11
สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หน้า 1 รายงานสรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมทางด้านแผ่นดินไหว โครงการเขื่อนแควน้อยบารุงแดน อาเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก (เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน 2556) หลักการและเหตุผล การศึกษาผลกระทบทางด้านธรณีวิทยาแผ่นดินไหวอันเนื่องจากเขื่อน (RTS; Reservoir Triggered Seismicity) อยู่ในแผนการปฏิบัติงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ภายหลังการกักเก็บน้าของ โครงการเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ตามมาตรการป้องกันแก้ไขเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และติดตามพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวในพืนทีบริเวณเขื่อนและบริเวณพืนที่โดยรอบ โดยส่วนวิศวกรรมธรณี ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรม ชลประทานเป็นผู้ด้าเนินการร่วมกับกลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา ส่วนวิศวกรรมบริหาร ส้านักชลประทานที่ 3 ได้ ติดตังเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเพื่อติดตามการเกิดแผ่นดินไหว ในบริเวณที่ตังเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อัน เนื่องมาจากพระราชด้าริ และพืนที่ใกล้เคียงโดยรอบซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อเขื่อนในรัศมี 100-150 กิโลเมตร จากที่ตังเขื่อน (ICOLD, 1989) จ้านวน 5 สถานี (รูปที่ 1) โดยมีเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) จ้านวน 4 เครื่อง และเครื่องมือตรวจวัดค่าความเร่ง (accelerograph) จ้านวน 1 เครื่อง (รูป ที่ 2) ดังนี 1.สถานีเขื่อนแควน้อย (KNOI) ตังอยู่ บริเวณ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 18.357´ เหนือ ลองจิจูด 100° 41.149´ ตะวันออกติดตังเครื่องมือตรวจวัดค่าความเร่ง (accelerograph) จ้านวน 1 เครื่อง 2.สถานีเขื่อนแควน้อย (KKWN) ตังอยู่ บริเวณ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 18.357´ เหนือ ลองจิจูด 100° 41.149´ ตะวันออก ติดตังเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ tri-axial จ้านวน 1 ชุด 3.สถานีอ่างเก็บน้าคลองตรอน (KKTN) ตังอยู่บริเวณ ต้าบลน้าไคร้ อ้าเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ พิกัด 17° 59.647´ เหนือ ลองจิจูด 100° 54.250´ ตะวันออก ติดตังเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด 4.สถานีอ่างเก็บน้าคลองข้างใน (KKTN) ตังอยู่บริเวณ ต้าบลคีรีมาศ อ้าเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พิกัด 16° 84304´ เหนือ ลองจิจูด 99° 73.082´ ตะวันออก ติดตังเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด 5.สถานีโครงการน้าขมึน (KNKM) ตังอยู่ ต้าบลเนินเพิ่ม อ้าเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 02.000´ เหนือ ลองจิจูด 100° 94.000´ ตะวันออก ติดตังเครื่องเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด วัตถุประสงค์ 1.เพื่อติดตามพฤติกรรมของการเกิดแผ่นดินไหวในพืนที่บริเวณเขื่อนแควน้อย และพืนที่ข้างเคียง 2.จากพฤติกรรมแผ่นดินไหวที่ปรากฏบนรอยเลื่อนใดๆ จะวิเคราะห์รอยเลื่อนดังกล่าวเป็นรอยเลื่อนทีมีพลัง และต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องถึงการขยับตัว และทิศทางของแรงที่เปลี่ยนแปลงไป ในทางที่รุนแรงขึน เพื่อเตือนภัยการเกิดแผ่นดินไหวจากจุดดังกล่าวได้ทันท่วงที 3.ค้านวณค่าความเร่งที่เกิดจากแผ่นดินไหว เพื่อวิเคราะห์ค่าความเร่งที่เกิดขึนถึงผลกระทบที่จะเกิด

รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 1

รายงานสรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมทางด้านแผ่นดินไหว โครงการเขื่อนแควน้อยบ ารุงแดน อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

(เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน 2556)

