20
16 จังหวัดเพชรบูรณ เครื่องหมายประจําจังหวัด : ภาพเพชรกับภูเขาและไรยาสูบ คําขวัญประจําจังหวัด เมืองมะขามหวาน อุทยานน้ําหนาว ศรีเทพเมืองเกา เขาคออนุสรณ นครพอขุนผาเมืองสถานที่นาสนใจของจังหวัดเพชรบูรณ เขาคอ เขาคอ เปนชื่อเรียกรวมบริเวณเทือกเขานอยใหญของทิวเขาเพชรบูรณ มีพื้นที่อยู ในเขตอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ เหตุผลที่เรียกเขาคอ เพราะสภาพในปานั้น มีตนคอขึ้น หนังสือเสริมประสบการณ เมืองไทยนารูตอนที1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

16

จังหวัดเพชรบรูณ

เครื่องหมายประจําจังหวัด : ภาพเพชรกับภูเขาและไรยาสูบ

คําขวัญประจําจังหวัด

“เมืองมะขามหวาน อุทยานน้ําหนาว ศรีเทพเมืองเกา เขาคออนุสรณ นครพอขุนผาเมือง”

สถานที่นาสนใจของจังหวัดเพชรบูรณ

เขาคอ

เขาคอ เปนชือ่เรียกรวมบริเวณเทือกเขานอยใหญของทวิเขาเพชรบูรณ มีพื้นที่อยูในเขตอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ เหตุผลที่เรียกเขาคอ เพราะสภาพในปานั้น มีตนคอขึ้น

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 2: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

17

มากกวาพื้นทีอ่ื่น ภูเขาที่สําคัญในทิวเขานีไ้ดแก เขาคอมียอดสูงประมาณ 1,174 เมตร เหนือระดับ น้ําทะเล เขายามียอดสูงประมาณ 1,290 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล และเขาใหญมยีอดสูงประมาณ 865 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล นอกจากนั้นก็มเีขาตะเคียนโงะ เขาหินตั้งบาตร เขาหวยทราย เขาอุมแพ ลักษณะปาไมในแถบนี้มีเขตปาเต็งรังหรือปาไมสลัดใบ ปาสนและปาดิบที่นา สนใจก็คือ พันธุไมตระกูลปาลม ลักษณะคลายตนตาล แตออกผลเปนทะลายหมาก แมปจจุบันปาจะถูกถางไปมากก็ตาม แตในเขตเขาคอ ก็ยังมใีหเหน็อยูบางภูมิอากาศเขาคอเย็นตลอดป และ คอนขางเย็นจดัในฤดหูนาว

ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดเพชรบรูณ

การขยายพันธุผักดีกั้ง

ผักดีก้ัง เปนพืชจําพวกวานขึ้นในปา ที่มีตนไมใหญปกคลุม อากาศเย็นชื้น เชน บริเวณเชิงเขาที่มีน้ําตก หรือลําธารไหลผาน

ผักดีก้ัง

ปจจุบันชาวบานในตําบลวังบาลไดขยายพนัธุ ผักดีก้ัง โดยการแยกหนอปลูกในดินที่มีลักษณะดังกลาว สวนของผักดกีั้งที่นํามาใชทําอาหาร ไดแก ชอดอกซึ่งมีสีเขียวอมมวง

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 3: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

18

โดยออกดอกในชวงเดือนพฤศจิกายนเทานัน้ และออกดอกเพียงปละครั้งจึงมีราคาแพงมาก ผักดีกัง้มีรสขมอมหวาน ซ่ึงสันนิษฐานวานาจะเปนที่มาของชื่อ ไดมีผูใหความหมายของผักดีกั้งวา หมายถึง ดีปลา ผักดีกั้งสามารถใชรับประทานสดเพื่อแกลมลาบตางๆ หรือใชแกงก็ได

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 4: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

19

จังหวัดสุโขทัย

เครื่องหมายประจําจังหวัด : ภาพพอขุนรามคําแหงมหาราช ทรงประทับบนพระแทนมนังคศิลา

คําขวัญประจําจังหวัด

“มรดกโลกล้ําเลิศ กําเนิดลายสือไทย เลนไฟลอยกระทง ดํารงพระพุทธศาสนา งามตาผาตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแมยาพอขุน รุงอรุณแหงความสุข”

