสายงานอื่น

30 ทานตระหนักวาการจัดการความรูเปนกระบวนการท่ีมีประโยชนและงายตอการปฏิบัติ

ตอนที่ 5 การประเมินผลกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู ระดับความคิดเห็น

Page 89: ศึกษาการรับรู้ ความคิดเห็น และความพร้อมของนักเรียนระดับ ...kmcenter.rid.go.th/kcperson/main/_kmspb/dataspb/r... ·

83

ขอ รายการประเมิน เหมาะสมมากที่สุด

เหมาะสม

ยังไม ชัดเจน

ควรปรับ ปรุง

ไมแสดงความคิดเห็น

1 การใหสํานัก/กองจัดทําแผนการจัดการความรูตามแนวทางท่ีกรมกําหนด

2 การส่ือสารแนวทางการจัดทําแผนการจัดการความรูและการดําเนินการตามแผน

3 แผนพับ โปสเตอร KM 4 กิจกรรม KM Site Visit 5 การพัฒนาศูนยความรูกลางและคลังความรู 6 การกําหนดเกณฑการคัดเลือกตามโครงการ KM Award 7 กิจกรรมการประกวดหนวยงานจัดการความรูดีเดน 8 กิจกรรมการประกวดผูบริหารจัดการความรูดีเดน 9 กิจกรรมการประกวดผลงาน - นวัตกรรมสรางสรรคดีเดน 10 โครงการฝกอบรมการถอดความรูจากการเลาเรื่อง 11 โครงการฝกอบรมพฒันาทักษะการเปนวิทยากรมืออาชีพ 12 โครงการฝกอบรมโปรแกรม Joomla

ขอเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกับกิจกรรมการจัดการความรูในกรมชลประทาน…………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ขอขอบพระคุณในการตอบแบบสํารวจ

ความคิดเห็นของทานจะเปนประโยชนในการพัฒนาการจัดการความรูของกรมชลประทาน