หลักการและเหตุผล การศึกษาผลกระทบทางด้านธรณีวิทยาแผ่นดินไหวอันเนื่องจากเข่ือน (RTS; Reservoir Triggered Seismicity) อยู่ในแผนการปฏิบัติงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ภายหลังการกักเก็บน ้าของโครงการเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ตามมาตรการป้องกันแก้ไขเพ่ือลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และติดตามพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวในพื นที่บริเวณเข่ือนและบริเวณพื นที่โดยรอบ โดยส่วนวิศวกรรมธรณี ส้านักส้ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทานเป็นผู้ด้าเนินการร่วมกับกลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา ส่วนวิศวกรรมบริหาร ส้านักชลประทานที่ 3 ได้ติดตั งเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเพ่ือติดตามการเกิดแผ่นดินไหว ในบริเวณท่ีตั งเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ และพื นที่ใกล้เคียงโดยรอบซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่อเขื่อนในรัศมี 100-150 กิโลเมตร จากท่ีตั งเขื่อน (ICOLD, 1989) จ้านวน 5 สถานี (รูปที่ 1) โดยมีเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) จ้านวน 4 เครื่อง และเครื่องมือตรวจวัดค่าความเร่ง (accelerograph) จา้นวน 1 เครื่อง (รูปที่ 2) ดังนี 1.สถานีเข่ือนแควน้อย (KNOI) ตั งอยู่ บริเวณ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 18.357´ เหนือ ลองจิจูด 100° 41.149´ ตะวันออกติดตั งเครื่องมือตรวจวัดค่าความเร่ง(accelerograph) จ้านวน 1 เครื่อง

2.สถานีเข่ือนแควน้อย (KKWN) ตั งอยู่ บริเวณ ต้าบลคันโช้ง อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 18.357´ เหนือ ลองจิจูด 100° 41.149´ ตะวันออก ติดตั งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ tri-axial จ้านวน 1 ชุด 3.สถานีอ่างเก็บน ้าคลองตรอน (KKTN) ตั งอยู่บริเวณ ต้าบลน ้าไคร้ อ้าเภอน ้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ พิกัด 17° 59.647´ เหนือ ลองจิจูด 100° 54.250´ ตะวันออก ติดตั งเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด 4.สถานีอ่างเก็บน ้าคลองข้างใน (KKTN) ตั งอยู่บริเวณ ต้าบลคีรีมาศ อ้าเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พิกัด 16° 84304´ เหนือ ลองจิจูด 99° 73.082´ ตะวันออก ติดตั งเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด 5.สถานีโครงการน ้าขมึน (KNKM) ตั งอยู่ ต้าบลเนินเพิ่ม อ้าเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก พิกัด 17° 02.000´ เหนือ ลองจิจูด 100° 94.000´ ตะวันออก ติดตั งเครื่องเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว (seismograph) แบบ uni-axial จ้านวน 1 ชุด

วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือติดตามพฤติกรรมของการเกิดแผ่นดินไหวในพื นที่บริเวณเข่ือนแควน้อย และพื นที่ข้างเคียง 2.จากพฤติกรรมแผ่นดินไหวที่ปรากฏบนรอยเลื่อนใดๆ จะวิเคราะห์รอยเลื่อนดังกล่าวเป็นรอยเลื่อนที่ มีพลัง และต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องถึงการขยับตัว และทิศทางของแรงที่เปลี่ยนแปลงไป ในทางท่ีรุนแรงขึ น เพื่อเตือนภัยการเกิดแผ่นดินไหวจากจุดดังกล่าวได้ทันท่วงที 3.ค้านวณค่าความเร่งที่เกิดจากแผ่นดินไหว เพ่ือวิเคราะห์ค่าความเร่งที่เกิดขึ นถึงผลกระทบที่จะเกิด

Page 2: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 2

กับเข่ือนแควน้อยในกรณีท่ีผลการค้านวณมีค่าเข้าใกล้ ค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ออกแบบรองรับ แผ่นดินไหว และออกมาตรการรองรับได้รวดเร็วก่อนจะเกิดเหตุการณ์วิบัติ

150 km .