สถานที่นาสนใจของจังหวัดสุโขทัย

วัดมหาธาตุ

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 5: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

20

เปนวัดใหญอยูกลางเมืองสุโขทัย ตั้งอยูภายในกําแพงเมือง สรางสมัยพอขุน ศรีอินทราทิตย มีพระเจดียตางๆ รวมถึง 200 องค นบัเปนวัดสําคญัประจํากรุงสุโขทัยมีพระเจดียมหาธาตุ ทรงพุมขาวบิณฑ ศิลปะแบบสุโขทัยแท ตั้งเปนเจดียประธานลอมรอบเจดีย 8 องค บนฐานเดยีวกนั คือ ปรางคศิลาแลงตั้งอยูที่ทิศทั้ง 4 และเจดยีแบบศรวีิชัยผสมลังกากอดวยอิฐอยูที่มุมดานตะวันออกบนเจดียประธานมีวิหารขนาดใหญกอดวยศิลาแลงมีแทนซึ่งเคยเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําริดที่ใหญที่สุด ในประเทศไทย คือ พระศรีศากยมุน ีปจจุบันไดรับการเคลื่อนยายไปอยูที่วดัสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ที่ดานเหนือและดานใตเจดยีมหาธาตุมีพระพุทธรูปยืนภายในซุมพระเรียกวา “พระอัฏฐารส” ดานใตยังพบแทงหินเรยีกวา “ขอมดําดิน”

ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดสุโขทัย

ผาทอหาดเสี้ยว

การทอผา เปนหัตถศิลปที่แสดงถึงภูมปิญญาที่เฉลียวฉลาด ความเพียรพยายามของมนุษยทีน่ําเสนใยจากวัสดุมาถักทอเปนผืนผา มีลวดลายงามสะดุดตาแกผูพบเห็น เปนภูมิปญญาที่ถายทอดกันมาจากบรรพบุรุษ จากรุนปู ยา ตา ยาย และสงตอไปยังรุนลูกรุนหลาน บงบอกถึง ชาติตระกูลทีสื่บเชื้อสายกันตอๆมา โดยเฉพาะการทอผาเปนวิถีชีวิตหนึง่ของชาวไทยพวน ไทยพวนบานหาดเสี้ยว อําเภอศรีสัชนาลัย จังหวดัสุโขทัย บรรพบุรุษไดอพยพจากประเทศลาว เมื่อ 100 ปมาแลว เชนเดยีวกับไทยพวนทีอํ่าเภอแกงคอย จังหวดัสระบุรี และที่อําเภอบานหมี ่ จังหวัดลพบุรี เมื่อวางเวนจากการทํานาในยามวาง จะทอผาเปนงานอดิเรก โดยเฉพาะ ผาซิ่นตีนจกทีบ่านหาดเสีย้ว เปนผาพื้นเมอืงที่ขึ้นชื่อแหงหนึ่งในเมืองไทย ไมแพผาซิ่นจากถิ่นอืน่ โดยเฉพาะซิ่นตีนจก

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 6: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

21

ซ่ิน หมายถึง ผาที่ทอเปนผาถุง ตีนจก หมายถึง ผาที่ทําเชิงเปนลวดลายตางๆ สวยงาม นําไปเย็บรวมตอกันกับซ่ินเรียกวา ผาซิ่นตีนจก ผาซิ่นหรือผาซิ่นตีนจก เปนผาซิ่นสําเร็จในสมัยกอนหญิงสาวชาวบานสวนมากจะฝกหดัทอผาซิ่นตีนจก เพือ่เก็บไวนุงสําหรับเวลามีงานเทศกาลที่สําคัญ โดยเฉพาะงานทําบุญทีว่ัด ใครนุงผาซิ่นตีนจก ถือวามีหนามีตา เพราะเปนงานฝมือที่ประณีตงดงาม หาผาชนิดใดๆ เปรียบเทียบมไิด ซ่ึงการทอผาตีนจกตองใชความพยายาม ความละเอยีดลออ ใชเวลาในการทอนานมาก ดังนั้นผาซิ่นตีนจก จึงเปนสัญลักษณของความขยันหมัน่เพยีร ใครทอผาซิ่นตีนจกไดแลวก็สามารถทอผาอยางอื่นๆได นอกจากนี้แลว คนที่นุงผาซิ่นตีนจกจะบอกถึงความเปนสาวโดยสมบูรณ พรอมที่จะมีเหยามเีรือนได และมคีวามเชื่อวาจะเปนแมบานทีด่ี

