150
1 ตอนที1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1. ขอมูลทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ชื่อสถานศึกษา UTHAITHANI POLYTECHNIC COLLEGE ขนาดและที่ตั้ง วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ตั้งอยูภายในบริเวณสวนราชการใหมของจังหวัดอุทัยธานี มีเนื้อที20 ไร ตั้งอยูเลขที45 หมูที3 ถนนอุทัย – หนองฉาง ตําบลน้ําซึม อําเภอเมือง จังหวัด-อุทัยธานีรหัสไปรษณีย 61000 โทรศัพท0–5697–0097 โทรสาร0–5697–0096 Website:www.uthaipoly.ac.th , Email : [email protected] 1.1 ประวัติของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที1 เมษายน พ.ศ. 2539 สังกัดกองการศึกษา อาชีพ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดวยงบประมาณ 36 ลานบาท พ.ศ. 2541 เปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรโครงการสงเสริมอาชีพ สําหรับ ผูถูกเลิกจางงาน (9+1 , 12+1) พ.ศ. 2542 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา ชางยนตและสาขาพณิชยการ (กลุมบัญชี) ไดขยายหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหมีความหลากหลายยิ่งขึ้น พ.ศ. 2543 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา ชางไฟฟากําลัง พ.ศ. 2544 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( เทียบโอน / สะสมหนวยกิต )สาขาวิชา พณิชยกรรม (คอมพิวเตอรธุรกิจ) พ.ศ. 2545 ปรับเปลี่ยนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในแบบเทียบโอนสะสมหนวยกิต เปนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ.2545และไดรับการจัดตั้งเปนวิทยาลัยเครือขายที่ 4 ของวิทยาลัยชุมชนจังหวัดอุทัยธานี เปดสอนหลักสูตรอนุปริญญา โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีไฟฟากําลัง พ.ศ. 2546 มีการปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2545 เพิ่มเติม ( 2546 )และ วิทยาลัยฯ เขาสังกัดในกลุมสถานศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548 เปดสอนหลักสูตรเสริมวิชาชีพระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใหแกโรงเรียนใน เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2549 - ไดรับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการใหเปนสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ระดับอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา 2549 - เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ทวิภาคี) สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

1

ตอนท่ี 1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

1. ขอมูลท่ัวไปของสถานศึกษา

ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

ชื่อสถานศึกษา UTHAITHANI POLYTECHNIC COLLEGE

ขนาดและท่ีต้ัง

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ต้ังอยูภายในบริเวณสวนราชการใหมของจังหวัดอุทัยธานี มีเน้ือที่ 20 ไร

ต้ังอยูเลขที่ 45 หมูที่ 3 ถนนอุทัย – หนองฉาง ตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัด-อุทัยธานีรหัสไปรษณีย 61000

โทรศัพท0–5697–0097 โทรสาร0–5697–0096 Website:www.uthaipoly.ac.th, Email : [email protected]

1.1 ประวัติของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ประกาศจัดต้ังเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2539 สังกัดกองการศึกษา

อาชีพ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดวยงบประมาณ 36 ลานบาท

ป พ.ศ. 2541 เปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรโครงการสงเสริมอาชีพ สําหรับ

ผูถูกเลิกจางงาน (9+1 , 12+1)

ป พ.ศ. 2542 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา

ชางยนตและสาขาพณิชยการ (กลุมบัญชี) ไดขยายหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหมีความหลากหลายย่ิงข้ึน

ป พ.ศ. 2543 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา

ชางไฟฟากําลัง

ป พ.ศ. 2544 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( เทียบโอน / สะสมหนวยกิต )สาขาวิชา

พณิชยกรรม (คอมพิวเตอรธุรกิจ)

ป พ.ศ. 2545 ปรับเปลี่ยนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในแบบเทียบโอนสะสมหนวยกิต

เปนหล ักส ูตรประกาศนียบ ัตรว ิชาช ีพ พ.ศ.2545และได ร ับการจ ัดตั ้ง เป นว ิทยาล ัย เคร ือข ายที ่ 4

ของวิทยาลัยชุมชนจังหวัดอุทัยธานี เปดสอนหลักสูตรอนุปริญญา โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีไฟฟากําลัง

ป พ.ศ. 2546 มีการปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2545 เพิ่มเติม ( 2546 )และ

วิทยาลัยฯ เขาสังกัดในกลุมสถานศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ป พ.ศ. 2548 เปดสอนหลักสูตรเสริมวิชาชีพระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใหแกโรงเรียนใน

เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี

ป พ.ศ. 2549 - ไดรับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการใหเปนสถานศึกษารางวัลพระราชทาน

ระดับอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา 2549

- เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ทวิภาคี) สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

Page 2: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

2

- เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพแกผูตองขังเรือนจําจังหวัดอุทัยธานี ใน

สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550

ป พ.ศ. 2550 - บันทึกความรวมมือ การดําเนินงานโครงการจัดต้ังเครือขายองคความรูชุมชนมุงสู

การเปน Knowledge Based OTOP ประจําป 2550 (KBO)

- บันทึกขอตกลงความรวมมือ การจัดการเรียนอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพ

กําลังคน ระหวางสภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุทัยธานีกับวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

- ไดรับการรับรองจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

( องคกรมหาชน ) ในปการศึกษา 2549 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550

- ตกลงทําความรวมมือ (MOU) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี

กับโรงเรียนลานสักวิทยา

ป พ.ศ. 2551 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กับโรงเรียนการุงวิทยาคมเพิ่มข้ึนอีก 1 แหง

ป พ.ศ. 2552 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตอเน่ืองกับโรงเรียนการุงวิทยาคมกับโรงเรียนลานสักวิทยาลัย

ป พ.ศ. 2553 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กับโรงเรียนหนองเตาวิทยาและโรงเรียนสวางอารมณวิทยา เพิ่มข้ึนอีก 2 แหง

1.2 สภาพท่ัวไปของสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ปฏิบัติภารกิจดานการจัดการศึกษา วิชาชีพ และงานดานนโยบายของ

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยการจัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ

ประกาศนียบัตรวิชาชีช้ันสูง ในแบบเรียนเต็มเวลาและในแบบที่เปดโอกาสใหผูเรียนไดมีการเทียบโอน ความรู

และประสบการณ จัดการศึกษาหลักสูตรเสริมวิชาชีพแกนประถมและมัธยมใหกับโรงเรียนตางๆในเขตพื้นที่

การศึกษาจังหวัดอุทัยธานีและเปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นแกประชาชนทั่วไป

1.3 ปรชัญาสถานศึกษา

ความรู คูคุณธรรม นําสูอาชีพ

KNOWLEDGE AND MORAL FOR SUCCESSFUL CAREER

ความรู : มีความรอบรูในสรรพวิทยาท้ังภาคทฤษฏีและปฏิบัติ

คูคุณธรรม : มีจิตใจท่ีดีงาม มีความซื่อสัตย มีจรรยาบรรณตอวิชาชีพ และรวม

รับผิดชอบตอ สังคม

นําสูอาชีพ : มุงมั่นใหผูเรียนมีการพัฒนาการไปสูระดับมืออาชีพอยางแทจริง

Page 3: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

3

1.4 วิสัยทัศน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เปนองคกรการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนใหมีความรู ความสามารถ

มีทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรม นําไปสูการพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพได

1.5 พันธกิจ

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี มุงจัดการศึกษาดานวิชาชีพและฝกอบรมอาชีพระยะสั้น เพื่อผลิตและ

พัฒนากําลังคน อยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีสามารถ

ตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงาน และการประกอบอาชีพอิสระในดานตาง ๆ ดังน้ี

1.5.1 จัดการศึกษาดานอาชีวศึกษาประเภทชางอุตสาหกรรมและพณิชยกรรม ต้ังแต

ระดับ ปวช. ข้ึนไปใหไดทรัพยากรบุคคลที่มีความรูและทักษะในวิชาชีพ ตลอดทั้งใหมีคุณธรรม จริยธรรม

ทัศนคติ ตลอดจนจรรยาบรรณที่ดีงามในวิชาชีพ ทั้งน้ีเพื่อที่จะดํารงตนใหอยูในสังคมอยางมีคุณภาพและมี

ความสุขตอไป

1.5.2 จัดการศึกษาประเภทหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ใหแกประชาชนทั่วไปตามความถนัด

ตามความสนใจ เพื่อพัฒนาไปสูการเปนผูประกอบการและเปนพลเมืองดีของสังคมเปนแหลงเรียนรู

เพื่อเสริมวิชาชีพแกนักเรียนโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษาเพื่อใหเกิดจินตภาพและจินตนาการตอเสนทางสาย

อาชีพในอนาคตอันใกล

1.5.3 ใหบริการทางวิชาการ และงานบริการอื่นๆที่สอดคลองกับภารกิจแกภาครัฐและ

ภาคเอกชน องคกรสวนทองถ่ินตางๆ

1.5.4 ดําเนินกิจกรรมในการอนุรักษ สงเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ใหคงเปนเอกลักษณ

ของชาติสืบไป

1.5.5 ดําเนินกิจกรรมเพื่อปองกันและแกปญหาผลกระทบที่มีตอรางกายและจิตใจของบุคคลรวม

อนุรักษสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม

1.5.6 สงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาภารกิจดานการเรียนการสอน ดานการสงเสริมเศรษฐกิจ ดาน

สังคมและดานอื่นๆ

Page 4: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

4

2. หลักสูตรการเรียนการสอน

หลักสูตรท่ีเปดสอนและจํานวนนักศึกษา ประจําปการศึกษา 2553

วิทยาลัยมีการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนและมีจํานวนนักศึกษา ดังน้ี หลักสูตร ปวช.

(สาขาวิชาชางยนต,ชางไฟฟากําลัง,คอมพิวเตอรธุรกิจ,บัญชี)

ระดับชั้น สาขาวิชา

ชางยนต

สาขาวิชาชาง

ไฟฟากําลัง

สาขาวิชา

คอมพิวเตอรธุรกิจ

สาขาวิชา

บัญชี รวม

ปวช. 1 34 8 15 8 65

ปวช. 2 19 - 7 4 30

ปวช. 3 27 7 8 5 47

รวมท้ังสิ้น 80 15 30 17 142

หลักสูตรระยะสั้นและหลักสูตรหลากหลาย / ปวช. ในโรงเรียนมัธยมศึกษา (ระยะสั้น)

ระดับชั้น สาขาชาง

อุตสาหกรรม

สาขา

พาณิชกรรม

สาขา

คหกรรม รวม

หลักสูตรหลากหลาย 292 2,052 253 2,597

รวมท้ังสิ้น 292 2,052 253 2,597

หลักสูตรเสริมวิชาชีพ (ประถม/มัธยม)

ระดับชั้น สาขาชาง

อุตสาหกรรม

สาขา

พาณิชกรรม

สาขา

คหกรรม รวม

ประถม - 701 847 1,548

รวมท้ังสิ้น - 701 847 1,548

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( เทียบโอนประสบการณ )

ชื่อหลักสูตร สาขาชาง

อุตสาหกรรม

สาขา

พณิชยกรรม

สาขา

คหกรรม รวม

ปวส. 1 เทียบโอนประสบการณ - 5 - 5

ปวส. 2 เทียบโอนประสบการณ - 8 - 8

รวมท้ังสิ้น - 13 - 13

Page 5: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

5

จํานวนนักศึกษาและบุคลากรของวิทยาลัยฯ ประจําปการศึกษา 2553

ตารางท่ี 1 แสดงจํานวนนักเรียนนักศึกษาจําแนกตามระดับชั้น / เพศ

ระดับชั้น จํานวนนักศึกษา

หมายเหตุ ชาย หญิง รวม

ปวช. 187 60 247

ปวส. เทียบโอนประสบการณ 4 4 8

ระยะสั้น 1,315 1,282 2,597

เสริมวิชาชีพ 842 706 1,548

เรือนจํา 146 42 188

รวมท้ังสิ้น 2,604 2,145 4,749

3. สภาพการดําเนินงานและผลการประเมินคุณภาพภายใน (ตามเปาหมายแผนพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษา)

เปาหมายการพัฒนา กลยุทธ

1. ผลสั มฤท ธ์ิทางการ เ รี ยนของ

นักเรียน นักศึกษาแตละระดับช้ันผาน

เกณฑการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

อยางนอยรอยละ 75

- จัดทําแผนพัฒนาการเรียนรูของครูและผูเรียนในรายวิชาตางๆ ที่มีการ

ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

- จัดทําแผนพัฒนาดานครุภัณฑทางการศึกษาและสื่อการเรียนการสอน

- สงเสริมและพัฒนาดานกระบวนการวัดผล ประเมินผลสูมาตรฐานอัน

เปนที่ยอมรับ

- พัฒนาแผนการเรียนรูตามแบบฐานสมรรถนะวิชาชีพใหครบทุก

รายวิชา

- จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง

2. นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยฯ

เปนผูที่มีบุคลิกภาพสงางาม มีระเบียบ

มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และมี

คานิยมในความเปนไทย

- บูรณาการดานจิตพิสัยและพฤติกรรมที่พึงประสงค ลงในแผนการ

เรียนรูทุกรายวิชา

- จัดกิจกรรมตามนโยบาย 3D

- สงเสริมการเปนสมาชิกองคการวิชาชีพทั้งในระดับสถานศึกษา

ระดับภาคและระดับชาติ

- สงเสริมการเขารวมกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษาใหครอบคลุม

กิจกรรมทางสังคม วันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

Page 6: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

6

เปาหมายการพัฒนา กลยุทธ

3. เพิ่มสมรรถนะครูผูสอนใหมีความรู

และทักษะ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เปด

สอน

- บูรณาการแหลงเรียนรูภายในและภายนอกสถานศึกษาสูการเรียนการสอน

- วิจัยและพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองตอความตองการของตลาดแรงงาน ชุมชน

ทองถิ่น

- ขยายเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการใหครอบคลุมทุกหลักสูตร

4. ชุมชนและองคกรสวนทองถิ่นมีสวน

รวมในการพัฒนาสถานศึกษา

- การสรรหาบุคคลภายนอกรวมเปนคณะกรรมการสถานศึกษา

- จัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษาแบบมีสวนรวมระหวางชุมชน องคกรสวน

ทองถิ่น กับสถานศึกษา

- จัดทําโครงการฝกอบรมและฝกอาชีพใหกับผูดอยโอกาสทางการศึกษา

5. พัฒนาประสิทธิภาพดานการวิจัยและ

นวัตกรรม เพื่อนําไปพัฒนากระบวนการ

จัดการเรียนการสอนและนําไปพัฒนา

ชุมชนทองถิ่น

- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการใหองคความรูแกครู และบุคลากรทางการศึกษา

ดานการวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา

- สํารวจสภาพปญหาดานการจัดการเรียนการสอนและดานความตองการของ

ชุมชนทองถิ่น

6. พัฒนาสื่อและอุปกรณการเรียนการ

สอนใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของ

เทคโนโลยีในปจจุบัน

- จัดทําแผนพัฒนาความรวมมือระหวางสถานศึกษา สถานประกอบการ และ

สถาบันการศึกษาตางๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู

- จัดทําแผนพัฒนาสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

7. เพิ่มจํานวนนักคิด นักประดิษฐและ

ผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม ใน

กลุมครู นักเรียน นักศึกษา หรือโดย

ความรวมมือทั้งสองฝาย

- จัดทําแผนพัฒนาศูนยขอมูลและสารสนเทศเพื่อเปนแหลงคนควาหา

ความรู

- จัดทําแผนเพื่อสงเสริมและพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมในทกุสาขา

วิชาชีพ

8. จัดสภาพแวดลอม ดานอาคาร

สถานที่ ใหมีบรรยากาศที่เอ้ืออํานวยตอ

การเรียนรู

- จัดทําแผนการศึกษาและดูงาน

- จัดทําแผนพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม

9. เพิ่มจํานวนผูเรียนหลักสูตรวิชาชีพ

ระยะสั้น หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ ขั้นสูง (เทียบโอนประสบการณ)

- จัดทําแผนการใหบริการวิชาชีพรวมกับชุมชน องคกรสวนทองถิ่น กลุม

OTOP ของจังหวัด

- จัดทํา MOU กับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษา

- เพิ่มโอกาสการศึกษาวิชาชีกับผูที่มีงานทําอยูแลว ใหมีวุฒิทางวิชาชีพ

เพิ่มขึ้น

- จัดทําแผนเพิ่มและพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ใหมีความหลากหลาย

10. นอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงมาเปนแนวปฏิบัติ

- จัดสภาพจริงการดําเนินงานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา

- ประยุกตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตรและแผนการเรียนรูทุก

รายวิชา

- จัดอบรมความรูดานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหแกครู นักเรียน

นักศึกษา และบุคลากรของวิทยาลัย

Page 7: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

7

4. จุดเดน-จุดท่ีตองพัฒนา

จุดเดนของสถานศึกษา

1. มีการจัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนานักเรียนนักศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรมตอเน่ือง

2. มีงบประมาณที่ใชในการสรางพัฒนาและเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

3. มีวิสัยทัศนที่ชัดเจนสามารถนําองคกรสูความเปนเลิศดวยการประสานความรวมมือทั้งบุคลากร

ภายในและหนวยงานภายนอก

4. มีการบริการวิชาชีพสูสังคมประสบความสําเร็จดีมาก

5. นักเรียนสามารถเขาถึงสื่อเทคโนโลยีไดอยางทั่วถึง

6. มีการจัดการเรียนที่หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ฝกปฏิบัติจริง

7. มีการจัดหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความตองการของตลาดแรงงาน

จุดท่ีตองพัฒนาของสถานศึกษา

1. รอยละของผูเรียนออกกลางคัน

2. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานในระดับ ปวส.

3. ควรจัดระบบฐานขอมูลและมีการประเมิน ประสิทธิภาพของระบบขอมูล

4. การรายงานผลโครงการ กิจกรรม การบริการวิชาชีพสูสังคมยังไมครบถวน

5. การประเมินรอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามช้ันปใหตรงตาม

เกณฑมาตรฐานของสอศ.

6. การประเมินรอยละของผูสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร จากเกรด 1

เปน 3,4

7. การประเมินคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน

8. การจัดงบประมาณจัดซื้อวัสดุ

9. การจัดทําสรุปผล รายงานผลการระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอก

5. แนวทางพัฒนาการจัดการศึกษาในอนาคต

1. ประชาสัมพันธสงเสริมกิจกรรมรวมกับชุมชนเพื่อเพิ่มจํานวนผูเรียน

2. ควรจัดทํานวัตกรรม งานวิจัย และโครงงานใหครบทุกสาขาวิชาและนําผลงานวิจัยไปพัฒนา

ชุมชน

3. ควรจัดทําแผนการพัฒนาระบบสารสนเทศใหตอเน่ือง

4. ควรจัดฐานขอมูลในเว็บไซตของวิทยาลัยใหเปนปจจุบัน

5. ควรติดตามการบริการวิชาชีพสูสังคมและสรุปผลการดําเนินงานใหครบถวน

6. ควรศึกษาสาเหตุของการออกการคันของนักเรียนทุกแผนก

7. ควรพัฒนาการประเมินคุณธรรมของนักเรียนใหครอบคลุมทุกคนและทุกภาคเรียน

8. ควรจัดทําหลักสูตรใหสอดคลองกับชุมชนและทองถ่ิน

Page 8: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

8

ตอนท่ี 2 บทสรุปผลการดําเนินงานของสถานศึกษาตามตัวบงชี ้

การประเมินคุณภาพภายนอก

ผลการดําเนินงานของสถานศึกษาประจําปการศึกษา 2553 ตามตัวบงช้ีการประเมินคุณภาพ

ภายนอกรอบสาม สรุปไดดังน้ี

ตัวบงชี้ท่ี 1 ผูสําเร็จการศึกษาไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เกี่ยวของภายใน 1 ป

หลักสูตร/สาขาวิชา

จํานวน

ผูสําเร็จ

การศึกษา

จํานวนและรอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทํา/ประกอบ

อาชีพอิสระ/ศึกษาตอในสาขาที่เกี่ยวของ

ไดงานทํา

สาขาที่

เกี่ยวของ

ประกอบ

อาชีพอิสระ

ศึกษาตอ

สาขาที่

เกี่ยวของ

รวม

ทั้งหมด รอยละ

ระดับ ปวช.

สาขาวิชาอุตสาหกรรม 25 4 3 17 24 96.00

สาขาวิชาพณิชยกรรม 23 11 3 7 21 91.30

รวมระดับ ปวช. 48 15 6 24 45 93.75

ระดับ ปวส.

สาขาวิชา .................. - - - - - -

สาขาวิชา ................. - - - - - -

รวมระดับ ปวส. - - - - - -

รวมทั้งหมด 48 15 6 24 45 93.75

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

4845 X100

คะแนนที่ได เทากับ 93.75

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาที่ไดงานทําและ/หรือศึกษาตอและ/หรือ

ประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เก่ียวของภายใน 1 ป

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาทั้งหมด

X 100

Page 9: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

9

ตัวบงชี้ท่ี 2 ผูเรียนมีความรูและทักษะที่จําเปนในการทํางาน

หลักสูตร/สาขาวิชา จํานวน

ทั้งหมด

จํานวน

ผูสําเร็จการศึกษา

จํานวนผูเรียนที่สอบผาน

การทดสอบเชิงวิชาการฯ รอยละ

ระดับ ปวช. 3

สาขาวิชาอุตสากหรรม 32 30 26 87

สาขาวิชาพณิชยกรรม 26 25 25 100

รวมระดับ ปวช. 3 58 55 51 93

ระดับ ปวส. 2

สาขาวิชา .................. - - - -

สาขาวิชา ................. - - - -

รวมระดับ ปวส. 2 - - - -

รวมทั้งหมด 58 55 51 93

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

5551 X100

คะแนนที่ได เทากับ 92.73

จํานวนผูเรียนชั้นปสุดทายที่สอบผานการทดสอบเชิงวิชาการ

ดานความรูและทักษะที่จําเปนในการทํางาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาทั้งหมด X 100

Page 10: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

10

ตัวบงชี้ท่ี 3 ผูเรียนผานการทดสอบมาตรฐานทางวิชาชีพจากองคกรที่เปนที่ยอมรับ

หลักสูตร/สาขาวิชา จํานวน

ทั้งหมด

จํานวน

ผูสําเร็จการศึกษา

จํานวนผูเรียนที่สอบผาน

เกณฑมาตรฐานวิชาชีพฯ รอยละ

ระดับ ปวช. 3

สาขาวิชาอุตสากหรรม 32 30 26 87

สาขาวิชาพณิชยกรรม 26 25 25 100

รวมระดับ ปวช. 3 58 55 51 93

ระดับ ปวส. 2

สาขาวิชา .................. - - - -

สาขาวิชา ................. - - - -

รวมระดับ ปวส. 2 - - - -

รวมทั้งหมด 58 55 51 93

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

5551 X100

คะแนนที่ได เทากับ 92.73

จํานวนผูเรียนชั้นปสุดทายที่สอบผานเกณฑมาตรฐานวิชาชีพ

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาทั้งหมด

X 100

Page 11: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

11

ตัวบงชี้ท่ี 4 ผลงานที่เปนโครงงานทางวิชาชีพหรือสิ่งประดิษฐของผูเรียนที่ไดนํา ไปใชประโยชน

หลักสูตร/สาขาวิชา

จํานวน

ผูเรียน

ทั้งหมด

จํานวนผลงานฯ ที่ไดนําไปใชประโยชนหรือไดรับรางวัล/

ระดับคุณภาพผลงาน

x0.50 x0.70 x0.90 x1.00 รวม

ตัวอยาง คิดตามจํานวนโครงงานส่ิงประดิษฐ 200 10 5 3 1 12.2

ตัวอยาง คิดตามจํานวนผูเรียนที่ทําโครงงาน

ส่ิงประดิษฐ

200 100คน 50คน 30คน 10คน 122

ระดับ ปวช.

สาขาวิชา อุตสาหกรรม 101 7 - - - -

สาขาวิชา พานิชยกรรม 54 9 - - - -

รวมระดับ ปวช. 155 16 - - - -

ระดับ ปวส.

สาขาวิชา .................. - - - - - -

สาขาวิชา ................. - - - - - -

รวมระดับ ปวส. 2 - - - - - -

รวมทั้งหมด 155 16 - - - -

ผลคูณของจํานวนผลงานกับ

ระดับคุณภาพผลงาน 8 - - - -

หมายเหตุ ระดับคุณภาพผลงาน 0.50 ระดับภายในสถานศึกษา 0.70 ระดับจังหวัด ชุมชน ทองถ่ิน

0.90 ระดับภาค 1.00 ระดับชาติข้ึนไป

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

15516 X100

คะแนนที่ได เทากับ 10.32

จํานวนผลงานที่เปนโครงงานทางวิชาชีพหรือส่ิงประดิษฐ

ของผูเรียนที่ไดนําไปใชประโยชนหรือไดรับรางวัล

จํานวนผูเรียนทั้งหมด X 100

Page 12: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

12

ตัวบงชี้ท่ี 5 ผลงานที่เปนนวัตกรรมสิ่งประดิษฐสรางสรรคหรืองานวิจัยของครูที่ไดนํา ไปใชประโยชน

แผนกวิชา

จํานวนครู (คน) จํานวนผลงานฯ ที่ไดนําไปใชประโยชน

หรือไดรับรางวัล/ระดับคุณภาพผลงาน

ประจํา จางสอน>

9 เดือน รวม 0.50 0.70 0.90 1.00 รวม

แผนกวิชา ชางยนต 3 - 3 - - - - -

แผนกวิชา ชางไฟฟากําลัง 2 - 2 - - - 1 -

แผนกวิชา การบัญชี 4 - 4 - - - - -

แผนกวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ 4 - 4 - - - - -

แผนกวิชา เทคนิคพื้นฐาน 1 - 1 - - - - -

แผนกวิชา สามัญสัมพันธ 3 - 3 - - - - -

รวมทั้งหมด 17 - 17 - - - 1 -

ผลคูณของจํานวนผลงานกับ

ระดับคุณภาพผลงาน - - - - - - 1 -

หมายเหตุ 1) ระดับคุณภาพผลงาน 0.50 ระดับภายในสถานศึกษา

0.70 ระดับจังหวัด ชุมชน ทองถ่ิน 0.90 ระดับภาค 1.00 ระดับชาติข้ึนไป

2) ครูประจํา= ขาราชการคร+ูพนักงานราชการ+ครูจางสอนที่ปฏิบัติหนาที่สอน 9 เดือน ข้ึนไป

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

131 X100

คะแนนที่ได เทากับ 7.69

จํานวนผลงานที่เปนนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐสรางสรรคหรืองานวิจัย

ของครูที่ไดนําไปใชประโยชนหรือไดรับรางวัล

จํานวนครูประจําทั้งหมด X 100

Page 13: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

13

ตัวบงชี้ท่ี 6 ผลการใหบริการวิชาการ/วิชาชีพที่สงเสริมการพัฒนาทักษะของผูเรียน

สาขาวิชา

ประเด็นการพิจารณาที่

ดําเนินการผานเกณฑ

รวมประเด็น

การพิจารณาที่

ผานเกณฑ

สรุป

ผาน/

ไมผาน 1 2 3 4 5

ระดับ ปวช.

สาขาวิชา/สาขางาน ชางยนต 5

สาขาวิชา/สาขางาน ชางไฟฟา 5

สาขาวิชา/สาขางาน คอมพิวเตอร 4

สาขาวิชา/สาขางาน บัญชี 4

รวมระดับ ปวช.

ระดับ ปวส.

สาขาวิชา/สาขางาน .................. - - - - - - -

สาขาวิชา/สาขางาน ................. - - - - - - -

รวมระดับ ปวส. 2 - - - - - - -

รวมสาขาวิชา/สาขางานที่ผานเกณฑ

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

100 X42

คะแนนทีไ่ด เทากับ 50

จํานวนสาขางานที่ดําเนินการครบทุกประเด็นพิจารณา

จํานวนสาขางานที่เปดสอนทั้งหมด X 100

Page 14: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

14

ตัวบงชี้ท่ี 7 ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง

สาขาวิชา

ประเด็นการพิจารณาที่

ดําเนินการผานเกณฑ

รวมประเด็น

การพิจารณาที่

ผานเกณฑ

สรุป

ผาน/

ไมผาน 1 2 3

ระดับ ปวช.

สาขาวิชา/สาขางาน ชางยนต 3

สาขาวิชา/สาขางาน ชางไฟฟา 3

สาขาวิชา/สาขางาน คอมพิวเตอร 3

สาขาวิชา/สาขางาน บัญชี 3

รวมระดับ ปวช.

ระดับ ปวส.

สาขาวิชา/สาขางาน .................. - - - - -

สาขาวิชา/สาขางาน ................. - - - - -

รวมระดับ ปวส. 2 - - - - -

รวมสาขาวิชา/สาขางานที่ผานเกณฑ

สูตรการคํานวณ

วิธีคํานวณ (แสดงวิธีการคํานวณตามสูตรการคํานวณ)

10044 X

คะแนนที่ได เทากับ 100

จํานวนสาขางานที่ดําเนินการครบทุกประเด็นพิจารณา

จํานวนสาขางานที่เปดสอนทั้งหมด X 100

Page 15: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

15

ตัวบงชีท่ี้ 8 ผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการและผูบริหารสถานศึกษา (10 คะแนน)

ตัวบงชี้ท่ี 8.1 ผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. การไดมาเปนไปตามหลักเกณฑท่ีกําหนด

2. มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ทิศทางและนโยบาย และมี

การกํากับดูแลสถานศึกษาอยางตอเน่ือง

3. ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ครบถวนตามท่ีกฎหมายกําหนด

4. มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตร/

แผนประจําป อยางนอยปละ 2 ครั้ง และมีผลการกํากับติดตามการ

ประเมินผูบริหารสถานศึกษา และใหขอเสนอแนะในการพัฒนา

สถานศึกษา อยางนอย 2 ครั้ง ในรอบวาระการดํารงตําแหนง

5. ดําเนินงานภายใตหลักธรรมาภิบาลและกํากับดูแลใหสถานศึกษาดําเนินงาน

ตามหลักธรรมาภิบาลครบถวนทุกประเด็น โดยมีการประเมินจากผูทรงคุณวุฒิ

ภายนอกท่ีมาจากการสรรหาอยางเปนระบบและมีการนําผลการประเมินไป

ปรับปรุง

รวมคะแนนท่ีได 3 2 4 1

รวมคะแนน เทากับ 7

Page 16: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

16

ตัวบงชี้ท่ี 8.2 ผลการปฏิบัติหนาที่ของผูบริหารสถานศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการเผยแพรวิสัยทัศน นโยบาย เปาหมายและกลยุทธของ

ผูบริหาร ในการ สรางความรวมมือกับองคกรทองถ่ินตางๆ เพ่ือ

สงเสริมการจัดการเรียนการสอนอยางตอเน่ือง และมีการประเมินผล

การดําเนินงานตามกรอบวิสัยทัศน (โดยผูตรวจสอบภายนอก) เพ่ือนํา

ผลการประเมินมากําหนดเปาหมาย กลยุทธ และแผนการดําเนินงาน

ใหสอดคลองตอความเปนจริงและเกิดประโยชนตอสถานศึกษาและ

ชุมชนทองถ่ิน

2. มีการสรางการมีสวนรวมท้ังในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา

โดยมีการรับฟงความคิดเห็นอยางตอเน่ือง เชน การจัดประชุมบุคลากร

ท้ังองคกรอยางนอย 2 ครั้งตอป เปนตน

3. มีการควบคุมอัตราสวนครู : ผูเรียนใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานของ

หนวยงานตนสังกัด ครบทุกสาขางาน (ผูบริหาร อาจแกปญหาดวยการหาผูสอน

เพ่ิม เชน จางครูอัตราจาง 9 เดือน หรือหาผูมีความรูในชุมชนน้ัน ๆมาชวยสอน

เปนตน

4. มีการกํากับดูแลอัตราสวนผูสําเร็จการศึกษา (Success rate)

รวมท้ังเกณฑมาตรฐานในการจัดการศึกษาดานบุคลากร พ้ืนท่ี

เครื่องมือ อุปกรณและทรัพยากรอ่ืน ใหเกิดความคุมคาในการจัด

การศึกษาอยางตอเน่ือง

5. มีการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใน

การบริหารจัดการจนเกิดผลสัมฤทธิ์ อยางเปนรูปธรรมอยางชัดเจน

และเปนสถานศึกษาพอเพียงแบบอยาง

รวมคะแนนท่ีได 5 - 5 -

รวมคะแนน เทากับ 10

วิธีคํานวณ (ตช.8.1 + ตช.8.2)/4

(7+10)/4

คะแนนที่ได เทากับ 4.25

Page 17: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

17

ตัวบงชี้ท่ี 9 ผลการใชระบบฐานขอมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีระบบฐานขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจําเปน ครบถวน

สมบูรณและเปนปจจุบัน เชน ขอมูลทางเศรษฐกิจ สังคม สถาน

ประกอบ การและตลาดแรงงาน นักเรียนนักศึกษา แผนการเรียน

บุคลากร งบประมาณ ครุภัณฑ อาคารสถานท่ี เปนตน

2.ฐานขอมูลและอุปกรณการใชงานมีความเชื่อมโยงกันอยางเปน

ระบบและการเขาถึงขอมูลทําไดอยางสะดวก

3.มีการจัดลําดับความสําคัญและความปลอดภัยในการใชงาน

และผูใชงานทุกระดับมีความเขาใจและสามารถเขาถึงขอมูลเพ่ือ

การใชงานไดจริง

4.มีการใชขอมูลเปนพ้ืนฐานในการบริหารจัดการและตัดสินใจ

(ใชแผนงานโครงการประกอบการตัดสินใจ เชน มี MIS หรือไม)

จนเกิดผลในทางปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ

5.มีระบบปองกันและระบบการสํารองขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพสูง

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 18: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

18

ตัวบงชี้ท่ี 10 ผลการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. สถานศึกษามีการสงเสริมใหครูและบุคลากรทางการศึกษาที่

ไดรับการสงเสริมพัฒนาฝกอบรมดานวิชาการหรือวิชาชีพ

รวมทั้งการใหความรูดานจรรยาบรรณอยางนอย รอยละ 75

ตอป อยางตอเน่ือง

2.สถานศึกษามีการสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให

ไดรับทุนการศึกษาหรือทุนวิจัยหรืองานสรางสรรคจาก

หนวยงานทั้งภายในและภายนอก อยางนอยรอยละ 5 ตอป

อยางตอเน่ือง

3.สถานศึกษามีการสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให

ไดรับการพัฒนาโดย มีโครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรรวมกับ

สถานศึกษาอื่น หรือหนวยงาน องคกรภายนอก อยางนอยรอย

ละ 5 ตอป อยางตอเน่ือง

4.สถานศึกษามีการสงเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาให

ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานบริการวิชาการ/

วิชาชีพระดับชุมชน ทองถ่ิน จนถึงระดับชาติอยางนอยรอยละ

5 ตอป อยางตอเน่ือง

5.สถานศึกษามีการสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให

ไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมกับความเปนครูและ

บุคลากรทางการศึกษาอยางนอยรอยละ 75 ตอป อยาง

ตอเน่ือง

รวมคะแนน 4 1 3 2

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 3.5

Page 19: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

19

ตัวบงชี้ท่ี 11 ผลการบริหารความเสี่ยง

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียนนักศึกษาจากทุกสวนงาน

มีสวนรวมในการคนหาและระบุความเสี่ยงดานความปลอดภัย

ภายในสถานศึกษา มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดจากการ

สรางสรรค รวมทั้งมีมาตรการใหครูและบุคลากรในทุก

หนวยงานมีการปองกันและควบคุมความเสี่ยงดวยตนเองอยาง

เปนระบบและตอเน่ืองและมีการแกไขปรับปรุงเพื่อลดความ

เสี่ยงที่เกิดข้ึน โดยสามารถควบคุมความเสี่ยงใหลดลงอยาง

ตอเน่ือง

2.ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียนนักศึกษาจากทุกสวนงานมี

สวนรวมในการคนหาและระบุความเสี่ยงความเสี่ยงดาน

ทะเลาะวิวาท มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดจากการ

สรางสรรครวมทั้งมีมาตรการใหครูและบุคลากรในทุก

หนวยงานมีการปองกัน/ควบคุมความเสี่ยงดวยตนเองอยาง

เปนระบบและตอเน่ืองและมีการแกไขปรับปรุงเพื่อลดความ

เสี่ยงที่เกิดข้ึนโดยสามารถควบคุมความเสี่ยงใหลดลงอยาง

ตอเน่ือง

3. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียนนักศึกษาจากทุกสวนงาน

มีสวนรวมในการคนหาและระบุความเสี่ยงความเสี่ยงดานสิ่ง

เสพติด มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดจากการสรางสรรค

รวมทั้งมีมาตรการใหครูและบุคลากรในทุกหนวยงานมีการ

ปองกัน/ควบคุมความเสี่ยงดวยตนเองอยางเปนระบบและ

ตอเน่ืองและมีการแกไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดข้ึนโดย

สามารถควบคุมความเสี่ยงใหลดลงอยางตอเน่ือง

Page 20: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

20

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

4. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียนนักศึกษาจากทุกสวนงาน

มีสวนรวมในการคนหาและระบุความเสี่ยงความเสี่ยงดาน

สังคม มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดจากการสรางสรรครวมทั้ง

มีมาตรการใหครูและบุคลากรในทุกหนวยงานมีการปองกัน/

ควบคุมความเสี่ยงดวยตนเองอยางเปนระบบและตอเน่ืองและ

มีการแกไขปรับปรุงเพื่อลดความเสี่ยงที่เกิดข้ึนโดยสามารถ

ควบคุมความเสี่ยงใหลดลงอยางตอเน่ือง

5. ตัวแทนครู บุคลากร และนักเรียนนักศึกษาจากทุกสวนงาน

มีสวนรวมในการคนหาและระบุความเสี่ยงความเสี่ยงดานการ

พนันและการมั่วสุม มีการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดจากการ

สรางสรรครวมทั้งมีมาตรการใหครูและบุคลากรในทุก

หนวยงานมีการปองกัน/ควบคุมความเสี่ยงดวยตนเองอยาง

เปนระบบและตอเน่ืองและมีการแกไขปรับปรุงเพื่อลดความ

เสี่ยงที่เกิดข้ึนโดยสามารถควบคุมความเสี่ยงใหลดลงอยาง

ตอเน่ือง

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 21: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

21

ตัวบงชี้ท่ี 12 ผลการสรางการมีสวนรวมในการประกันคุณภาพ

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการสรางความรูความเขาใจดานการประกันคุณภาพ

ใหกับผูเรียน ครู และบุคลากร ทุกคนในสถานศึกษาอยาง

สมํ่าเสมอ

2. มีการรวมกันกําหนดเปาหมาย กลยุทธการประกันคุณภาพ

มาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา บทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูเรียน ครูและ

บุคลากร โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

สถานศึกษา พรอมมีการเผยแพรและทําความเขาใจใน

เปาหมาย กลยุทธการประกันคุณภาพ มาตรฐานการ

ปฏิบัติงานและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา บทบาท

หนาท่ีความรับผิดชอบของผูเรียน ครูและบุคลากร ให

สาธารณชนรับทราบ

3. มีการปฏิบัติใหไดตามเปาหมาย กลยุทธที่ไดวางไวโดย

ผูบริหาร ครู บุคลากร นักเรียน มีสวนรวมในการดําเนินการ

ไมนอยกวารอยละ 75

4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูบริหาร ครูและ

บุคลากร ทั้งรายบุคคลและกลุมบุคคลในสวนงานตางๆ ของ

สถานศึกษา ครบทุกมาตรฐานและตัวบงช้ีพรอมทั้งรายงานให

สาธารณชนและหนวยงานตนสังกัดรับทราบ

5. มีผลการปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายและมาตรฐานที่กําหนด

ไมนอยกวารอยละ 80 และมีแนวทางหรือแนวปฏิบัติที่ดีและ

สรางสรรคสามารถเปนแบบอยางใหกับสถานศึกษา

หนวยงานหรือองคกรอ่ืน

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 22: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

22

ตัวบงชี้ท่ี 13 การพัฒนาสถานศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพภายใน

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. ผลประเมินมาตรฐานที่วาดวยผลการจัดการศึกษาเพิ่มข้ึน

และเปลี่ยนระดับคุณภาพสูงขึ้น

2. ผลประเมินมาตรฐานที่วาดวยการจัดการเรียนการสอนท่ี

เนนผูเรียนเปนสําคัญเพิ่มข้ึนและเปลี่ยนระดับคุณภาพสูงขึ้น

3. ผลประเมินมาตรฐานที่วาดวยการบริหารจัดการศึกษา

เพิ่มข้ึนและเปลี่ยนระดับคุณภาพสูงขึ้น

4. ผลประเมินมาตรฐานที่วาดวยการประกันคุณภาพภายใน

เพิ่มข้ึนและเปลี่ยนระดับคุณภาพสูงขึ้น

5. ผลประเมินในภาพรวมของสถานศึกษาเพิ่มข้ึนและเปลี่ยน

ระดับคุณภาพสูงขึน้

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 23: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

23

ตัวบงชี้ท่ี 14 ผลการพัฒนาตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และจุดเนนและจุดเดนของสถานศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 14.1 ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงคของการจัดต้ัง

สถานศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. ผูบริหาร ครู บุคลากร ชุมชนและองคกรภายนอกมีสวนรวมในการ

กําหนดแผนปฏิบัติงานโดยระบุเปาหมายและกลยุทธท่ีสอดคลองกับ

ปรัชญา ปณิธาน และพันธกิจการดําเนินงานของสถานศึกษา โดย

ไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา

2. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน และบุคลากรในการ

ปฏิบัติตามกลยุทธท่ีกําหนดอยางครบถวนสมบูรณ และบุคลากรไม

นอยกวารอยละ 50 ใหความรวมมือในการปฏิบัติอยางตอเน่ือง

3. มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถานศึกษา และ

ประชาคมมีความพึงพอใจอยูในระดับดีไมนอยกวาละ 75

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและ

วัตถุประสงคการจัดต้ังสถานศึกษา และเกิดผลกระทบท่ีดีตอชุมชน

ทองถ่ินขึ้นไป

5. ผูเรียนมีคุณลักษณะท่ีเปนไปตามปรัชญา ปณิธาน และพันธกิจดานผูเรียน

ตามท่ีสถานศึกษากําหนด และเปนท่ียอมรับของชุมชน ทองถ่ิน.

รวมคะแนนที่ได 5 - 5 -

รวมคะแนน เทากับ 10

Page 24: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

24

ตัวบงชี้ท่ี 14.2 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถานศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1.ผูบริหาร ครู บุคลากร ชุมชนและองคกรภายนอกมีสวนรวมในการ

กําหนดจุดเนน จุดเดน รวมท้ังกําหนดแผนปฏิบัติงานโดยระบุ

เปาหมายและกลยุทธการดําเนินงาน โดยไดรับการเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสถานศึกษา

2.มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน และบุคลากรในการ

ปฏิบัติตามกลยุทธท่ีกําหนดอยางครบถวนสมบูรณ และบุคลากรไม

นอยกวารอยละ 50 ใหความรวมมือในการปฏิบัติอยางตอเน่ือง

3.มีการประเมินความพึงพอใจของประชาคมในสถานศึกษา และ

ประชาคมมีความพึงพอใจอยูในระดับดีไมนอยกวาละ 75

4.ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน และเกิดผลกระทบท่ีดีตอ

ชุมชน ทองถ่ินขึ้นไป

5.สถานศึกษามีเอกลักษณตามจุดเนน จุดเดน และไดรับรางวัลจาก

องคกรภายนอก ท่ีแสดงถึงการยอมรับในเอกลักษณน้ัน

รวมคะแนนท่ีได 5 - 5 -

รวมคะแนน เทากับ 10

วิธีคํานวณ (ตช.14.1 + ตช.14.2)/4

(10+10)/4

คะแนนที่ได เทากับ 5

Page 25: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

25

ตัวบงชี้ท่ี 15 การพัฒนาคุณภาพของผูเรียน

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน ครแูละบุคลากร

และสามารถสรางความรวมมือใหชุมชน องคกรภายนอก

สถานศึกษาเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน

2. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครบถวน

สมบูรณ

3. ผูรับบริการหรือผูรับผลกระทบมีความพึงพอใจระดับสูง

ต้ังแตรอยละ 80 ขึ้นไป

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับจาก ชุมชม ทองถ่ิน

5. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับในระดับ จังหวัด/ภูมิภาคขึ้นไป

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 26: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

26

ตัวบงชี้ท่ี 16 การพัฒนาคุณภาพคร ู

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน ครูและบุคลากร

และสามารถสรางความรวมมือใหชุมชน องคกรภายนอก

สถานศึกษาเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน

2. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครบถวน

สมบูรณ

3. ผูรับบริการหรือผูรับผลกระทบมีความพึงพอใจระดับสูง

ต้ังแตรอยละ 80 ขึ้นไป

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับจาก ชุมชม ทองถ่ิน

5. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับในระดับ จังหวัด/ภูมิภาคขึ้นไป

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 27: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

27

ตัวบงชี้ท่ี 17 การพัฒนาสถานศึกษาใหเปนแหลงเรียนรู

กรณีเลือกกรณีที่ 1 หรือ 2

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน ครูและบุคลากร

และสามารถสรางความรวมมือใหชุมชน องคกรภายนอก

สถานศึกษาเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน

2. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครบถวน

สมบูรณ

3. ผูรับบริการหรอืผูรับผลกระทบมีความพึงพอใจระดับสูง

ต้ังแตรอยละ 80 ขึ้นไป

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับจาก ชุมชม ทองถ่ิน

5. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับในระดับ จังหวัด/ภูมิภาคขึ้นไป

รวมคะแนน 5 - 5 -

Page 28: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

28

กรณีเลือกกรณีที่ 3

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. การมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษาที่กอใหเกิด

วัฒนธรรมท่ีดี

2. อาคารสถานที่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ และตกแตงสวยงาม

อยางมีคุณคาทางสุนทรีย

3. ปรับแตงและรักษาภูมิทัศนใหสวยงามตามธรรมชาติ และ

เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

4. มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและสงเสริมตอการจัดกิจกรรม

และมีการจัดกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอ

5. มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรและผูเรียนทั้ง

องคกร และมีคาต้ังแต 3.51 ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม 5

รวมคะแนน

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ -

Page 29: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

29

ตัวบงชี้ท่ี 18 การสรางการมีสวนรวมและการขยายโอกาสทางการศึกษา

ประเด็นการพิจารณา การปฏิบัติ

ผลการดําเนินงานมี

คุณภาพ

มี ไมม ี ใช ไมใช

1. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียน ครูและบุคลากร

และสามารถสรางความรวมมือใหชุมชน องคกรภายนอก

สถานศึกษาเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน

2. มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครบถวน

สมบูรณ

3. ผูรับบริการหรือผูรับผลกระทบมีความพึงพอใจระดับสูง

ต้ังแตรอยละ 80 ขึ้นไป

4. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับจาก ชุมชม ทองถ่ิน

5. ผลการดําเนินงานบรรลุตามตัวบงช้ีที่กําหนด และไดรับการ

ยอมรับในระดับ จังหวัด/ภูมิภาคขึ้นไป

รวมคะแนน 5 - 5 -

รวมคะแนนทั้งสิ้น/2 เทากับ 5

Page 30: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

30

ตอนท่ี 3 สภาพท่ัวไปของสถานศึกษา

3.1 ขอมูลเก่ียวกับสถานศึกษา

3.1.1 ประวัติของสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ประกาศจัดต้ังเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2539 สังกัดกองการศึกษา

อาชีพ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ดวยงบประมาณ 36 ลานบาท

ป พ.ศ. 2541 เปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตรโครงการสงเสริมอาชีพ สําหรับ

ผูถูกเลิกจางงาน (9+1 , 12+1)

ป พ.ศ. 2542 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา

ชางยนตและสาขาพณิชยการ (กลุมบัญชี) ไดขยายหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหมีความหลากหลายย่ิงข้ึน

ป พ.ศ. 2543 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน / สะสมหนวยกิต) สาขาวิชา

ชางไฟฟากําลัง

ป พ.ศ. 2544 เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เทียบโอน/ สะสมหนวยกิต)สาขาวิชา

พณิชยกรรม (คอมพิวเตอรธุรกิจ)

ป พ.ศ. 2545 ปรับเปลี่ยนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในแบบเทียบโอนสะสมหนวยกิต

เปนหล ักส ูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ.2545และได ร ับการจ ัดตั ้ง เป นว ิทยาลัย เคร ือขายที ่ 4

ของวิทยาลัยชุมชนจังหวัดอุทัยธานี เปดสอนหลักสูตรอนุปริญญา โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีไฟฟากําลัง

ป พ.ศ. 2546 มีการปรับปรุงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2545 เพิ่มเติม (2546)และวิทยาลยัฯ

เขาสังกัดในกลุมสถานศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ป พ.ศ. 2548 เปดสอนหลักสูตรเสริมวิชาชีพระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาใหแกโรงเรียนใน

เขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี

ป พ.ศ. 2549 - ไดรับการประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการใหเปนสถานศึกษารางวัลพระราชทาน

ระดับอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา 2549

- เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ทวิภาคี) สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

- เปดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพแกผูตองขังเรือนจําจังหวัดอุทัยธานี

ในสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550

ป พ.ศ. 2550 - บันทึกความรวมมือ การดําเนินงานโครงการจัดต้ังเครือขายองคความรูชุมชนมุงสู

การเปน Knowledge Based OTOP ประจําป 2550 (KBO)

- บันทึกขอตกลงความรวมมือ การจัดการเรียนอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพ

กําลังคน ระหวางสภาอุตสาหกรรมจังหวัดอุทัยธานีกับวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

Page 31: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

31

- ไดรับการรับรองจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

( องคกรมหาชน ) ในปการศึกษา 2549 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550

- ตกลงทําความรวมมือ (MOU) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. ) ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอุทัยธานี

กับโรงเรียนลานสักวิทยา

ป พ.ศ. 2551 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กับโรงเรียนการุงวิทยาคมเพิ่มข้ึนอีก 1 แหง

ป พ.ศ. 2552 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตอเน่ืองกับโรงเรียนการุงวิทยาคมกับโรงเรียนลานสักวิทยาลัย

ป พ.ศ. 2553 - ตกลงทําความรวมมือ ( MOU ) ดานการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กับโรงเรียนหนองเตาวิทยาและโรงเรียนสวางอารมณวิทยา เพิ่มข้ึนอีก 2 แหง

3.1.2 ขนาดและท่ีต้ัง

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ต้ังอยูภายในบริเวณสวนราชการใหมของจังหวัดอุทัยธานี มีเน้ือที่ 20 ไร

ต้ังอยูเลขที่ 45 หมูที่ 3 ถนนอุทัย – หนองฉาง ตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัด-อุทัยธานีรหัสไปรษณีย 61000

โทรศัพท0–5697–0097 โทรสาร 0–5697–0096 Website:www.uthaipoly.ac.th, Email:[email protected]

3.1.3 สภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม

1. ขอมูลโดยสรุปของจังหวัดอุทัยธานี พ.ศ.2553

1. คําขวัญจังหวัด อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว สมโอบาน

นํ้าตก มรดกโลกหวยขาแขง แหลงตนนํ้าสะแกกรัง ตลาดนัดดัง โคกระบือ

2. ตนไมประจําจังหวัด ตนสะเดา

3. ดอกไมประจําจังหวัด ดอกสุพรรณิการ

4. พ้ืนท่ี 4,206,404 ไร (6,730.246 ตร.กม.) เปนพื้นที่ปาไม 1,992,471 ไร

(47.36%) พื้นที่การเกษตร 2,034,209 ไร (48.36%) ที่เหลือเปนพื้นที่

ไม ไดจําแนก 179,643 ไร (4.28%) (พื้นที่ เพาะเลี้ยงสัตว นํ้าจืด

6,125.83 ไร )

5. สถานท่ีต้ังอาณาเขตติดตอ ต้ังอยูภาคเหนือตอนลางหางจากกรุงเทพฯ 222 กิโลเมตร มีอาณาเขตทิศ

เหนือติดกับจังหวัดนครสวรรค ทิศตะวันออกติดตอกับจังหวัดนครสวรรค

และจังหวัดชัยนาท ทิศใตติดตอกับจังหวัดชัยนาทและสุพรรณบุรี ทิศ

ตะวันตกติดกับจังหวัดตากและจังหวัดกาญจนบุร ี

6. ประชากร รวมทั้งสิ้น 327,879 คน เปนชาย 161,289 คน เปนหญิง 166,590 คน

จํานวนครัวเรือน 106,640 ครัวเรือน

Page 32: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

32

7. หนวยการปกครอง 8 อําเภอ 70 ตําบล 642 หมูบาน 49 องคการบริหารสวนตําบล

14 เทศบาล

8. หนวยราชการ สวนภูมิภาค 32 หนวย สวนกลาง 25 หนวยงาน หนวยงานอิสระ

4 หนวยงาน

9. การเลือกต้ัง 2 เขตเลือกต้ัง มี ส.ส. 2 คน และมี สว. 1 คน

10. รายได ประชากรมีรายไดเฉลี่ยตอหัว 60,630 บาท ตอป

11. อาชีพหลัก เกษตรกรรม ประมง รับจาง

12. พืชเศรษฐกิจ ขาว ออย สับปะรด มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว

13. การพาณิชกรรม ยอดลงทุนธุรกิจที่เปนนิติบุคคล 61,800,000 บาท

14. อุตสาหกรรม จํานวนสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม 257 แหง คนงาน 3,330 คน

เปนชาย 2,068 คน เปนหญิง 1,272 คน เงินทุน 2,673,526,016 บาท

15. แรงงานและสถานประกอบการ สถานประกอบการ 778 แหง ลูกจางทั้งหมด 11,770 คน

16. การศึกษา มีสถานศึกษา 300 แหง (อาชีวศึกษา 5 แหง)

17. ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ รอยละ 99.62 รองลงมา คือ คริสต อิสลาม

18. โรงเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาจํานวน 21 แหง ,โรงเรียนประถมศึกษาจํานวน 256

แหง , วิทยาลัยประเภทอาชีวศึกษารัฐบาลจํานวน 4 แหง ,เอกชนจํานวน

1 แหง , โรงเรียนเทศบาลจํานวน 5 แหง , โรงเรียนกรมการศาสนา

จํานวน 3 แหง , ทบวงมหาวิทยาลัยจํานวน 4 แหง จํานวนนักเรียน

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจํานวน 2,805 คน จํานวนนักศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงจํานวน 1,632 คน , จํานวนครู อาจารย

ผูสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง

จํานวน 215 คน

2. สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดอุทัยธานี จากการทํายุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด

แบบบูรณาการสงผลตอแนวคิดในการปรับแผนการจัดการศึกษาใหสอดคลองตอสภาพเศรษฐกิจของ

กลุมจังหวัด ซึ่งจังหวัดอุทัยธานี ถูกจัดใหอยูในกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุมที่ 2 ประกอบดวย

จังหวัดนครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชรและพิจิตร วิสัยทัศนของกลุมจังหวัด เปนศูนยธุรกิจขาวช้ันนําของ

ประเทศไทย (Rice Hub of Thailand) มีพันธกิจ คือสงขาวและผลิตภัณฑแปรรูปจากขาวออกสูตลาด

ภายในประเทศและตลาดโลก วิสัยทัศนจังหวัดอุทัยธานี “ เกษตรปลอดภัย รายไดมั่นคง แหลงทองเที่ยวเชิง

นิเวศ มรดกโลกหวยขาแขงสูสากล ” โดยจังหวัดอุทัยธานีไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด แบบ

บูรณาการใหหัวหนาสวนราชการปรับแผนพัฒนารวมกับจังหวัด (ปจจุบันมีรายไดเฉลี่ย 60,630 บาท/คน/ป

เปนลําดับที่ 50 ของประเทศและเปนลําดับที่ 10 ของภาคเหนือ) และประชาชนมีคุณภาพชีวิต ผาน

เกณฑความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ที่กําหนด 37 ตัวช้ีวัด จึงเปนภารกิจที่มีอิทธิพลตอการจัดการอาชีวศึกษา

ที่ตองจัดใหสอดคลองตามยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดซึ่งเปนไปตามเปาประสงคของสํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา

Page 33: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

33

3. ดานสังคม วิทยาลัยเปนสถานศึกษาหน่ึงใน 300 แหงของจังหวัด จัดการศึกษาในแบบ

อาชีวศึกษา โดยมีสถานศึกษาภายในจังหวัด ไดแก โรงเรียนมัธยมศึกษา 21 แหง , ประถมศึกษา 256 แหง,

อาชีวศึกษาของรัฐบาล 4 แหง , อาชีวศึกษาเอกชน 1 แหง ,โรงเรียนเอกชน 10 แหง , โรงเรียนเทศบาล

5 แหง , กรมการศาสนา (ศน.) 3 แหง , ทบวงมหาวิทยาลัย 4 แหง , มีจํานวนนักเรียน นักศึกษา

ประเภทอาชีวศึกษา 4,437 คน แยกเปนระดับ ปวช. 2,805 คน ปวส. 1,632 คน มีครู อาจารยในระดับ

ปวช. และ ปวส. รวม 215 คนวิทยาลัยมีสวนรวมในโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ , โครงการรวมดวยชวย

ประชาชน , โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน , รวมทั้งใหบริการตาง ๆ ตามที่จังหวัดหรือหนวยงานตาง ๆ ขอ

ความรวมมือ ในภาพรวมประชาชนทั่วไปมีความต่ืนตัวตอการศึกษาของบุตรหลาน และขวนขวายที่จะศึกษา

หลักสูตรวิชาชีพตาง ๆ เพิ่มเติม เพื่อเปนอาชีพสํารองและอาชีพหลักใหแกตนเอง

3.1.4 งบประมาณ จํานวนท้ังสิ้น 15,682,349.95 บาท รายละเอียดในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 งบดําเนินการ งบประมาณประจําปการศึกษา 2553

รายการ จํานวนเงิน (บาท)

1. งบบุคลากร

(เงินเดือน, เงินประจําตําแหนง, เงินวิทยฐานะ, คาจางลูกจางประจํา)

4,671,472.07

2. งบดําเนินงาน

2.1 งบดําเนินงาน (ของแผนงานโครงการในแผนปฏิบัติการประจําป) 781,400

2.2 คาสาธารณูปโภค 340,188.66

3. คาเสื่อมราคา 4,910,574.22

4. งบเรียนฟรี 15 ป: คาจัดการเรียนการสอน (งบอุดหนุนข้ันพื้นฐาน)

4.1 คาจัดการเรียนการสอน 3,409,450

4.2 คา หนังสือเรียน+เครื่องแบบ+อุปกรณ+กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 544,265

5. งบรายจายอื่น ๆ (เงนิอุดหนุนโครงการพิเศษตาง ๆ)

5.1 โครงการ Fix it Center 885,000

5.2 โครงการทําดีมีอาชีพ 27,00

5.3 สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม 60,00

5.4 โครงการคุณธรรมนําความรูสูเศรษฐกิจพอเพียง 100,000

5.5 โครงการหารายไดระหวางเรียน 40,000

รวมงบดําเนินการท้ังสิ้น 15,682,349.95

Page 34: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

34

3.2 สภาพปจจุบันของสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545

ปรับปรุง พ.ศ. 2546 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พ.ศ. 2546 รายละเอียดสภาพปจจุบันของ

สถานศึกษามีดังน้ี

3.2.1 จํานวนผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ประจําปการศึกษา 2553 ดังแสดงใน

ตารางที่ 2 ถึงตารางที่ 5

ตารางท่ี 2 จํานวนผูเรียนจําแนกตามระดับชั้น หลักสูตร เพศ

ระดับชั้น

หลักสูตร รวม

ปกติ + ทวิภาคี เทียบโอนฯ

ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ท้ังหมด

ปวช. 1 78 25 - - 78 25 103

ปวช. 2 41 15 - - 41 15 56

ปวช. 3 68 20 - - 68 20 88

รวมระดับ ปวช. 187 60 - - 187 60 247

ปวส. 1 - - - 10 - 10 10

ปวส. 2 - - 3 8 3 8 11

รวมระดับ ปวส. - - 3 18 3 18 21

รวมท้ังหมด 187 60 3 18 190 78 268

ตารางท่ี 3 จํานวนผูเรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นและ/หรือแกนมัธยม จําแนกตามหลักสูตร ประเภทวิชา

สาขาวิชา เพศ (รายงานเฉพาะสถานศึกษาท่ีเปดสอน)

รุนท่ี/ป หลักสูตร ประเภทวิชา/

สาขาวิชา จํานวนรายวิชา

จํานวนผูเรียน

ชาย หญิง รวม

2553 ระยะสั้น ชางยนต 5 272 141 413

ชางไฟฟากําลัง 5 78 - 78

คอมพิวเตอรธุรกิจ 28 1,376 1,401 2,777

การบัญชี 22 403 722 1,125

คหกรรม 46 908 1,309 2,217

เสริมสวย 4 415 469 884

รวม 115 3,452 4,042 7,494

Page 35: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

35

ตารางท่ี 4 จํานวนผูบริหารและครูจําแนกตามสถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา ตําแหนง

ผูบริหาร/แผนกวิชา

จํานวน

(คน)

สถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา ตําแหนง

ผูบริหาร/คร ู

ขารา

ชการ

พนักง

านฯ

อัตรา

จาง

ชาย

หญิง

ป. เอ

ป. โท

ป. ต

รี

ต่ํากว

ครูผูช

วย

ชํานา

ญกา

ชํานา

ญกา

รพิเศ

เชี่ยว

ชาญ

ผูบริหารและรองฯ 3 3 - - 3 - - 2 1 - - 1 2 -

แผนกวิชาชางยนต 3 - 3 - 3 - - - 3 - - - - -

แผนกวิชาไฟฟากําลัง 2 1 1 - 2 - - - 2 - - 1 - -

แผนกวิชาการบัญช ี 5 2 3 - - 5 - 1 4 - - 1 -

แผนกวิชาคอมพิวเตอร

ธุรกิจ 4 - 4 - 2 2 - - 4 - - - - -

แผนกวิชาเทคนิคพ้ืนฐาน 1 - - 1 1 - - - 1 - - - - -

แผนกวิชาสามัญสัมพันธ 3 - 1 2 2 1 - - 3 - - - - -

รวมท้ังหมด 21 5 12 3 13 8 - 3 18 - - 3 2 -

ตารางที่ 5 จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนจําแนกตามงาน สถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา

งานตามโครงสรางบริหารสถานศึกษา

จํานวน

(คน)

สถานภาพ เพศ วุฒิการศึกษา

ขารา

ชการ

ก.พ

.

ลูกจา

งประ

จํา

ลูกจา

งชั่วค

ราว

ชาย

หญิง

ม.ตน

หรือ

ต่ําก

วา

ม.ปล

าย/ป

วช.

ปวส.

/อนุป

ริญญ

ปริญ

ยาตรี

สูงกว

า ป.

ตรี

งานกิจกรรมเรียน นักศึกษา 1 1 1 1

งานวิทยบริการและหองสมุด 1 1 1 1

งานทะเบียน 1 1 1 1

งานบริหารงานทั่วไป 2 2 2 2

งานแผนงบประมาณและขอมูลสารสนเทศ 1 1 1 1

งานพัสดุ 2 2 2 2

งานบัญชี 1 1 1 1

งานการเงิน 1 1 1 1

พนักงานขับรถยนต 1 1 1 1

Page 36: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

36

3.3 เกียรติประวัติของสถานศึกษา

1. การแขงขันทักษะติดต้ังเครื่องปรับอากาศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค

2. การแขงขันทักษะติดต้ังเครื่องปรับอากาศ รางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ

3.4 เปาหมายความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

เปาหมายความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาประจํา

ปการศึกษา 2553 ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาใหความเห็นชอบมดัีงน้ี

ดาน เปาหมายความสําเร็จ

3.4.1 การบริหารจัดการสถานศึกษา

การพัฒนาระบบบริหาร ระบบโครงสรางให

เหมาะสมและมีหลักธรรมมาภิบาล

3.4.2 การพัฒนาผูเรียน

นักศึกษาของวิทยาลัยเปนผูมีความรู มีทักษะ มี

บุคลิกภาพที่ดี ผูมีคุณธรรม จริยธรรมและจิต

สาธารณะตอสวนรวม ไมนอยกวารอยละ 80

3.4.3 การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน

การสอน

พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเปนไปตาม

สมรรถนะอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของ

ตลาดแรงงาน สถานประกอบการและชุมชน

3.4.4 การวิจัยและพฒันาผลงานโครงงานทาง

วิชาชีพ สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานวิจัย

พัฒนาประสิทธิภาพดานการวิจัยและพฒันาผลงาน

สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมในกลุมนักศึกษาและครู

อาจารยหรือโดยความรวมมือทั้งสองฝายไมนอยกวา

รอยละ 75

3.4.5 การบริการทางวิชาการวิชาชีพแกชุมชน

และสังคม

ผลสัมฤทธ์ิในทางการบริการทางวิชาการ วิชาชีพแก

ชุมชนและสังคมของสถานศึกษาไมนอยกวา

รอยละ 75

3.4.6 การจัดหาทรัพยากรและแหลงการเรียนรู

จัดหาสิ่งอํานวยอํานวยความสะดวกในการจัดการ

เรียนการสอนใหครบถวนเพียงพอและพัฒนา

ทรัพยากรที่มีอยูแลวใหไดใชประโยชนสงูสุด

3.4.7 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความรูและมีทักษะ

เช่ียวชาญในการทํางาน ตามสาขาวิชาที่เปดสอน

และสนุบสนุนสายการเรียนการสอน

3.4.8 การสรางเครือขายความรวมมือในการจัด

การศึกษา

วิทยาลัย ชุมชนและสถานประกอบการมีสวนรวมใน

การจัดทําและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียน

การสอนของวิทยาลัย

Page 37: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

37

3.5 เปาหมายความสําเร็จและการบริหารความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยง

เปาหมายความสําเร็จในการบริหารความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจําปการศึกษา 2553

ซึ่งประชาคมของสถานศึกษาใหความเห็นชอบมดัีงน้ี

ดาน เปาหมายความสําเร็จ

3.5.1 ความเสี่ยงดานความปลอดภัย ของผูเรียน

ครู และบุคลากรภายในสถานศึกษา

ครู เจาหนาที่ บุคลากร นักเรียนรอยละ 95 มีสวน

รวมในการรณรงคดานความปลอดภัยภายใน

สถานศึกษา

3.5.2 ความเสี่ยงดานการทะเลาะวิวาท รอยละ 85 ของผูเรียน ครูและบุคลากรภายใน

สถานศึกษามีสวนรวมในการเสนอจุดเสีย่งภายใน

สถานศึกษา

3.5.3 ความเสี่ยงดานสิ่งเสพติด นักเรียนรอยละ 80 ไดรับการอบรมความรูดานการ

ปองกันภัยจากสิ่งเสพติด

3.5.4 ความเสี่ยงดานสังคม เชน การต้ังครรภ

กอนวัยอันควร

นักเรียนไดรับการอบรมความรูดานการปฏิบัติความ

เสี่ยง ดานการต้ังครรภกอนวัยอันควร รอยละ 80

3.5.5 ความเสี่ยงดานการพนันและการมั่วสุม วิทยาลัยมีคณะกรรมการปองกันและแกปญหายา

เสพติดภายในสถานศึกษา โดยประกอบไปดวย

ผูแทนในแตระดับ

Page 38: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

38

ตอนท่ี 4 การดําเนินงานของสถานศึกษา

4.1 ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมายของสถานศึกษา

ปรัชญา ความรู คูคุณธรรม นําสูอาชีพ

วิสัยทัศน วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เปนองคกรการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนใหมีความรู

ความสามารถมีทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรม นําไปสูการพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพได

พันธกิจ วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี มุงจัดการศึกษาดานวิชาชีพและฝกอบรมอาชีพระยะ

สั้น เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคน อยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม

เทคโนโลยีสามารถตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงาน และการประกอบอาชีพอิสระในดาน

ตาง ๆ ดังน้ี

1. จัดการ ศึกษาดานอาชีวศึกษาประเภทชางอุตสาหกรรมและพณิชยกรรม ต้ังแต

ระดับ ปวช. ข้ึนไปใหไดทรัพยากรบุคคลที่มีความรูและทักษะในวิชาชีพ ตลอดทั้งใหมีคุณธรรม จริยธรรม

ทัศนคติ ตลอดจนจรรยาบรรณที่ดีงามในวิชาชีพ ทั้งน้ีเพื่อที่จะดํารงตนใหอยูในสังคมอยางมีคุณภาพและมี

ความสุขตอไป

2. จัดการศึกษาประเภทหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ใหแกประชาชนทั่วไปตามความถนัด ตาม

ความสนใจ เพื่ อพัฒนาไปสูการเปนผูประกอบการและเปนพลเมืองดีของสั งคมเปนแหล งเรียนรู

เพื่อเสริมวิชาชีพแกนักเรียนโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษาเพื่อใหเกิดจินตภาพและจินตนาการตอเสนทางสาย

อาชีพในอนาคตอันใกล

3. ใหบริการทางวิชาการ และงานบริการอื่นๆที่สอดคลองกับภารกิจแกภาครัฐและภาคเอกชน

องคกรสวนทองถ่ินตางๆ

4. ดําเนินกิจกรรมในการอนุรักษ สงเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ใหคงเปนเอกลักษณของ

ชาติสืบไป

5. ดําเนินกิจกรรมเพื่อปองกันและแกปญหาผลกระทบที่มีตอรางกายและจิตใจของบุคคลรวม

อนุรักษสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม

6. สงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาภารกิจดานการเรียนการสอน ดานการสงเสริมเศรษฐกิจ ดานสังคม

และดานอื่นๆ

Page 39: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

39

4.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

เพื่อใหการดําเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาบรรลุเปาหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัด

การศึกษา จึงกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาดังน้ี

ดาน เปาหมายความสําเร็จ ยุทธศาสตรการพัฒนา

4.2.1 การบริหารจัดการ

สถานศึกษา

การพัฒนาระบบบริหาร ระบบ

โครงสรางใหเหมาะสมและมี

หลักธรรมมาภิบาล

1.ปรับปรุงโครงสรางการบริหารงาน

ใหครอบคลุมภาระงานและมีการ

กระจายอํานาจใหมากข้ึน

2. จัดบุคลากรใหเหมาะสมกับงาน

และมีความพอเพียง

3. อบรมพัฒนาองคกรใหเกิดความ

รวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการ

ปฏิบัติงาน

4. ใชคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี

ชวยในการบริหารงานอยางมี

ประสิทธิภาพ

5. สงเสริมและจัดสวัสดิการเพื่อ

ยกระดับคุณภาพชีวิต

4.2.2 การพัฒนาผูเรียน

นักศึกษาของวิทยาลัยเปนผูมีความรู

มีทักษะ มีบุคลิกภาพที่ดี ผูมี

คุณธรรม จริยธรรมและจิตสาธารณะ

ตอสวนรวม ไมนอยกวารอยละ 80

1. จัดกระบวนการพัฒนาจิตพิสัย

และพฤติกรรมทีพ่ึงประสงค ลงใน

แผนการสอน

2. พัฒนาองคการวิชาชีพและ

กิจกรรมชมรมของ สถานศึกษา

ดานคุณธรรม จริยธรรม

4.2.3 การพัฒนาหลักสูตรและ

การจัดการเรียนการสอน

พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการ

สอนเปนไปตามสมรรถนะอาชีพให

สอดคลองกับความตองการของ

ตลาดแรงงาน สถานประกอบการ

และชุมชน

1. ปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลอง

กับความตองการของผูเรียนและตรง

ตามสมรรถนะอาชีพของแตละ

สาขาวิชา

2. ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน

ปฏิรูปวิธีสอบใหเกิดความเหมาะสม

ตามสภาพจริง

3. เปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะ

สั้นใหมีความหลากหลายมากข้ึน

Page 40: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

40

ดาน เปาหมายความสําเร็จ ยุทธศาสตรการพัฒนา

4.2.4 การวิจัยและพัฒนาผลงาน

โครงงานทางวิชาชีพ สิ่งประดิษฐ

นวัตกรรมและงานวิจยั

พัฒนาประสิทธิภาพดานการวิจัย

และพัมนาผลงานสิ่งประดิษฐ

นวัตกรรมในกลุมนักศึกษาและครู

อาจารยหรือโดยความรวมมือทั้งสอง

ฝายไมนอยกวารอยละ 75

1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา

องคความรูแกครูบุคลากรดานการ

จัดทํางานวิจัย

2. พัฒนาระบบติดตามผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนของนักศึกษา

3. จัดทําแผนพัฒนาสงเสริมงานวิจัย

นวัตกรรมเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชา

4. จัดทําแผนพัฒนาศูนยขอมูลและ

สารสนเทศเพื่อการสืบคนใหสะดวก

และพอเพียง

4.2.5 การบริการทางวิชาการ

วิชาชีพแกชุมชนและสังคม

ผลสัมฤทธ์ิในทางการบริการทาง

วิชาการ วิชาชีพแกชุมชนและสังคม

ของสถานศึกษาไมนอยกวา

รอยละ 75

1. จัดทําแผนการบริหารงานแบบมี

สวนรวมระหวางองคกรสวนทองถ่ิน

กับสถานศึกษา

2. บูรณาการโครงการและกิจกรรม

ที่เกี่ยวของกับชุมชนและทองถ่ินเขา

สูกระบวนการเรียนการสอน

4.2.6 การจัดหาทรัพยากรและ

แหลงการเรียนรู

จัดหาสิ่งอํานวยอํานวยความสะดวก

ในการจัดการเรียนการสอนให

ครบถวนเพียงพอและพัฒนา

ทรัพยากรที่มีอยูแลวใหไดใช

ประโยชนสูงสุด

1. จัดทําแผนจัดซื้อสื่อวัสดุอุปกรณ

การเรียนการสอนอยางพอเพียง

2. จัดหางบประมาณและแหลง

สนับสนุนจากองคการภายนอก

ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

3. จัดสราง จัดหาปรับปรุง ตกแตง

บํารุงรักษา หองเรียน แหลงเรียนรู

ใหอยูในสภาพดีพรอมใชงานสะอาด

เปนระเบียบ สวยงามและปลอดภัย

4. จัดหาวัสดุอุปกรณชวยสอน

ประจําหองเรียนจัดทําระเบียบ

ขอตกลงการใชประโยชนรวมกัน

Page 41: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

41

ดาน เปาหมายความสําเร็จ ยุทธศาสตรการพัฒนา

4.2.7 การพัฒนาครูและบุคลากร

ทางการศึกษา

พัฒนาครูและบุคลากรใหมีความรู

และมีทักษะเช่ียวชาญในการทํางาน

ตามสาขาวิชาที่เปดสอนและ

สนับสนุนสายการเรียนการสอน

1. อบรมความรู/ประสบการณ

ในแหลงเรียนรูทั้งในและนอก

สถานศึกษา

2. จัดทําหลักสูตรและจัดทํา

แผนการสอนตามสมรรถนะอาชีพ

3. ศึกษาดูงาน ตามสาขาวิชาชีพ

4.2.8 การสรางเครือขายความ

รวมมือในการจัดการศึกษา

วิทยาลัย ชุมชนและสถาน

ประกอบการมีสวนรวมในการจดัทํา

และพัฒนาหลักสูตร กระบวนการ

เรียนการสอนของวิทยาลัย

1. ผูบริหารและครูสราง

ความสัมพันธที่ดีกับชุมชนในการจัด

และพัฒนาการศึกษา

2. จัดทําเครือขาย ความรวมมือ

ระหวางสถานประกอบการและ

สถานศึกษาแกนนํา

3. จัดนําหลักสูตรทองถ่ินจัดการ

อบรม พัฒนากลุม

4. จัดทําโครงการเพื่อออกใหบริการ

แกชุมชน ทองถ่ิน

4.3 มาตรการปองกันและควบคุมความเสี่ยง

เพื่อใหการบริหารความเสี่ยงของสถานศึกษาบรรลุเปาหมายตามแผนบริหารความเสี่ยงจึงกําหนด

มาตรการปองกันและควบคุมความเสี่ยงดังน้ี

4.3.1 ความเสี่ยงดานความปลอดภัยของผูเรียน ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา

เปาหมายความสําเร็จ รอยละ 85 ของผูเรียน ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษามีสวน

รวมในการเสนอจุดเสี่ยงภายในสถานศึกษาที่ตนเองมีสวนเกี่ยวของหรือมองเห็น

มาตรการปองกันและควบคุม วิทยาลัยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับสถานศึกษา

ระดับสาขาวิชาและระดับองคการนักศึกษา ทํางานเปนรอบ รอบละงบประมาณ 4 เดือน โดยมีแบบฟอรมใน

การเสนอ หัวขอความเสี่ยงในดานตาง ๆ อันเปนสภาพแวดลอมของสถานศึกษาแหงน้ี ซึ่งไดรวมความเสี่ยง

4.3.2) ดานการทะเลาะวิวาท 4.3.3) ดานยาเสพติด 4.3.4.) ดานสังคม เชนการต้ังครรภกอนวัยอันควร และ

4.3.5) ดานการพนันและการมั่วสุม ไดดวยแลว พรอมใหทุกสวนงานไดนําเสนอขอเสนอแนะในการปองกันมา

ดวย เพื่อใหคณะกรรมการในแตละระดับได ประชุมใหขอเสนอแนะทั้งระยะสั้นและระยะยาว งานที่มีอันตราย

ใหกําหนดเปนจุดตรวจ (Chcek point) และแบบรายงานเพิ่มข้ึนเฉพาะจุด มีการประเมินเพื่อพัมนาและ

สรุปผลสภาพปญหาอันกอใหเกิดความเสี่ยงในการทํางาน การดําเนินชีวิต

Page 42: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

42

ในสวนของนักเรียน นักศึกษา ซึ่งเปนกลุมที่มีจํานวนมากและไมไดอยูในการดูแลของ

สถานศึกษาตลอดเวลาน้ัน ไดกําหนดใหมีมาตรการ การสอดสองดูแลชวยเหลือ โดยการต้ังสารวัตนักเรียนแกน

นําในแตละดาน ดานละ 5 คน ไดมาจากการคัดเลือก ซึ่งแกนนําเหลาน้ีจะไดรับการอบรมเฉพาะดานให

สามารถเปนที่ปรึกษาเบื้องตน ชวยเหลือเบื้องตนและเปนแบบอยาง เปนผูรวมในการรณรงคเพื่อปองกันความ

เสี่ยง เปนผูรายงานเมื่อมีสิ่งบอกเหตุอันอาจจะลุกลามเปนความเสี่ยงและความไมปลอดภัย

4.3.2 ความเสี่ยงดานการทะเลาะวิวาท

เปาหมายความสําเร็จ นักเรียน นักศึกษารอยละ 90 มีจิตสํานึกตอปญหาที่เกิดจากการ

ทะเลาะวิวาท

มาตรการปองกันและควบคุม วิทยาลัยมีสารวัตรนักเรียน แกนนําดานการปองกันการเกิด

การทะเลาะวิวาทและเปดโอกาสใหนักเรียน นักศึกษามีโอกาสรวมแสดงความคิดเห็นและรายงานสภาพปญหา

อันจะนําพาไปสูการทะเลาะวิวาท แกกลุมแกนนํา นําเสนอตอคณะกรรมการปกครองของวิทยาลัยและเสนอ

ตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อนําสภาพปญหาที่จะเกิดข้ึนพรอมแนวทางแกไขยอนกลับไปสูกลุม

นักเรียน นักศึกษาในการปองกันการทะเลาะวิวาทตอไป

4.3.3 ความเสี่ยงดานสิ่งเสพติด

เปาหมายความสําเร็จ นักเรียน นักศึกษารอยละ 85 มีจิตสํานึกตอการไมเกี่ยวของและ

หางไกลยาเสพติด

มาตรการการปองกันและควบคุม วิทยาลัยมีสารวัตรนักเรียนแกนนําดานการปองกันแล

ควบคุมปญหายาเสพติดในรั้วสถานศึกษา เปนคณะกรรมการ 5 รั้วของอําเภอและจังหวัด เพื่อรวบรวมสภาพ

ปญหายาเสพติดที่มีอิทธิพลตอนักเรียน นักศึกษา ใหนักเรียน นักศึกษาไดเปนผูใหขอมูลดานปญหายาเสพติด

และความเสี่ยงที่เกิดแกตนเองในสภาพแวดลอมทั้งที่บาน ระหวางการเดินทางและที่สถานศึกษาอันจะเปน

ขอมูล ในการใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดนําไปสรุปแนวทางในการรณรงคปองกันปญหายาเสพติดตอ

ไป

4.3.4 ความเสี่ยงดานสังคม เชน การต้ังครรภกอนวัยอันควร

เปาหมายความสําเร็จ นักเรียน นักศึกษารอยละ 90 มีจิตสํานึกตอสภาพปญหาการ

ต้ังครรภกอนวัยอันควรตลอดจนสภาวะความเสี่ยงของสภาพสังคมในปจจุบัน

มาตรการปองกันและควบคุม วิทยาลัยมีสารวัตรนักเรียนแกนนํา ดานการปองกันความ

เสี่ยงดานสังคม โดยนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการเสนอแนะปญหาความเสี่ยงดานสังคมที่ไดพบเห็น ในชวง

ระหวางวัยที่ผานมาตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในแตระดับ ซึ่งจะไปกําหนดเปนมาตรการรายยอยเปน

แนวทางในการดําเนินชีวิตที่ปลอดภัยจากความเสี่ยงดานปญหาสังคมตอไป

Page 43: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

43

4.3.5 ความเสี่ยงด านการพนันและการมั่วสุม

เปาหมายความสําเร็จ รอยละ 80 ของนักเรียน นักศึกษามีจิตสํานึกที่ดีตอการมั่วสุมและ

เลนการพนัน

มาตรการปองกันและควบคุม วิทยาลัยมีคณะกรรมการปองกันและแกปญหายาเสพติด

ภายในสถานศึกษา โดยประกอบไปดวยผูแทนในแตละระดับ จัดใหมีสารวัตรนักเรียนแกนนําเปนผูรวมรณรงค

และรายงาน รวมทั้งใหผูเรียนทุกคนมีสวนรวมในการนําเสนอสภาพปญหาที่ไดพบเห็นจริง จากความเสี่ยงที่จะ

เกิดการมั่วสุม การเลนการพนัน เกมส และอื่น ๆ ที่ทําใหเสียเงินเสียทองและทรัพยสมบัติสวนตัวและ

ครอบครัว โดยนําเสนอสภาพปญหาตอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในแตละระดับ เพื่อสรุปนํากลับมาเปน

ภูมิตานทานตอไป

Page 44: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

44 4.4 ระบบโครงสรางบริหาร

แผนภูมิบริหารสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธาน ี

คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

งานส่ือการเรียนการสอน งานโครงการพิเศษและการบริการชุมชน

ฝายบริหารทรัพยากร

งานประชาสัมพันธ

งานสงเสริมผลิตผล การคา และประกอบธุรกิจ งานทะเบียน

งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาค ีงานสวัสดิการนักเรียนนักศึกษา งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา งานอาคารและสถานที ่

งานวิทยบริการและหองสมุด งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ งานการบัญชี

งานวัดผลและประเมินผล งานปกครอง งานความรวมมือ งานการเงิน

งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน งานครูที่ปรึกษา งานศูนยขอมูลสารสนเทศ งานบุคลากร

แผนกวิชา งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา งานวางแผนและงบประมาณ งานบริหารงานทั่วไป

ฝายวิชาการ ฝายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา ฝายแผนงานและความรวมมือ

คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผูอํานวยการวิทยาลัย

Page 45: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

45

4.5 การพัฒนาการจัดการศึกษาจากผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา

ขอเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ

4.5.1 การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง

1. สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ใน

สาขาวิชาคอมพิวเตอรใหทันสมัยสอดคลองกับความ

ตองการของตลาดแรงงานดานคอมพิวเตอร

- โครงการตนกลาอาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

2. สถานศึกษาควรพัฒนาระบบการติดตาม

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา

- โครงการแนะแนวการศึกษาตอและจัดหางาน

3. สถานศึกษาควรพัฒนาสรางระบบคลังขอสอบ

มาตรฐานวิชาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

- พัฒนาเว็บไซตของสถานศึกษา

4. สถานศึกษาควรวิเคราะห วิจัยเพื่อพัฒนา

กระบวนการเทียบโอนความรูและประสบการณ

- พัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานดานวิชาชีพ

4.5.2 การประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด

1. รอยละของผูเรียนออกกลางคัน - ปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุมผูปกครอง

2. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ

โครงงานในระดับ ปวส.

- โครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม

3. ควรจัดระบบฐานขอมูลและมีการประเมิน

ประสิทธิภาพของระบบขอมูล

- พัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช

มัลติมีเดีย

4. การรายงานผลโครงการ กิจกรรม การบริการ

วิชาชีพสูสังคมยังไมครบถวน

- การติดตามรายงานผลประจําป

5. การประเมินรอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามช้ันปใหตรง

ตามเกณฑมาตรฐานของสอศ.

- โครงการเย่ียมบานและติดตามดูแลนักศึกษา

6. การประเมินรอยละของผูสามารถประยุกต

หลักการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร จากเกรด 1

เปน 3,4

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

7. การประเมินคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน - โครงการอบรมคุณธรรมทางชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย

8. การจัดงบประมาณจัดซื้อวัสดุ - จัดทํารายงานประจําป

9. การจัดทําสรุปผล รายงานผลการระดมทรัพยากร

ทั้งภายในและภายนอก

- จัดทํารายงานประจําป

Page 46: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

46

ตอนท่ี 5 การดําเนินงานตามมาตรฐานและตัวบงชี ้

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเรียนและผูสําเร็จการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ขอกําหนดท่ี 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในเรื่องตอไปน้ี

ขอกําหนดท่ี 1.1 สรางวินัยในการทํางาน มีคานิยมท่ีดีงาม

ตัวบงชี้ท่ี 1 รอยละของผูเขารับการอบรมท่ีปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงานในการใช

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมือ เครื่องแตงกาย ตามระเบียบ

แนวทางท่ีกําหนด

วิธีการดําเนินงาน

ในปการศึกษา 2553 ภาคเรียนที่ 1,2 วิทยาลัยจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรระยะสั้น ในชวงเวลา

ปกติ (ภาคกลางวัน) และชวงนอกเวลา (ภาคคํ่า) กําหนดใหแตละแผนกวิชา จัดทําปายแสดงกฎ ระเบียบ แนว

ทางการใชหองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณตาง ๆ ใหเหมาะสมกับแตละรายวิชา แตละ

หลักสูตร เชน ระเบียบการใชหองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร ระเบียบการใชหองปฏิบัติการโรงฝกงาน การใช

เครื่องมืออุปกรณทางชาง ระเบียบการแตงกาย การรักษาความสะอาด และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

ใหนักศึกษาปฏิบัติตามอยางชัดเจน และแจงผูเรียนไดปฏิบัติตามอยางเครงครัดโดยครูผูสอนคอยกํากับดูแล

อบรมแนะนําใหผูเรียนปฏิบัติอยางถูกตองและจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนดไว

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีมีผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น แตละหลักสูตร แตละรายวิชา

ในปการศึกษา 2553 ภาคเรียนที่ 1,2 จํานวนนักศึกษา 11,774 คน จากแบบประเมินผลการปฏิบัติตาม

แนวทางการปฏิบัติงาน กฎระเบียบการปฏิบัติงาน มีจํานวนนักศึกษาที่ปฏิบัติตามแนวทางการใชหองปฏิบัติการ

โรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณ การแตงกาย การรักษาความปลอดภัย ทั้งสองภาคเรียน มีจํานวนนักศึกษา

11,774 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวาการฝกอบรมแตละหลักสูตร แตละรายวิชา มีนักศึกษาปฏิบัติตามแนว

ทางการใชหองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณ การแตงกาย ตามระเบียบแนวทางที่กําหนด ของ

จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 11,774 คน คิดเปนรอยละ 100 ของจํานวนนักศึกษาหลักสูตรระยะสั้น

ปการศึกษา2553 ทั้งหมด (100%) ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 47: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

47

ขอกําหนดท่ี 1.2 ผลการเรียนรูของผูเขารับการอบรม

ตัวบงชี้ท่ี 2 รอยละของผูเขารับการอบรมท่ีผานเกณฑการจบหลักสูตร หรือมีผลคะแนน

ทดสอบหลงัการอมรมสูงกวากอนการอบรม

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เปดทําการสอนหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2553 ในชวงเวลาปกติ

(ภาคกลางวัน) และชวงนอกเวลา (ภาคคํ่า) ประกอบดวย 4 รายวิชาหลัก ดังน้ี

1. ระยะสั้นหลากหลาย

1.1 ระยะสั้นท่ัวไป

1. เสริมสวย 7 วิชา (7 รุน) จํานวนผูเรียน 107 คน

2. ชางยนต (1 วิชา) 7 รุน จํานวนผูเรียน 94 คน

3. คอมพิวเตอร 9 วิชา (9 รุน) จํานวนผูเรียน 158 คน

4. บัญชี (พิมพดีดไทย) 3 รุน จํานวนผูเรียน 28 คน

5. คหกรรม (ขนมไทย 10 ช่ัวโมง) 1 รุน จํานวนผูเรียน 24 คน

รวมระยะสั้นท่ัวไป จํานวนผูเรียน 411 คน

1.2 ระยะสั้นผูดอยโอกาส

1. คอมพิวเตอร จํานวนผูเรียน 100 คน

2. เสริมสวย จํานวนผูเรียน - คน

3. ชางยนต จํานวนผูเรียน - คน

4. คหกรรม จํานวนผูเรียน 190 คน

5. ไฟฟา จํานวนผูเรียน - คน

6. บัญชี จํานวนผูเรียน 15 คน

รวมระยะสั้นผูดอยโอกาส จํานวนผูเรียน 305 คน

1.3 ระยะสั้น หลักสูตรคูขนาน (MOU)

1. รร. ลานสัก (คอมฯ 1) 12 วิชา จํานวนผูเรียน 211 คน

2. รร. ลานสัก (คอมฯ 2) 12 วิชา จํานวนผูเรียน 237 คน

3. รร. ลานสัก (คอมฯ 3) 12 วิชา จํานวนผูเรียน 239 คน

4. รร. การุง (คอมฯ 1) 13 วิชา จํานวนผูเรียน 269 คน

5. รร. การุง (คอมฯ 2) 15 วิชา จํานวนผูเรียน 247 คน

6. รร. การุง (คอมฯ 3) 7 วิชา จํานวนผูเรียน 104 คน

7. รร. กาญจนาฯ (ชางไฟฟา 1) 10 วิชา จํานวนผูเรียน 65 คน

8. รร.หนองเตา (ชางยนต 1) 9 วิชา จํานวนผูเรียน 98 คน

9. รร.สวางฯ (คอมฯ 1) 12 วิชา จํานวนผูเรียน 195 คน

รวมระยะสั้น หลักสูตรคูขนาน (MOU) จํานวนผูเรียน 1,665 คน

Page 48: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

48

2. ระยะสั้นรวมกับหนวยงานอ่ืน

2.1 คอมพิวเตอร จํานวนผูเรียน 104 คน

2.2 เสริมสวย จํานวนผูเรียน 760 คน

2.3 ชางยนต จํานวนผูเรียน 276 คน

2.4 คหกรรม จํานวนผูเรียน 103 คน

2.5 ไฟฟา จํานวนผูเรียน 28 คน

2.6 บัญชี จํานวนผูเรียน - คน

รวมระยะสั้นรวมกับหนวยงานอ่ืน จํานวนผูเรียน 1,271 คน

3. ระยะสั้นนอกระบบ

3.1 108 อาชีพ

1. คหกรรม จํานวนผูเรียน 1,690 คน

2. คอมพิวเตอร จํานวนผูเรียน - คน

3. เสริมสวย จํานวนผูเรียน - คน

4. ชางยนต จํานวนผูเรียน - คน

5. ชางไฟ จํานวนผูเรียน - คน

6. บัญชี จํานวนผูเรียน - คน

รวมระยะสั้น 108 อาชีพ จํานวนผูเรียน 1,738 คน

3.2 Fixit Center

1. ชางยนต จํานวนผูเรียน 824 คน

2. ไฟฟา จํานวนผูเรียน 1,466 คน

3. นวัตกรรม จํานวนผูเรียน 626 คน

4. พัฒนาสุขอนามัย จํานวนผูเรียน 106 คน

5. เสริมสวย จํานวนผูเรียน 499 คน

6. คอมพิวเตอร จํานวนผูเรียน 18 คน

รวมระยะสั้น Fixit Center จํานวนผูเรียน 3,539 คน

4. ระยะสั้นเสริมวิชาชีพประถม – มัธยม

4.1 รร.อนุบาลวัดหนองเตา (7 วิชา) จํานวนผูเรียน 371 คน

4.2 รร.บอแร (6 วิชา) จํานวนผูเรียน 113 คน

4.3 รร.วัดหนองแก (5 วิชา) จํานวนผูเรียน 133 คน

4.4 รร.วัดทาโพ+หมกแถว (7 วิชา) จํานวนผูเรียน 324 คน

4.5 รร.วัดหนองพังคา (4 วิชา) จํานวนผูเรียน 56 คน

4.6 รร.วัดสังกัสรัตนคีรี (7 วิชา) จํานวนผูเรียน 184 คน

4.7 รร.วัดหนองระแหงเหนือ (12 วิชา) จํานวนผูเรียน 265 คน

4.8 รร.วัดจกัษา (6 วิชา) จํานวนผูเรียน 138 คน

Page 49: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

49

4.9 รร.บานภูมิธรรม (11 วิชา) จํานวนผูเรียน 192 คน

4.10 รร.บานหลุมเขาฯ (6วิชา) จํานวนผูเรียน 135 คน

4.11 ร.ร.บานปากดง (6 วิชา) จํานวนผูเรียน 160 คน

4.12 ร.ร.บานทาซุง (6 วิชา) จํานวนผูเรียน 74 คน

4.13 ร.ร. วัดทุงปาจาน (8 วิชา) จํานวนผูเรียน 189 คน

4.14 ร.ร. วัดบุญลือ (1 วิชา) จํานวนผูเรียน 18 คน

4.15 ร.ร. หนองเข่ือน (4 วิชา) จํานวนผูเรียน 64 คน

4.16 รร. บานบอยาง (3 วิชา) จํานวนผูเรียน 79 คน

4.17 รร. วัดโนนเหล็ก (5 วิชา) จํานวนผูเรียน 75 คน

4.18 รร. ชุมชนวัดดงขวาง (5 วิชา) จํานวนผูเรียน 80 คน

4.19 รร. บานเนินตูม (3 วิชา) จํานวนผูเรียน 70 คน

4.20 รร.วัดเน้ือรอน (1 วิชา) จํานวนผูเรียน 37 คน

4.21 รร.วัดหนองแฟบ (4 วิชา) จํานวนผูเรียน 88 คน

รวมระยะสั้นเสริมวิชาชีพประถม – มัธยม จํานวนผูเรียน 2,845 คน

รวมจํานวนผูเรียนหลักสูตรระยะสั้นทั้งสิ้น 11,774 คน

ผลการดําเนินงาน

จากการเปดการเรียนการสอน หลักสูตรระยะสั้นของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีในปการศึกษา 2553

มีจํานวนนักศึกษาทั้งหมด 11,774 คน มีนักศึกษาที่ผานเกณฑการจบหลักสูตรทั้งหมด 11,774 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวามีจํานวนผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2553

มีจํานวน 11,774 คน และมีผูที่ผานเกณฑการจบหลักสูตร หรือมีผลคะแนนทดสอบหลังการอบรมสูงกวา

กอนการอบรมจํานวน 11,774 คนคิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 50: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

50

ขอกําหนดท่ี 1.3 การนําความรูจากการฝกอบรมไปประกอบอาชีพ หรือนําไปใชประโยชน

ตัวบงชี้ท่ี 3 รอยละของผูสําเร็จการอบรมท่ีนําความรูไปประกอบอาชีพ หรือนําไปใชประโยชน

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี จัดการเรียนการสอนใหผูเขารับการฝกอบรมไดฝกปฏิบัติจริงจน เกิด

ทักษะ สามารถนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน จัดใหมีแบบสํารวจเพื่อจัดเก็บรวบรวมขอมูลจํานวน

ของผูสําเร็จการฝกอบรม ในแตละหลักสูตร แตละรายวิชา และมีการจัดเก็บขอมูลจํานวนผูสําเร็จการฝกอบรม

ที่ไดนําความรูไปจากการอบรมไปประกอบอาชีพ หรือนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน อยางตอเน่ือง

ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการอบรมแตละหลักสูตรรายวิชา ที่ไดจากการสุมแบบประเมิน (ประชากรตัวอยาง)

มีจํานวนทั้งหมด 2,253 คน มีผูที่นําความรูไปประกอบอาชีพ จํานวน 1,334 รอยละ 59.28 คน มีผูที่นํา

ความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน จํานวน 919 คน รอยละ 40.79

จากคาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอยละ ของผูสําเร็จการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ปการศึกษา 2553 ที่นําความรูไปประกอบอาชีพ รอยละ 83.30 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

จากคาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอยละ ของผูสําเร็จการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ปการศึกษา 2553 ที่นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน รอยละ 85.60 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูลจากแบบสํารวจ สรุปไดวามีจํานวนผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ปการศึกษา 2553 มีจํานวน 2,253 คน คิดเปนรอยละ 100 และมีผูที่ผานเกณฑการจบหลักสูตร การอบรม

จํานวน 2,253 คน คิดเปนรอยละ 100 และมีจํานวนผูสําเร็จการอบรมแตละหลักสูตรที่นําความรูจากการ

อบรมไปประกอบอาชีพ จํานวน 1,334 คนคิดเปนรอยละ 59.28 และนําความรูไปใชประโยชนใน

ชีวิตประจําวันจํานวน 919 คน คิดเปนรอยละ 40.79 ดังน้ัน รอยละของผูสําเร็จการอบรมที่นําความรูไป

ประกอบอาชีพ หรือนําไปใชประโยชน คิดเปนรอยละ 84.70 อยูในเกณฑดี

Page 51: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

51

ขอกําหนดท่ี 1.4 คุณลักษณะของผูสําเร็จการอบรมท่ีสถานประกอบการหรือหนวยงานพึง

พอใจ

ตัวบงชี้ท่ี 4 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการท่ีมีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละ

หลักสูตร

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ไดตระหนักถึงความพึงพอใจของผูบริหาร เจาของสถานประกอบการ

หรือผูที่เกี่ยวของ ที่มีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละหลักสูตร ในเรื่องเกี่ยวกับความรูความสามารถทางดาน

ทักษะการทํางานตามลักษณะงานในหลักสูตรน้ัน ๆ ดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการทํางาน

และดานคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ ตรงตอเวลารับผิดชอบตอหนาที่ ประสิทธิผลในการ

ทํางาน โดยจัดทําแบบสํารวจความคิดเห็นของสถานประกอบการ หรือหนวยงานตาง ๆ ทั้งของสวนภาครัฐ

และเอกชนที่มีตอการทํางานของผูสําเร็จการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ในรายวิชาตาง ๆ ความรูความสามารถ

ทางดานทักษะการทํางานตามลักษณะงานในหลักสูตรน้ัน ๆ ดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการ

ทํางานและดานคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอหนาที่มีบุคลิกภาพที่

เหมาะสม เปนตน

ผลการดําเนินงาน

จากแบบสํารวจวิทยาลัยสารพดัชางอุทัยธานีมีผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น แตละหลักสูตร

แตละรายวิชา ในปการศึกษา 2553 มีจํานวน 2,253 คน กลุมตัวอยางมีจํานวนผูสําเร็จการอบรมแตละ

หลักสูตรที่นําความรูจากการอบรมไปประกอบอาชีพ จํานวน 1,334 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวาระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการอบรม

โดยใชมาตรวัด 5 ระดับ มีคาเฉลี่ยในแตละหลักสูตร อยูในระดับ 4.23 เมื่อเทียบจากเกณฑ คาเฉลี่ยระดับความ

พึงพอใจที่สถานประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการอบรมมากกวา 3.74 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 52: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

52

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่1 รอยละของผูเขารับ

การอบรมที่ปฏิบัติตามแนว

ทางการปฏิบัติงานในการใช

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การ

ใชเคร่ืองมือ การแตงกายตาม

ระเบียบแนวทางที่กําหนด

รอยละของผูเขารับการฝกอบรม

ที่ปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนด

รอยละ 100

รอยละของผูเขารับการ

ฝกอบรมที่ปฏิบัติตามแนวทาง

ที่กําหนด รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่2 รอยละของผูเขารับ

การฝกอบรมที่ผานเกณฑการจบ

หลักสูตร หรือมีผลคะแนน

ทดสอบหลังการอบรมสูงกวา

กอนการอบรม

รอยละของผูเขารับการฝกอบรม

ที่ผานเกณฑการจบหลักสูตรตอง

ไมนอยกวา รอยละ 75

รอยละของผูเขารับการ

ฝกอบรมที่ผานเกณฑการจบ

หลักสูตรคิดเปนรอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่3 รอยละของผูสําเร็จ

การอบรมที่นําความรูไปประกอบ

อาชีพ หรือนําไปใชประโยชน

รอยละของผูสําเร็จการอบรมที่

นําความรูไปประกอบอาชีพ หรือ

นําไปใชประโยชนตองไมนอย

กวา รอยละ 75

รอยละของผูสําเร็จการอบรมที่

นําความรูไปประกอบอาชีพ หรือนําไปใชประโยชนคิดเปน

รอยละ 84.70

ตัวบงชี้ที ่4 ระดับความ

พึงพอใจของสถานประกอบการที่

มีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละ

หลักสูตร

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการ

อบรมในแตละหลักสูตรตองไม

มากกวา 3.75

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการ

อบรมในแตละหลักสูตรตองไม

มากกวา 4.23

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

จุดเดน

ในปการศึกษา 2553 วิทยาลัยฯมีการกําหนดเปาหมายโดยใหคาเฉลี่ยเพิ่มข้ึนสําหรับมาตรฐานที่ 1

จากการรวบรวมขอมูลของมาตรฐานที่ 1 ทุกตัวบงช้ี (ตัวบงช้ีที่ 1,2,3 และ 4) ผลสัมฤทธ์ิที่ไดโดยคิดเปนรอยละ

เพิ่มข้ึนโดยเปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดโดยสถานศึกษา

จุดท่ีควรพัฒนา

ในปการศึกษา 2553 สําหรับมาตรฐานที่ 1 ตัวบงช้ีที่ 2 รอยละของผูเขารับการอบรมที่ผานเกณฑการ

จบหลักสูตร หรือมีผลคะแนนทดสอบหลังการอบรมสูงกวากอนการอบรม ผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินการ

ไดรอยละ 95.42 ซึ่งตํ่ากวาผลสัมฤทธ์ิของปที่ผานมา

Page 53: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

53

มาตรฐานท่ี 2 หลักสูตรและการจัดฝกอบรม หลักสูตรระยะสั้น

ขอกําหนดท่ี 2.1 พัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะในการฝกอบรมอยางตอเน่ืองทุก 2 ป

ตัวบงชี้ท่ี 5 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีไดรับการพัฒนาแบบฐานสมรรถนะ สอดคลองกับ

ความตองการของสังคม

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษา จัดใหมีการฝกอบรมเพื่อการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะโดยกําหนดไวในแผนประจําป

มีการดําเนินการประเมินความตองการฝกอบรมของชุมชน สังคม สํารวจความตองการ ความคิดเห็นของผูจบ

หลักสูตร เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ แลวนําขอมูลที่ไดมา

ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและจัดทําเปนแผนการเรียนรูฐานสมรรถนะตอไป

ผลการดําเนินการ

สถานศึกษาไดเปดหลักสูตรระยะสั้นจํานวนทั้งสิ้น 71 รายวิชา )ยกเวนโครงการ Fix It Center และ

108 อาชีพ (และไดมีการประเมินผลและสํารวจความตองการของชุมชน นํามาพัฒนาและปรับปรุงจํานวนทั้งสิ้น

54 รายวิชา

ผลสัมฤทธิ ์

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการพัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยางตอเน่ืองทุก 2 ป เมื่อเทียบกับรายวิชา

ทั้งหมด คิดเปนรอยละ 76 .05 อยูในเกณฑ ระดับ ดี

ขอกําหนดท่ี 2.2 ระดับในการประเมินผลการฝกอบรม

ตัวบงชี้ท่ี 6 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีการประเมินผลการประเมินการฝกอบรม

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีคณะกรรมการในการกลั่นกรองและมีวิธีการประเมินผลผูเขารับการฝกอบรมอยางเปน

ระบบ โดยมีการประเมินในระหวางการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เนนการประเมินทักษะวิชาชีพ

กิจนิสัยและความปลอดภัยในการทํางาน มีการประเมินเมื่อสิ้นสุดการฝกอบรมตามเกณฑการจัดหลักสูตรระยะ

สั้น โดยทดสอบสมรรถนะตามระดับทักษะ มีกระบวนการฝกอบรมที่หลากหลาย มีการสังเกตการณทํางาน การ

ประเมินช้ินงาน เพื่อประเมินความกาวหนาและความสําเร็จของการทํางาน แลวนําผลการประเมินไปใชในการ

ปรับปรุงการจัดกระบวนการฝกอบรมและกระบวนการเรียนรู

Page 54: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

54

ผลการดําเนินงาน

สรุปการประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2553

ท่ี รายวิชา

จํานวนหลักสูตร

จํานวนท่ีเปด(รุน) จํานวนการ

ประเมิน(รุน) รอยละ

1 ขับรถยนต 7 7 100.00

2 งานเครื่องยนตเบื้องตน 2 2 100.00

3 เช้ือเพลิงและวัสดุหลอลื่น 1 1 100.00

4 วัสดุชางอุตสาหกรรม 1 0 -

5 งานจักรยานยนต 1 1 100.00

6 งานเครื่องยนต 1 1 100.00

7 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 2 2 100.00

8 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 1 100.00

9 งานเครื่องวัดไฟฟา 2 2 100.00

10 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 1 0 -

11 งานไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4 4 100.00

12 งานฝกฝมือ 2 2 100.00

13 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 2 2 100.00

14 ซอยผม -ดัดผม 4 4 100.00

15 เปลี่ยนสีผม 3 3 100.00

16 อาหารไทย 9 8 88.89

17 งานใบตอง 4 4 100.00

18 ขนมไทย 4 1 1 100.00

19 ศิลปประดิษฐ 9 9 100.00

20 ขนมไทย 8 7 87.50

21 สิ่งประดิษฐจากแปง 5 3 60.00

22 ขนมไทยเบื้องตน 3 1 1 100.00

23 อาหารไทยเบื้องตน 3 1 1 100.00

24 แกะสลักผักและผลไม 2 2 100.00

25 อาหารไทย 4 1 1 -

26 พิมพดีดไทย 20 18 90.00

27 พิมพดีดอังกฤษ 6 4 66.67

28 การขาย 1 3 3 100.00

Page 55: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

55

ท่ี รายวิชา

จํานวนหลักสูตร

จํานวนท่ีเปด(รุน) จํานวนการ

ประเมิน(รุน) รอยละ

29 การใชเครื่องใชสํานักงาน 2 2 100.00

30 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 1 0 -

31 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 2 2 100.00

32 การเงินสวนบุคคล 2 2 100.00

33 การบัญชีเบื้องตน 1 3 3 100.00

34 มารยาทและการสมาคม 3 3 100.00

35 พลังงานและสิ่งแวดลอม 3 3 100.00

36 ธุรกิจทั่วไป 3 3 100.00

37 เอกสารธุรกิจ 3 3 100.00

38 การจัดเก็บเอกสาร 2 2 100.00

39 พิมพดีดไทย 2 1 0 -

40 โปรแกรมประมวลผลคําพื้นฐาน 18 15 83.33

41 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 18 15 83.33

42 โปรแกรมตารางงานพื้นฐาน 16 14 87.50

43 โปรแกรมตารางงานประยุกต 14 12 85.71

44 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 7 7 100.00

45 ระบบสารสนเทศ IT 11 9 81.82

46 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 7 6 85.71

47 หลักการเขียนโปรแกรม 2 2 100.00

48 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 2 2 100.00

49 โครงการ 2 2 100.00

50 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติกา(GUI) 2 2 100.00

51 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร 2 2 100.00

52 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 2 2 100.00

53 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 2 2 100.00

54 การใชโปรแกรมตารางงาน (ปวช.) 2 2 100.00

55 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 2 1 50.00

56 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 3 3 100.00

57 การใชโปรแกรมประมวลผลคําประยุกต(ปวช.) 2 2 100.00

58 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 3 3 100.00

Page 56: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

56

ท่ี รายวิชา

จํานวนหลักสูตร

จํานวนท่ีเปด(รุน) จํานวนการ

ประเมิน(รุน) รอยละ

59 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 3 3 100.00

60 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 2 2 100.00

61 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 1 3 3 100.00

62 พิมพอังกฤษดวยคอมพิวเตอร 1 3 3 100.00

63 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 2 3 3 100.00

64 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา(ปวช.) 3 3 100.00

65 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล (ปวช.) 2 2 100.00

66 การใชโปรแกรมกราฟฟกส 3 1 33.33

67 การสรางเวบเพจ 2 2 100.00

68 ระบบเครือขายเบื้องตน 2 2 100.00

69 เทคโนโลยีสํานักงาน 2 2 100.00

70 อังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 2 2 100.00

71 การใชโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร 1 1 100.00

รวม 277 248 89.53

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ มีรายวิชาหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 71 รายวิชา มีการเปดการเรียนการฝกอบรมรวมทั้งสิ้น