100 km .

50 km .

K K K N (อ่างเก็บน ้าคลองขา้งใน)

K K TN (อ่างเก็บน ้าคลองตรอน)

K NK M (โครงการพลงัน า้น า้ขะมนึ)

พิษณุโลก

K K WN/K NOI (เข่ือนแควนอ้ยฯ)

แผนที่แสดงที่ตั้งและขอบเขตพืน้ที่ด าเนินการ โครงการปฏบัิติการติดตามตรวจสอบธรณวีทิยาและแผ่นดินไหว

รูปที่ 1 แผนที่แสดงที่ตั งสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก ในรัศมีโดยรอบเขื่อน 100-150 กิโลเมตร

Page 3: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 3

รูปที่ 2 สถานีตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหวหัวงานเขื่อนแควน้อย โครงข่ายเขื่อนแควน้อย อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

รูปที่ 3 อุปกรณ์รับคลื่นแผ่นดินไหว (Sensor) ชนิดแกนเดียว (Uni-axial) และชนิดสามแกน (Tri-axial)

รูปที่ 4 ปฏิบัติการเก็บข้อมูลจากเครื่องบันทึกข้อมูล (Recorder) ตามสถานีโครงข่าย

Page 4: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 4

งบประมาณ งบประมาณในการด้าเนินการปี พ.ศ.2556 จ้านวน 1,043,000 บาท ใช้ด้าเนินการติดตามผลจาก

เครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวทั ง 5 สถานี บริเวณโครงข่ายเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน พร้อมทั งรายงานผลตลอดปี 2556 พร้อมสรุปผลการด้าเนินงานตลอดปี และใช้ในการเปลี่ยนซ่อมอุปกรณ์ตรวจวัดแผ่นดินไหว ที่หมดอายุการใช้งาน และเสื่อมสภาพเนื่องจากการใช้งานตลอดเวลา และตลอดปี เพื่อให้อุปกรณ์ดังกล่าวอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลาและสามารถรายงานผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในกรณีท่ีเกิดแผ่นดินในพื นที่เขื่อนและพื นที่ใกล้เคียง และเพ่ือให้ทันต่อการออกมาตรการป้องกัน แก้ไขในกรณีท่ีเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ที่อาจส่งผลกระทบต่อเข่ือนแควน้อยได้โดยตรง หรือมีแนวโน้มที่จะเกิดผลกระทบรุนแรงมากขึ นจากข้อมูลสถิติท่ีตรวจวัดได้มาโดยตลอด

วิธีการด าเนินงาน 1. น้าข้อมูลที่ได้จากสถานีตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหวทั งหมดมาวิเคราะห์ เพ่ือหาขนาด (magnitude) ต้าแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว (epicenter) และอัตราเร่งสูงสุดของพื นดินขณะเกิดแผ่นดินไหวที่กระท้าต่อตัวเขื่อน (PGA) คลื่นที่ตรวจวัดได้เกิดจากต้นก้าเนิดที่แตกต่างกัน เช่น เกิดจากแผ่นดินไหว กิจกรรมของมนุษย์ (รถวิ่ง ระเบิด ตัดหญ้า) เป็นต้น จะต้องจ้าแนกคลื่นดังกล่าว และเลือกเฉพาะคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหวเท่านั นที่จะน้ามาวิเคราะห์ ส่วนคลื่นอ่ืนๆที่ไม่ต้องการถือว่าเป็นคลื่นรบกวน (noise) จะไม่น้ามาท้าการวิเคราะห์ เนื่องจากข้อมูลที่เก็บจากเครื่องเป็นแบบ digital จึงจ้าเป็นต้องเลือกใช้โปรแกรมที่เหมาะสม การเก็บข้อมูลจากเครื่อง seismograph และเครื่องaccelerograph ใช้ โปรแกรม Quick Talk ในการจัดเก็บข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ และการจ้าแนกคลื่นใช้โปรแกรม Quick Look เพ่ือเลือกเฉพาะคลื่นแผ่นดินไหวไปวิเคราะห์เท่านั น 1.1 ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวจากเครื่อง Seismograph วิเคราะห์หาขนาดแผ่นดินไหว โดยใช้สมการดังนี