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 7: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

22

จังหวัดอุทัยธาน ี

เครื่องหมายประจําจังหวัด: ภาพพลับพลาจตุรมุข หนาบรรณศาลาตราจักรี ตั้งอยูบนยอดเขาแกว

คําขวัญประจําจังหวัด

“อุทัยธานี เมอืงพระชนกจกัรี ปลาแรดรสดี ประเพณเีทโว สมโอบานน้ําตก มรดกโลกหวยขาแขง แหลงตนน้ําสะแกกรัง ตลาดนัดดงัโคกระบือ”

สถานที่นาสนใจของจังหวัดอุทัยธานี

เขาสะแกกรงั

จากบริเวณลานวัดสังกัสรัตนคีรี มีบันไดขึ้นไปสูยอดเขาสะแกกรัง เล้ียวบริเวณสนามกีฬาจังหวดัไปตามทางขึ้นสูยอดเขา สามารถมองเห็นทิวทัศนเมืองอทุัยธานีไดกวางขวาง เปนที่ตั้งของมณฑปประดษิฐานรอยพระพุทธบาทจําลอง ซ่ึงยายมาจากวดัจนัทาราม สรางเมื่อ พ.ศ. 2448 ดานหนามีระฆังใบใหญที่พระปลัดใจและชาวอุทัยธานีรวมกนัสราง เมื่อ พ.ศ. 2443 ถือกันวาเปนระฆังศักดิสิ์ทธิ์ ใครที่ไปเที่ยวอุทัยธานีแลวไมไดขึ้นไปตรีะฆังใบนี้กเ็ทากับไมไดไปเที่ยวอุทัยธาน ี

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 8: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

23

ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี

การเก็บขาวขึ้นยุง

เมื่อทําพิธีบอกกลาวแมโพสพ และขนขาวเปลือกเขาเกบ็ไวในยุงฉางแลว กอนจะนําขาวไปขาย หรือนําไปสีเปนขาวสาร จะมีพิธีรับขวัญขาวขึ้นยุงฉาง และเมื่อเก็บขาวสวนใหญไวในยุงฉาง ถายังมีขาวอีกสวนหนึ่งทีย่ังตกเรี่ยอยูในนาอีก ตองเก็บหรือเชิญมาไวดวย โดยกลาววา “ขออัญเชิญแมโพสพ แมไพศรี แมวิมาลา แมจันทรเทว ี แมศรีโพสพ เชิญมาแมมา ขึ้นยุงขึ้นแคร กูกองรองเรียกทั่วทองทุงนา มาแมมาขึ้นยุงขึ้นฉาง” ผูที่ไปเชิญจะเก็บขาวที่ตกเรีย่ใสกระบุง แลววางบนสาแหรก เอาขอฉายทําคาน มีผาขาวมาคลุมกระบุง ระหวางเดินทางไปและกลับ หามพดูกับผูชายเปนอนัขาด นําขาวที่เก็บมาใสยุง แลวนั่งบอกอธิษฐาน ใหแมโพสพอยูในยุงนี้อยางม ี ความสุข เมื่อถึงเดือน 3 ขึ้น 3 ค่ํา จึงทําพิธีตักยุงอีกครั้ง แลวจึงนําไปสีเปนขาวสารได การประกอบพิธีกรรมเกี่ยวของกับการทํานาของชาวนา จังหวัดอุทยัธาน ี เปนประเพณีที่สืบตอกันมาเปนเวลาชานาน นับเปนความชาญฉลาดในการใชภูมิปญญาในการสรางขวัญ และกําลังใจในการทํานาใหไดผลด ี และเหน็ความสําคัญของการทํานาดังทีจ่ังหวดัอุทัยธานี ไดรับกลาวขานวา เปนเมืองอูขาวอูน้ํา มาจนทุกวนันี ้

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 9: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

24

กรุงเทพมหานคร

เครื่องหมายประจําจังหวัด : ภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณ

คําขวัญประจําจังหวัด

“ชวยชุมชนแออัด ขจัดมลพิษ แกปญหารถติด ทุกชีวติร่ืนรมย” สถานที่นาสนใจของกรุงเทพมหานคร