277 รุน แตละรายวิชามีการประเมินผลทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในระหวางการเรียนการฝกอบรม มีการ

ประเมินทักษะวิชาชีพ กิจนิสัยและความปลอดภัยในการทํางาน มีการทดสอบสมรรถนะตามระดับทักษะ มีการ

สังเกตการณทํางาน การทดสอบ การประเมินช้ินงาน ประเมินความกาวหนาและความสําเร็จของการทํางาน ซึ่ง

รายวิชาที่มีการดําเนินการประเมินการฝกอบรมครบทุกข้ันตอนจํานวน 248 รุน ซึ่งคิดเปนรอยละ 89.53 ของ

หลักสูตรรายวิชาที่เปดสอน ซึ่งผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 57: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

57

ขอกําหนดท่ี 2.3 จัดการฝกอบรมอยางมีคุณภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 7 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมท่ีมีตอคุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีคณะกรรมการพฒันาหลักสูตรเพื่อประเมิลผลคุณภาพการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหมี

การพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัยสอดคลองกับความตองการของชุมชนและสังคม มีการจัดการเรียนการสอนที่เนน

ฝกทักษะวิชาชีพใหผูเรียนผูฝกอบรมมีความรู มีทักษะวิชาชีพตามหลักสูตร จัดใหมีการจัดเก็บขอมูลของผูเขารับ

การฝกอบรมทุกหลักสูตร และมีการประเมินระดับความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมโดยใชแบบสอบถาม

แบบมาตรวัด 5 ระดับทุกหลักสูตร

ผลการดําเนินงาน

ตารางสรุปจํานวนแบบสอบถามแยกตามแผนกวิชา

แผนกวิชา จํานวนแบบสอบถาม รอยละ หมายเหตุ

ชางยนต 186 9.80

ชางไฟฟา 63 3.32

การบัญชี 185 9.74

คอมพิวเตอรธุรกิจ 329 17.32

คหกรรม 1,136 59.82

รวม 1,899 100.00

ตารางสรุปผลการประเมินระดับความพึงพอใจของผูเรียน/ผูเขารับการฝกอบรม

ประเด็นการประเมิน จํานวน

แบบสอบถาม คาเฉลี่ย

สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

1. ความรูความสามารถของวิทยากร 1,899 4.47 0.504

2. ครุภัณฑที่ใชในการเรียนการสอน/ฝกอบรมมีความ

เหมาะสม 1,899 4.07 0.503

3. เปดโอกาสใหผูเรียน/ฝกอบรม มีสวนรวมแสดงความ

คิดเห็น 1,899 4.24 0.550

4. เวลาที่ใชในการเรียนการสอน/ฝกอบรมมีความเหมาะสม 1,899 4.16 0.400

5. วัสดุ -อุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน/ฝกอบรมมีความ

เพียงพอตอผูเรียน/ฝกอบรม 1,899 4.15 0.604

Page 58: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

58

ประเด็นการประเมิน จํานวน

แบบสอบถาม คาเฉลี่ย

สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

6. ความเหมาะสมของหองปฏิบัติการ/หองเรียน/

โรงฝกงาน/สถานที่ในการฝกอบรม 1,899 4.13 0.633

7. ความพึงพอใจของผูเรียน/ฝกอบรมที่มีตอการเรียน/

ฝกอบรม 1,899 4.19 0.414

8. การนําความรูจากการฝกอบรม/การเรียนการสอนไปใช

ประโยชน

8.1 นําไปประกอบอาชีพ (กรณีวางงาน)

404

4.38

0.486

8.2 นําไปใชพัฒนาอาชีพเดิม 398 4.01 0.207

8.3 นําไปใชเพื่อเปลี่ยนอาชีพ 192 4.18 0.400

8.4 นําไปประยุกตใชเพื่อลดคาใชจาย 315 4.03 0.176

8.5 นําไปใชในการศึกษาตอ 589 4.44 0.552

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ มีรายวิชาหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 71 รายวิชา และแตละรายวิชามีการประเมินระดับ

ความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม โดยใชแบบสอบถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ ผลของการประเมินระดับ

ความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมที่มีตอคุณภาพการฝกอบรม โดยสุมเลือกแบบสอบถามจากรายวิชาที่

หลากหลายเปนตัวแทนของทุกหลักสูตรจํานวน 1,899 ชุด มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ 4.19 ซึ่งผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 2.4 จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูของผูรับการอบรมในหลักสูตรตาง ๆอยาง

เหมาะสมเพียงพอ เพ่ือใหผูรับการฝกอบรมไดฝกทักษะจนมีสมรรถนะเพียงพอ

ตามหลักสูตร

ตัวบงชี้ท่ี 8 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑพอเพียง ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตร

ในการฝกอบรม

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษาจัดประชุมช้ีแจงและสํารวจความตองการ ครุภัณฑ ครุภัณฑตํ่ากวาเกณฑ การซอมแซม

ครุภัณฑ ของแตละแผนกวิชา และจัดประชุมเพื่อจัดสรรงบประมาณ ตามลําดับความสําคัญไดอยางเหมาะสม

โดยบรรจุไวในแผนปฏิบัติการประจําปของสถานศึกษา มอบใหพัสดุจัดซื้อเปนไปตามระเบียบและเบิกจายแก

แผนกวิชากวดขันใหมีการบํารุงรักษา ซอมแซม ใหครุภัณฑการศึกษามีสภาพพรอมใชงาน

Page 59: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

59

ผลการดําเนินการ

สถานศึกษาจัดซื้อ ครุภัณฑ ครุภัณฑตํ่ากวาเกณฑ การซอมแซมครุภัณฑ เครื่องมือ อุปกรณการศึกษา

ที่ทันสมัยเพิ่มข้ึน แตละรายวิชาไดมีการจัดระบบและการดูแลรักษาไดอยางเหมาะสม มีความเพียงพอกับสภาพ

รายวิชาทีส่อน

สรุปรายวิชาท่ีเปดสอนในหลักสูตรระยะสั้น ประจําปการศึกษา 2553

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

1 ขับรถยนต 3.00 60.00 พอใช

2 งานเครื่องยนตเบื้องตน 3.26 65.20 พอใช

3 เช้ือเพลิงและวัสดุหลอลื่น 3.33 66.60 พอใช

4 วัสดุชางอุตสาหกรรม 3.57 71.40 พอใช

5 งานจักรยานยนต 3.69 73.80 พอใช

6 งานเครื่องยนต 3.30 66.00 พอใช

7 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 3.50 70.00 พอใช

8 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.08 81.60 พอใช

9 งานเครื่องวัดไฟฟา 3.57 71.40 พอใช

10 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 3.14 62.80 พอใช

11 งานไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 2.71 54.20 พอใช

12 งานฝกฝมือ 2.52 50.40 พอใช

13 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 2.71 54.20 พอใช

14 ซอยผม -ดัดผม 3.45 69.00 พอใช

15 เปลี่ยนสีผม 3.75 75.00 พอใช

16 อาหารไทย 3.99 79.80 ดี

17 งานใบตอง 4.26 85.20 ดี

18 ขนมไทย 4 4.01 80.20 พอใช

19 ศิลปประดิษฐ 4.25 85.00 พอใช

20 ขนมไทย 4.30 86.00 พอใช

21 สิ่งประดิษฐจากแปง 4.25 85.00 พอใช

22 ขนมไทยเบื้องตน 3 4.07 81.40 พอใช

23 อาหารไทยเบื้องตน 3 4.07 81.40 พอใช

24 แกะสลักผักและผลไม 4.29 85.80 พอใช

25 อาหารไทย 4 4.00 80.00 พอใช

Page 60: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

60

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

26 พิมพดีดไทย 3.74 74.80 พอใช

27 พิมพดีดอังกฤษ 3.66 73.20 พอใช

28 การขาย 1 4.21 84.20 ดี

29 การใชเครื่องใชสํานักงาน 3.69 73.80 พอใช

30 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 4.21 84.20 ดี

31 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.28 85.60 ดี

32 การเงินสวนบุคคล 4.13 82.60 ดี

33 การบัญชีเบื้องตน 1 4.18 83.60 ดี

34 มารยาทและการสมาคม 3.94 78.80 พอใช

35 พลังงานและสิ่งแวดลอม 3.53 70.60 พอใช

36 ธุรกิจทั่วไป 4.19 83.80 ดี

37 เอกสารธุรกิจ 4.30 86.00 ดี

38 การจัดเก็บเอกสาร 3.93 78.60 พอใช

39 พิมพดีดไทย 2 3.64 72.80 พอใช

40 โปรแกรมประมวลผลคําพื้นฐาน 4.04 80.80 ดี

41 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 4.04 80.80 ดี

42 โปรแกรมตารางงานพื้นฐาน 4.06 81.20 ดี

43 โปรแกรมตารางงานประยุกต 4.06 81.20 ดี

44 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.08 81.60 ดี

45 ระบบสารสนเทศ IT 4.04 80.80 ดี

46 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 4.06 81.20 ดี

47 หลักการเขียนโปรแกรม 4.64 92.80 ดี

48 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.07 81.40 ดี

49 โครงการ 4.13 82.60 ดี

50 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติกา(GUI) 4.23 84.60 ดี

51 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร 4.30 86.00 ดี

52 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4.50 90.00 ดี

53 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 4.25 85.00 ดี

54 การใชโปรแกรมตารางงาน (ปวช.) 4.06 81.20 ดี

55 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 3.25 65.00 พอใช

56 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 4.11 82.20 ดี

Page 61: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

61

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

57 การใชโปรแกรมประมวลผลคําประยุกต(ปวช.) 4.04 80.80 ดี

58 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 4.18 83.60 ดี

59 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 4.17 83.40 ดี

60 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 4.23 84.60 ดี

61 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 1 4.27 85.40 ดี

62 พิมพอังกฤษดวยคอมพิวเตอร 1 4.25 85.00 ดี

63 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 2 4.26 85.20 ดี

64 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา (ปวช.) 4.25 85.00 ดี

65 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล (ปวช.) 4.22 84.40 ดี

66 การใชโปรแกรมกราฟฟกส 3.62 72.40 พอใช

67 การสรางเวบเพจ 4.57 91.40 ดี

68 ระบบเครือขายเบื้องตน 4.21 84.20 ดี

69 เทคโนโลยีสํานักงาน 4.07 81.40 ดี

70 อังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 3.82 76.40 พอใช

71 การใชโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร 4.30 86.00 ดี

รวม 3.93 78.61 พอใช

ผลสัมฤทธิ ์

ผูเขารับการฝกอบรมไดฝกใชครุภัณฑ เครื่องมือ และอุปกรณการศึกษาอยางทั่วถึง พอเพียง ที่จะมี

สมรรถนะและทักษะเบื้องตนในการนําไปปฏิบัติงานอาชีพที่เกี่ยวของและนําไปประกอบอาชีพอิสระของตนเอง

รอยละของหลักสูตรรายวิชาที่มีครุภัณฑพอเพียง ทันสมัยเหมาะสมกับหลักสูตรคิดเปนรอยละ78.61

อยูในเกณฑ พอใช

Page 62: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

62

ตัวบงชี้ท่ี 9 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ ในการฝกอบรมในแตละ

หลักสูตรรายวิชา

วิธีการดําเนินการ

สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณ สําหรับจัดซื้อวัสดุ ในการฝกอบรมในแตละสาขาวิชาตาง ๆ โดย

กําหนดไวในแผนปฏิบัติการประจําป จัดประชุมรวมกับครูผูสอน เพื่อพิจารณา แผนการสอน / โครงการ /

กิจกรรม ในแตละรายวิชาที่มีความจําเปนจัดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุใหเพียงพอเหมาะสม และเกิด

ประโยชนสูงสุด จัดทําแบบสํารวจความเพียงพอ เพื่อสอบถาม ครูผูสอนและผูเรียนเพื่อนํามาประมวลผลใน

รายวิชาระยะสั้นทุกรายวิชา

ผลการดําเนินงาน

สถานศึกษาไดจัดสรรงบประมาณ สําหรับจัดซื้อวัสดุ ในการฝกอบรมในแตละสาขาวิชาตาง ๆอยาง

เพียงพอและเหมาะสมตามแผนการจัดการเรียนการสอน จากการสํารวจหลักสูตรรายวิชาจํานวน 71 รายวิชา มี

ความเพียงพอดานวัสดุ อุปกรณ โดยสรุปไดดังน้ี

สรุปรายวิชาท่ีเปดสอนในหลักสูตรระยะสั้น ประจําปการศึกษา 2553

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

1 ขับรถยนต 4.47 89.40 ดี

2 งานเครื่องยนตเบื้องตน 4.30 86.00 ดี

3 เช้ือเพลิงและวัสดุหลอลื่น 4.33 86.60 ดี

4 วัสดุชางอุตสาหกรรม 3.85 77.00 พอใช

5 งานจักรยานยนต 3.69 73.80 พอใช

6 งานเครื่องยนต 3.90 78.00 พอใช

7 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 4.06 81.20 ดี

8 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.17 83.40 ดี

9 งานเครื่องวัดไฟฟา 4.00 80.00 ดี

10 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 3.85 77.00 พอใช

11 งานไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.14 82.80 ดี

12 งานฝกฝมือ 4.00 80.00 ดี

13 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 4.28 85.60 ดี

14 ซอยผม-ดัดผม 4.29 85.80 ดี

15 เปลี่ยนสีผม 4.27 85.40 ดี

Page 63: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

63

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

16 อาหารไทย 4.13 82.60 ดี

17 งานใบตอง 4.25 85.00 ดี

18 ขนมไทย 4 4.16 83.20 ดี

19 ศิลปประดิษฐ 4.16 83.20 ดี

20 ขนมไทย 4.08 81.60 ดี

21 สิ่งประดิษฐจากแปง 4.19 83.80 ดี

22 ขนมไทยเบื้องตน 3 4.35 87.00 ดี

23 อาหารไทยเบื้องตน 3 4.24 84.80 ดี

24 แกะสลักผักและผลไม 4.43 88.60 ดี

25 อาหารไทย 4 4.12 82.40 ดี

26 พิมพดีดไทย 4.21 84.20 ดี

27 พิมพดีดอังกฤษ 4.21 84.20 ดี

28 การขาย 1 4.29 85.80 ดี

29 การใชเครื่องใชสํานักงาน 4.25 85.00 ดี

30 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 4.36 87.20 ดี

31 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.28 85.60 ดี

32 การเงินสวนบุคคล 4.25 85.00 ดี

33 การบัญชีเบื้องตน 1 4.26 85.20 ดี

34 มารยาทและการสมาคม 3.76 75.20 พอใช

35 พลังงานและสิ่งแวดลอม 3.76 75.20 พอใช

36 ธุรกิจทั่วไป 4.22 84.40 ดี

37 เอกสารธุรกิจ 4.33 86.60 ดี

38 การจัดเก็บเอกสาร 4.07 81.40 ดี

39 พิมพดีดไทย 2 4.36 87.20 ดี

40 โปรแกรมประมวลผลคําพื้นฐาน 3.97 79.40 ดี

41 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 3.98 79.60 ดี

42 โปรแกรมตารางงานพื้นฐาน 3.99 79.80 ดี

43 โปรแกรมตารางงานประยุกต 3.98 79.60 ดี

44 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.22 84.40 ดี

45 ระบบสารสนเทศ IT 3.98 79.60 ดี

46 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 3.99 79.80 ดี

Page 64: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

64

ท่ี รายวิชา เกณฑการตัดสิน

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

47 หลักการเขียนโปรแกรม 4.64 92.80 ดี

48 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.07 81.40 ดี

49 โครงการ 4.00 80.00 ดี

50 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการ(GUI) 4.18 83.60 ดี

51 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร 4.30 86.00 ดี

52 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4.50 90.00 ดี

53 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 4.31 86.20 ดี

54 การใชโปรแกรมตารางงาน (ปวช.) 3.98 79.60 ดี

55 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 4.17 83.40 ดี

56 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 4.11 82.20 ดี

57 การใชโปรแกรมประมวลผลคําประยุกต(ปวช.) 4.25 85.00 ดี

58 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 4.06 81.20 ดี

59 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 4.17 83.40 ดี

60 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 4.23 84.60 ดี

61 พิมพไทยดวยคอมพวิเตอร 1 4.38 87.60 ดี

62 พิมพอังกฤษดวยคอมพิวเตอร 1 4.35 87.00 ดี

63 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 2 4.35 87.00 ดี

64 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา (ปวช.) 4.25 85.00 ดี

65 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล (ปวช.) 4.22 84.40 ดี

66 การใชโปรแกรมกราฟฟกส 4.00 80.00 ดี

67 การสรางเวบเพจ 4.57 91.40 ดี

68 ระบบเครือขายเบื้องตน 4.21 84.20 ดี

69 เทคโนโลยีสํานักงาน 4.00 80.00 ดี

70 อังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 3.82 76.40 พอใช

71 การใชโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร 4.30 86.00 ดี

รวม 4.17 83.40 ดี

ผลสัมฤทธิ ์

จากผลการสํารวจรายวิชาทั้ง 71 รายวิชา คิดเปนรอยละ 83.34 ที่มีจํานวนวัสดุ อุปกรณเพียงพอ ซึ่ง

อยูในเกณฑ ดี

Page 65: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

65

ตัวบงชี้ท่ี 10 รอยละของหลกัสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการ/โรงฝกงานและอาคารสถานท่ีใน

การฝกอบรมมีเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ จัดใหมีแผนการปรับปรุง หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน อาคารสถานที่ ไวในแผนปฏิบัติการ

ประจําป จัดการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้นใหกับบุคคลที่เขามารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น จัดเตรียม

หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พื้นที่ปฏิบัติงานใหมีความเหมาะสม เพียงพอตอการเรียน และจัดทํา

ขอมูลและตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน จัดทําแบบสํารวจเพื่อประเมินความเหมาะสมใน

ดานหองปฏิบัติการโรงฝกงาน และทําการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาประเมินผลพรอมทําการสรุปขอมูล

ผลการดําเนินงาน

สรุปรายวิชาท่ีเปดสอนในหลักสูตรระยะสั้น ประจําปการศึกษา 2553

ท่ี รายวิชา

ผลการประเมินความเหมาะสม เพียงพอของ

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน อาคารสถานท่ี

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

1 ขับรถยนต 4.38 87.60 ดี

2 งานเครื่องยนตเบื้องตน 4.42 88.40 ดี

3 เช้ือเพลิงและวัสดุหลอลื่น 4.33 86.60 ดี

4 วัสดุชางอุตสาหกรรม 4.29 85.80 ดี

5 งานจักรยานยนต 4.38 87.60 ดี

6 งานเครื่องยนต 4.20 84.00 ดี

7 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 4.13 82.60 ดี

8 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.08 81.60 ดี

9 งานเครื่องวัดไฟฟา 4.43 88.60 ดี

10 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 3.71 74.20 พอใช

11 งานไฟฟาอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.29 85.80 ดี

12 งานฝกฝมือ 3.90 78.00 พอใช

13 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 4.29 85.80 ดี

14 ซอยผม -ดัดผม 4.02 80.40 ดี

15 เปลี่ยนสีผม 3.98 79.60 ดี

16 อาหารไทย 4.22 84.40 ดี

17 งานใบตอง 3.93 78.60 ดี

Page 66: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

66

ท่ี รายวิชา

ผลการประเมินความเหมาะสม เพียงพอของ

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน อาคารสถานท่ี

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

18 ขนมไทย 4 4.23 84.60 ดี

19 ศิลปประดิษฐ 3.84 76.80 พอใช

20 ขนมไทย 3.89 77.80 พอใช

21 สิ่งประดิษฐจากแปง 3.88 77.60 พอใช

22 ขนมไทยเบื้องตน 3 4.37 87.40 ดี

23 อาหารไทยเบื้องตน 3 4.37 87.40 ดี

24 แกะสลักผักและผลไม 4.14 82.80 ดี

25 อาหารไทย 4 4.21 84.20 ดี

26 พิมพดีดไทย 4.07 81.40 ดี

27 พิมพดีดอังกฤษ 4.00 80.00 ดี

28 การขาย 1 4.36 87.20 ดี

29 การใชเครื่องใชสํานักงาน 4.31 86.20 ดี

30 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 4.36 87.20 ดี

31 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.33 86.60 ดี

32 การเงินสวนบุคคล 4.31 86.20 ดี

33 การบัญชีเบื้องตน 1 4.39 87.80 ดี

34 มารยาทและการสมาคม 4.00 80.00 ดี

35 พลังงานและสิ่งแวดลอม 3.82 76.40 พอใช

36 ธุรกิจทั่วไป 4.31 86.20 ดี

37 เอกสารธุรกิจ 4.33 86.60 ดี

38 การจัดเก็บเอกสาร 4.00 80.00 ดี

39 พิมพดีดไทย 2 4.43 88.60 ดี

40 โปรแกรมประมวลผลคําพื้นฐาน 3.82 76.40 พอใช

41 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 3.81 76.20 พอใช

42 โปรแกรมตารางงานพื้นฐาน 3.80 76.00 พอใช

43 โปรแกรมตารางงานประยุกต 3.80 76.00 พอใช

44 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 3.77 75.40 พอใช

45 ระบบสารสนเทศ IT 3.81 76.20 พอใช

46 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 3.78 75.60 พอใช

47 หลักการเขียนโปรแกรม 4.00 80.00 ดี

Page 67: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

67

ท่ี รายวิชา

ผลการประเมินความเหมาะสม เพียงพอของ

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน อาคารสถานท่ี

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ ผลท่ีได

48 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.00 80.00 ดี

49 โครงการ 3.80 76.00 พอใช

50 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติกา(GUI) 3.87 77.40 พอใช

51 จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร 4.00 80.00 ดี

52 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4.00 80.00 ดี

53 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 3.79 75.80 พอใช

54 การใชโปรแกรมตารางงาน (ปวช.) 3.80 76.00 พอใช

55 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 4.00 80.00 ดี

56 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 4.00 80.00 ดี

57 การใชโปรแกรมประมวลผลคําประยุกต(ปวช.) 3.81 76.20 พอใช

58 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 3.71 74.20 พอใช

59 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 3.91 78.20 พอใช

60 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 3.87 77.40 พอใช

61 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 1 4.41 88.20 ดี

62 พิมพอังกฤษดวยคอมพิวเตอร 1 4.35 87.00 ดี

63 พิมพไทยดวยคอมพิวเตอร 2 4.39 87.80 ดี

64 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา (ปวช.) 3.79 75.80 พอใช

65 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล (ปวช.) 3.91 78.20 พอใช

66 การใชโปรแกรมกราฟฟกส 4.00 80.00 ดี

67 การสรางเวบเพจ 4.00 80.00 ดี

68 ระบบเครือขายเบื้องตน 4.00 80.00 ดี

69 เทคโนโลยีสํานักงาน 4.29 85.80 ดี

70 อังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 3.94 78.80 พอใช

71 การใชโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร 3.90 78.00 พอใช

ผลการประเมิน 3.96 81.43 ดี

ผลสัมฤทธิ ์

รอยละของหลักสูตรที่มีหองปฏิบัติการ โรงฝกงาน เหมาะสม เพียงพอ เทากับ รอยละ 81.43 ซึ่งอยูใน

เกณฑ ดี

Page 68: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

68

ขอกําหนดท่ี 2.4 จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการเรยีนรูของผูเขารับการอบรมในหลักสูตรตาง ๆ

เพ่ือใหผูรับการฝกทักษะจนมีสมรรถนะเพียงพอตามหลักสูตร

ตัวบงชี้ท่ี 11 อัตราสวนของผูสอนประจําวิชา หรืออาจารยพิเศษ หรือผูชํานาญการทาง

วิชาชีพท่ีใหการฝกอบรม ตอผูเรียนในแตละหลักสูตร

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษาไดดําเนินการจัดบุคลากรที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตรงตามหลักสูตร โดยกําหนดกรอบ

อัตรากําลังของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงอัตราสวนของครูสอนประจําตอผูเรียน และไดดําเนินการรับสมัครครู

พิเศษสอน ที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพและผูชํานาญการทางวิชาชีพ เพื่อใหจํานวนครูเพียงพอตอผูเรียนครบทุก

หลักสูตร

ผลการดําเนินการ

มีผูมาสมัครเขารับการฝกอบรมเปนไปตามแผนการรับสมัครของสถานศึกษา โดยมีอัตราสวน ครูตอผู

เขารับการฝกอบรม ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม 1 ตอ 14.71 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1 ตอ 30.21

ประเภทวิชาคหกรรม 1 ตอ 59.4

ผลสัมฤทธิ์

อัตราสวนอาจารยประจําหรือชํานาญการทางวิชาชีพที่ใหการฝกอบรมตอผูเขารับการฝกอบรม ในแต

ละประเภทวิชา หลักสูตรดานอุตสาหกรรม อยูในเกณฑที่ไมถึงเกณฑที่สํานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กําหนด หลักสูตรดานพาณิชยกรรม อยูในเกณฑดี และหลักสูตรดานคหกรรมอยูในเกณฑที่มากกวาเกณฑที่

สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษากําหนด

Page 69: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

69

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชีท้ี ่5 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่ไดรับการพัฒนาแบบ

ฐานสมรรถนะสอดคลองกับความ

ตองการของสังคม

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการ

พัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยาง

ตอเนื่อง 2 ป

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการ

พัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยาง

ตอเนื่อง 2 ป เมื่อเทียบกับ

รายวิชาทั้งหมด รอยละ 76.05

ตัวบงชี้ที ่6 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่มีการประเมินผล

หลักสูตรรายวิชา ที่มีการ

ดําเนินการประเมินการฝกอบรม

ของผูเรียน ครบทุกขั้นตอน

หลักสูตรรายวิชา ที่มีการ

ดําเนินการประเมินการ

ฝกอบรมของผูเรียน ครบทุก

ขั้นตอน รอยละ 89.53

ตัวบงชี้ที ่7 ระดับความพึงพอใจ

ของผูเขารับการฝกอบรมที่มีตอ

คุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษา

จากผลการดําเนินการของ

สถานศึกษาในการจัดฝกอบรม

หลักสูตรระยะสั้น ไดดําเนินการ

สอบถามความพึงพอใจของผูเชา

รับการฝกอบรมที่มีคุณภาพการ

ฝกอบรมของสถานศึกษา

จากผลการดําเนินการของ

สถานศึกษาในการจัดฝกอบรม

หลักสูตรระยะสั้น ได

ดําเนินการสอบถามความพึง

พอใจของผูเชารับการฝกอบรม

ที่มีคุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษาคาเฉลี่ย 4.19

ตัวบงชี้ที ่8 รอยละของหลักสูตร

รายวิชามีครุภัณฑพอเพียง

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรใน

การฝกอบรม

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมนิความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีหลักสูตร

รายวิชาที่มีครุภัณฑที่เพียงพอ

ทันสมัยเหมาะสมกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีหลักสูตร

รายวิชาที่มีครุภัณฑที่เพียงพอ

ทันสมัยเหมาะสมกับหลักสูตร

รอยละ 78.61

ตัวบงชี้ที ่9 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่มีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตร

รายวิชา

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีวัสดุอุปกรณ

ตอความตองการกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีวัสดุอุปกรณ

ตอความตองการกับหลักสูตร

รอยละ 83.34

ตัวบงชี้ที ่10 รอยละของ

หลักสูตรรายวิชาที่มี

หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน และ

อาคารสถานที่ในการฝกอบรมมี

เพียงพอ เหมาะสมกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มี

หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน ตอ

ความตองการแตละหลักสูตร

รายวิชา

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรมที่มี

หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน ตอ

ความตองการแตละหลักสูตร

รายวิชา รอยละ 81.43

ตัวบงชี้ที ่11 อัตราสวนของ

ผูสอนประจํา หรืออาจารยพิเศษ

หรือผูชํานาญการทางวิชาชีพที่ให

การฝกอบรม ตอผูเรียนในแตละ

หลักสูตร

อัตราสวนของครูผูสอน หรือครู

พิเศษ ผูชํานาญการบุคลากรที่มี

ความรูความสามารถตรงตาม

คุณวุฒิทางวิชาชีพ

อัตราสวนของครูผูสอน หรือครู

พิเศษ ผูชํานาญการบุคลากรที่

มีความรูความสามารถตรงตาม

คุณวุฒิทางวิชาชีพ อัตราสวน

1:14.71

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

Page 70: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

70

จุดเดน

1. มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความตองการของนักเรียน ชุมชน อยางตอเน่ือง

2. หองเรียน หองปฏิบัติงาน โรงฝกงาน มีความเพียงพอตอหลักสูตรระยะสั้นที่เปดสอน

3. มีการจัดสรรงบประมาณ ในการจัดซื้อวัสดุเพียงพอตอจํานวนผูเรียน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. จํานวนครุภัณฑที่มีไมเพียงพอและไมทันตอเทคโนโลยีในปจจุบัน

2. ควรมีการประชาสัมพันธการเปดอบรมหลักสูตรตางๆใหชุมชนไดรับขาวสารมากข้ึน

Page 71: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

71

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

ขอกําหนดท่ี 3 สถานศึกษาควรกําหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

(ปวส.)

กําหนดท่ี 3.1 ความรู และทักษะวิชาชีพ ตามหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคมและ

เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงไป

ตัวบงชี้ท่ี 12 รอยละของผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑท่ีกําหนดตามชั้นป

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ จัดใหมีการปฐมนิเทศ การเสริมคุณภาพนักศึกษาใหม และการประชุมผูปกครองเพื่อให

รับทราบถึงปญหาและอุปสรรค ตอการไมจบการศึกษาตามกําหนดและสาเหตุการออกกลางคัน ไดมอบหมาย

ใหอาจารยที่ปรึกษาเปนผูจัดทําทะเบียนประวัติ ตรวจสอบและติดตามในรายที่พบปญหาเปนที่ผิดสังเกต

ประสานกับผูปกครองและผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการชวยเหลือในเบื้องตนตอนักศึกษาที่มีปญหา จัดใหมีการวัด

และประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อลดปญหาการสอบตกของผูเรียนและใหมีการสอนเสริมเพื่อใหเกิดคุณภาพ

มีการจัดเสริมทักษะวิชาชีพตามความเหมาะสมของผูเรียน จัดกิจกรรมแขงขันทักษะวิชาชีพ

ผลการดําเนินงาน

งานทะเบียนไดจัดทําแบบสรุปผลการลงทะเบียนของจํานวนนักศึกษาในแตละช้ันป ในปการศึกษา

2553 โดยเทียบกับจํานวนนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพ ตามรายละเอียดดังน้ี

Page 72: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

72

จํานวนผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประจําปการศึกษา 2553

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ลําดับ แผนกวิชา

ชั้นป

จํานวน

นักศึกษาท่ี

ลงทะเบียน

เรียน

จํานวนนักศึกษาท่ีมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนผานเกณฑ

การพนสภาพ

คิดเปน

รอยละ

1 ชางยนต ปวช. 1 20 17 85

2 ชางยนต ปวช. 2 18 13 72.22

3 ชางยนต ปวช. 3 24 11 45.83

4 ชางไฟฟากําลัง ปวช. 1 4 4 100

5 ชางไฟฟากําลัง ปวช. 2 - - -

6 ชางไฟฟากําลัง ปวช. 3 6 2 33.33

7 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช. 1 10 3 30

8 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช. 2 4 4 100

9 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช. 3 6 5 83.33

10 การบัญชี ปวช. 1 4 4 100

11 การบัญชี ปวช. 2 4 2 50

12 การบัญชี ปวช. 3 5 3 60

รวม 105 68 64.76

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ัน ปวช. 1 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑการพน

สภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ยต้ังแต 1.50 ข้ึนไป จํานวน 28 คน ช้ัน ปวช. 2 มีนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ยต้ังแต 1.75 ข้ึนไป จํานวน 19 คน ช้ัน ปวช. 3 มีนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ย 2.00 ข้ึนไป จํานวน 21 คน รวมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพ จํานวน 68 คน ในปการศึกษา 2553 คิดเปนรอยละ 64.76 ผลการ

ประเมินอยูในเกณฑ พอใช

Page 73: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

73

ขอกําหนดท่ี 3.2 ความรูความเขาใจในหลักการดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรใหสามารถนํามา

ประยุกตใชในงานอาชีพได

ตัวบงชี้ท่ี 13 รอยละของผูเรียนท่ีสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปโดยใหบรรจุโครงการสงเสริมดานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

เพื่อใหดําเนินการอยางตอเน่ืองและไดดําเนินการตามขอกําหนดของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพโดยให

ผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปวช. ไดจัดทํานวัตกรรมโครงงาน/โครงการวิชาชีพ และไดจัดการเรียนการสอนวิชา

คณิตศาสตร วิทยาศาสตรใหกับนักเรียนนักศึกษาทุกคน ดําเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใชสื่อตาง ๆ ที่มี

คุณภาพและทันสมัย มอบหมายใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิชาชีพที่ใชหลักการ

ทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรมาประยุกตใช จัดใหมีคณะกรรมการสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมคัดเลือก

ผลงานและโครงการสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมเพื่อเขาแขงขันในระดับภาคและระดับชาติ

ผลการดําเนินงาน

ครูผูสอนวิชาโครงงานของสาขางานตาง ๆ ไดจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนสามารถประยุกต

หลักการทางคณิตศาสตร และวิทยาศาสตรมาใชแกปญหา ในการปฏิบัติงานอาชีพได ทําใหผู เรียนมี

พฤติกรรมในการประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใชในการแกปญหาอยางเปนระบบ

ซึ่งมีจํานวนดังน้ี

ท่ี ประเภทวิชา/สาขางาน หลักสูตร จํานวน นร./นศ.

จํานวนผูเรียนท่ีสามารถประยุกต

หลักการทางวิทยาศาสตร และ

คณิตศาสตร

จํานวน (คน) รอยละ

1 สาขาชางยนต

สาขาชางไฟฟา

สาขาการบัญชี

สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ปวช.3

27

7

5

8

16

5

5

5

59.26

71.43

100

62.50

รวม 47 31 73.30

Page 74: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

74

ผลสัมฤทธิ ์

ผูเรียนที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและ วิชาโครงงานมีจํานวนทั้งหมด 47 คน สามารถ

ประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใชในการแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปน

ระบบ มีจํานวนทั้งสิ้น 31 คน คิดเปนรอยละ 73.30 จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 80 ผลการ

ประเมินอยูในเกณฑ พอใช

ขอกําหนดท่ี 3.3 ทักษะในการใชภาษาสื่อสารไดอยางถูกตองเหมาะสม

ตังบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนท่ีมีทักษะในการสื่อสาร ดานการฟง การอาน

การเขียนและการสนทนา ท้ังภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษใหแกผูเรียนในทุกช้ันปและวิชาภาษาไทยใหแก

ผูเรียนช้ัน ปวช.1 ทุกแผนกวิชา ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิชาภาษาไทยไดฝก

ใหผูเรียนมีการพัฒนาการใชภาษาไทยใหถูกตองในดานการอานและการเขียนเรื่องตางๆตามหลักสูตร ใน

รายวิชาภาษาอังกฤษไดเนนในเรื่องการพูดใหถูกตองตามสําเนียงของเจาของภาษา โดยมีรูปแบบการเรียน

ตางๆมีการใชโปรแกรม CAI โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเขามาเสริมชวยใน

การสอน จัดหองเรียนรูดวยตนเองใหแกผูเรียนเพื่อฝกทักษะเพิ่มเติม และมอบหมายใหผูเรียนแตละกลุม

ชวยกันจัดองคความรูเพิ่มเติมภายในและนอกหองเรียน

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารทั้งวิชาภาษาไทยและวิชาภาษาอังกฤษไดอยางถูกตองและสามารถนําไปใช

ในชีวิตประจําวันของการประกอบอาชีพได หองสมุด หองเรียนภาษามีชุดการสอนพรอมอุปกรณที่สามารถ

เรียกดูและศึกษาไดตลอดเวลา มีหองเรียนรูดวยตนเอง มีการจัดทําปายรณรงคใหผูเรียนรักการอานและ

สงเสริมใหนักศึกษาอานหนังสือใหมากข้ึน

Page 75: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

75

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาอังกฤษ (เทอม 1)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

ชางยนต ปวช.