ML = log ARichter, 1935

ML = ขนาดของคลื่นแผ่นดินไหว,ริกเตอร์ A= ความสูงของรูปคลื่นที่สูงที่สุด,มิลลิเมตร Ao= ความสูงของรูปคลื่นที่สูงที่สุดจากเครื่องวัดแผ่นดินไหวมาตรฐาน, มิลลิเมตร จากสมการข้างต้นน้ามาค้านวณโดยการแทนค่าดังสมการ ML = log Vmax = ค่าความต่างศักย์สูงสุดของคลื่นแผ่นดินไหวที่เครื่องวัดได้ (volts) TF1 = Transfer Function เครื่องวัดแผ่นดินไหวมาตรฐาน

GL = Velocity Sensitivity = Go * ( v/m/s ) = 2f, f ความถี่ของคลื่นแผ่นดินไหวที่วัดได้ (HZ)

Ao

Rx Rx + Re

Vmax * V * TF1 GL * * TF2 * Ao

Page 5: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 5

TF2 = Transfer Function ของเครื่องมือที่ใช้ตรวจวัดตามสถานี V = 2,800 km./s คือค่ามาตรฐาน Displacement Sensitivity

วิเคราะห์หาต้าแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว (ระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวถึงสถานีตรวจวัด)จากสมการ s = vt s = ระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวถึงสถานีตรวจวัด, กิโลเมตร v = ความเร็วของคลื่น(ความเร็วเฉลี่ยของคลื่นแผ่นดินไหว8 กิโลเมตรต่อวินาที ซึ่งเป็นค่าท่ัวไปที่ใช้ในประเทศไทย), กิโลเมตรต่อวินาที t = ผลต่างของเวลาที่คลื่น S และคลื่น P มาถึงสถานี, วินาที

วิเคราะห์หาเวลาที่เกิดแผ่นดินไหวจากสมการ to = tp – (ts-p * 1.37) to = เวลาที่เกิดแผ่นดินไหว , origin time, วินาที tp= เวลาที่คลื่น P มาถึงสถานีนั นๆ , วินาที ts-p = ผลต่างของเวลาที่คลื่น S และคลื่น P มาถึงสถานี , วินาที

1.2 ข้อมูลแผ่นดินไหวที่ได้จากเครื่อง accelerographใช้โปรแกรม SMA (Strong Motion Analysis) วิเคราะห์ โดยหาอัตราเร่งสูงสุดของพื นดิน

2.ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 1 น้ามา plot ลงในแผนที่โครงข่ายสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่มีการกระจายตัวของรอยเลื่อน เพ่ือหาต้าแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวและการกระจายตัว เพ่ือใช้ในการพิจารณาหาความสัมพันธ์ของการเกิดแผ่นดินไหวกับรอยเลื่อนที่มีพลัง (ICOLD, 1989)

ผลการด าเนินงาน จากผลการศึกษา และค้านวณวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวที่เกิดขึ นในพื นที่เข่ือนแควน้อยและพื นที่ใกล้เคียงได้ (ตารางที่ 1 และ 2)โดยผลการด้าเนินงานพบว่าข้อมูลแผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดนอกพื นที่ประเทศไทย ได้แก่ ประเทศเมียนมาร์ ประเทศเวียดนาม และประเทศอินโดนีเซีย เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ประมาณ 5-6 (moderately earthquake) ส่วนแผ่นดินไหวขนาดเล็ก (< 3) เกิดอยู่ทั่วไปบริเวณรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย เช่นรอยเลื่อนเถิน และรอยเลื่อนที่ไม่ปรากฏบนผิวดิน (blind fault) ซึ่งเป็นตัวบ่งชี ถึงประเทศไทยยังคงมีรอยเลื่อนที่มีพลังที่ถูกก้าหนดโดยกรมทรัพยากรธรณี และรอยเลื่อนมีพลังที่ไม่ปรากฏบนผิวดินที่หน่วยงานของรัฐบาลยังไม่สามารถหาต้าแหน่งที่ชัดเจนของรอยเลื่อนได้ ซึ่งอาจจะเป็นรอยเลื่อนที่ท้าให้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สร้างความเสียหายให้กับเขื่อนของกรมชลประทานได้ ดังนั นการเฝ้าติดตามการเกิดแผ่นดินไหวในบริเวณพื นที่เขื่อนแควน้อยและบริเวณโดยรอบ โดยสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ติดตั งตามจุดต่างๆ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการออกมาตรการรับมือจากแผ่นดินไหว ในกรณีท่ีมีแนวโน้มว่าการเกิดแผ่นดินไหวและส่งผลกระทบต่อเขื่อน ได้ทันท่วงที