พระบรมมหาราชวัง

เมื่อแรกสรางประกอบดวย 3 สวน คือ พระมหาปราสาท พระราชมณเฑยีรสถานและวดัพระศรรัีตนศาสดาราม มีเนื้อที่ 132 ไร ลักษณะแบบแผนการกอสราง คลายคลึงกับ

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 10: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

25

พระบรมมหาราชวังเกาในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ มีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม อยูในบริเวณวงัเหมือนกับวัดพระศรีสรรเพชญในสมัยกรุงศรีอยุธยา

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท

เดิมชื่อพระทีน่ั่งอินทราภิเษกมหาปราสาท เปนพระมหาปราสาทองคแรกที่สรางขึ้นในพระราชวัง เปนที่ประดิษฐานพระบรมศพพระมหากษัตริย สมเด็จพระอัครมเหสี และ พระบรมวงศานุวงศใชประกอบพระราชพธีิสําคัญเชน พระราชพิธีการมงคล และบําเพ็ญพระราชกุศลตางๆ

พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 11: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

26

สรางในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวัเมื่อ พ.ศ.2419 ใชเปนที่รับรองพระราชอาคันตุกะชั้นพระราชาธิบดี หรือช้ันประมุขของรัฐ นอกจากนีย้ังมหีมู พระที่นั่งสําคญัอื่นๆ เชน พระที่นั่งราชกรัณยสภา พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน พระที่นั่งสมมติ เทวราชอุปบัต ิ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร พระที่นั่งจักรพรรดพิิมาน พระทีน่ั่งไพศาลทักษิณ ฯลฯ

วัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแกว

เปนพระอารามหลวง ตั้งอยูตรงมุมดานตะวันออกเฉียงเหนือ ของพระบรมมหาราชวัง เปนที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแกวมรกต) และใชเปนที่ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาที่สําคัญวัดพระแกวสรางแลวเสร็จในป พ.ศ. 2327 และไดรับการบูรณปฏิสังขรณมาตั้งแตสมยัรัชกาลที่ 1 - 9 ตลอดทุกรัชกาลภายในพระอุโบสถ และระเบียงรอบวดัมีภาพจิตรกรรมฝาผนังสวยงามมาก ส่ิงที่นาสนใจอื่นๆ ภายในวัด ไดแก พระปรางค 8 องค พระศรีรัตนเจดยี ปราสาทนครวัดจําลอง ฯลฯ

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 12: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

27

วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)

ตั้งอยูที่ถนนมหาราชขางพระบรมมหาราชวัง เปนวดัเกาแกที่พระพุทธยอดฟา จุฬาโลกโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นเพื่อใหพระภิกษุสงฆ ไดเลาเรียนพระปริยัติธรรม วัดนี้ถือเปน วัดประจํารัชกาลที่ 1 คร้ันถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหบูรณะ วัดโพธ์ิขึ้นใหมทั้งหมดและไดนําเอาตําราวิชาการดานตางๆ มาจารึกไวโดยรอบเพื่อเปนการเผยแพรความรูแกประชาชน ถือไดวาวัดโพธ์ิเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของประเทศไทย นอกจากนีท้ี่ วัดโพธ์ิยังมพีระพุทธไสยาสนองคใหญสรางในสมัยรัชกาลที่ 3 กออิฐถือปูนปดทองทั้งองค ยาว 49 เมตร สูง 12 เมตร ที่ฝาพระบาทแตละขางมีลวดลายประดับมกุเปนภาพมงคล 108 ประการ อันเปนลักษณะอยางหนึ่งของมหาบุรุษตามคติของอินเดีย

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 13: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