1/1

17 1 - 2 - 1 3 2 - 8 4

ปวช. 1/2 17 - 1 - 1 2 4 2 - 7 4

ปวช.2 19 1 2 2 6 1 1 - - 6 12

ปวช.3 27 1 3 2 8 2 3 1 - 7 16

บัญชี ปวช.1 8 1 - 1 - 2 - - 1 3 4

ปวช.2 4 4 - - - - - - - - 4

ปวช.3 5 4 - - - - 1 - - - 4

คอมพิวเตอร

ปวช.1 15 3 - - - 1 1 - - 10 4

ปวช.2 7 3 - - - 1 - - - - 4

ปวช.3 8 - - 1 4 1 - - - 2 6

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 8 2 - - 2 - - 1 - 3 4

ปวช.3 7 1 1 1 2 - - - - 2 5

รวมจํานวนนักเรียน 142 21 7 9 23 11 13 6 - 48 71

คิดเปนรอยละ 50.00

Page 76: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

76

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาอังกฤษ (เทอม 2)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 4 - - - 1 2 - 1 - - 3

ปวช.2 4 1 1 - - - - - - 2 2

ปวช.3 5 1 - 2 1 - 1 - - - 4

ชางยนต ปวช.1/1 9 1 - - 1 1 2 2 - 2 3

ปวช.1/2 11 - - - 1 1 4 3 1 1 2

ปวช.2 18 - 4 4 4 2 - 1 - 3 14

ปวช.3 24 4 - 2 2 4 2 2 - 8 12

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 4 1 - 1 - 1 - 1 - - 3

ปวช.3 6 4 1 - - - - - - 1 5

คอมพิวเตอร

ปวช.1 10 - - - 1 1 1 - - 7 2

ปวช.2 4 3 - - - - 1 - - - 3

ปวช.3 6 1 - 2 - 1 1 - - 1 4

รวมจํานวนนักเรียน 105 16 6 11 11 13 12 10 - 25 57

คิดเปนรอยละ 54.29

สรุป วิชาภาษาอังกฤษเทอม 1 คิดเปนรอยละ 50.00 และเทอม 2 คิดเปนรอยละ 54.29 รวม

2 เทอม ผานเกณฑรอยละ 71.13

Page 77: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

77

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาไทย เทอม 1

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 8 - 1 2 1 - - - 1 3 4

ชางยนต ปวช.1/1 17 - - 1 1 4 - 2 - 9 6

ปวช.1/2 17 - - - 5 2 3 2 - 5 7

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 8 - - 1 2 1 - - - 4 4

คอมพิวเตอร ปวช.1 15 - - 2 2 3 - - - 8 7

รวมจํานวนนักเรียน 65 - 1 6 11 10 3 4 1 29 28

คิดเปนรอยละ 43.08

Page 78: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

78

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชีท่ี้ 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาไทย เทอม 2

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

ขป.

รวม 1

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 4 - - - 4 - - - - - 4

ชางยนต ปวช.1/1 9 - - 1 2 3 1 - - 2 6

ปวช.1/2 11 - - - 2 4 4 - - 1 6

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 4 1 1 - 2 - - - - - 4

คอมพิวเตอร ปวช.1 10 - 1 1 1 - - 2 5 3

รวมจํานวนนักเรียน 38 1 2 1 11 8 5 - 2 8 23

คิดเปนรอยละ 60.53

สรุป วิชาภาษาไทยเทอม 1 คิดเปนรอยละ 430.8 และเทอม 2 คิดเปนรอยละ 60.53 รวม 2

เทอม ผานเกณฑรอยละ 51.81

ผลสัมฤทธิ ์

ผูเรียนวิชาภาษาอังกฤษทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00 เฉลี่ยรอยละ

52.13 และผูเรียนวิชาภาษาไทยทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00 เฉลี่ยรอยละ

51.81 สรุปโดยภาพรวมของผูเรียนทั้งสองวิชาทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00

เฉลี่ยรอยละ 51.97 อยูในเกณฑ ปรับปรุง

Page 79: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

79

ขอกําหนดท่ี 3.4 ความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงาน

วิชาชีพไดอยางเหมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 15 รอยละของผูเรียนท่ีมีความสามารถใชความรูเทคโนโลยีท่ีจําเปนในการศึกษาและ

ปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ตระหนักถึงความสําคัญที่ใหผูเรียนสามารถใชเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา โดยใหแตละ

แผนกวิชาจัดแผนการเรียนการสอนที่มีวิชาเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร และมอบครูผูสอนไดจัดการเรียนการ

สอนแบบบูรณาการ ที่มุงเนนการฝกทักษะ ประสบการณ ความรูโดยปฏิบัติงานจริง ในการศึกษา สืบคน

ขอมูล การเรียนรูดวยตนเองไดจัดแหลงเรียนรูในดานหองอินเทอรเน็ต หองสมุด ปรับปรุงระบบการ

ใหบริการหองสมุด หองอินเทอรเน็ต หองทะเบียน งานธุรการ มีความคลองตัวมากข้ึนเพื่อใหเกิดความ

เหมาะสมตอแนวทางการประกอบอาชีพตามสาขาน้ันๆ

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัย จัดทําโครงการอบรมการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใชมัลติมีเดีย เพื่อพัฒนา

สื่อการสอนของครูผูสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การสรางช้ินงานตามโครงการ การใช

สื่อเทคโนโลยีในการสงงาน การจัดกิจกรรมการคนควาดวยตนเอง ทําใหผูเรียนมีความสามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีไปใชในการเรียน จากการวัดและประเมินผลจากรายวิชาที่ใชเทคโนโลยีชวยในการศึกษาคนควาและ

ปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพ โดยประเมินผลผูเรียนที่ผานเกณฑในระดับ เกรด 1 ข้ึนไปของแตละสาขางาน

ปการศึกษา 2553 ปรากฏผลตามจํานวนดังน้ี

ลําดับ สาขาวิชา จํานวน

ผูเรียน

จํานวนผูเรียนสามารถใชเทคโนโลยีใน

การศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพ

จํานวนคน รอยละ

1 ชางยนต 62 47 75.81

2 ชางไฟฟากําลัง 10 9 90

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 20 12 60

4 การบัญชี 13 11 84.62

รวม 105 79 75.24

Page 80: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

80

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล การวัดผล ประเมินผล คะแนนของแตละรายวิชาที่เกี่ยวของกับรายวิชาที่ใช

เทคโนโลยีชวยในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 75.24 จากเปาหมายที่ต้ังไว

ไมนอยกวารอยละ 75 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี (มากกวารอยละ 74

ของผูเรียนที่ใชความรูความสามารถทางเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา)

ขอกําหนดท่ี 3.5 คุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม

และมนุษยสัมพันธท่ีดี

ตัวบงชี้ท่ี 16 รอยละของผูเรียนท่ีมีคุณภาพ จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพ

ท่ีเหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธท่ีดี

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดจัดกิจกรรมสงเสริมหลักสูตรในการพัฒนาผูเรียนโดยกําหนดไวในแผนปฏิบัติงาน

ประจําป มุงเนนการพัฒนา ในดานวิชาการ ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ และ ดาน

บุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธที่ดีงาม รวมถึงการสนับสนุนสงเสริมอนุรักษความเปนไทย และสงเสริม

ประชาธิปไตยในการเปนคนไทย โดยจัดทําแผนปฏิบัติการไวเปนแนวทางในการดําเนินงาน ตามนโยบาย ของ

กระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ ดานคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ และดานบุคลิกภาพ

การสรางมนุษยสัมพันธ และการปลูกฝงใหรักชาติ ศาสน กษัตริย โดยจัดกิจกรรมเคารพธงชาติ กลาวคํา

ปฏิภาณตอนเชา ดําเนินกิจกรรมโดยคณะกรรมการ นักศึกษาองควิชาชีพ โดยใหนักศึกษาทั้งวิทยาลัยฯเขา

รวมโครงการ และรวมรับผิดชอบ ในปการศึกษา 2553 มีโครงการที่ดําเนินการทั้งหมด 28 โครงการ และ

แยกเปน 3 ดาน ดังน้ี

Page 81: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

81

ตารางแสดงจํานวนผูเขารวมโครงการดานสงเสริมพัฒนานักศึกษา 3 ดาน ใน แตละสาขาวิชา/สาขางาน

สาขาวิชา/สาขา

งาน

ดานวิชาการ

7 โครงการ

( 10

กิจกรรม)

ดานคุณธรรม

จริยธรรม

20 โครงการ

(20 กิจกรรม)

ดานบุคลิกภาพ

และมนุษยสัมพันธ

17 โครงการ

(17 กิจกรรม)

รอยละ

ผูเขารวมโครงการ

สาขาชางยนต 190 651 501 85.65

สาขาชางไฟฟา 37 137 113 18.31

สาขาคอมพิวเตอร 18 185 131 21.31

สาขาการบัญชี 33 144 97 17.49

หมายเหตุ ใน 1 โครงการสามารถสงเสริมคุณภาพนักศึกษาไดหลายดาน

ตารางแสดง รอยละ ของผูเรียนตามหลักสูตรในแตละประเภทวิชา สาขางาน ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม

และคานิยมท่ีดีงาม บุคลิกภาพท่ีเหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธ

สาขาวิชา/สาขางาน วิชาการ คุณธรรมจริยธรรม บุคลิกภาพ/มนุษยสัมพันธ

สาขาชางยนต 12.12 41.55 31.98

สาขาชางไฟฟา 2.36 8.74 7.21

สาขาคอมพิวเตอร 1.15 11.80 8.36

สาขาการบัญชี 2.11 9.19 6.19

ผลสัมฤทธิ ์

ทุกสาขาวิชา ทุกช้ันปไดมีการจัด และเขารวมกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภทกิจกรรม โดยมีประเภท

กิจกรรมที่สงเสริมทางดาน วิชาการ ประเภทกิจกรรมที่สงเสริมดานคุณธรรมจริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ

และประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยู

ในเกณฑ ดี

Page 82: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

82

ขอกําหนดท่ี 3.6 ความรูและทักษะตามาตรฐานวิชาชีพและหลักสูตรสําหรับผูสําเร็จการศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 17 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ

การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีระบบงานวัดผล เปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ และมีคณะกรรมการกลั่นกรอง

ผลการเรียน และ จัดใหมีการปฐมนิเทศ การเสริมคุณภาพนักศึกษาใหม และการประชุมผูปกครอง เพื่อให

ทราบถึงปญหา และอุปสรรคตอการไมจบการศึกษาตามกําหนด และสาเหตุการออกกลางคัน และได

มอบหมายใหอาจารยที่ปรึกษา เปนผูทําทะเบียนประวัติ ตรวจสอบและติดตามนักเรียน นักศึกษาที่พบปญหา

และอยูในกลุมเสี่ยง โดยการประสานผูปกครองและผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการชวยเหลือในเบื้องตน ตอนักศึกษาที่

มีปญหา จัดใหมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อลดปญหาการสอบตกของผูเรียน และจัดใหมีการสอน

เสริมนอกเวลาเรียน เพื่อใหเกิดคุณภาพ โดยมอบหมายใหงานทะเบียน งานวัดผล เปนผูจัดทําสถิติของ

นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับช้ัน ปวช.3 เมื่อเทียบกับจํานวนแรกเขา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มอบหมายงานทะเบียนจัดทําแบบสรุปจํานวนนักศึกษาแรกเขาในปการศึกษา 2551 เทียบ

กับจํานวนผูเรียนในปการศึกษา 2553 มีจํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับช้ัน ปวช.3 ที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.00 ข้ึนไป เทียบกับรอยละของจํานวนแรกเขาตาม

รายละเอียดดังน้ี

ลําดับ

ท่ี

ระดับชั้น/

สาขาวิชา

นักศึกษาแรกเขา

ป 2551

ผูสําเร็จการศึกษา

ป 2553

รอยละ

ผูสําเร็จการศึกษา

1 ชางยนต 48 16 33.33

2 ชางไฟฟากําลัง 14 6 42.85

3 คอมพิวเตอร 22 6 27.27

4 การบัญชี 7 5 71.42

ผลสัมฤทธิ ์

Page 83: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

83

นักศึกษาที่จบการศึกษาตองมีเกรดเฉลี่ย 2.00 ข้ึนไป ในปการศึกษา 2553 หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ (ปวช.) มีผูจบการศึกษาผานเกณฑ 2.00 ข้ึนไป จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 36.26 เทียบจาก

จํานวนแรกเขาโดยต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 50 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ปรับปรุง

ตัวบงชี้ท่ี 19 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ีผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดมีนโยบายใหครู อาจารยผูสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับสภาพจริง

เชน เรียนเปนช้ินงาน เรียนเปนโครงการ การแขงขันทักษะวิชาชีพ รวมถึงการฝกทักษะนอกเวลาเรียน เพื่อ

นําไปสูมาตรฐานวิชาชีพ โดย เปนไปตามระเบียบการวัดผล ประเมินผลของสํานักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพแตละสาขางานที่เปดสอนได

ทําการประเมินมาตรฐานวิชาชีพทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ สําหรับนักเรียน นักศึกษา ระดับ ปวช. 3 ทุกคน และ

จัดทํารายงานผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษาแตละสาขางานที่เปดสอน

ผลการดําเนินงาน

จากการดําเนินงานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพปรากฏผลสําเร็จการศึกษาผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพของแตละสาขางานดังน้ี

ท่ี สาขางาน ระดับชั้น

จํานวน

ผูสําเร็จ

การศึกษา

จํานวนผูผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพ

จํานวน (คน) รอยละ

1 สาขางานยานยนต ปวช. 3 16 15 93.75

2 สาขางานชางไฟฟากําลัง ปวช. 3 6 5 83.33

3 สาขางานการบัญชี ปวช. 3 5 5 100

4 สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช. 3 6 5 83.33

รวม 33 30 90.90

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวนผูที่สําเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. 3 จํานวน 33 คน ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 30 คน

ในปการศึกษา 2553 หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีจํานวนรอยละ 90.90 ซึ่งผลการประเมิน

อยูในเกณฑ ดี

Page 84: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

84

ขอกําหนดท่ี 3.7 ความรู และทักษะในการหางานทํา การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอิสระ

ตัวบงชี้ท่ี 21 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาท่ีไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพ

อิสระ และศึกษาตอภายใน 1 ป

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําไปรษณียบัติ ใหกับนักเรียนนักศึกษาที่จะจบการศึกษาและทางวิทยาลัยไดมีการแนะ

แนวใหขอมูลสถานศึกษาแกผูสําเร็จการศึกษาที่ตองการจะศึกษาตอในสถาบันตาง ๆและการสมัครงาน

นอกจากน้ีวิทยาลยัไดมอบหมายใหงานแนะแนวฯจัดทําแบบสํารวจและโทรติดตอ เพื่อรวบรวมขอมูล

ของผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2552 เกี่ยวกับการติดตามนักศึกษาที่มีงานทําในสถานประกอบการ/

ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาตอภายใน 1 ปของผูสําเร็จการศึกษา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําขอมูลดานการศึกษาตอแนะแนวและจัดหางาน โดยการจัดทําแบบติดตามและ

สอบถามขอมูลประวัติสวนตัวของนักเรียน นักศึกษาเพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการติดตามสอบถามขอมูลดาน

การทํางานในสถานประกอบการและการศึกษาตอ นอกจากน้ีไดจัดสงแบบสํารวจทางไปรษณียบัตร เพื่อเปน

การตอบกลับเปนขอมูลใหกับวิทยาลัย ซึ่งผลการติดตามพบวามีผูสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2552 จํานวน

48 คนศึกษาตอจํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 50 ประกอบอาชีพในสถานประกอบการและประกอบ

อาชีพอิสระ จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 37.5 วางงาน 3 คน คิดเปนรอยละ 6.25 ติดตอไมได3 คน

คิดเปนรอยละ 6.25

ผลสัมฤทธิ ์

มีนักเรียน นักศึกษา ศึกษาตอและประกอบอาชีพจํานวน 42 ราย จากจํานวนที่จบการศึกษา

48 ราย คิดเปนรอยละ 87.5 ผลการดําเนินงานอยูในเกณฑ ดี

Page 85: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

85

ขอกําหนดท่ี 3.8 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา ท่ีสถานประกอบการหรือหนวยงานพึงพอใจ

ตัวบงชี้ท่ี 22 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการท่ีมีตอคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

ของผูสําเร็จการศึกษา

วิธีดําเนินการ

จากการติดตามประเมินผลของคณะกรรมการดานความรวมมือกับสถานประกอบการ พบวาในปการศึกษา

ที่ผานมา มีปจจัยดานการตรงตอเวลา การมีนํ้าใจตอเพื่อนรวมงาน ความอดทนการทํางาน วิทยาลัยฯจัดใหมี

การดําเนินงานที่เขมขนข้ึนในกระบวนการเรียนการสอนที่เนนดานคุณธรรมและจริยธรรมในรายวิชาใหแก

ผูเรียนซึ่งเปนลักษณะที่พึงประสงคของสถานประกอบการ หนวยงานตางๆที่สงเสริมและพัฒนาคุณธรรมและ

จริยธรรมในชีวิตประจําวันกิจกรรมเขาแถวเคารพธงชาติ กิจกรรมสวดมนต กิจกรรมอบรมในทุกวันพุธและกิจ

กรมในการทํางานรวมกันตามความสนใจของผูเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศกอนออกฝกงานและสัมมนาหลังจาก

เสร็จสิ้นการฝกงาน จัดใหมีการปจฉิมนิเทศ เชิญสถานประกอบการ หนวยงานราชการ มาใหความรู

ประสบการณ แกนักศึกษากอนจบการศึกษา จัดใหมีระบบการติดตามและสํารวจผูที่จบการศึกษา โดยจัดทําเขา

แฟมขอมูลเพื่อการสืบคนไดตลอดเวลา จัดทําทะเบยีนสถานประกอบการ เพื่อการติดตอสื่อสารไดตลอดเวลา

ผลการดําเนินการ

ผูเรียนที่สําเร็จการศึกษา เปนผูที่มีความรูความสามารถและความชํานาญในการประกอบอาชีพ

มีความประพฤติดี และประพฤติชอบในเรื่อง การตรงตอเวลา ความซื่อสัตยสุจริต อดทนขยันหมั่นเพียร

มีความประพฤติเรียบรอย มีสัมมาคารวะ ออนโยน ออนนอมถอมตน โดยใชการวัด 5 อันดับ

ผลสัมฤทธิ ์

สถานประกอบการที่รับผูสําเร็จการศึกษาที่เขาทํางาน มีระดับความพึงพอใจโดยเฉลี่ยในระดับ 4.00

อยูในระดับ ดี

Page 86: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

86

ขอกําหนดท่ี 3.9 รวมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคลอง

กับความตองการของตลาดแรงงาน

ตัวบงชี้ท่ี 23 รอยละของหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดเขารวมการอบรมและประชุมสัมมนา เพื่อพัฒนาหลักสูตรของแตละสาขาวิชาใหมี

สมรรถนะสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยนํารายวิชาที่พัฒนาแลวมาจัดทําเปนแผนการ

เรียนรูจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มี 4 สาขาวิชา คือ ชางไฟฟากําลัง

ชางยนต บัญชี และคอมพิวเตอรธุรกิจ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) แบบเทียบโอน มี 2

สาขาวิชา คือ คอมพิวเตอรธุรกิจ และบัญชี นอกจากน้ียังมีหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (หลักสูตรทองถ่ิน) เพื่อ

ตอบสนองตอความตองการของประชาชน สถานประกอบการและตลาดแรงงานตางๆใหมีความสามารถตรงตอ

ความตองการของตลาดแรงงานและสถานประกอบการ ทัง้น้ีมีการปรับปรุงสมรรถนะในแผนการเรียนรูอยาง

ตอเน่ือง อันเน่ืองจากความตองการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยีใหม ๆ

ผลการดําเนินการ

แตละสาขาวิชา มีการนําหลักสูตรฐานสมรรถนะของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามาจัดทํา

แผนการเรียนรู ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทั้ง 4 สาขาวิชาไดแก สาขาวิชาชางไฟฟากําลัง สาขาวิชา

ชางยนต สาขาวิชาการบัญชี และสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ จัดทําหลักสูตรฐานสมรรถนะครบทุกสาขาวิชา คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยู

ในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.10 จัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนา

ตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 24 รอยละของแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงประโยชนที่ผูเรียนจะไดรับ และจัด

กระบวนการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะความรู อีกทั้งยังสงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม

ดานความมีมนุษยสัมพันธ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเช่ือมั่นในตนเอง ความสนใจใฝรู ความสามัคคี

รวมทั้งการนอมนําแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการเรียนการสอน โดยผานการจัดการเรียน

การสอนของครูผูสอน โดยทําแผนการการเรียนรูแบบบูรณาการ อีกทั้งสถานศึกษายังพัฒนาบุคคลากรครูใหมี

ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

Page 87: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

87

ผลการดําเนินงาน

สถานศึกษา มอบหมายใหครูผูสอนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู โครงการสอนแบบบูรณาการ มี

วัตถุประสงคเพื่อใหคํานึงถึงผูเรียน และเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยมีเกณฑคุณภาพดังน้ี

1. จํานวนรายวิชาที่เปดสอนในสาขาวิชา / สาขางาน

2. จํานวนรายวิชาที่มีการเขียนแผนการจัดการเรียนรูและผานการตรวจการเขียนแผนการจัดการ

เรียนรูจากฝายวิชาการ มีรายงานผลการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู

3. รอยละของรายวิชาที่มีการเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยางมีคุณภาพ

สัมฤทธิ์ผล

สถานศึกษาไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรครู และผูเรียนใหเกิดประเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการ

สอน โดยกําหนดใหครูทําแผนการจัดการเรียนรูแบบบรูณาการ และโครงการสอนแบบบูรณาการ และจํานวน

รายวิชาที่มีการจําทําแผนการจัดการเรียนรู โครงการสอนแบบบูรณาการจํานวน 111 รายวิชา คิดเปนรอยละ

87.40 อยูในเกณฑดี

ตัวบงชี้ท่ี 25 ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการสอนของผูสอน

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดดําเนินการสงเสริมสนับสนุนใหครูมีความรูและทักษะในการเลือกใชวิธีสอนที่หลากหลายมา

ใชในการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ และทําแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญจัดอบรมความรูเพื่อใหครูผูสอนมี ความรู ทักษะในการบูรณาการ จัดการเรียนการ

สอนที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค สงเสริมใหมีการใชสื่อการเรียนการสอน และ

จัดหาวัสดุ อุปกรณใหเกิดความพอเพียงและมีความทันสมัย จัดใหมีการประเมินผลการสอนและประเมินระดับ

ความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาและ

ปรับปรุงตอไป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และครูดําเนินการจัดการเรียนการสอนที่

หลากหลายวิธี โดยแตละวิชาไดทําแผนการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ จัดใหมีการวัดและประเมินผลตามสภาพ

จริงในทุกรายวิชา จัดใหมีการประเมินผลการสอน และประเมินระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการ

สอนมาตรวัด 5 ระดับ

ผลสัมฤทธิ ์

ความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอครูผูสอน อยูในระดับ 4.22 อยูในเกณฑดี

Page 88: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

88

ตัวบงชี้ท่ี 26 รอยละของงบประมาณท่ีสถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการ

เรียนการสอนอยางเหมาะสม

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษาไดรับอนุมัติเงินงบประมาณ ดําเนินการจัดสรร เพื่อใชในการดําเนินการจัดเรียนการสอน

สําหรับการจัดซื้อวัสดุฝกและอุปกรณตาง ๆ ใหกับคณะวิชา สาขาวิชา และแผนกวิชาตาง ๆ โดยการ

พิจารณารวมกันของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา เพื่อใหเพียงพอตอการเรียนการสอน

ผลการดําเนินงาน

คณะวิชา สาขาวิชา และแผนกวิชาตางๆ ไดนําเงินงบประมาณ ไปดําเนินการจัดซื้อวัสดุฝก และ

อุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอน ใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามรายการ

ของงบประมาณดังน้ี

ตารางแสดง รอยละของงบประมาณท่ีแตละสาขาวิชาไดรับตองบประมาณสําหรับวัสดุฝกและอุปกรณ

การเรียนการสอน ประจําปการศึกษา 2553

ประเภทวิชา/สาขาวิชา งบท่ีจัดซื้อวัสดุฝกงานของแผนกวิชา

งบประมาณท่ีจาย

สาขาวิชาชางยนต 107,523.66

สาขาวิชาชางไฟฟา 91,645.00

สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 58,065.00

สาขาวิชาการบัญชี 17,000.00

รวม 274,233.66

Page 89: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

89

ตารางแสดง จํานวนงบประมาณท่ีวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ไดรับ ประจําปการศึกษา 2553

ตามประเภทของงบประมาณรายจาย และประเภทงบประมาณ

หมวดรายจายงบประมาณ ประเภทงบประมาณท่ีไดรับจัดสรร

หมายเหตุ งบประมาณท่ีไดรับ งบประมาณท่ีจาย คงเหลือ

1. งบบุคลากร งบวัสดุฝกและ

อุปกรณ ไดแก

งบบุคลากร+

งบดําเนินการ+

เงินอุดหนุน

เปนเงิน

11,544,301.56

บาท คิดเปน

รอยละ 86.60

( ไมรวม

งบลงทุนและ

งบครุภัณฑ )

- เงินเดือน+ประจําตําแหนง 1,993,062.90 1,993,062.90 0.00

- พนักงานราชการ 1,827,000.00 1,562,826.84 264,173.16

2. งบดําเนินการ - ระยะสั้น

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 3,728,200.00 2,984,027.02 744,172.98

- คาสาธารณูปโภค 340,188.66 340,188.66 0.00

3. งบดําเนินงาน - ปวช.

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 233,600.00 233,586.70 13.30

4. งบดําเนินงาน - ปวส.

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 42,350.00 42,350.00 0.00

5. งบลงทุน

- คาครภัุณฑ - - -

6. เงินอุดหนุน - ขั้นพ้ืนฐาน 3,319,900.00 2,782,104.93 537,795.07

7. งบอุดหนุน - สิ่งประดิษฐ 60,000.00 59,693.30 306.70

8. งบอุดหนุน - โครงการ - - -

9. งบอ่ืน ๆ - - -

รวม 11,544,301.56 9,997,840.35 1,546,461.21

ผลสัมฤทธิ ์

จากงบดําเนินการทั้งหมด 11,544,301.56 บาท วิทยาลัยจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณฝก สําหรับจัดการ

เรียนการสอนเปนจํานวนเงิน 9,997,840.35 บาท คิดเปนรอยละ 86.60 จากที่ต้ังเปาหมายไวมากกวา

รอยละ 15 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 90: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

90

ขอกําหนดท่ี 3.11 จัดระบบคอมพิวเตอรใหเหมาะสมและเพียงพอในแตละสาขาวิชา

ตัวบงชี้ท่ี 27 ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดกํ าหนดใหมี รายวิชาคอมพิวเตอร ในทุกสาขาวิชาตรงตามหลักสูตรที่กํ าหนด

จัดหองเรียนคอมพิวเตอรพรอมอุปกรณการเรียนการสอนใหมีความทันสมัย จัดหาเครื่องคอมพิวเตอรให

เพียงพอกับจํานวนนักศึกษา โดยจัดทําโครงการขอความชวยเหลือจากองคการบริหารสวนจังหวัดอุทัยธานี

เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการเรียนการสอน มีการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนการสอน มี

การปรับปรุงหองและปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรใหมีความทันสมัยย่ิงข้ึน จัดทําตารางการใชหองคอมพิวเตอร

ใหเกิดการเหมาะสมตอสภาพการใชงานและบํารุงรักษา

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2553 วิทยาลัยมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรทั้งหมด 3 หอง โดยแบงเปนจํานวนหองละ

20 , 20 และ 40 เครื่องตามลําดับ จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรรวมทั้งสิ้น 80 เครื่อง โดยขอยืมครุภัณฑ

คอมพิวเตอรจากองคการบริหารสวนจังหวัดอุทัยธานี 30 เครื่อง มีการปรับปรุงหองและเครื่องคอมพิวเตอรให

อยูในสภาพสมบูรณใชงานไดตลอดเวลา เพื่อใหผูเรียนในทุกสาขาวิชาไดเรียนวิชาคอมพิวเตอรตรงตามหลักสูตร

และวัตถุประสงครายวิชา

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดจัดอุปกรณระบบคอมพิวเตอรไวเพียงพอกับความตองการของผูเรียนคิดเปนอัตราสวน 1

คนตอ 1 เครื่องในแตละรายวิชาที่เขามาเรียนหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรจากที่ ต้ังเปาหมายไว 1 คนตอ

1 เครื่อง ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 91: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

91

ขอกําหนดท่ี 3.12 จัดสถานท่ีเรียน สถานท่ีฝกปฏิบัติงาน สถานท่ีศึกษาคนควา ใหเหมาะสมกับ

สาขาวิชา ท้ังในสถานศึกษา สถานประกอบการ และแหลงการเรียนรูอ่ืน ๆ

ตัวบงชีท่ี้ 28 ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนท่ีฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาท่ีเรียน

มีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษาจัดใหมีคณะกรรมการดูแลรักษาสภาพแวดลอมของสถานศึกษา มีหัวหนางานอาคาร

สถานที่กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ เพื่อการบํารุงรักษา ซอมแซม มอบหมายใหหัวหนาแผนกวิชา

จัดองคประกอบของการเรียนการสอนใหมีบรรยากาศที่เหมาะสม มีแผนการใชพื้นที่ของแผนก มีใบควบคุม

คุณภาพการปฏิบัติงานประจําพื้นที่ที่ตองดูแลรักษาเปนพิเศษประจําวัน โดยใหมีผูรับผิดชอบและผูตรวจ เชน

หองนํ้า โรงอาหาร เปนตน มีการดูแลรักษาอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โดยมี

พื้นที่และหองเรียนอยางชัดเจน ตลอดจนมีผูรับผิดชอบในแตละพื้นที่ จัดใหมีการประเมินความพึงพอใจตอ

การใชพื้นที่ในสวนตาง ๆ เพื่อนําผลมาพัฒนา ปรับปรุงใหดีข้ึน

ผลการดําเนินงาน

1. การจัดองคประกอบดานหองเรียน หองปฏิบัติการและโรงฝกงาน

ลําดับ

ท่ี

สถานท่ี การปรับปรุง

1.

2.

3.

หองเรียน

หองปฏิบัติการ

โรงฝกงาน

1. มีตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการและโรง

ฝกงาน

2. มีการประเมินการใชอาคารสถานที่ โดยมีแบบ

ประเมินความพึงพอใจ

3. มีแผนการปรับปรุง ดูแลรักษาพื้นที ่

4. มีการปรับปรุงดูแล รักษา

ผลการดําเนินงาน อยูในเกณฑ ดี (ปฏิบัติไดท้ัง 4 ขอ)

Page 92: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

92

2. การจัดองคประกอบดานศูนยวิทยบริการ ( แหลงเรียนรู )

ลําดับท่ี แหลงเรียนรู การปรับปรุง

1.

หองสมุด

- เอกสาร ตํารา และสื่อตาง ๆ

ในหองสมุด

- ระบบการจัดการยืม – คืน

หนังสือ ในหองสมุด

- ระบบการสืบคน

- บอรดและมุมวิชาการตาง ๆ

1. มีสื่อที่หลากหลาย เชน ระบบสื่อสารทางไกล

ผานดาวเทียม คอมพิวเตอรเพื่อการคนควาผาน

ระบบอินเทอรเน็ต ใหมีสื่อและอุปกรณการศึกษา

เชน เครื่องฉายภาพทึบแสง , VCD , DVD ,

เอกสาร ตําราและสิ่งพิมพตาง ๆ

2. มีระบบจัดการและการสืบคนดวยระบบ

คอมพิวเตอร

2.

3.

4.