Page 6: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 6

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวโครงข่ายเข่ือนแควน้อยบ้ารุงแดน จังหวัดพิษณุโลก (ต.ค.2555- ก.ย. 2556) No Date Time (UTC) Sta. Evt. Quality Lat. Long. M Remark 1 2 3 4

11 พย. 55 11 พย. 55 11 พย. 55 13 พย. 55

01:20:37 01:32:02 10:55:49 10:55:50 10:56:23 10:57:02 18:22:29 18:21:20 18:22:38 18:22:44 01:53:34 01:53:51

KKKN KKWN KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN

BK005 DZ073 BK006 BJ013 DZ074 CJ058 BK008 BJ015 DZ075 CJ061 BK009 BJ017

B2

A2

A2

B2

22° 57´ 00¨

22° 46´ 12¨

223.11°

19.27°

96° 03´ 00¨

95° 54´ 00¨

96.00°

96.10°

5.2

5.5

5.6

5.2

เมียนมาร ์ เมียนมาร ์ เมียนมาร ์ เมียนมาร ์

5 6 7

7 ธค. 55 10 ธค. 55 10 ธค. 55

08:25:58 08:25:38 16:59:12 16:59:25 08:58:13 08:57:50

KKKN KKTN KKKN KKTN KKWN KNKM

BK010 BJ018 BJ019 EA268 EA267 CJ091

B2

B2

B2

-

3° 46´ 8¨

18° 35´ 24¨

-

127° 22´ 12¨

105° 49´ 12¨

-

4.9

5.3

หาต้าแหน่ง และขนาดไม่ได ้KepuluanTaluan, อินโดนีเซีย เวียดนาม

8 9

9 มค. 56 21 มค. 56

01:46:00 22:29:13

KKKN KKWN

BK018 EA483

C2 C2

25.32° 4° 57´ 36¨

95.02° 95° 57´ 36¨

6 5.9

เมียนมาร ์ตอนเหนือ เกาะสุมาตรา

10 11 12 13 14 15

3 เมย. 56 4 เมย. 56 10 เมย. 56 11 เมย. 56 19 เมย. 56 21 เมย. 56

16:36:08 16:37:24 16:37:33 16:37:42 15:16:54 15:18:02 15:18:15 15:18:22 22:05:49 22:06:36 22:06:05 22:07:00 03:48:26 03:48:39 03:48:47 03:48:57 03:13:52 03:13:44 03:28:00 03:27:51 03:27:50

KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN KKWN KNKM KKKN KKTN KKKN KKTN KNKM

BL004 BK004 EM006 CL016 BL006 BK005 EM007 CL017 BL008 BK006 EM015 CL019 BL009 BK007 EM016 CL020 BL010 BK008 BL011 BK011 CL025