หองดูหนัง ฟงเพลง (Entertain)

- มีการเผยแพรความรูระบบ

ทางไกล

- มีสื่อประเภท VCD อยาง

หลากหลาย

- บอรดและมุมวิชาการตาง ๆ

หองอินเทอรเน็ต

มีระบบอินเทอรเน็ตที่พรอมใชงาน

ในหองอินเทอรเน็ต

- ประจําในสาขางานและฝาย

ตาง ๆ

- มีอุปกรณการเรียนรูที่เปน

สวนตัว (ชุดอุปกรณ เสริมใน

การฟง)

- มีระบบการใหบริการที่

เพียงพอแกนักศึกษาและ

บุคคลภายนอก

สื่อและอุปกรณการเรียน

3. มีระบบการใหบริการที่เพียงพอแกนักศึกษา

ของวิทยาลัยและบุคคลภายนอก

4. มีการประเมินคุณภาพการใหบริการ โดยใช

แบบสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการงานวิทย

บริการและหองสมุด

5. มีระบบควบคุมการใชบริการงานวิทยบริการ

และหองสมุด

ผลการดําเนินการ อยูในเกณฑ ดี (ปฏิบัติไดท้ัง 4 ขอ)

ผลสัมฤทธิ ์

ระดับที่เอื้อตอการเรียนรูอยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทุกขอ

Page 93: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

93

ตัวบงชี้ท่ี 29 ระดับความเหมาะสมในการจัดศูนยวิทยบริการใหเหมาะสมกับวิชาท่ีเรียน

มีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดตระหนักถึงการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษา นอกจากที่จะเรียนภายในหองเรียนเพียง

อยางเดียว ยังไดจัดใหมีศูนยวิทยบริการ เชน หองสมุด หองอินเทอรเน็ต และมุมสื่อวีดีทัศนเพื่อรองรับการ

เรียนรูของนักเรียน นักศึกษาและบุคคลภายนอก ที่ตองการการเพิ่มพูนความรูของตัวเองใหมากย่ิงข้ึนใน

การศึกษาหาความรูในสิ่งที่สนใจ และทางวิทยาลัยไดรองรับในการขอใชสถานที่จากหนวยงานราชการ

ภายนอก ที่จะมาใชหองอินเตอรเน็ตภายในวิทยาลัยเพื่อจัดอบรมความรูตางๆ ใหกับประชาชนทั่วไปอีกดวย

เพราะทางวิทยาลัยไดเล็งเห็นความสําคัญในการเรียนรูที่ไมมีวันสิ้นสุด และเปนสวนหน่ึงในการบริการชุมชนเพื่อ

การพัฒนาของสังคมในปจจุบันและอนาคตใหดีย่ิงข้ึนตอไป

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2553 งานวิทยาบริการและหองสมุดไดมีการดําเนินงานโครงการตางๆ และปรับปรุง

บรรยากาศ เพิ่มเติมจํานวนตําราเรียน หนังสือประเภทตาง ๆ มีระบบโปรแกรมระบบงานหองสมุดเพื่อใชใน

การยืม-คืนหนังสือและคนหารายช่ือหนังสือภายในหองสมุด มีการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหเพียงพอตอความ

ตองการของนักเรียน นักศึกษา ประชาชนภายนอกที่เขามาใชบริการ หองสมุด และหองอินเทอรเน็ต รวมทั้ง

มีการใชแบบประเมินคุณภาพการใหบริการเพื่อนําไปใชในการปรับปรุงการบริการใหมุงสูมาตรฐานคุณภาพ

จากการเก็บขอมูลในการใหบริการของศูนยวิทยบริการ วิทยาลัยฯ มีศูนยวิทยบริการและแหลงการ

เรียนรู ดังน้ี

- หองสมุดวิทยาลัยฯ จํานวน 1 หอง

- มุมศึกษาคนควา จํานวน 1 แหง

- มุมสื่อวีดีโอ จํานวน 1 แหง

- หองอินเทอรเน็ต จํานวน 1 หอง

- เครื่องคอมพิวเตอร จํานวน 30 เครื่อง

- จุดกระจายสัญญาณ Internet ไรสาย จํานวน 3 แหง

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยมีการรองรับการใหบริการวิชาการแกชุมชน หนวยงานราชการภายนอกที่มาขอรับบริการเพื่อ

เพิ่มความรูของประชาชน และทางศูนยวิทยบริการวิทยาลัยฯไดดําเนินโครงการปรับปรุงศูนยวิทยบริการและ

แหลงเรียนรู เพื่อนําเขาไปสูมาตรฐานคุณภาพ ผลการประเมินระดับความเหมาะสมในการจัดศูนยวิทยบริการ

ใหเหมาะสมกับวิชาที่เรียนมีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุดของวิทยาลัยฯ ไดปฏิบัติตาม

เกณฑการตัดสินทุกขอตามขอมูลประกอบการตัดสิน ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 94: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

94

ตัวบงชี้ท่ี 30 ระดับความเหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดกําหนดใหมีรายวิชาคอมพิวเตอรในทุกรายวิชาใหตรงตามหลักสูตร และใหมีการจัด

อุปกรณ/ครุภัณฑในการเรียน การสอนที่มีความทันสมัยและเพียงพอกับจํานวนนักเรียน นักศึกษา มีการ

ปรับปรุงแผนกวิชา จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑ ใหเหมาะสมกับการเรียน การสอน และจัดทําตารางการใช

ครุภัณฑ อุปกรณ ใหเกิดการเหมาะสมตอสภาพการใชงาน และการบํารุงรักษา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ จัดใหมีการจัดซื้ออุปกรณดานฮารดแวรของคอมพิวเตอรในแตละแผนกวิชาใหเพียงพอและ

พรอมใชตามสาขาวิชา แตงต้ังหัวหนาแผนกวิชาติดตามตรวจสอบ เพื่อการบํารุงรักษา ซอมแซม จัดทําแผนการ

ใชพื้นที่ของแผนกมีใบควบคุมคุณภาพของครุภัณฑ ดานการใชการซอมแซมไวอยางชัดเจน จัดใหมีการประเมิน

ความพึงพอใจในการใชอุปกรณ ครุภัณฑในสวนตางๆ รวมทั้งมีการสํารวจในแตละแผนกวิชา เพื่อนําครุภัณฑ

และอุปกรณ มาพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึน

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาไดใชครุภัณฑ เครื่องมือ และอุปกรณอยางทั่วถึง พอเพียง ที่จะมีสมรรถนะและทักษะและ

ไดทดลองใชเครื่องมือเบื้องตนในการนําไปปฏิบัติงานอาชีพที่เกี่ยวของไปประกอบอาชีพอิสระของตนเอง ระดับ

ความเหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณอยูในเกณฑ พอใช คือปฏิบัติทุกขอ 1 - 4

ขอกําหนดท่ี 3.13 จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีเอ้ือตอ

การเรียนรู

ตัวบงชี้ท่ี 31 ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวย

ความสะดวกท่ีเอ้ือตอการเรียนรูในสาขาวิชา / สาขางาน

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษา ตระหนักถึงความปลอดภัยของการจัดสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวก

ทั้งในหองเรียน และนอกหองเรียน จัดต้ังคณะกรรมการควบคุมดูแลรักษาสภาพแวดลอม และความปลอดภัย

ของสถานศึกษา โดยจัดใหมีการประชุมช้ีแจง เรื่องความปลอดภัยตอครูอาจารย เจาหนาที่ และแจงขอพึง

ปฏิบัติตอนักศึกษา ดูแลบํารุงรักษาอุปกรณดับเพลิงตามอาคารตาง ๆ เชน อาคารพาณิชยการ อาคารชางยนต

อาคารชางไฟฟา อาคารอํานวยการ จัดหองพยาบาลไวรับรองนักศึกษา ทีเ่จ็บปวยหรือเกิดอุบัติเหตุ จากการฝก

ปฏิบัติงานขณะทําการเรียนการสอน ภายในหองพยาบาลจัดใหมีเวชภัณฑที่จําเปนสําหรับการรักษาพยาบาล

เบื้องตน จัดเวรยามทั้งกลางวัน และกลางคืน มีปายเตือนเรื่องความปลอดภัยในการใชรถ และถนนภายใน

Page 95: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

95

สถานศึกษา รวมถึงมีภาพเตือนเรื่องความปลอดภัยในการใชเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณในการฝก

ปฏิบัติงาน นอกจากน้ียังมีการจัดทําประกันอุบัติเหตุใหกับนักศึกษา ตลอดจนดูแลซอมแซมอาคารสถานที่ใหมี

ความปลอดภัย ใหมีความเรียบรอย สะอาดและสวยงาม

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีคณะกรรมการควบคุมดูแลรักษาสภาพแวดลอมและความปลอดภัย และจัดทําแบบ

สํารวจสภาพความปลอดภัย และสิ่งอํานวยความสะดวกในแตละสาขาวิชาดังน้ี

- มีปายคําเตือนความปลอดภัย / เครื่องหมาย / สัญลักษณ

- มีอุปกรณปองกันอัคคีภัย (ถังดับเพลิง)

- มีปายแสดงข้ันตอนการใชเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณปองกันอัคคีภัย

- มีสถานที่ และ หองเก็บอุปกรณ เครื่องใช อยางเปนสัดสวน

- มีอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในหองปฏิบัติการ

- มีบันทึกการตรวจสภาพ บํารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร

- มีอุปกรณสวมใสเพื่อปองกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน

- จัดทําสถิติการเกิดอุบัติเหตุแยกตามสาขาวิชาตอภาคเรียน ทุกสาขาวิชาสามารถปฏิบัติตาม

เกณฑที่ไดต้ังไวครบทุกสาขาวิชา ทุกขอ

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวนสาขางานที่จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวก ครบทั้ง 4

ดาน คิดเปนรอยละ 100 ผลการประมินอยูในเกณฑ ดี จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 70

ขอกําหนดท่ี 3.14 พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานท่ีเก่ียวของอยางเปนระบบและ

ตอเน่ือง

ตัวบงชี้ท่ี 32 รอยละของบุคคลกรภายในสถานศึกษาท่ีไดรับการพัฒนาตามหนาท่ี ท่ีรับผิดชอบ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําแผนพัฒนาในวิชาชีพหรือหนาที่ที่รับผิดชอบใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษา

ทั้งหมดของวิทยาลัย ในรูปแบบตางๆ โดยใหมีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร ทั้งสายครูผูสอนและสาย

สนับสนุน โดยจัดต้ังแผนงบประมาณ มีการสงเสริมใหบุคลากรศึกษาตอใหมีคุณวุฒิสูงข้ึน จัดสงบุคลากรเขา

รับการอบรม ประชุมสัมมนาทางวิชาการ จัดศึกษาดูงาน ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยจัดใหมี

ระบบการติดตามและรายงานผล จัดใหมีการศึกษาคนควาการเรียนรูดวยตนเอง สงเสริมดานระบบ

เครือขาย Internet เพื่อใหสามารถศึกษาหาความรูไดตลอดเวลา จัดใหมีแฟมสะสมผลงาน เพื่อการ

ประเมินผลการปฏิบัติงานในหนาที่ที่รับผิดชอบ

Page 96: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

96

ผลการดําเนินงาน

บุคลากรภายในสถานศึกษาไดรับการพัฒนาในหนาที่ที่รับผิดชอบ และมีการพัฒนาตนเองตลอดป

การศึกษาในรูปแบบของการฝกอบรมตอในระดับที่สูงข้ึน ศึกษาดูงาน ประชุม สัมมนาทางวิชาการ ทั้ง

ภายในและภายนอกสถานศึกษา และศึกษาคนควาเรียนรูดวยตนเองสงเสริมดานระบบเครือขาย Internet

ไปสูงานในฝายตางๆ โดยบุคลากรของทางวิทยาลัย มีการพัฒนาตนเองตามหนาที่ที่รับผิดชอบมากกวา 20

ช่ัวโมงตอคนตอป

จํานวนบุคลากรท่ีไดรับการพัฒนาตามหนาท่ีท่ีรับผิดชอบมีรายละเอียดดังน้ี

ท่ี บุคลากร จํานวนคน ชั่วโมงอบรม

ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง (คน) รอยละ

1 สายครูผูสอน 23 23 100

2 สายสนับสนุนการสอน 10 10 100

บุคลากรท่ีไดรับการพัฒนาไมนอยกวา 20 ชั่วโมง คิดเปนรอยละ 100

ผลสัมฤทธิ ์

บุคลากรภายในวิทยาลัยสายครูผูสอน ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบมากกวา 20 ช่ัวโมงตอ

คนตอป คิดเปนรอยละ 100 และสายสนับสนุนการสอนไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบไมนอยกวา

20 ช่ัวโมงตอคนตอป คิดเปนรอยละ 100 ดังน้ัน บุคลากรภายในสถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่

รับผิดชอบทั้งหมดอยางมีประสิทธิภาพ คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี จากที่

ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 80

ขอกําหนดท่ี 3.15 ระดมทรัพยากรท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษารวมกันจัดการศึกษาท้ังใน

ระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 33 จํานวนครั้งหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยมีนโยบายตอการบริหารการศึกษาโดยใหภาครัฐและเอกชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา

และการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน ขณะเดียวกันวิทยาลัยก็เปดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนในการศึกษา

อาทิเชน การจัดหาสถานที่ในการฝกประสบการณ การจัดหาทุนการศึกษา การจัดหาผูสนับสนุนวัสดุ -

ครุภัณฑ เพื่อสนับสนุนการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

Page 97: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

97

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดรับการสนับสนุนครุภัณฑและสื่อการเรียนการสอนจากภาครัฐและเอกชน 7 ครั้ง สถาน

ประกอบการภาครัฐและเอกชน ไดขอใชสถานที่ในการจัดการอบรม จํานวน 4 ครั้ง จัดการอบรมใหความรู

จากวิทยากรภายนอกและเปนวิทยากร จํานวน 8 ครั้ง การจัดหาทุนการศึกษา จํานวน 3 ครั้ง และ

วิทยาลัย ฯ สนับสนุนงบประมาณจากรายไดสถานศึกษาในการจัดซื้อครุภัณฑ จํานวน 3 ครั้ง ซอมแซม

ครุภัณฑ จํานวน 6 ครั้ง

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการ

จัดการศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ จํานวน 31 ครั้ง ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 34 จํานวนสถานประกอบการท่ีมีการจัดการศึกษารวมกับสถานศึกษา จัดการศึกษา

ระบบทวิภาคีและระบบปกติ

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษาไดประสานงานและจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการ โดยจัดสงผูเรียนเขาเรียนและ

ฝกงานภายนอกสถานศึกษาในสถานประกอบการ ตามหลักสูตรที่กําหนด มีการประเมินผลผูเรียนรวมกัน

ระหวางครูผูนิเทศกับครูผูสอนของสถานประกอบการ วิทยาลัยจัดใหมีการลงนามความรวมมือระหวางสถาน

ประกอบการกับวิทยาลัย จัดใหมีศูนยกําลังคนอาชีวศึกษา ระดับสถานศึกษาโดยลงในwww.v-cop.net

ลงในสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นักศึกษาสามารถสืบคนและสมัครงานและหาสถานที่ฝกงานทาง

อินเตอรเน็ตได

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนไดรับความรูและไดรับประสบการณจริงจากการเรียนการสอนและการฝกปฏิบัติงานตามสภาพ

ความเปนจริงของธรรมชาติการเรียนรูของผูเรียน มีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงข้ึน โดยมี

ความรวมมือกับสถานประกอบการ จํานวน 35 สถานประกอบการ

ผลสัมฤทธิ ์

สถานศึกษาไดจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการในระบบทวิภาคีและระบบปกติ ระดับ ปวช.

23 สถานประกอบการ ปวส.(เทียบโอน) 8 สถานประกอบการ และระยะสั้น(คูขนาน)โรงเรียนลานสักวิทยา

4 สถานประกอบการ เพียงพอกับจํานวนนักศึกษาที่ออกฝกงานทั้งหมด 68 คน 35 สถานประกอบการ

มีผลสัมฤทธ์ิรอยละ 100 อยูในระดับดี

Page 98: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

98

ตัวบงชี้ท่ี 35 จํานวนคน-ชั่วโมง ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญาทองถ่ิน ท่ีมีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษาไดจัดความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนและองคกรตาง ๆ เพื่อมา

เปนวิทยากรในการใหความรู และทักษะแกผูเรียน ไดใหแผนกวิชามีการจัดหาผูเช่ียวชาญ ผูทรงคุณวุฒิที่มี

ความรูความสามารถ เช่ียวชาญเฉพาะดานจากสถานประกอบการ หนวยงานตาง ๆ ชุมชนและทองถ่ินมาให

ความรูในสถานศึกษา นักศึกษาไดรับความรูความเขาใจที่ดีและทันตอความกาวหนาใหครูผูสอนมีการจัดทัศน

ศึกษาดูงานทั้งภายในและนอกทองถ่ินเพื่อใหผู เรียนไดรับประสบการณตรงจากวิทยากรผูเ ช่ียวชาญ

ผูทรงคุณวุฒิเพื่อเปนการพัฒนาการเรียนการสอน

ผลการดําเนินการ

ลําดับที ่ แผนกวิชา โครงการ

จํานวนผูเช่ียวชาญ

คน/ช่ัวโมง รวม

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

1 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

เขาคายพักแรมลูกเสือเนตรนาร ี - 3-2 3-2

2 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการอบรมความรูเกี่ยวกับ

ยาเสพติด

- 2-2 2-2

3 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการศึกษาดูงานสถาน

ประกอบการนักเรียน-นักศึกษา

2553

2-5 - 2-5

4 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการสัปดาหวันสิสาบูชา 1-2 - 1-2

5 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการฝกอบรมพัฒนาความรู

และเพิ่มทักษะดานการบริหาร

จัดการสมัยใหม

- 1-7 1-7

6 ชางยนต,ชางไฟฟา โครงการฝกอบรมจัดองคความรู

การขับข่ีปลอดภัยเสริมสราง

วินัยจราจร

1-7 - 1-7

Page 99: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

99

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวน คน – ช่ัวโมง ของผูเช่ียวชาญที่มีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน ต้ังแต 2 คน – ช่ัวโมง ตอภาค

เรียนข้ึนไป มีครบทุกสาขางาน คิดเปน รอยละ 100 จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 80 ผลการ

ประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 36 อัตราสวนของผูสอนประจําท่ีมีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ มีแผนในการจัดอัตรากําลังคนในแตละสาขาวิชาตามความจําเปนไดเปดสอนในหลักสูตร

ตาง ๆ ดังน้ี หลักสูตรวิชาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม สาขางานยาน

ยนต สาขางานไฟฟากําลัง ประเภทพาณิชยกรรม สาขางานบัญชี สาขางานคอมพิวเตอร หลักสูตร ปวส.เทียบ

โอนความรูและประสบการณ , หลักสูตรระยะสั้น, หลักสูตรแกนประถม-มัธยม และหลักสูตรปวช.ในโรงเรียน

มัธยม สงเสริมใหครู อาจารย มีการพัฒนาคุณวุฒิตามสาขาวิชา สงเสริมใหไดรับใบประกอบวิชาชีพครูตาม

เกณฑที่ครุสภากําหนด กําหนดใหแตละสาขาวิชามีครู อาจารยสอนตามคุณวุฒิรอยละ 80 โดยการเชิญ

ครูผูสอนจากสถานศึกษาอื่นเขารวมในสาขาวิชาที่ไมมีวุฒิน้ัน ๆ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดมีการจัดหาบุคลากรที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตรงตามสาขาวิชาเพื่อทําการจัดการเรียนการ

สอนใหกับนักศึกษาในแตละสาขาวิชาตาง ๆ ไดจัดตารางสอนของครู อาจารยผูสอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา

ในแตละภาคการศึกษาจัดทําตารางสรุปสัดสวนของผูสอนแยกตามสาขาวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิ และตรงตาม

วุฒิการศึกษาดังน้ี

ตารางสรปุการสอนของครูอาจารยท่ีสอนตรงตามวุฒิการศึกษาในปการศึกษา 2553

แผนกวิชา จํานวนครูผูสอน จํานวนนักเรียนทั้งหมด

รวม จํานวนครูตอ

นักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

ชางไฟฟากําลัง 2 15 10 25 6.25

ชางยนต 2 80 62 142 35.5

การบัญชี 3 17 13 30 5

คอมพิวเตอร 2 30 20 50 12.5

4 แผนก 9 คน 142 105 247 13.7

Page 100: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

100

ดังน้ันจํานวนครูผูสอนประจําตอนักเรียนท่ีสอนตรงตามวุฒิการศึกษาในปการศึกษา 2553

ครูผูสอนประจําตอนักเรียน = 44 x 100

= 100

4 หมายถึง จํานวนสาขาวิชาที่ผานเกณฑ (ครู 1 คน ตอ นักเรียน 35 คน)

4 หมายถึง จํานวนสาขาวิชาที่เปดสอนทั้งหมด

ผลสัมฤทธิ ์

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2553 มีจํานวนรายวิชาที่เปดสอนทั้งหมด 45 รายวิชา จํานวนรายวิชาที่

สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา คิดเปนรอยละ 100 และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 มีจํานวนรายวิชาที่

เปดสอนทั้งหมด 59 รายวิชา จํานวนรายวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา คิดเปนรอยละ 100 ดังน้ัน

ในปการศึกษา 2553 มีรายวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษาคิดเปนรอยละ 100 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี คือ

รอยละ 90-100

ตัวบงชีท่ี้ 37 อัตราสวนของครูผูสอนประจําตอผูเรียน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ มีแผนงานในการจัดสรรอัตรากําลัง ของครูใหมีความพอเพียงตอการจัดการเรียนการสอน

โดยไดมอบหมายใหงานทะเบียนจัดทําสถิติของผูเรียนในแตละภาคเรียนในปการศึกษา 2553 และขอมูล

บุคลากรของสถานศึกษาที่ทําหนาที่สอนจากงานบุคลากร ในสาขาวิชาตาง ๆ ของวิทยาลัย มาจัดทําขอมูลให

เปนปจจุบัน

ผลการดําเนินการ

งานทะเบียนไดแจงยอดจํานวนนักศึกษา ในปการศึกษา 2553 ในภาคเรียนที่ 1 จํานวน 142 คน

ภาคเรียนที่ 2 จํานวน 105 คน และงานบุคลากรการศึกษาไดแจงยอดบุคลากรที่ทําหนาที่สอนใน ภาคเรียนที่

1 ปการศึกษา 2553 จํานวน 9 คน และในภาคเรียนที่ 2 ในปการศึกษา 2553 มีผูสอน จํานวน 9 คน

Page 101: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

101

ตารางสรุปจํานวนนักศึกษาและจํานวนบุคลากรของสถานศึกษาท่ีทําหนาท่ีสอน

การศึกษา แผนกวิชา

จํานวน

ครู-อาจารย

จํานวน

นักศึกษา

อัตราสวนจํานวน

คร/ูจํานวน

นักศึกษา

1/2553 ชางยนต

ชางไฟฟากําลัง

การบัญชี

คอมพิวเตอร

2

2

3

2

80

15

17

30

1:40

1:7.5

1:5.6

1:15

รวม 9 142 1:15.7

2/2553 ชางยนต

ชางไฟฟากําลัง

การบัญชี

คอมพิวเตอร

2

2

3

2

62

10

13

20

1:31

1:5

1:43

1:10

รวม 9 105 1:11.6

รวมในปการศึกษา 2553 ทั้งสิ้น 18 คน 247 คน 1:13.7

ผลสัมฤทธิ ์

อัตราสวนผูสอนตอผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษาในปการศึกษา 2553 ในภาคเรียนที่ 1 ครูอาจารย

1 คน ตอผูเรียน 15.7 คน ภาคเรียนที่ 2 ครู อาจารย 1 คน ตอผูเรียน 11.6 คน และในปการศึกษา 2553

น้ันครู อาจารย 1 คน สอนผูเรียนเฉลี่ยอยูที่ 13.7 คน ซึ่งอยูเกณฑ ดี จากที่ต้ังเปาหมายไว ผูสอน 1 คน

ตอผูเรียน ไมเกิน 25 คน

ขอกําหนดท่ี 3.16 จัดทําระบบดูแลใหคําปรึกษาผูเรียนอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 38 จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียนพบครูท่ีปรึกษา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดใหความสําคัญในการดูแลติดตามใหคําแนะนําแกผูเรียนดานการศึกษา และความประพฤติ

อยางตอเน่ือง โดยการแตงต้ังครูที่ปรึกษาและหมอบหมายใหดูแล ติดตามนักศึกษาและกําหนดใหครูที่ปรึกษา

ตรวจสอบนักศึกษาในกจิกรรมการเขาแถวเคารพธงชาติทุกวัน ในแตละสัปดาห เพื่อติดตามผลการเรียน และ

พฤติกรรมของนักศึกษา หากพบวานักศึกษามีผลการเรียนตํ่ากวาเกณฑ ตลอดจนมีความประพฤติที่ไมเหมาะสม

ไมปฏิบัติตามกฎระเบียนของสถานศึกษา ครูที่ปรึกษาก็จะดูแลติดตามใหคําแนะนําปรึกษาและประสานกับ

ผูปกครอง เพื่อทราบและชวยกันหาทางแกไขปญหา เพื่อใหผูเรียนสามารถสําเร็จการศึกษาตามเกณฑที่กําหนด

Page 102: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

102

ผลการดําเนินการ

ครูที่ปรึกษาไดดําเนินการพบนักเรียน นักศึกษา ดูแล ติดตามใหคําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับการเรียน

และความประพฤติอยางตอเน่ืองอยางมีประสิทธิภาพตลอดปการศึกษา 2553 โดยจัดใหผูเรียนพบครูที่ปรึกษา

ดังน้ี

ภาคเรียนที่ 1 - จํานวนกลุมและหองของนักศึกษา 13 หอง

- จํานวนครั้งของนักศึกษาพบครูที่ปรึกษา 72 ครั้ง

ภาคเรียนที่ 2 - จํานวนกลุมและหองของนักศึกษา 12 หอง

- จํานวนครั้งของนักศึกษาพบครูที่ปรึกษา 73 ครั้ง

ผลสัมฤทธิ ์

จากการที่วิทยาลัยไดดําเนินการดูแลติดตามผูเรียนอยางใกลชิดตลอดปการศึกษา ครูที่ปรึกษาไดดูแล

ใหคําแนะนําปรึกษาแกผูเรียน มีผลทําใหนักศึกษามีความประพฤติที่เหมาะสม ซึ่งการพบกลุมผูเรียนของครูที่

ปรึกษาทุกคนมีจํานวน 145 ครั้ง อยูในเกณฑดี

ตัวบงชี้ท่ี 39 จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษาไดจัดต้ังแผนงบประมาณประจําปในการบรรจุโครงการตรวจสารเสพติดของสถานศึกษา

แตงต้ังคณะกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของสถานศึกษาใหความสําคัญตอการมีสวนรวมในการ

ดูแลปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษา เขารวมประชุมและเปนคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการ

ตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดอุทัยธานีในการรณรงคปองกันยาเสพติดจัดใหมีการตรวจหาสารเสพติด

ประเภทรายแรงและอบรมใหความรูจากหนวยงานที่รับผิดชอบดานยาเสพติดจัดใหมีกิจกรรมเสริมเพื่อเปนการ

ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและหางไกลจากยาเสพติด เชน การเลนดนตรี เลนกีฬา เลนฟตเน็ต และ

อินเตอรเน็ตชวงหลังเลิกเรียน เปนตน

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนมีความรูในเรื่องของพิษภัยยาเสพติดใหโทษตางๆ จัดโครงการและกิจกรรม เพื่อเสริมสราง

ความเขมแข็งและเปนภูมิคุมภัยจากยาเสพติด มีการรายงานตอสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อําเภอ จังหวัด

และ สอศ. อยางตอเน่ือง และจัดทําโครงการตรวจหาสารเสพติดตามแผนภายในวิทยาลัยฯเปนประจําทุกป

Page 103: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

103

ผลสัมฤทธิ ์

สถานศึกษาจัดบริการตรวจหาสารเสพติดใหกบัผูเรียนปละ 1 ครั้ง จากจํานวนนักศึกษาทั้งหมด 142

คน เขารับการตรวจ 129 คน คิดเปนรอยละ 91.00 มีผลสัมฤทธ์ิ คือ ไมมีผูติดสารเสพติดประเภทรายแรงจาก

ผลการตรวจหาสารเสพติด ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 40 รอยละของผูเรียนท่ีออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดเห็นความสําคัญของการออกกลางคันของนักเรียน ไดจัดทําโครงการเพื่อแกไขปญหาไวใน

แผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา เชน โครงการประชุมผูปกครองและนักเรียน รวมทั้งจัดกิจกรรมเสริม

คุณภาพนักเรียนตลอดปการศึกษา และมอบหมายใหงานทะเบียนจัดทําแฟมประวัตินักศึกษาและผูที่สําเร็จ

การศึกษาในแตละปการศึกษา ปรับปรุงแบบคํารองและแบบรายงานใหมีความสะดวกรวดเร็วและมีความฉับไว

ตอการจัดทําขอมูลทั้งน้ี โดยเปนไปตามระเบียบของงานทะเบียน กระทรวงศึกษาธิการ และจัดรวบรวมขอมูล

เกรดเฉลี่ยของนักศึกษาที่จบการศึกษาในปการศึกษา 2553 เพื่อจัดทําผลการเรียนเฉลี่ย 6 ภาคเรียน และ

จัดทําผลสรุปจํานวนนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดประสานขอมูลและรายงานสภาพ

ตอผูปกครอง เชิญผูปกครองมาพบเปนรายบุคคล รายกลุมเพื่อรวมแกปญหา และจัดใหมีการช วยเหลือ

นักเรียนที่มีฐานะยากจน โดยมอบหมายงานแนะแนว งานอาจารยที่ปรึกษา งานปกครอง และอาจารยประจํา

วิชารวมใหขอมูล และวิทยาลัยฯ ไดจัดใหมีทุนการศึกษาแกนักเรียน จํานวน 2 ทุน คือ กองทุนเงินใหกูยืม

เพื่อการศึกษา (กยศ.) และทุนเฉลิมราชกุมารี

ผลการดําเนินการ

งานทะเบียนไดสรุปยอดจํานวนนักเรียนแรกเขาปการศึกษา 2553 ทุกช้ันป ทุกสาขาวิชา จํานวนทั้งสิ้น

142 คน และมีผูเรียนปจจุบัน จํานวน 105 คน โดยนักเรียนจํานวน 37 คน ที่หยุดเรียนกลางคัน บางสวน

หยุดเรียนเพื่อชวยครอบครัวดานคาใชจาย บางสวนไมไดต้ังใจเรียนต้ังแตแรกเขา บางสวนเรียนตามที่

ผูปกครองเลือกให บางสวนถูกสภาวะแวดลอมชักจูงใหมีพฤติกรรมไมเหมาะสม เวลาเรียนไมพอจึงไมผาน

เกณฑการศึกษาตามกําหนดเวลา

Page 104: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

104

ตาราง แสดงจํานวนนักเรียนออกกลางคัน ปการศึกษา 2553

แผนกวิชา

จํานวนนักเรียน

แรกเขา

ปการศึกษา 2553

(คน)

จํานวนผูเรียน

ปจจุบัน

ปการศึกษา

2553 (คน)

จํานวน

นักเรียนท่ี

ออกกลางคัน

(คน)

จํานวน

รอยละ

ท่ีออกกลางคัน

ชางยนต

ปวช. 1

ปวช. 2

ปวช. 3

34

19

27

20

18

24

14

1

3

41.17

5.26

11.11

รวม 80 62 18 22.5

ชางไฟฟา

ปวช. 1

ปวช. 2

ปวช. 3

8

-

7

4

-

6

4

-

1

50

-

14.28

รวม 15 10 5 33.33 *

การบัญช ี

ปวช. 1

ปวช. 2

ปวช. 3

8

4

5

4

4

5

4

-

-

50

-

-

รวม 17 13 4 23.52

คอมพิวเตอรธุรกิจ

ปวช. 1

ปวช. 2

ปวช. 3

15

7

8

10

4

6

5

3

2

33.33

42.85

25

รวม 30 20 10 33.33 *

รวมนักเรียนท้ังสิ้น 142 105 37 26.05

หมายเหตุ * แผนกชางไฟฟาและแผนกคอมพิวเตอรธุรกิจ อยูในเกณฑ พอใช คือ มีจํานวนรอยละ 31 – 40

ผลสัมฤทธิ ์

นักเรียนปจจุบัน ในปการศึกษา 2553 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีจํานวนรอยละ

73.94 และออกกลางคันรอยละ 26.05 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี คือ นอยกวารอยละ 31 ของนักศึกษาแรกเขา

Page 105: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

105

ขอกําหนดท่ี 3.17 จัดกิจกรรมสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีดีงามใน

วิชาชีพ รวมท้ังดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ตัวบงชี้ท่ี 41 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมท่ีสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม

คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ รวมท้ังดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีไดวางแผนการจัดกิจกรรมสงเสริมหลักสูตรในการพัฒนาผูเรียนในดาน

วิชาการ ดานคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ ใหมีเมตตากรุณา ความซี่อสัตย และมีวินัย

ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธที่ดี ไดสนับสนุนสงเสริมอนุรักษความเปนไทยและสงเสริมประชาธิปไตยใน

การเปนคนไทย เพื่อเปนการหลีกเลี่ยงอบายมุข และสิ่งเสพติด โดยใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรมทุกคน และ

จัดทําแผนปฏิบัติการไวเปนแนวทางการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและสํานักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีไดจัดกิจกรรมทีส่งเสริมดานวิชาการ ดานคุณธรรมจริยธรรม คานิยมใน

วิชาชีพ และดานบุคลิกภาพ สรางมนุษยสัมพันธ และปลูกฝงใหรักประเทศไทย โดยจัดกิจกรรมเคารพธงชาติ

กลาวคําปฏิญาณกอนเขาหองเรียน โดยใหคณะกรรมการ องคการวิชาชีพ ดําเนินกิจการประจําวัน และไดจัด

กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจําป 2553 และนอกแผนปฏิบัติการประจําป 2553 โดยใหนักศึกษาเขารวม

โครงการและรับผิดชอบใน ปการศึกษา 2553 มีโครงการ ทั้งหมดจํานวน 28 โครงการ และสามารถแยก

ออกเปนดานได 3 ดาน ดังน้ี

1. ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ มีจํานวน 10 กิจกรรม/โครงการ

2. ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดาน คุณธรรม มีจํานวน 20 กิจกรรม/โครงการ

3. ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ มีจํานวน 17 กิจกรรม/โครงการ

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการเสริมคุณภาพนักศึกษา

ใหม ปวช.1ภาคเรียนที่ 1/2553

45 4 4 7 60 ปวช.1

2 โครงการฝกอบรมจัดองคความรู

การขับข่ีปลอดภัยเสริมสรางวินัย

จราจร ภาคเรียนที่ 1/2553

36 5 - - 41 คัดเลือก

นักศึกษา

Page 106: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

106

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

3 ปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุม

ผูปกครอง ปการศึกษา 2553

ภาคเรียนที่ 1/2553

25 6 7 6 44 ปวช.1

4 การจัดการศึกษาดูงานสถาน

ประกอบการของนักเรียน

นักศึกษาใหม ภาคเรียนที่ 1/2553

30 5 7 10 52

ปวช.1,2

5 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ)

ระดับภาค ภาคเหนือ จ.พะเยา

ภาคเรียนที่ 2/2553

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

6 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ) ระดับชาติ

จ.เชียงราย ภาคเรียนที่ 2/2553

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

7 การประกวดสิ่งประดิษฐคนรุน

ใหม ระดับภาค ภาคเหนือ

จ.พะเยา ภาคเรียนที่ 2/2553

1 1 1 1 4 ตัวแทน

นักศึกษา

8 โครงการอบรมใหความรูเรื่องยา

เสพติด

ภาคเรียนที่ 1/2553

52 10 10 18 90 ปวช.

1,2,3

9 ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ.พะเยา

1 - 2 - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

10 ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ. เชียงราย

- - 2 - 2 ตัวแทน

นักศึกษา

Page 107: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

107

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมโครงการท่ีสงเสริมพัฒนาดานวิชาการ

ลําดับท่ี แผนกวิชา ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการเขา

รวม 1 2

1 ชางยนต 5 2 10 7

2 ชางไฟฟากําลัง 5 2 10 7

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 4 1 10 5

4 การบัญช ี 4 3 10 7

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดาน คุณธรรม จริยธรรม

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการแหเทียนพรรษา

ภาคเรียนที่ 1/2553

54 9 14 20 97 ปวช.1,

2 , 3

2 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center) ตําบล

เมืองการุง

ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

3 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center) ตําบล

สุขฤทัย

ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

4 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center) ตําบล

ทุงนางาม

ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

5 โครงการเสริมคุณภาพนักศึกษา

ใหม ปวช.1

ภาคเรียนที่ 1/2553

45 4 4 7 60 ปวช.1

Page 108: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

108

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

6 ปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุม

ผูปกครอง ปการศึกษา 2553

ภาคเรียนที่ 1/2553

25 6 7 6 44 ปวช.1

7 โครงการตรวจสารเสพติดภายใน

สถานศึกษา

ภาคเรียนที่ 1/2553

53 9 10 15 87 ปวช.

1,2,3

8 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบประกาศ

เกียรติคุณ

ภาคเรียนที่ 1/2553

76 12 17 21 126 ปวช. 1,

2 , 3

9 โครงการวันแมแหงชาติ 12

สิงหา มหาราชินี

ภาคเรียนที่ 1/2553

38 4 10 12 64 ปวช.1,2,3

10 สัปดาหวันวิสาขบูชา

ภาคเรียนที่ 1/2553

49 4 11 12 76 ปวช.1,2,3

11 โครงการอบรมใหความรูเรื่องยา

เสพติด

ภาคเรียนที่ 1/2553

52 10 10 18 90 ปวช.1,2,3

12 โครงการฟุตซอลตอตานยาเสพ

ติด

ภาคเรียนที่ 1/2553

57 4 - 4 65 เฉพาะ

นักเรียน

ชาย

13 กิจกรรมการเขาคายลูกเสือ –

เนตรนาร ี

ภาคเรียนที่ 2/2553

15 4 4 3 26 ปวช.1

14 โครงการกีฬาสีภายใน

สถานศึกษา

ภาคเรียนที่ 2/2553

49 9 11 12 81 ปวช.1,2,3

15 โครงการวันลอยกระทง

ภาคเรียนที่ 2/2553

45 8 11 13 77 ปวช.1,2,3

Page 109: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

109

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

16

ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ.พะเยา

1 - 2 - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

17 ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ. เชียงราย

1 1 1 1 4 ตัวแทน

นักศึกษา

18 โครงการวันสําคัญ ชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย

(วันพอแหงชาติ)

ภาคเรียนที่ 2/2553

14 8 11 12 45 ปวช.1,2,3

19 โครงการถนนเด็กเดิน วันเด็ก

แหงชาติ ป 2554

ภาคเรียนที่ 2/2553

2 1 3 1 7 อาสา

สมัคร

นักศึกษา

20 โครงการเลือกต้ังคณะกรรมการ

องคการนักศึกษา อาชีวศึกษา

ภาคเรียนที่ 2/2553

39 8 12 16 75 ปวช.1,2,3

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมโครงการท่ีสงเสริมพัฒนาดาน คุณธรรม จริยธรรม

ลําดับ

ท่ี แผนกวิชา

ภาคเรียน จํานวน

โครงการท้ังหมด

จํานวน

โครงการเขารวม 1 2

1 ชางยนต 12 8 20 20

2 ชางไฟฟากําลัง 12 7 20 19

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 12 7 20 19

4 การบัญช ี 11 8 20 19

Page 110: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

110

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 กิจกรรมปลูกตนไมเฉลิมพระ

เกียรติ 12 สิงหา มหาราชินี

ภาคเรียนที่ 1/2553

57 9 12 19 97 ปวช.

1,2,3

2 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center) ตําบลเมือง

การุง

ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

3 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center) ตําบลสุข

ฤทัย

ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

4 โครงการศูนยซอมสรางเพือ่

ชุมชน (Fix it center) ตําบลทุงนา

งาม ภาคเรียนที่ 1/2553

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

5 โครงการเสริมคุณภาพนักศึกษา

ใหม ปวช.1

ภาคเรียนที่ 1/2553

45 4 4 7 60 ปวช.1

6 โครงการฝกอบรมความรูการขับ

ข่ีปลอดภัยเสริมสรางวินัยจราจ

ภาคเรียนที่ 1/2553

36 5 - - 41 คัดเลือก

นักศึกษา

7 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบประกาศ

เกียรติคุณ ภาคเรียนที่

1/2553

76 12 17 21 126 ปวช. 1,

2 , 3

8 โครงการอบรมใหความรูเรื่องยา

เสพติด

ภาคเรียนที่ 1/2553

52 10 10 18 90 ปวช.

1,2,3

Page 111: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

111

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

9 โครงการฟุตซอลตอตานยาเสพ

ติด

ภาคเรียนที่ 1/2553

57 4 - 4 65 เฉพาะ

นักเรียน

ชาย

10 การจัดการศึกษาดูงานสถาน

ประกอบการขอ ง นัก เ รี ยน

นักศึกษาใหม

ภาคเรียนที่ 1/2553

30 5 7 10 52

ปวช.1,2

11 กิจกรรมการเขาคายลูกเสือ –

เนตรนาร ี

ภาคเรียนที่ 2/2553

15 4 4 3 26 ปวช.1

12 ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ.พะเยา

1 - 2 - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

13 ประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ

ภาคเรียนที่ 2/2553

จ.เชียงราย

1 1 1 1 4 ตัวแทน

นักศึกษา

14 กิจกรรมทําความสะอาด Bing clenning day

ภาคเรียนที่ 2/2553

14 8 11 12 45 ปวช.