A2

A2

A2

A2

B2

A2

19.14°

19.34°

18.96°

19.12°

21.00°

18.80°

95.7°

95.79°

97.68°

96.11°

99.77°

99.86°

5.5

5.3

5.1

5.2

3.3

1.7

เมียนมาร์ เมียนมาร ์ เมียนมาร ์ เมียนมาร ์ เมียนมาร ์ อ.งาว จ.ล้าปาง

Page 7: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 7

No Date Time (UTC) Sta. Evt. Quality Lat. Long. M Remark 16 6 พ.ค. 56 27:19:03

27:19:05 KKKN KNKM

BL015 CL047

B2 - - - หาต้าแหน่ง และขนาดไม่ได ้

17 24 พ.ค. 56 12:52:24 12:52:26

KKTN KNKM

BL002 CM011

B2 ก้าหนดพกิัดไม่ได้

- 5.6 เมียนมาร์ ทางตะวันตกของประเทศไทย

18 7 ก.ค. 56 01:43:55 KKKN BM013 C1 ก้าหนดพกิัดไม่ได้

- 4.2 หาต้าแหน่งไม่ได้

19 20 ก.ย. 56 19:27:32 19:27:29 19:27:50

KKKN KKTN KNKM

BN005 BM004 CN037

A2 23° 00´ 36¨

95° 57´ 36¨

5.6 เมียนมาร ์

หมายเหตุ ผลการวิเคราะห์เดือน พ.ค. และ มิ.ย. 56 อยู่ในรายงานฉบับตอ่ไป Remark *A1= 3 stations get signal, epicenter is located B1= 2 stations get signal, epicenter is located from A2= 3 stations get signal, epicenter is unlocated interpretation and adjustment B2= 2 stations get signal, epicenter is unlocated C1= 1 station get signal, epicenter is unlocated C2= 1 station get signal, ambiguously with surface wave

สรุปผลการด าเนินงาน ผลการด้าเนินงานเก็บข้อมูลและศึกษาแผ่นดินไหวที่เกิดขึ นตั งแต่ เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน 2556 บริเวณโครงข่ายเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก พบว่าส่วนใหญ่เป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ นนอกประเทศโดยมีผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลแสดงในตาราง อธิบายได้ดังนี

1. เหตุการณ์แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดบริเวณประเทศเมียนมาร์ 2. มีเหตุการณ์แผ่นดินไหวส่วนน้อยที่เกิดขึ นในประเทศไทย และประเทศข้างเคียง ได้แก่ บริเวณอ้าเภอ

งาว จังหวัดล้าปางประเทศอินโดนีเซีย และประเทศเวียดนาม ซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดในประเทศไทยมีขนาดเล็กประมาณ 1-3 ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อเขื่อนของกรมชลประทาน โดยเฉพาะเขื่อนแควน้อย

3. จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวตั งแต่เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนกันยายน2556 สามารถตรวจวัดค่าความเร่งของพื นดินได้ ดังนี

. 3.1 แผ่นดินไหวขนาด 3.4 ในวันที่ 2 มีนาคม 2556 พิกัด 18:36เหนือ และ 99.56ตะวันออก

บริเวณ อ้าเภอเมือง จังหวัดล้าปาง อยู่ห่างจากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ตั งอยู่ใกล้ที่สุดบริเวณ หัวงานเขื่อนแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ประมาณ 150 กิโลเมตร วัดค่าความเร่งได้ 0.29 g (แสดงตามรูปกราฟ)

Page 8: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 8

3.2 แผ่นดินไหวขนาด 3.5 ในวันที่ 10 มีนาคม 2556 พิกัด 20:72 เหนือ และ 99.78 ตะวันออก บริเวณประเทศเมียนมาร์ ห่างจาก อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประมาณ 30 กิโลเมตร และ อยู่ห่างจากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ตั งอยู่ใกล้ที่สุด บริเวณหัวงานเขื่อนแม่สรวย จังหวัด เชียงราย ประมาณ 118 กิโลเมตร วัดค่าความเร่งได้ 0.00024 g

3.3 แผ่นดินไหวขนาด 5.1 ในวันที่ 10 เมษายน2556 พิกัด 18° 57´ 36¨ เหนือ และ 97° 40´ 48¨ ตะวันออก บริเวณประเทศเมียนมาร์ ห่างจาก จังหวัดแม่ฮ่องสอนไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ตั งอยู่ใกล้ที่สุด บริเวณหัวงานเขื่อนแม่ สรวย จังหวัดเชียงราย ประมาณ 190 กิโลเมตร วัดค่าความเร่งได้ 0.0004 g

3.4 แผ่นดินไหวขนาด 5.4 ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2556 พิกัด 20.70° เหนือ และ 99.84° ตะวันออก บริเวณประเทศเมียนมาร์ ห่างจาก จังหวัดแม่ฮ่องสอนไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 30 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่ตั งอยู่ใกล้ที่สุด บริเวณหัวงานเขื่อนแม่สรวย จังหวัด เชียงราย ประมาณ 110 กิโลเมตร วัดค่าความเร่งได้ 0.003 g

Page 9: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 9

4. จากการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั งล่าสุด บริเวณประเทศพม่า พิกัด 23° 00´ 36¨ เหนือ 95° 57´ 36¨ ตะวันออก ในวันที่ 20 กันยายน 2556 เวลา 19.24 น. ขนาด 5.6 ในสามารถตรวจสอบค่าความเร่งที่กระท้าต่อพื นที่ประเทศไทยบริเวณพื นที่หัวงาน โครงข่ายเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน อ้าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก โดยวัดค่าความเร่ง ที่เกิดได้ 3.282734 cm/s2หรือ 0.0033 gโดยจุดเกิดแผ่นดินไหวอยู่ห่างจากสถานีตรวจวัดค่าความเร่งของเขื่อนแควน้อย ประมาณ 1000 กิโลเมตรตามรูปกราฟท่ีแสดง

5. ผลการตรวจวัดค่าความเร่งของพื นดินที่ตรวจวัดได้จากสถานีตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว ของกรมชลประทาน และสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวบริเวณเข่ือนแควน้อยบ้ารุงแดน แสดงผลกระทบต่อเขื่อนแควน้อย และแนวโน้มที่จะเกิดผลกระทบต่อเขื่อนขั นรุนแรง ตามทีแ่สดงสรุปในรูปกราฟ ดังนี

Page 10: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 10

กราฟแสดงค่าความเร่งสูงสุดที่ตรวจวัดได้จากสถานีตรวจวัดค่าความเร่งหัวงานเขื่อนแควน้อยบ้ารุงแดน จ.พิษณุโลก และเขื่อนแม่สรวย จ.เชียงราย(ส่วนใหญ่เป็นสถานีที่อยู่ใกล้กับจุดเกิดแผ่นดินไหวมากท่ีสุด) จากการวิเคราะห์ค่าความเร่งที่ตรวจวัดได้จากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมชลประทาน โครงข่ายเขื่อนแควน้อยบ ารุงแดน ร่วมกับโครงข่ายเขื่อนแม่สรวย และโครงข่ายอ่ืนๆ ของกรมชลประทาน พบว่าค่าความเร่งสูงสุดที่ตรวจวัดได้ในปี พ.ศ.2556 ตรวจวัดได้สูงสุด 0.003 g(ดูกราฟประกอบ) จากเหตุการณ์แผ่นดินไหววันที่ 7 พฤษภาคม 2556 ขนาด 5.4 บริเวณประเทศเมียนมาร์ ซึ่งเป็นค่าที่น้อยกว่าค่าการออกแบบเขื่อนของกรมชลประทาน ที่มีค่า Seismic coefficient ในการออกแบบเขื่อนประมาณ 0.05-0.15 g จึงไม่มีผลกระทบต่อความม่ันคงของเขื่อน อย่างไรก็ตามจากค่าความเร่งที่ตรวจวัดได้ทั้งหมด พบว่ามีแนวโน้มที่สูงขึ้น