1,2,3

15 กิจกรรมนันทนาการ

ภาคเรียนที่ 1/2553

30 5 9 11 55 ปวช.

1,2,3

16 โครงการถนนเด็กเดิน วันเด็ก

แหงชาติ ป 2554

ภาคเรียนที่ 2/2553

2 1 3 1 7 อาสา

สมัคร

นักศึกษา

17 โครงการกีฬาสีภายใน

สถานศึกษา

ภาคเรียนที่ 2/2553

49 9 11 12 81 ปวช.

1,2,3

Page 112: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

112

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมของแตละแผนกวิชา ท่ีมีการสงเสริมพัฒนา

ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ลําดับท่ี แผนกวิชา ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการเขา

รวม 1 2

1 ชางยนต 11 6 17 17

2 ชางไฟฟากําลัง 11 5 17 16

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 10 5 17 15

4 การบัญช ี 9 6 17 15

ตารางสรุปผลการจัดและเขารวมกิจกรรมของแตละแผนกวิชา ท่ีมีการสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ

ดานสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ลําดับท่ี

กิจกรรม /

โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ จํานวน

กิจกรรม

(โครงการ)

ช.ย.

(โครงการ)

ช.ฟ.

(โครงการ)

บัญชี

(โครงการ)

คอมฯ

(โครงการ)

1 ดานวิชาการ 10 7 7 7 5 ใน 1

โครงการ

สามารถ

สงเสริม

คุณภาพ

นักศึกษา

ไดหลาย

ดาน

2 ดานสงเสริม

คุณธรรม

จริยธรรม

20 20 19 19 19

3 ดานสงเสริม

บุคลิกภาพ

และมนุษย

สัมพันธ

17 17 16 15 15

Page 113: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

113

ผลสัมฤทธิ ์

สาขาวิชา /สาขางาน จํานวนประเภทกิจกรรม

ท่ีเขารวม(ประเภทกิจกรรม)

รอยละของสาขาวิชาท่ีมี

การจัดกิจกรรม

ชางยนต 3 100

ชางไฟฟากําลัง 3 100

คอมพิวเตอรธุรกิจ 3 100

การบัญชี 3 100

นักเรียน นักศึกษา ทุกสาขาวิชา/สาขางานไดมีการจัดและเขารวมกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภท

กิจกรรม โดยมีประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานวิชาการ ประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานคุณธรรม

จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ และประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.18 จัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณี และ

ทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ท่ี 42 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมท่ีสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม

ประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีไดจัดทําแผนการจัดกิจกรรมแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม

ประเพณี เพื่อใหผูเรียนมีความรักในทองถ่ินและรวมกันพัฒนาทองถ่ินของตนเอง โดยใหนักเรียน นักศึกษา

เขารวมและเปนผูรับผิดชอบโดยมีคณะกรรมการองคการวิชาชีพเปนผูนําและนักศึกษาทุกสาขาวิชา สาขางาน

เขารวมกิจกรรมโดยมีการบันทึกผลการเขารวมกิจกรรมแตละครั้ง ทั้งภายในวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัยทีไ่ด

เขารวมกิจกรรม กับหนวยงานอื่นตามหลักฐานสมุดบันทึกการเขารวมกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา ที่

อาจารยที่ปรึกษาแตละช้ันป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยสารพัดชางไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี โดยมีการ

จัดต้ังคณะกรรมการองคการวิชาชีพเปนผูนําในการปฏิบัติงานและมีนักศึกษาทุกแผนกเขารวมกิจกรรม โดยแยก

กิจกรรมออกไดดังน้ี

1. กิจกรรมสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีจํานวน 1 กิจกรรม

2. กิจกรรมการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประเพณีมี 6 กิจกรรม

Page 114: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

114

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 กิจกรรมปลูกตนไมเฉลิม

พระเกียรติ 12 สิงหา

มหาราชินี

ภาคเรียนที่ 1/2553

57 9 12 19 97 ปวช.1,2,3

ตารางสรุป ผลของแตละแผนกวิชา ในการเขารวมกิจกรรมโครงการ

ท่ีสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ลําดับ

ท่ี แผนกวิชา

ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการเขา

รวม 1 2

1 ชางยนต 1 - 1 1

2 ชางไฟฟากําลัง 1 - 1 1

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 - 1 1

4 การบัญช ี 1 - 1 1

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการแหเทียนพรรษา

ภาคเรียนที่ 1/2553

54 9 14 20 97 ปวช.1,

2 , 3

2 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบประกาศ

เกียรติคุณ

ภาคเรียนที่ 1/2553

76 12 17 21 126 ปวช. 1,

2 , 3

3 โครงการวันแมแหงชาติ 12

สิงหา มหาราชินี

ภาคเรียนที่ 1/2553

38 4 10 12 64 ปวช.1,2,3

4 สัปดาหวันวิสาขบชูา

ภาคเรียนที่ 1/2553

49 4 11 12 76 ปวช.1,2,3

Page 115: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

115

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ช.ย.

( คน )

ช.ฟ.

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

5 โครงการวันลอยกระทง

ภาคเรียนที่ 2/2553

45 8 11 13 77 ปวช.1,2,3

6

โครงการวันสําคัญ ชาติ

ศาสนา พระมหากษัตริย

(วันพอแหงชาติ)

ภาคเรียนที่ 2/2553

14 8 11 12 45 ปวช.1,2,3

ตารางสรุปผลของแตละแผนก ในการเขารวมกิจกรรมโครงการอนุรักษ

และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

ลําดับ

ท่ี แผนกวิชา

ภาคเรียน จํานวน

โครงการท้ังหมด

จํานวน

โครงการเขารวม 1 2

1 ชางยนต 4 2 6 6

2 ชางไฟฟากําลัง 4 2 6 6

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 4 2 6 6

4 การบัญชี 4 2 6 6

ตารางสรุป ผลการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและการอนุรักษ

และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท่ีแตละสาขาวิชา / สาขางานท่ีเขารวม

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม /

โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมาย

เหตุ

จํานวน

กิจกรรม

(โครงการ)

ช.ย.

(โครงการ

)

ช.ฟ.

(โครงการ)

บัญชี

(โครงการ)

คอมฯ

(โครงการ)

1 กิจกรรมสงเสริม

การอนุรักษ

ธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

1 1 1 1 1

2 กิจกรรมสงเสริม

ทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม

และประเพณี

6 6 6 6 6

รวม 7 7 7 7 7

Page 116: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

116

ผลสัมฤทธิ ์

สาขาวิชา /สาขางาน

จํานวนประเภทกิจกรรมท่ีเขา

รวม

(ประเภทกิจกรรม)

รอยละของสาขาวิชาท่ีมี

การจัดกิจกรรม

ชางยนต 2 100

ชางไฟฟากําลัง 2 100

คอมพิวเตอรธุรกิจ 2 100

การบัญชี 2 100

นักเรียน นักศึกษา ทุกสาขาวิชา สาขางานไดมีการจัดกิจกรรมและเขารวมกิจกรรมครบทั้ง 2 ประเภท

กิจกรรมโดยมี ประเภทกิจกรรมที่สงเสริมดานการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และประเภทกิจกรรมที่

สงเสริมดานการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.19 สงเสริม สนับสนุนใหมีการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

และโครงการท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และ

ประเพณี

ตัวบงชี้ท่ี 43 จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย มีนโยบายสนับสนุนใหผูสอนบุคลากรและผู เรียนมีการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนการประกอบอาชีพและ

พัฒนาชุมชนทองถ่ินและประเทศซึ่งนําไปสูการแขงขันระดับชาติ โดยสนับสนุน งบประมาณในการจัดทํา

คณะกรรมการโครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหมจัดใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงาน/โครงการวิชาชีพ/นวัตกรรม

และสิ่งประดิษฐโดยใหนักเรียนนักศึกษาเขารวมกับอาจารยที่ปรึกษาเพื่อสรางสรรคผลงานและสงเสริม

สนับสนุนใหไปแขงขันในระดับภาคและระดับประเทศ ตลอดจนเผยแพรสูสาธารณชนใหนําไปใชประโยชนจริง

ในชุมชนตอไป

Page 117: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

117

ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2553 มีจํานวนผลงาน ดังน้ี

แผนกวิชา นวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ โครงการวิชาชีพ รวม

ท่ีปรึกษานวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ/โครงการวิชาชีพ

ชางยนต 5 - 5 อ. นเรต พิมจันทร

ชางไฟฟากําลัง 2 - 2 อ. ชุมพล สุระดม

การบัญชี 1 2 3 อ. อรพิน ไทยกวีพจน

คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 5 6 อ. ศันสนีย เหมพิจิตร

รวม 9 7 16

จากตารางสามารถแยกรายละเอียดดังน้ี

วิทยาลัย ไดจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ โครงงาน ที่เปนประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน

ประกอบอาชีพและการพัฒนาชุมชนทองถ่ิน จํานวน 16 เรื่อง

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยมีผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐและโครงงานใน 4 สาขาวิชา รวม 16 เรื่อง ซึ่งแตละ

สาขาวิชามีผลงานไมนอยกวา 2 เรื่อง / ปการศึกษา โดยภาคเรียนไมนอยกวา 1 เรื่อง ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 44 จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน ท่ีมีประโยชนทางวิชาชีพ

และ/หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯมีนโยบายสนับสนุนใหผูสอน บุคลากรและผูเรียน มีการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพและ

พัฒนาชุมชนทองถ่ินและประเทศซึ่งนําไปสูการแขงขันระดับชาติ โดยสนับสนุนงบประมาณในการจัดต้ัง

คณะกรรมการโครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม จัดใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงาน/โครงการวิชาชีพ/นวัตกรรม

และสิ่งประดิษฐ โดยใหนักศึกษาเขารวมกับอาจารยที่ปรึกษา เพื่อสรางสรรคผลงาน และสงเสริมสนับสนุนใหไป

แขงขันในระดับภาคและระดับประเทศ ตลอดจนเผยแพรสูสาธารณชนใหนําไปใชประโยชนจริงในชุมชนตอไป

Page 118: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

118

ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2553 มีจํานวนผลงาน ดังน้ี

ระดับปวช.

แผนกวิชา นวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ โครงการวิชาชีพ รวม

ท่ีปรึกษานวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ/โครงการวิชาชีพ

ชางยนต 3 2 5 อ.ชัยวัฒน รักธัญการ

ชางไฟฟากําลัง 2 - 2 อ.ชุมพล สุระดม

การบัญชี 1 2 3 อ.อรพิน ไทยกวีพจน

คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 5 6 อ.นฤพนธ ปลั่งดี

รวม 7 9 16

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ ไดจัดทํานวัตกรรม จํานวน 7 ช้ิน โครงการวิชาชีพ 9 ช้ิน และไดรับการเผยแพรระดับชาติ

จํานวน 1 ช้ิน ซึ่งเปนประโยชนในการพัฒนาการเรียน การสอน ประกอบอาชีพและการพัฒนาชุมชน ซึ่งมี

ผลงานรวมแลว 16 ช้ิน ซึ่งแตละสาขามีผลงานไมนอยกวา 2 เรื่อง คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.20 จัดสรรงบประมาณในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย และโครงงานท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม

และประเทศชาติ

ตัวบงชี้ท่ี 45 รอยละของงบประมาณท่ีใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดจัดสรรงบประมาณสนับสนุนใหผูสอน บุคลากรและผูเรียน มีการสรางและพัฒนา

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนประกอบอาชีพ

และพัฒนาชุมชนทองถ่ินรวมทั้งมอบหมายใหสาขาวิชาทําโครงงาน/โครงงานวิชาชีพ/นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

เพื่อคัดเลือกเปนผลงานของสถานศึกษาและไดรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาผลงานใหดีข้ึนตอไป

Page 119: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

119

ผลการดําเนินการ

สรุปเงินงบประมาณ ปการศึกษา 2553

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน

งบดําเนินการ

จํานวนเงิน

คาใชจาย

คิดเปน

รอยละ

1 งบบุคลากร 1,827,000.00 - -

2 งบดําเนินงาน 4,889,150.00 - -

3 งบอุดหนุน 3,121,118.00 59,922.94 -

4 คาเสื่อมราคา 4,910,574.22 - -

5 เงินรายไดสถานศึกษา 189,020.00 - -

รวม 14,936,862.22 59,922.94 0.40

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ ไดรับงบประมาณประเภทงบดําเนินการ เปนจํานวนเงิน 14,936,862.22 บาท และ

คาใชจายที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ที่ใชจายจาก

งบประมาณของสถานศึกษา เปนจํานวนเงิน 59,922.94 บาท คิดเปนรอยละ 0.40 ซึ่งผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ปรับปรุง

ขอกําหนดท่ี 3.21 จัดเผยแพรขอมูลเก่ียวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

และโครงการท่ีนําไปใช ในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคมและ

ประเทศชาติ

ตัวบงชี้ท่ี 46 จํานวนครั้งและชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย และโครงงาน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยฯ ไดแตงต้ังคณะกรรมการประชาสัมพันธ เพื่อเผยแพรขาวสารเกี่ยวกับการสรางและการ

พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงการ ดวยวิธีการและชองทางที่หลากหลายเชน อินเทอรเน็ต

ประชาสัมพันธ นิทรรศการ ของคนรุนใหม เปนตน

Page 120: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

120

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงการตาง ๆ และไดเผยแพรสู

ชุมชนทางอินเตอรเน็ต จํานวน 1 ครั้ง การจัดผลงานออกทางรายการตางๆ ทางโทรทัศน จํานวน 1 ครั้ง

การจัดนิทรรศการตางๆ ตามงานวิชาการ ของจังหวัดอุทัยธานี จํานวน 2 ครั้ง และการจัดทําเอกสารงาน

วิชาการของสถานศึกษา 1 ครั้ง

ผลสัมฤทธิ ์

การเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานตางๆ จํานวน

4 ครั้ง 4 ชองทาง ไดแก อินเทอรเน็ต ทางรายการโทรทัศน การจัดนิทรรศการ และการจัดทําเอกสาร

งานวิชาการ ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 121: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

121

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่12 รอยละของผูเรียน

ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑ ที่กําหนดตามชั้นป

รอยละของผูเรียนทั้งหมดทีม่ี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพไมนอยกวา

รอยละ 74

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพ

รอยละ 64.76

ตัวบงชี้ที ่13 รอยละของผูเรียน

ที่สามารถประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน

อาชีพไดอยางเปนระบบ

รอยละของผูเรียนที่สามารถ

ประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน

อาชีพไดอยางเปนระบบ ไม

นอยกวารอยละ 74

รอยละของผูเรียนที่สามารถ

ประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

มาใชแกปญหาในการ

ปฏิบัติงานอาชีพไดอยางเปน

ระบบรอยละ 73.30

ตัวบงชี้ที ่14 รอยละของผูเรียน

ที่มีทักษะใชภาษาสื่อสาร ดาน

การฟง การอาน การเขียน และ

การสนทนา ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศ

รอยละของผูเรียนที่มีทักษะใช

ภาษาสื่อสาร ดานการฟง การ

อาน การเขียน และการสนทนา ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศเพ่ือการ

สื่อสารไดอยางถูกตองเหมาะสม

ไมนอยกวา รอยละ 74

รอยละของผูเรียนที่มีทักษะใช

ภาษาสื่อสาร ดานการฟง การ

อาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศเพ่ือการ

สื่อสารไดอยางถูกตอง

เหมาะสม รอยละ 51.97

ตัวบงชี้ที ่15 รอยละของผูเรียน

ที่มีความสามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษา

คนควา และปฏิบัติงานวิชาชีพได

อยางเหมาะสม

รอยละของผูเรียนทั้งหมด ที่สามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และใชเทคโนโลยีในการ

ปฏิบัติงานวิชาชพีไมนอยกวา

รอยละ 74

รอยละของผูเรียนทั้งหมด ที่สามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และใชเทคโนโลยีในการ

ปฏิบัติงานวิชาชีพ รอยละ 75.24

ตัวบงชี้ที ่16 รอยละ ของ

ผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มี

บุคลิกภาพที่เหมาะสม และ

มนุษยสัมพันธที่ด ี

รอยละ ของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามใน

วิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และ มนุษยสัมพันธที่ด ีไมนอยกวารอยละ 74

รอยละ ของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามใน

วิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่

เหมาะสม และ มนุษยสมัพันธ

ที่ดี รอยละ 100

Page 122: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

122

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนนุ ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่17 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนตามเกณฑการ

สําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑการสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ไมนอยกวา รอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑการสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ รอยละ 36.26

ตัวบงชี้ที ่18 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนตามเกณฑการ

สําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

- - - - -

ตัวบงชี้ที ่19 รอยละของผูสําเร็จ

การศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ผาน

การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

รอยละของผูสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ที่ผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ ที่ผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพรอยละ 90.90

ตัวบงชี้ที ่20 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่

ผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพ

- - - - -

ตัวบงชี้ที ่21 รอยละของ

ผูสําเร็จการศกึษาที่ไดงานทําใน

สถานประกอบการ/ประกอบ

อาชีพอิสระและศึกษาตอภายใน

1 ป

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

ไดงานทําในสถานประกอบการ

ประกอบอาชีพอิสระและศึกษา

ตอภายใน 1 ป ไมนอยกวา รอย

ละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

ไดงานทําในสถานประกอบการ

ประกอบอาชีพอิสระและศกึษา

ตอภายใน 1 ป รอยละ 87.50

ตัวบงชี้ที ่22 ระดับความพึง

พอใจของสถานประกอบการที่มี

ตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของ

ผูสําเร็จการศึกษา

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะ

ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ

การศึกษา เฉลี่ยโดยรวมไมนอย

กวาระดับ 5

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะ

ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ

การศึกษาเฉลี่ยโดยรวมระดับ

4.00

ตัวบงชี้ที ่23 รอยละของ

หลักสูตรฐานสมรรถนะที่มี

คุณภาพ

รอยละของหลักสูตรฐาน

สมรรถนะที่มีคุณภาพ ครบทั้ง 4 ขอ ไมนอยกวา รอยละ 75

รอยละของหลักสูตรฐาน

สมรรถนะที่มีคุณภาพครบทั้ง

4 ขอ ไมนอยกวา รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่24 รอยละของ

แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณา

การ

รอยละของวิชาที่มีการเขียน

แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณ

การ ไมนอยกวารอยละ 75

รอยละของวิชาที่มีการเขียน

แผนการจัดการเรียนรูแบบ

บูรณการ รอยละ87.40

Page 123: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

123

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่25 ระดับความพึง

พอใจของผูเรียนตอคุณภาพการ

สอนของผูสอน

ระดับความพึงพอใจของผูเรียน

ตอคุณภาพการสอนของผูสอน โดยเฉลี่ย ไมนอยกวาระดับ 5

ระดับความพึงพอใจของผูเรียน

ตอคุณภาพการสอนของผูสอน โดยเฉลี่ย ไมนอยกวาระดับ

4.22

ตัวบงชี้ที ่26 รอยละของ

งบประมาณที่สถานศึกษาจัดซ้ือ

วัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการ

จัดการเรียนการสอนอยาง

เหมาะสม

รอยละของงบประมาณที่

สถานศึกษาจัดซ้ือวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการเรียน

การสอนตองบดําเนินการ

ทั้งหมด ไมนอยกวา รอยละ

15 ของงบดําเนินการทั้งหมด

รอยละของงบประมาณที่

สถานศึกษาจัดซ้ือวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการ

เรียนการสอนตองบดําเนินการ

ทั้งหมด ไมนอยกวา รอยละ

86.60 ของงบดําเนินการ

ทั้งหมด

ตัวบงชี้ที ่27 ระดับความ

เหมาะสมและเพียงพอของระบบ

คอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา

จํานวนผูเรียนตอเคร่ือง

คอมพิวเตอร ในแตละคร้ังของ

การเรียนในรายวิชา ที่ใชคอมพิวเตอร

1 คน : 1 เคร่ือง

จํานวนผูเรียนตอเคร่ือง

คอมพิวเตอร ในแตละคร้ังของ

การเรียนในรายวิชา ที่ใชคอมพิวเตอร

1 คน : 1 เคร่ือง

ตัวบงชี้ที ่28 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่

ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่

เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการ

เรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

ระดับความเหมาะสมในการจัด

อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่ฝกปฏิบัติงาน

เหมาะสมกับวชิาที่เรียน โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่ฝกปฏิบัติงาน

เหมาะสมกับวิชาที่เรียน โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ตัวบงชี้ที ่29 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดศูนย วิทยบริการ ใหเหมาะสมกับวชิา

ที่เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการ

เรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ศูนยวิทยบริการ ใหเหมาะสมกับ

วิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือ

ตอการเรียนรู ตองปฏิบัติครบทุก

ขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ศูนยวิทยบริการ ใหเหมาะสม

กับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่

เอ้ือตอการเรียนรู ตองปฏิบัติ

ครบทุกขอ

ตัวบงชี้ที ่30 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑ และอุปกรณ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ใหมีครุภัณฑและอุปกรณ โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ใหมีครุภัณฑ และอุปกรณ โดย

ปฏิบัติขอ1-4

ตัวบงชี้ที ่31 ระดับคุณภาพใน

การจัดระบบความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรู ใน

สาขาวิชา / สาขางาน

รอยละของสาขางานที่จัดระบบ

ความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกไดอยางมีคุณภาพ ไม

นอยกวา รอยละ 70

รอยละของสาขางานที่จัดระบบ

ความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกไดอยางมีคุณภาพ รอยละ 100

Page 124: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

124

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่32 รอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่ไดรับ

การพัฒนาตามหนาที ่

ที่รับผิดชอบ

รอยละของครูและบุคลากร

สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาใน

วิชาชีพหรือตามหนาที่ที่

รับผิดชอบไมนอยกวา

รอยละ 89

รอยละของครูและบุคลากร

สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาใน

วิชาชีพหรือตามหนาที่ที่

รับผิดชอบไมนอยกวารอยละ

100

ตัวบงชี้ที ่33 จํานวนคร้ังหรือ

ปริมาณในการระดมทรัพยากร

จากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือ

สนับสนุนการจัดการศึกษาอยาง

มีประสิทธิภาพ

จํานวนคร้ังหรือปริมาณในการ

ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ

ทั้งภายในและภายนอก

สถานศึกษาเพ่ือสนับสนุนการจัด

การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

ไมนอยกวา 25 คร้ัง

จํานวนคร้ังหรือปริมาณในการ

ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง

ๆ ทั้งภายในและภายนอก

สถานศึกษา เพ่ือสนับสนุนการ

จัดการศึกษาอยางมี

ประสิทธิภาพ จํานวน 31 คร้ัง

ตัวบงชี้ที ่34 จํานวนสถาน

ประกอบการที่มีการจัดการศึกษา

รวมกับสถานศึกษาจัดการศึกษา

ระบบทวิภาคีและระบบปกต ิ

จํานวนสถานประกอบการที่มี

การจัดการศึกษารวมกับ

สถานศึกษาจัดการศึกษาระบบ

ทวิภาคีและระบบปกต ิไมนอย

กวา 20 แหง

จํานวนสถานประกอบการที่มี

การจัดการศึกษารวมกับ

สถานศึกษาจัดการศึกษาระบบ

ทวิภาคีและระบบปกต ิจํานวน

35 แหง

ตัวบงชี้ที ่35 จํานวนคน-ชั่วโมง

ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิหรือ

ภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวนรวมใน

การพัฒนาผูเรียน

รอยละของสาขาวิชาที่มีการ

จัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ

หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน ไม

นอยกวารอยละ 89

รอยละของสาขาวิชาที่มีการ

จัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ

หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน

รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่36 อัตราสวนของ

ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนในแตละ

สาขาวิชา

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนตามเกณฑ

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียน 35

คน ไมนอยกวารอยละ 100

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่ผูสอนประจําทีม่ีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนตามเกณฑ

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียน 35

คน รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่37 อัตราสวนของ

ผูสอนประจําตอผูเรียน

อัตราสวนของผูสอนประจําตอ

ผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียนไมนอย

กวา 25 คน

อัตราสวนของผูสอนประจําตอ

ผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียนไมนอย

กวา 13.7 คน

ตัวบงชี้ที ่38 จํานวนคร้ังของการ

จัดใหผูเรียนพบครู

ที่ปรึกษา

จํานวนคร้ังของการจัดใหผูเรียน

พบครูที่ปรึกษา ไมนอยกวา 25

คร้ังตอป

จํานวนคร้ังของการจัดใหผูเรียน

พบครูที่ปรึกษา 145 คร้ังตอป

ตัวบงชี้ที ่39 จํานวนคร้ังของการ

จัดบริการ ตรวจสอบสารเสพติด

ใหกับผูเรียน

จํานวนคร้ังของการจัดบริการ

ตรวจสอบสารเสพติดใหกับ

ผูเรียน ทั้งหมด 1 คร้ังตอป

หรือไมนอยกวารอยละ 90

จํานวนคร้ังของการจัดบริการ

ตรวจสอบสารเสพติดใหกับ

ผูเรียนทั้งหมด 1 คร้ังตอป

หรือ รอยละ 91.00

ตัวบงชี้ที ่40 รอยละของผูเรียน

ที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรก

เขา

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่ออก

กลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา

นอยกวารอยละ 31

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่

ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรก

เขา ไมนอยกวา รอยละ

91.00

Page 125: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

125

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนนุ ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่41 จํานวนคร้ังและ

ประเภทของกิจกรรมที่สงเสริม

ดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม

คานิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้ง

ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรม

ทั้ง 3 ประเภทกิจกรรมไมนอย

กวารอยละ 80

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 3

ประเภทกิจกรรมรอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่42 จํานวนคร้ังและ

ประเภทของกิจกรรมที่สงเสริม

การอนุรักษสิ่งแวดลอม

วัฒนธรรมประเพณี และนํานุ

บํารุงศิลปวัฒนธรรม

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 2

ประเภทกิจกรรมไมนอยกวา

รอยละ 80

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 2

ประเภทกิจกรรมรอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่43 จํานวนนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐงานวิจัย และ

โครงงาน

รอยละของสาขางาน

ทั้งหลักสูตร ปวช.และปวส.ที่มี

การจัดทํา นวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและ

โครงงานตามเกณฑที่กําหนด

ไมนอยกวา

รอยละ 100

รอยละของสาขางาน

ทั้งหลักสูตร ปวช.และปวส.ที่มี

การจัดทํา นวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและ

โครงงานตามเกณฑที่กําหนด

ไมนอยกวารอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่44 จํานวนนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่

มีประโยชนทางวิชาชีพ หรือ

ไดรับการเผยแพรระดับชาต ิ

จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชน

ทางวิชาชีพ หรือไดรับการ

เผยแพรระดับชาต ิ ไมนอยกวา

3 ชิ้นขึ้นไป

จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชน

ทางวิชาชีพ หรือไดรับการ

เผยแพรระดับชาต ิ

จํานวน 16 ชิ้น

ตัวบงชี้ที ่45 รอยละของ

งบประมาณที่ใชในการสราง

พัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย และ โครงงานตอ

งบดําเนินการทั้งหมด

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง

ในการดําเนินการ ยกเวนงบ

ลงทุน ไมนอยกวารอยละ 1.00

รอยละของงบประมาณที ่

ใชจริงในการดําเนินการ

ยกเวนงบลงทุน

รอยละ 0.40

ตัวบงชี้ที ่46 จํานวนคร้ังและ

ชองทางการเผยแพรขอมูล

ขาวสารเก่ียวกับนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐงานวิจัยและโครงงาน

ที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียน

การสอน ชุมชน สังคม และ

ประเทศชาต ิ

จํานวนคร้ังและชองทางการ

เผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับ

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย

และโครงงาน ไมนอยกวา 4

คร้ังและ 4 ชองทาง/ผลงาน

หรือมากกวา

จํานวนคร้ังและชองทางการ

เผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับ

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย

และโครงงาน ไมนอยกวา 4

คร้ังและ 4 ชองทาง/ผลงาน

หรือมากกวา

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

Page 126: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

126

จุดเดน

1. มีการพัฒนากิจกรรมเพื่อสงเสริมใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมากข้ึน

2. มีการจัดกิจกรรมสงเสริม ดานคุณธรรม ความดีงามในวิชาชีพ สงเสริมบคุลิกภาพ

3. พัฒนาแหลงการเรียนรู เชน อาคาร หองเรียน จํานวนคอมพิวเตอร เครือขาย อินเทอรเน็ต

และหองสมุดเพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะและประสบการณ

4. เขารวมการแขงขันทักษะ ระดับภาค ระดับประเทศ และมีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของ

ผูเรียนช้ัน ปวช.3

5. มีการติดตามประเมินผลความพึงพอใจ ของผูเรียน ผูที่สําเร็จการศึกษา และรวมมือกับสถาน

ประกอบการ เพื่อหาขอมูลมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

6. คํานึงถึงจํานวนผูสอนเพื่อความเหมาะสมกับผูเรียน รวมถึงการสงเสริมการพัฒนาวิชาชีพของ

ครูผูสอนและบุคลากรสายสนับสนุน

7. มีการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณและการดําเนินงานในการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงสราง เพื่อใชในการพัฒนาการเรียนการสอนภายในสถานศึกษา

ชุมชน และระดับชาติ

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการจัดการเรียนการสอนโดยใชหลักทางคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร เพื่อจัดทํา

นวัตกรรมโครงงาน/โครงการวิชาชีพใหมากข้ึน

2. ควรหากิจกรรมเสริมนอกเหนือจากการเรียนการสอนเพื่อใหผูเรียน รักการฟง การอาน การ

เขียน การสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

3. เพิ่มการ ตรวจสอบสารเสพติดกับกลุมเสี่ยง และจัดกิจกรรมรณรงคเพื่อตอตานสารเสพติดและ

เพื่อใหเห็นโทษของสารเสพติด

4. จัดกิจกรรมรวมมือกับผูเรียน ผูปกครอง ผูที่เกี่ยวของ อยางจริงจังเพื่อหาสาเหตุของการไมจบ

การศึกษา และสาเหตุของการออกกลางคัน

Page 127: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

127

มาตรฐานท่ี 4 การเทียบโอนความรูและเทียบโอนประสบการณงานอาชีพ

ขอกําหนดท่ี 4 สถานศึกษาควรจัดกลไกในการเทียบโอนความรูและเทียบโอน

ประสบการณงานอาชีพ ดังน้ี

ขอกําหนดท่ี 4.1 จัดระบบกลไกการเทียบโอนความรู และประสบการณงานอาชีพอยางเมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 47 ระดับคุณภาพของระบบและกลไกในการเทียบโอนความรู และประสบการณ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดกําหนดระเบียบ วิธีการ ข้ันตอน บุคลากร และระยะเวลาในการเทียบโอน กําหนด

นโยบาย และแผนงานการเทียบโอน จัดใหมีกระบวนการประเมินเพื่อเทียบโอนความรูและประสบการณงาน

อาชีพในรูปแบบคณะกรรมการเปนไปตามที่ระเบียบที่ สอศ. กําหนด มีข้ันตอนดําเนินการที่ชัดเจน และเปด

โอกาสใหผูมีความรูและประสบการณงานอาชีพนําความรูและประสบการณ มาทําการประเมินความรู ทักษะ

ความสามารถ เพื่อเทียบโอนเขาสูหนวยกิต และเปนสวนหน่ึงของผลการเรียนโดยวิทยาลัยไดจัดหลักสูตรการ

เทียบโอนความรู และประสบการณในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง มีการประเมินการ เพื่อปรับปรุง

ระบบการเทียบโอนฯ ใหเกิดประสิทธิภาพตอไป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยมีการกําหนดนโยบาย และแผนงาน ระเบียบ วิธีการ ข้ันตอน บุคลากร มาตรฐานและ

เกณฑ การเทียบโอน และนําผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุง ทั้ง 2 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการบัญชี

และ สาชาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ตามตารางดังตอไปน้ี

ท่ี รายการ มี ไมม ีหลักฐาน/

เอกสารอางอิง

1 มีนโยบาย และแผนงาน เทียบโอนของสถานศึกษา √ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จํ า ป

งบประมาณ 2553

2 มีคําสั่งแตงต้ังคณะบุคคล หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ

การเทียบดอนความรู และ ประสบการณในสถานศึกษา

คํ าสั่ ง วิท ยาลั ยสา รพัด ช า ง

อุทัยธานีที ่

3 มี เอกสาร คูมือที่ กําหนดแนวทาง วิธีการ ข้ันตอน

บุคลากรในการเทียบโอน มาตรฐานและเกณฑ การเทียบ

โอน

คูมือการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณงานอาชีพเขาสู

หนวยกิต

4 มีการจัดเก็บขอมูลของผูที่มาขอเทียบโอนผลการเรียนรู

และผลการประเมินเบื้องตน

แบบบันทึกขอมูลการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

Page 128: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

128

ท่ี รายการ มี ไมม ีหลักฐาน/

เอกสารอางอิง

5 มีการสรุปผลการดําเนินการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ ปญหาและอุปสรรค แนวทางในการ

ปรับปรุงการดําเนินงานของสถานศึกษา

แบบบันทึกขอมูลการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

6 มีหลักฐานที่แสดงการปรับปรุง พัฒนาการดําเนินงาน

ของสถานศึกษา ซึ่งเกิดจากการนําผลการประเมินมา

พัฒนา

บันทึกการปรับปรุงพัฒนาการ

ดําเนินงานของสถานศึกษา

รวม 6 -

ผลสัมฤทธิ ์

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2553 วิทยาลัยมีระบบ และกลไกในการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ ที่กอใหเกิดคุณภาพ จํานวน.......6........ขอ ผลการประเมินอยูในระดับ ดี

ขอกําหนดท่ี 4.2 เปดโอกาสใหผูอยูในอาชีพ หรือผูมีประสบการณงานอาชีพ ขอประเมิน

เทียบโอนความรู และประสบการณงานอาชีพ เขาสูหนวยกิตหลักสูตรการ

อาชีวศึกษา และดําเนินการเทียบโอนอยางเหมาะสม เกิดประสิทธิผล

ตัวบงชี้ท่ี 48 รอยละของผูท่ีไดรับการเทียบโอนความรู และประสบการณ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดมีการดําเนินงานโดยเก็บขอมูลจํานวนผูมาย่ืนคํารองขอประเมินความรูและประสบการณ

ทั้งหมดในรอบป และขอมูลรายละเอียดจํานวนของผูที่ไดรับการเทียบโอน จําแนกเปนหลักสูตรสาขาวิชาการ

บัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ผลการดําเนินการ

จํานวนผูที่ไดรับการเทียบโอนความรู และประสบการณ เทียบกับจํานวนผูที่ย่ืนคํารองขอประเมิน

ความรูและประสบการณ แยกตามหลักสูตรสาขาวิชา

Page 129: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

129

ผลสัมฤทธิ ์

ท่ี หลักสูตร ปวส./สาขางาน ชั้นป

ผูยื่นคํารองขอ

เทียบโอน

ท้ังหมด

ผูไดรับการ

เทียบโอน

ผานการ

เทียบโอน รอยละ

1 สาขาการบัญชี 1 1 1 1 100

2 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ 1 2 2 2 100

รวม 3 3 3 100

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2553 มีผูที่ไดรับการเทียบโอนความรูและประสบการณ รอยละ..100

ผลการประเมินอยูในระดับ ดี

ขอกําหนดท่ี 4.3 สํารวจความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอน และผูมีสวนเก่ียวของ

ตัวบงชี้ท่ี 49 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอนท่ีมีตอระบบการเทียบโอนของ

สถานศึกษา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยจัดต้ังคณะกรรมการ ประเมินผลเพื่อสํารวจความพึงพอใจของผูรับการประเมินเทียบโอน

ความรูเพื่อนําผลมาปรับปรุงระบบกลไกในการเทียบโอนไดสมบูรณย่ิงข้ึน

ผลการดําเนินการ

ผูเขารับการเทียบโอน ไดรับการใหคําแนะนํา คําช้ีแจง ขอมูลขาวสาร ระเบียบ วิธีการ ข้ันตอนใน

การเทียบโอน อยางถูกตอง ครบถวน และมีประสิทธิภาพ สงผลใหผูเขารับการเทียบโอนเกิดผลสัมฤทธ์ิใน

การเทียบโอนอยางสมบูรณ

ผลสัมฤทธิ ์

ลําดับ สาขาวิชา ความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอน

คาเฉลี่ย ระดับ

1. การบัญชี 4.33 ดี

2. คอมพิวเตอรธุรกิจ 4.38 ดี

คาเฉลี่ยรวม 4.36 ดี

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2553 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอนที่มีตอระบบ

เทียบโอนของสถานศึกษา เฉลี่ย 4.36 อยูในระดับ ดี

Page 130: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

130

ขอกําหนดท่ี 4.3 สํารวจความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอน และผูมีสวนเก่ียวของ

ตัวบงชี้ท่ี 50 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชนและสังคม ท่ีมีตอผลการเรียนรู

ของผูท่ีสําเร็จการศึกษาระบบเทียบโอน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยแตงต้ังคณะกรรมการเทียบโอนสํารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชนและสังคม

พบวาในปการศึกษาที่ผานมาวิทยาลัยจัดใหมีการดําเนินงานที่สมบูรณในกระบวนการสอนที่เนนดานคุณธรรม

และจริยธรรมในรายวิชาใหแกผูเขารับการเทียบโอนซึ่งเปนลักษณะอันพึงประสงคของสถานประกอบการ

หนวยงานตาง ๆ และไดมีการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย สอดคลองกับความตองการของชุมชน และสังคม

ผลการดําเนินการ

ผูเขารับการเทียบโอนที่สําเร็จการศึกษา เปนผูที่มีความรูความสามารถและความชํานาญในการ

ประกอบอาชีพ สามรถนําความรูและเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมนุษยสัมพันธที่ดีในการปฏิบัติงาน ตามแบบสํารวจความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการ ชุมชนและสังคม

ผลสัมฤทธิ ์

หลักสูตร/สาขาวิชา ชื่อสถานประกอบการชุมชน

และสังคม

ความพึง

พอใจ

เฉลี่ย

ความหมาย หมาย

เหตุ

ปวส.

สาขาการบัญชี

1. เทศบาลเมืองการุง 4.33 ดี

2. องคการบริหารสวนตําบลหวยคต 4.00 ดี

สาขาคอมพิวเตอร

ธุรกิจ

1. องคการบริหารสวนตําบลหนองไผ 4.17 ดี

2. องคการบริหารสวนตําบลทาโพ 4.17 ดี

3. เทศบาลเขาบางแกรก 3.83 ดี

คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 4.10 ดี

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2553 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชนและสังคมที่

มีผลการเรียนรูของผูสําเร็จการศึกษาจากระบบเทียบโอนตอวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เฉลี่ย 4.10 อยูใน

ระดับ ดี

Page 131: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

131

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 4 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่47 ระดับคุณภาพของ

ระบบและกลไกในการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

มีการดําเนินการตามกลไกในการ

เทียบโอนผลการเรียนรูอยาง

ครบถวน

มีการดําเนินการตามกลไกใน

การเทียบโอนผลการเรียนรู

อยางครบถวน

ตัวบงชี้ที ่48 รอยละของผูที่

ไดรับการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ

มากกวารอยละ 74 รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่49 ระดับความพึง

พอใจของผูรับการเทียบโอนที่มี

ตอระบบการเทียบโอนของ

สถานศึกษา

มากกวารอยละ 3.74 รอยละ 4.36

ตัวบงชี้ที ่50 ระดับความพึง

พอใจของสถานประกอบการ

ชุมชน และสังคมที่มีผลตอการ

เรียนรูของผูที่สําเร็จการศึกษา

ระบบเทียบโอน

มากกวารอยละ 3.74 รอยละ 4.10

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 4 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

จุดเดน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีสามารถเปดสอนหลักสูตรเทียบโอนความรู และประสบการณ ใหกับ

ผูเรียนไดทุกภาคเรียน ซึ่งตรงตามความตองการของผูเรียน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. บุคคลากรผูสอนวุฒิการศึกษาไมตรงกับรายวิชาที่สอน

2. จํานวนผูเรียนนอย

Page 132: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

132

มาตรฐานท่ี 5 การบริการวิชาการและวิชาชีพสูสังคม

ขอกําหนดท่ี 5 สถานศึกษามีการบริการวิชาชีพสูสังคม

ขอกําหนดท่ี 5.1 บริการวิชาชีพท่ีเหมาะสมกับความตองการของชุมชน สังคม องคกร ท้ังภาครัฐ

และเอกชนเพ่ือการพัฒนาประเทศอยางตอเน่ือง

ตัวบงชี้ท่ี 51 จํานวนและประสิทธิผลของกิจกรรม/โครงท่ีใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย ไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติงาน ประจําปการศึกษา 2553 และมีนโยบายใหความ

รวมมือกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการดําเนินกิจกรรม แผนงาน / โครงการที่บริการวิชาชีพ

และสงเสริมความรูในการฝกทักษะทางวิชาชีพ ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดย

ใหนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัย ไดมีสวนรวมในการบริการและฝกทักษะวิชาชีพ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดกิจกรรมที่บริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพตามแผนการปฏิบัติงานกิจกรรม /

โครงการโดยจัดการเรียนการสอนและฝกอบรมใหกับประชาชนทั่วไป ตามความสนใจของประชาชนในทองถ่ิน

ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในปการศึกษา 2553 รวมทั้งสิ้น 8 กิจกรรม / โครงการใหญ ดังน้ี

ลําดับ

ท่ี ชื่อโครงการ

ประเภท

บริการ

วิชาชีพ

ฝกทักษะ

วิชาชีพ

1 โครงการขยายบทบาทศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix it center)

1. ดานการซอมเครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในการประกอบอาชีพ ฯ

1.1 บริการซอมบํารุงเครื่องมือและอุปกรณทางการเกษตร

1.2 บริการซอมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

1.3 บริการตัดผมบุรุษและสุภาพสตร ี

1.4 บริการตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร

2. ดานการยกระดับชางชุมชน

2.1 โครงการยกระดับชางชุมชน

3. ดานการพัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน

3.1 ฝกอบรมการจัดทําลูกประคบสมุนไพร

Page 133: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

133

ลําดับ

ท่ี ชื่อโครงการ

ประเภท

บริการ

วิชาชีพ

ฝกทักษะ

วิชาชีพ

4. ดานการพัฒนานวัตกรรมตอยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑชุมชน

4.1 ฝกอบรมการจัดทําสบูสมุนไพร

4.2 ฝกอบรมการทําสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใช

2 โครงการอาชีวะรวมดวยชวยประชาชน (ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติจาก

อุทกภัย ต.เกาะเทโพ อ.เมือง จ.อุทัยธานี)

3 ฝกอบรมหลักสูตรเทคนิคการติดต้ังอุปกรณเช้ือเพลิงกาซรถยนต LPG และ

CNG (NGV) ในรถยนต

4 ฝกอบรม 108 อาชีพ (งานประชุม อชท. จ.พะเยา)

5 ฝกอบรมอาชีพระยะสั้นศิลปะการตอผาข้ันพื้นฐาน

6 โครงการฝกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นวิชาดอกไมดินไทย

7 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ สูถนนคนเดิน จังหวัดอุทัยธานี

8 โครงการออกหนวยใหบริการตัดผม

8.1 โครงการ “หนวยบําบัดทุกข บํารุงสุข สรางรอยย้ิมใหกับประชาชน” ฯ

8.2 โครงการ อบจ.อุทัยธานี สัญจร

8.3 โครงการอําเภอย้ิมเคลื่อนที่ (Amphoeyim Mobile Service)

8.4 งานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ

8.5 งานวันคนพิการสากล

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยฯ สามารถจัดกิจกรรม / โครงการตางๆ ในปการศึกษา 2553 ในการใหบริการวิชาชีพ

และสงเสริมใหความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน และฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการประกอบอาชีพของ

ประชาชน รวมทั้งสิ้น 8 กิจกรรม/โครงการ ซึ่งอยูในเกณฑ ดี

Page 134: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

134

ขอกําหนดท่ี 5.2 จัดสรรงบประมาณ เพื่อการบริการวิชาชีพอยางเปนระบบและสอดคลองกับ

แผนการบริการวิชาชีพที่กําหนด

ตัวบงชี้ท่ี 52 รอยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม / โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ และ

ฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดกิจกรรม / โครงการในการบริการวิชาชีพและฝก

ทักษะวิชาชีพ สงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ินโดยการบรรจุลงแผนปฏิบัติการประจําป โดย

รวมมือกับองคกรสวนทองถ่ินและจัดนักเรียนนักศึกษาเขารวมโครงการในฐานะผูชวยวิทยากร ผูชวยฝกอบรม

และผูใหบริการ โดยบูรณาการในแตละสาขาวิชา ควบคูกับการเรียนการสอน

ผลการดําเนินการ

งานวางแผนงบประมาณและขอมูลสารสนเทศ ไดจัดทําสถิติการใชงบประมาณในปงบประมาณ 2553

ไตรมาสที่ 3 และ 4 และในปงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 1 และ 2 จัดทําโครงการที่ใหบริการดานวิชาชีพ

และ ฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน และจํานวนงบประมาณที่ใชจายในการ

ดําเนินกิจกรรม / โครงการ ตามที่วิทยาลัยไดจัดสรรใหกับสาขางาน สาขาวิชาที่ไดจัดกิจกรรม เปนจํานวน

เงินทั้งสิ้น 703,582 บาท ดังตารางตอไปน้ี

ตารางรายละเอียดการใชเงินงบประมาณในการจัดกิจกรรม / โครงการ

ในการบริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพตามท่ีวิทยาลัยไดจัดสรรเงินงบประมาณ

ประจําปการศึกษา 2553

ลําดับท่ี กิจกรรม / โครงการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 โครงการขยายบทบาทศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix it center)

1. ดานการซอมเครือ่งมือเครื่องจักรที่ใชในการประกอบอาชีพ ฯ

1.1 บริการซอมบํารุงเครื่องมือและอุปกรณทางการเกษตร

1.2 บริการซอมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

1.3 บริการตัดผมบุรุษและสุภาพสตร ี

1.4 บริการตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร

2. ดานการยกระดับชางชุมชน

2.1 โครงการยกระดับชางชุมชน

3. ดานการพัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน

3.1 ฝกอบรมการจัดทําลูกประคบสมุนไพร

442,500

Page 135: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

135

ลําดับท่ี กิจกรรม / โครงการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

4. ดานการพัฒนานวัตกรรมตอยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑชุมชน

4.1 ฝกอบรมการจัดทําสบูสมุนไพร

4.2 ฝกอบรมการทําสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใช

2 โครงการอาชีวะรวมดวยชวยประชาชน (ชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ

จากอุทกภัย ต.เกาะเทโพ อ.เมือง จ.อุทัยธานี)

16,530

3 ฝกอบรมหลักสูตรเทคนิคการติดต้ังอุปกรณเช้ือเพลิงกาซรถยนต LPG

และ CNG (NGV) ในรถยนต

2,000

4 ฝกอบรม 108 อาชีพ (งานประชุม อชท. จ.พะเยา) 5,965

5 ฝกอบรมอาชีพระยะสั้นศิลปะการตอผาข้ันพื้นฐาน 50,000

6 โครงการฝกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นวิชาดอกไมดินไทย 8,655

7 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ สูถนนคนเดิน จังหวัดอุทัยธานี 62,066

8 โครงการออกหนวยใหบริการตัดผม

8.1 โครงการ “หนวยบําบัดทุกข บํารุงสุข สรางรอยย้ิมใหกับ

ประชาชน” จ.อุทัยธานี

8.2 โครงการ อบจ.อุทัยธานี สัญจร

8.3 โครงการอําเภอย้ิมเคลื่อนที่ (Amphoeyim Mobile Service)

8.4 งานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ

8.5 งานวันคนพิการสากล

115,866

รวมเปนเงินท้ังสิ้น 703,582

ยอดเงินงบประมาณท่ีจัดสรรเปนรายจาย ประจําปงบประมาณ 2553

ปการศึกษา 1/2553

พฤษภาคม – กันยายน 2553

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 งบดําเนินงาน 3,361,169.21

2 งบเงินอุดหนุน 101,700

3 งบบุคลากร 1,676,269.39

4 คาเสื่อมราคา 2,046,072.59

รวม 7,185,211.19

Page 136: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

136

ยอดเงินงบประมาณท่ีจัดสรรเปนรายจาย ประจําปงบประมาณ 2553

ปการศึกษา 2/2553

ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 งบดําเนินงาน 1,402,570.21

2 งบเงินอุดหนุน -

3 งบบุคลากร 1,622,923.21

4 คาเสื่อมราคา 2,864,501.63

รวม 5,889,995.05

ยอดเงิน งปม. ที่จัดสรรเปนรายจาย = 7,185,211.19

ประจําป งปม.2553 ปการศึกษา 1/2553

พฤษภาคม – กันยายน 2553

ยอดเงิน งปม. ที่จัดสรรเปนรายจาย = 5,889,995.05

ประจําป งปม.2553 ปการศึกษา 2/2553

ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554

รวมเปนเงิน = 13,075,206.24

สรุป

งบประมาณที่ใชจริงในการดําเนินการ = 703,582

งบดําเนินการ = 13,075,206.24

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง = 703,582 x 100

ในการดําเนินการตองบดําเนินการ 13,075,206.24

รอยละ = 5.35

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยสามารถจัดกิจกรรม / โครงการที่บริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมความรูในการ

พัฒนาชุมชนทองถ่ิน คิดเปนรอยละ 5.35 จากเงินงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรซึ่งอยูในเกณฑ ดี

Page 137: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

137

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 5 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที่ 51 จํานวนและ

ประสิทธิผลของกิจกรรม/โครงการ

ที่ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ

จํานวนของกิจกรรมในโครงการที่

ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพตามความตองการของ

ชุมชน สังคม องคกรทั้งภาครัฐ

และเอกชน ไมนอยกวา 4

กิจกรรม/โครงการ

จํานวนของกิจกรรม/โครงการที่

ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ ตามความตองการของ

ชุมชน สังคม องคกรทั้งภาครัฐ

และเอกชน จํานวนทั้งหมด 8

กิจกรรม/โครงการ

ตัวบงชี้ที่ 52 รอยละของ

งบประมาณในการจัดกิจกรรม/

โครงการที่ใหบริการวิชาชีพและฝก

ทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการ

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง

ในการดําเนินการไมรวมงบ

ลงทุน ไมนอยกวา 0.20

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง

ในการดําเนินการไมรวมงบลงทุน

ไมนอยกวา 5.35

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 5 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

จุดเดน

การใหบริการในโครงการ Fix it center ใน 4 กิจกรรมหลัก ดังน้ี

1. ดานการซอมเครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในการประกอบอาชีพ ฯ

1.1 บริการซอมบํารุงเครื่องมือและอุปกรณทางการเกษตร

1.2 บริการซอมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

1.3 บริการตัดผมบุรุษและสุภาพสตร ี

1.4 บริการตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร

2. ดานการยกระดับชางชุมชน

2.1 โครงการยกระดับชางชุมชน

3. ดานการพัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน

3.1 ฝกอบรมการจัดทําลูกประคบสมุนไพร

4. ดานการพัฒนานวัตกรรมตอยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑชุมชน

4.1 ฝกอบรมการจัดทําสบูสมุนไพร

4.2 ฝกอบรมการทําสิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใช

จุดท่ีควรพัฒนา

การใหความรูกับนักเรียน นักศึกษาที่ออกใหบริการควรมีการฝกอบรมใหความรูกอนออกปฏิบัติจริง

Page 138: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

138

มาตรฐานท่ี 6 ภาวะผูนําและการจัดการ

ขอกําหนดท่ี 6.1 ใชภาวะผูนําและการมีวิสัยทัศนของผูบริหารในการผสมผสานความรวมมือของ

บุคลากรในสถานศึกษาและหนวยงาน หรือบุคคลภายนอกใหเขามามีสวนรวมใน

การจัดการศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 53 ระดับคุณภาพในการบริหารงานของผูบริหารท่ีมีวิสัยทัศนและภาวะผูนํา มีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษา มีความ

โปรงใส ตรวจสอบได

วิธกีารดําเนินการ

วิทยาลัยมีคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโดย

ประสานความรวมมือของบุคลากรภายในวิทยาลัยฯและบุคคลภายนอกรวมในการจัดการศึกษา มีโครงสราง

ในการปฏิบัติงานชัดเจนมีระบบมอบหมายงานตามสายการบังคับบัญชา มีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป

รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป ซึ่งการดําเนินงานมีความตอเน่ืองและหลากหลาย สามารถปรับใชในการ

บริหารตามสถานการณที่นําไปสูผลสัมฤทธ์ิตามนโยบายและแผนงานที่โปรงใส ตรวจสอบได มีการเผยแพรทาง

สารสนเทศผลการดําเนินงานของสถานศึกษาตอสาธารณชนและผูมีสวนเกี่ยวของ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดแบงสายงานตามแผนผังการบริหารสถานศึกษาครบทุกหนาที่ตามโครงสรางในการ

ปฏิบัติงาน และ มีเจาหนาที่อยางเหมาะสมตอภาระงานตามความจําเปน จัดบุคลากรสายผูสอน และสาย

สนับสนุนการสอนอยางเหมาะสม ผูบริหารมีวิสัยทัศน บริหารงานสอดคลองตามนโยบาย และการมีสวนรวม

ของประชาคมอาชีวศึกษา ดวยความโปรงใส ตรวจสอบได โดยใหมีการประเมินการบริหารงานของผูบริหาร

เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

Page 139: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

139

เกณฑการตัดสิน

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา คําสั่ง

มอบหมายหนาที่ราชการ และบันทึกการประชุม

บันทึกความรวมมือ หนังสือขอความ

อนุเคราะห หนังสือตอบขอบคุณ

แผนพัฒนาสถานศึกษาระยะ 3 – 5 ป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

วิสัยทัศนของสถานศึกษาที่สอดคลองกับ

ความตองการในการพัฒนาชาติและทองถ่ินโดย

การมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ

ขอมูลการกระจายอํานาจและเปดโอกาส

ใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งภายในและ

ภายนอกองคกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร

จัดการเชิงบูรณาการ เชน มีแผนงานบริหาร

สถานศึกษาโดยมีหลักฐานขอมูลที่แสดงถึงการที่

ประชาคมอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการ

สถานศึกษามีสวนรวมกําหนดแผนงานบริหาร

ขอมูลการระดมทรัพยากรจากแหลง

ภายนอก รวมท้ังทวิภาคี เขามามีสวนรวมใน

การจัดการศึกษา

กระบวนการจัดการความรูท่ีนําไปสู

ความสําเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาอยาง

ยั่งยืน

ขอมูลหลักฐานดานการกํากับ ติดตาม

และประเมิน เพ่ือพัฒนาองคการในทุกภาค

สวนและท้ังองครวมขององคการ

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินระดับคุณภาพในการบริหารงานของผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและภาวะผูนํา มีการกําหนด

แผนงานบริหารโดยการมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษา มีความโปรงใส ตรวจสอบได ซึ่งผลการประเมิน

ตามเกณฑการพิจารณาครบทุกขอ ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 140: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

140

ขอกําหนดท่ี 6.2 จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรม

ตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

ตัวบงชี้ท่ี 54 รอยละของบุคลากรในสถานศึกษาท่ีสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐาน

วิชาชีพ

วิธกีารดําเนินการ

วิทยาลัยมีการแตงต้ังคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร เพื่อประเมินผลการ

ปฎิบัติงานปละ 2 ครั้ง เผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพแกบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ เพื่อเปน

แนวทางในการปฏิบัติงาน และมีการสงเสริมสนับสนุนใหบุคลากรในวิทยาลัยฯ ไดศึกษาหาความรูเพิ่มเติมใน

ตําแหนงหนาที่ของตนเอง เชน ศึกษาตอ สงเสริมใหครูผูประพฤติดีเขารวมการคัดเลือกครูดีเดนของวิทยาลัยฯ

และมีการจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติครูผูสอนที่มีผลงานในการเขารวมการแขงขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดมอบหมายใหงานบุคลากร ดําเนินการจัดทําเอกสารเผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

แกบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง

เหมาะสมในแตละปการศึกษา โดยวิทยาลัยฯ ไดดําเนินการ ดังน้ี

1. แตงต้ังคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร และดําเนินการประเมินผล

การปฏิบัติงานปละ 2 ครั้ง

2. เผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพแกบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติ

ตนไดอยางถูกตอง และเหมาะสม

3. ครูและบุคลากรปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสมไมมี

ผูกระทําผิดวินัย

สาขาวิชา /

สาขางาน

จํานวนผูบริหาร/

ครูทั้งหมด

แตละสาขาวิชา /

สาขางาน

(คน)

มีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

ไมมีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

จํานวนครูที่

ไดรับใบ

ประกอบ

วิชาชีพครู

(คน)

จํานวนครทูี่ผานการ

ประเมินตาม

มาตรฐานวิชาชีพและ

จรรยาบรรณของ

วิชาชีพ พ.ศ. 2548

ผูบริหาร 3 3 - 3 3

ชางยนต 3 3 - 3 3

ชางไฟฟา 2 2 - 2 2

บัญชี 5 5 - 5 5

คอมพิวเตอร

ธุรกิจ

5 5 - 5 5

Page 141: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

141

สาขาวิชา /

สาขางาน

จํานวนผูบริหาร/

ครูทั้งหมด

แตละสาขาวิชา /

สาขางาน

(คน)

มีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

ไมมีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

จํานวนครูที่

ไดรับใบ

ประกอบ

วิชาชีพครู

(คน)

จํานวนครูที่ผานการ

ประเมินตาม

มาตรฐานวิชาชีพและ

จรรยาบรรณของ

วิชาชีพ พ.ศ. 2548

คหกรรม 2 1 1 1 2

เทคนิคพื้นฐาน 1 1 - 1 1

สามัญสัมพันธ 3 2 1 2 3

รวม 24 22 2 22 24

บุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตองเหมาะสม

ดังน้ี

1. จํานวนบุคลากรทั้งหมดเทากับ 24 คน

2. จํานวนบุคลากรที่ไดรับใบประกอบวิชาชีพคร/ูใบอนุญาตเปนครู เทากับ 22 คน คิดเปน

รอยละ 92

3. จํานวนครูที่ผานการประเมินตามขอบังคับคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ และ

จรรยาบรรณวิชาชีพ

พ.ศ.2548 ของบุคลากรเทากับ 24 คน คิดเปนรอยละ 100

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินรอยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณ

มาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตองเหมาะสม คิดเปนรอยละ 96 ของบุคลากรทั้งหมด ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

Page 142: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

142

ขอกําหนดท่ี 6.3 จัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรูเพ่ือการพัฒนาสถานศึกษาอยาง

เหมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 55 ระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศ และการจัดการความรูของ

สถานศึกษา

วิธกีารดําเนินการ

วิทยาลัยจัดใหมีผูรับผิดชอบเพื่อควบคุมดูแลปรับปรุงคุณภาพของขอมูลสารสนเทศ มีการ

จัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบและเปนปจจุบันสามารถนําขอมูลมาใชไดสะดวก โดยไดดําเนินการจัดทําระบบ

เครือขายสารสนเทศภายในวิทยาลัยฯ เชน ระบบ GFMIS เพื่อใหสามารถเช่ือมโยงขอมูลไดทั้งภายในและ

ภายนอก ดานการจัดการความรูไดมีการอบรมใหความรูในเรื่องสารสนเทศ และมีการดําเนินการแลกเปลี่ยน

เรียนรูภายในวิทยาลัยฯ ตลอดเวลาเพื่อเปนการเพิ่มความรูใหม ๆ ของบุคลากรอยางกวางขวาง โดยจัดใหมี

ระบบการใหบริการสารสนเทศตาง ๆ เชน ระบบโปรแกรม RMS เว็บไซดวิทยาลัยฯ เปนตน ใหแกบุคลากร

ของสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา บุคลากรและหนวยงานภายนอกไดทราบ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการแตงต้ังคําสั่งมอบหมายหนาที่ใหหัวหนางานศูนยขอมูลและสารสนเทศ

เปนผูรับผิดชอบในการจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการขอมูลมาใช

จัดการความรูเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน และจัดทําฐานขอมูลทั้งหมดของวิทยาลัยฯ ประสานกับ

เครือขายภายนอกวิทยาลัยฯ โดยไดจัดทําในรูปแบบเว็บไซตของวิทยาลัยฯ และโปรแกรม RMS เพื่อให

บุคลากรของวิทยาลัยฯ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปไดทราบขอมูลขาวสารของทางวิทยาลัยฯ

ซึ่งผูดูแลรับผิดชอบมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน อยูเสมอ มีหองอินเตอรเน็ตเพื่อใหนักเรียน

นักศึกษา ไดเขามาคนควาขอมูลประกอบการเรียน การสอน และบุคคลภายนอกไดมาใชบริการคนหาขอมูล

ขาวสารไดตลอดเวลา

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศและการจัดการความรูของสถานศึกษา

ไดตามเกณฑปฏิบัติขอ 1 – ขอ 5 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 143: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

143

เกณฑการตัดสิน

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

ขอมูล 8 ดาน

แผนผังระบบ Lan ในวิทยาลัยฯ / คําสั่ง

มอบหมายหนาที่ผูรับผิดชอบ

การเขาใชงาน Internet ของวิทยาลัยฯ

โดยการใช password และการเช่ือมโยงขอมูล

ผานระบบ RMS ไปสูสาขาวิชา/สาขางาน

โปรแกรม RMS

เว็บไซตวิทยาลัยฯ

ขอมูลพื้นฐานเพื่อใชในการตัดสินใจในการ

บริหาร

ขอมูลเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ

ขอมูล ตลอดจนบุคลากรผูรับผิดชอบ

ขอมูลผลการประเมินประสิทธิภาพและ

ความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการ

ขอมูล ขอมูลการนําขอมูลสารสนเทศ มาใช

และการจัดการความรูของสาขาวิชา/สาขา

งานเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

ระบบฐานขอมูลท้ังหมดท่ีทํางาน

ประสานกันเปนเครือขายของสถานศึกษา

หลักฐานท่ีแสดงวามีการปรับปรุงระบบ

ฐานขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ

Page 144: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

144

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 6 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่53 ระดับคุณภาพใน

การบริหารงานของผูบริหารที่มี

วิสัยทัศนและภาวะผูนํามีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการมี

สวนรวมของประชาคม

อาชีวศึกษา มีความโปรงใส

ตรวจสอบได

คุณภาพในการบริหารงานของ

ผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและภาวะ

ผูนํา มีการกําหนดแผนงาน

บริหารโดยการมีสวนรวมของ

ประชาคม อาชีวศึกษา มีความ

โปรงใส ตรวจสอบได เปนไป

ตามเกณฑการประเมินครบทุก

ขอ

ระดับคุณภาพในการ

บริหารงานของผูบริหารที่มี

วิสัยทัศนและภาวะผูนํา มีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการ

มีสวนรวมของประชาคม

อาชีวศึกษา มีความโปรงใส

ตรวจสอบได ซ่ึงผลการประเมิน

ตามเกณฑพิจารณาขอ 1, ขอ 4

และ 5 อยูในระดับ พอใช

ตัวบงชี้ที ่54 รอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถ

ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ

มาตรฐานวิชาชีพ

รอยละของบุคลากรใน

สถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.

2548 ไดอยางถูกตองเหมาะสม

ไมนอยกวารอยละ 90

การประเมินรอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่

สามารถปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.

2548 ไดอยางถูกตอง

เหมาะสมคิดเปนรอยละ 92

อยูในระดับ ด ี

ตัวบงชี้ที ่55 ระดับคุณภาพของ

การจัดระบบสารสนเทศ และ

การจัดการความรูของ

สถานศึกษา

คุณภาพของการจัดการระบบ

สารสนเทศและการจัดการ

ความรู

ประเมินระดับคุณภาพของการ

จัดการระบบสารสนเทศและ

การจัดการความรูของ

สถานศึกษา ปฏิบัติขอ 1 – ขอ

5 อยูในระดับ ด ี

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 6 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

จุดเดน

วิทยาลัยฯ ไดพัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบการบริหารจัดการขอมูล ปรับปรุงระบบฐานขอมูลให

ทันสมัยอยูเสมอ และมีบุคลากรผูรับผิดชอบชัดเจน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการแตงต้ังคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

2. ควรมีการจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา 3 – 5 ป

3. ควรมีการกระจายอํานาจ และใหบุคลากรของสถานศึกษามีสวนรวมในการกําหนดแผนการ

ดําเนินงานและประเมินผล

4. ควรมีการระดมทรัพยากรจากแหลงภายนอกใหเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา

Page 145: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

145

มาตรฐานท่ี 7 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

ขอกําหนดท่ี 7 สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 56 ระบบและกลไกลในการประกันคุณภาพภายในท่ีกอใหเกิดการพัฒนา สถานศึกษา

อยางตอเน่ือง

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ 4 ป แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ แผนงาน/

โครงการของวิทยาลัย รวมทั้งคูมือและแผนการประเมินคุณภาพภายในอยางตอเน่ือง สถานศึกษามีการกําหนด

ระเบียบ วิธีการ ระยะเวลาการประเมินคุณภาพภายใน และข้ันตอนการจัดทํารายงานการประเมินคุณภาพ มี

การแตงต้ังบุคลากรที่รับผิดชอบในการทํางานประกันคุณภาพ ตลอดจนประเมินผลลัพธและไดนําผลการ

ประเมินมาใชในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เพื่อใหเกิดคุณภาพกับผูเรียนและผูจบการศึกษามากย่ิงข้ึน

ผลการดําเนินงาน

สถานศึกษามีการดําเนินงานและมีขอมูลที่แสดงถึงความตระหนักและความพยายาม

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปของสถานศึกษา

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ

แผนงาน / โครงการ

หนังสือ / คําสั่งที่เกี่ยวของ

บันทึกการประชุม / รายงานประชุม

คูมือแผนการประกันคุณภาพ

หลักฐานรายงานการตรวจสอบการประเมิน

คุณภาพประป

ขอมูลหลักฐานการตอบสนองขอคิดเห็น

ขอรองเรียนเพื่อปรับปรุงระบบหรือกลไกลการ

ดําเนินงานประกัน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดมีระบบกลไกลในการประกันคุณภาพภายในอยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ

Page 146: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

146

ตัวบงชี้ท่ี 57 ประสิทธิผลรายการประกันคุณภาพภายใน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดทํารายงานการประกันคุณภายในอยางตอเน่ืองและมีการเผยแพรตอกรรมการ

สถานศึกษาและสาธารณชน เว็บไซตของสถานศึกษา มีการจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา จัดทําโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยเชิญ

วิทยากรที่เช่ียวชาญมาอบรมใหความรูกับครู อาจารยและเจาหนาที่ ภายในวิทยาลัย เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ

จัดทํางานประกันคุณภาพและมีการนําผลการประเมินขอเสนอแนะมาใชในการบริหารจัดการใหไดมาตรฐาน

มากย่ิงข้ึน

ผลการดําเนินการ

สถานศึกษามีผลการดําเนินงานและหลักฐานการปฏิบัติ ดังน้ี

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

เอกสารรายงานการประเมินตนเองของ

สถานศึกษา รวมทั้งสาธารณชนบนเว็บไซต

วิทยาลัย

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ

จัดทําโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หนังสือ

คําสั่งที่เกี่ยวของ บันทึกการประชุม รายงาน

ประชุม

มีการอบรมใหความรูเกี่ยวกับงานประกัน

คุณภาพทุกปและมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศ

เว็บไซตวิทยาลัย เพื่อพัฒนาระบบประกัน

คุณภาพภายใน

มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายใน

ตอกรรมการสถานศึกษาและสาธารณะชน

มีการนําผลการประเมินขอเสนอแนะมาใช

ในการปรับปรุงการบริหารใหไดมาตรฐานและ

นําไปสูการจัดการทําแผนพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษา

มีการดําเนินการอยาตอเน่ืองและมี

นวัตกรรมที่พัฒนาที่พัฒนาข้ึน มีการปฏิบัติที่ดี

(Good Practice) หรือการเปนแหลงอางอิง

ของสถานศึกษารวมทั้งเกิดการพัฒนาคุณภาพ

ผูเรียนใหสูงข้ึน

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยมีประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายในอยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ

Page 147: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

147

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 7 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่56 ระบบและกลไก

การประกันคุณภาพภายในที่

กอใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษา

อยางตอเนื่อง

ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ

ตัวบงชี้ที ่57 ประสิทธิผลของ

การประกันคุณภาพภายใน

ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 7 อยูในระดับ ดี พอใช ปรับปรุง

จุดเดน

1. มีการพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพอยางตอเน่ือง

2. ทําใหระบบการศึกษาภายในวิทยาลัยมีคุณภาพมากข้ึน

3. นักเรียน นักศึกษามคุีณภาพมากข้ึน

4. ประชาชนสามารถเขาถึงระบบการพัฒนา ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายในงายข้ึน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการพัฒนาใหความรูกับบุคลากรดานระบบงานประกันคุณภาพมากข้ึน

2. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

Page 148: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

148

ตอนท่ี 6 สรุปและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

6.1 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน

ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา ประจําปการศึกษา 2553 สรุปไดดังน้ี

1. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับดี เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 1 ตัวบงช้ีที่ 1, 2, 3 และ 4

มาตรฐานที่ 2 ตัวบงช้ีที่ 5, 6, 7, 9, 10 และ 11

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 15, 16, 19, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28, 29, 31, 32, 33,

34, 35, 36, 37, 38, 39, 40, 41, 42, 43, 44 และ 46

มาตรฐานที่ 4 ตัวบงช้ีที่ 47, 48, 49 และ 50

มาตรฐานที่ 5 ตัวบงช้ีที่ 51 และ 52

มาตรฐานที่ 6 ตัวบงช้ีที่ 53, 54 และ 55

มาตรฐานที่ 7 ตัวบงช้ีที่ 56 และ 57

2. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับพอใช เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 2 ตัวบงช้ีที่ 8

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 12, 13 และ 30

3. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับปรับปรุง เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 14 และ 17

6.2 แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต

เพื่อใหการพัฒนาการจัดการศึกษาในอนาคตเปนไปอยางมีประสิทธิภาพบรรลุเปาหมายตามแผน

พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา จึงกําหนดแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคตในรูปแบบของแผนงาน

โครงการ กิจกรรม สรุปภาพรวมไดดังน้ี

6.2.1 แผนพัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษา

1. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

และธรรมมาภิบาล

2. โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

Page 149: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

149

6.2.2 แผนพัฒนาผูเรียน

1. โครงการสถานศึกษา 3D

2. โครงการกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

3. โครงการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักศึกษาใหม

6.2.3 แผนพัฒนหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

1. โครงการพัฒนาอุปกรณสื่อการเรียนการสอน

2. โครงการปรับปรุงแผนก

6.2.4 แผนพัฒนาการจัดทําผลงานโครงงานทางวิชาชีพ สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานวิจัย

1. โครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม

2. โครงการพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยมัลติมีเดีย

6.2.5 แผนพัฒนาการบริการทางวิชาการวิชาชีพแกชุมชนและสังคม

1. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน

2. โครงการอาชีวศึกษารวมดวยชวยประชาชน

3. โครงการออกหนวยเคลื่อนที่รวมกับจังหวัด

6.2.6 แผนพัฒนาการจัดหาทรัพยากรและแหลงการเรียนรู

1. โครงการตนกลาอาชีพ

2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการอาชีพสูชุมชน

6.2.7 แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

1. โครงการพัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานดานวิชาชีพ

2. โครงการปฏิบัติธรรมภาวนาข้ันพื้นฐาน

6.2.8 แผนพัฒนาการสรางเครือขายความรวมมือในการจัดการศึกษา

1. โครงการตนกลาอาชีพ

2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการอาชีพสูชุมชน

3. โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน

4. โครงการอาชีวศึกษารวมดวยชวยประชาชน

5. โครงการออกหนวยเคลื่อนที่รวมกับจังหวัด

Page 150: งานประกันคุณภาพ ปี 2553ป พ.ศ. 2548 เป ดสอนหล กส ตรเสร มว ชาช พระด บประถมศ กษาและม

150

ตอนท่ี 7

ภาคผนวก

ขอมูลเพ่ิมเติมของสถานศึกษา

ภาคผนวก ก คําสั่งคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย / คณะกรรมการวิทยาลัย

ภาคผนวก ข รายงานผลการประกันคุณภาพภายใน ประจําปการศึกษา 2552

ภาคผนวก ค รายงานผลการประกันคุณภาพภายในโดยตนสังกัด และภายนอก รอบ 2