ปัญหาและอุปสรรค 1.ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากอุปกรณ์ตรวจวัดแผ่นดินไหว ที่มีความต่อแรงสั่นสะเทือนจากของพื นดิน ท้าให้ต้องท้าการปรับแก้ค่าพารามิเตอร์ให้เหมาะสม เพ่ือให้รับคลื่นแผ่นดินไหวได้อย่างชัดเจนจึงต้องเข้าไปด้าเนินการตรวจเช็คสภาพเครื่องมือสม่้าเสมอนอกจากนี การก่อสร้างอาคารของโรงงานไฟฟ้าพลังน ้า บริเวณท้ายเขื่อนท้าให้เกิดสัญญาณรบกวนจากที่เกิดจากการก่อสร้าง จึงต้องปรับแก้ค่าพารามิเตอร์ให้มีค่าสูงขึ น จนไม่สามารถรับสัญญาณคลื่นแผ่นดินไหวที่มีขนาดเล็กและเกิดในระยะไกลได้ 2.เนื่องจากระบบพลังงานที่ใช้ในอุปกรณ์ตรวจวัดแผ่นดินไหวใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ ในกรณีที่ท้องฟ้ามืดและฝนตกติดต่อกันหลายวัน พลังงานจะลดลงส่งผลให้เครื่องหยุดท้างาน ต้องเข้าท้าการตรวจเช็คในฤดฝูนอย่างสม่้าเสมอ 3.สัญญาณรับ-ส่งข้อมูลแผ่นดินไหวทางไกลเกิดขัดข้องบ่อยครั ง เนื่องจากสัญญาณ GPRS ของระบบสัญญาณโทรศัพท์เป็นแบบเก่ารอการปรับปรุง จึงต้องใช้วิธีการเก็บข้อมูลแผ่นดินไหว โดยการเดินทางไปเก็บ

4.1 วนัที่ 2 มคี. 56 ขนาด 3.4 ล าปาง (150km)วดัค่าความเร่งได้ 0.00029 g 4.2 วนัที่ 10 มคี.56 ขนาด 3.5 เมยีนมาร ์ (118km) วดัค่าความเร่งได้ 0.00024 g 4.3 วนัที ่11 เมย. 56 ขนาด 5.1เมยีนมาร ์ (190km)วดัค่าความเร่งได ้0.0004 g 4.4 วนัที่ 7 พค. 56 ขนาด 5.4 เมยีนมาร ์ (110km)วดัค่าความเร่งได ้0.003 g 4.5 วนัที่ 1 สค.56 ขนาด 3.7 พะเยา(75km) วดัค่าความเร่งได้ 0.0009 g 4.6 วนัที่ 22 กย.56 ขนาด 5.2 เมยีนมาร-์จนี (190km)วดัค่าความเร่งได ้0.0001 g 4.7 วนัที่ 20 กย.56 ขนาด 5.6 เมยีนมาร ์ (1000km)วดัค่าความเร่งได ้0.0033 g

Page 11: รายงานสรุปผลการศึกษาและ ...kmcenter.rid.go.th/center/_data/docs/kcsurvey/Khwaenoi.pdfสร ปผลกระทบจากแผ นด

สรุปผลกระทบจากแผ่นดินไหวโครงข่ายเขื่อนแควน้อย (2556) หนา้ 11

ข้อมูลใช้คอมพิวเตอร์ Note book เชื่อมต่อโดยใช้สาย RS232 เชื่อมต่อในแต่ละสถานี ในกรณีที่สัญญาณ รับ-ส่งข้อมูลแผ่นดินไหวทางไกลไม่สามารถเชื่อมต่อได้ 4.สภาพธรณีวิทยาโครงสร้างในประเทศไทยมีความสลับซับซ้อนมาก ท้าให้สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวบางสถานีไม่สามารถตรวจวัดเหตุการณ์แผ่นดินไหวนั นได้ครบ เนื่องจากถูกโครงสร้างดูดซับ หรือทอนคลื่นเอาไว้ จึงท้าให้น้าข้อมูลมาวิเคราะห์ได้ไม่ครบทั ง 4 สถานี

ผู้จัดท้ารายงาน เสนอ/ผ่าน -------------------------------- -------------------------------- (นางสาวสุทธาสิน ีเปรมทอง) (นายอุทัย หงษ์ใจสี) นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ กส.วธ. เห็นชอบ ---------------------------------- (นายปกรณ์ เพชระบูรณิน) ผวธ.