28

เสาชิงชา

ศาสนาพราหมณมีความเกี่ยวพันกับชีวิตชาวไทยอยูมาก เมื่อสรางกรุงเทพฯ เสร็จแลวจึงมกีารสรางโบสถพราหมณและเสาชิงชา เดิมตั้งอยูริมถนนบํารุงเมืองทางจะเลี้ยวไปถนน ดินสอ มีมาตั้งแตป พ.ศ. 2327 และยายมาตั้งถนนบํารุงเมืองในปจจุบนั ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 6 บริษัทหลุยส ที. เลียวโนแวนส ซ่ึงเปนบริษัทคาไมไดอุทิศซุงไมสัก เพื่อสราง เสาชิงชาใหม เสร็จเรียบรอย เมื่อวันที ่ 12 เมษายน พ.ศ. 2463 ซอมใหมเมื่อ พ.ศ. 2502 มีสวนสูง ทั้งหมด 21.12 เมตร เสาชิงชานี้ใชประกอบพิธีตรียัมปวาย หรือพิธีโลชิงชาในศาสนาพราหมณ ซ่ึงจัดใหมีในเดือนยี่ของทุกๆ ป และยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ. 2478

พระที่นั่งอนันตสมาคม สรางในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนอาคารหินออน แบบเรอเนสซองส ของประเทศอิตาลี ทั้งนี้มีพระราชประสงคที่จะสรางขึ้นเพื่อเปนที่รับรองแขกเมืองและประชุมปรึกษาราชการแผนดิน พระที่นั่งนี้สรางเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 6 บนเพดานโดมของพระที่นั่งมภีาพเขยีนเฟรสโก ที่สวยงามมาก เปนภาพเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจที่สําคัญของพระเจาอยูหวัรัชกาลที่ 1 - 6 แหงราชวงศจักรี

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 14: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

29

พระที่นั่งอนนัตสมาคม ใชเปนที่ประกอบพระราชพิธีรัฐพิธีตางๆ และเคยใชเปนทีป่ระชุมรัฐสภาภายหลังจึงไดยายการประชมุมายังรัฐสภาใหม ซ่ึงอยูดานหลังของพระที่นั่งนี ้

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 15: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

30

อนุสาวรียประชาธิปไตย

ตั้งอยูที่ถนนราชดําเนินสรางขึ้นเพื่อเปนทีร่ะลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตยที่มีองคพระมหากษตัริยเปนประมขุ เมื่อวันที ่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 อนุสาวรียนี้ออกแบบโดยศาสตราจารย ศิลป พรีะศรี เร่ิมลงมือ กอสราง เมื่อวนัที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 มีพิธีเปด เมื่อวันที ่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2483 ตรงกลางประดิษฐานพานรัฐธรรมนูญ มีความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 16: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

31

อนุสาวรียชัยสมรภูม ิ

ตั้งอยูที่ถนนพหลโยธิน รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดสรางขึ้นในป พ.ศ. 2484 เพื่อเทิดทูนวีรกรรมของทหาร ตํารวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปในกรณีพิพาทระหวางไทยกับฝร่ังเศสเรื่องการปรับปรุงพรมแดนไทยกับอินโดจีนใหม

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 17: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

32

ภูมิปญญาทองถิ่นของจังหวัดกรุงเทพมหานคร

“บานชางหลอ” หมูบานหัตถกรรม

ชุมชนบานชางหลอ เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร มีช่ือเสียงดานงาน หลอพระทุกรูปแบบ การหลอพระเปนกรรมวิธีที่ซับซอนหลายขั้นตอน ตั้งแตการปนองคพระ ขัด แลวลงรักปดทองหรือรมดํา โดยเฉพาะในสมยักอนใชปูนทําแมพิมพ เมื่อหลอเสร็จแลวจะไดองคพระเกลี้ยงๆ จะตองนํามาตีลายละเอียด ตัดเพิ่มเขาไปทีละองค เชน พระกรรณ นิ้วพระหตัถ นิ้วพระบาท ดวยฝมือของชาง ซ่ึงตองใชความประณีตสูง แตปจจุบันไดมีการพัฒนากรรมวิธี ทําแมพิมพ โดยนํายางมาใชแทนปูน สามารถหลอออกมาโดยมีรายละเอียดขององคพระพรอมเสร็จไดในขัน้ตอนเดียว แมกรรมวิธีในการหลอพระจะเปลี่ยนไป แตความประณีตในงานสราง พระพุทธรูปกไ็มอาจปราศจากฝมือของชางชํานาญจากชมุชนบานชางหลอได

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 18: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

33

การทําขันลงหินบานบ ุ

ชุมชนบานบุ ปจจุบันตั้งอยูขางวัดสวุรรณาราม ริมคลองบางกอกนอย เปนชุมชนเกาแกในสมัยอยุธยา อพยพมาเมื่อคร้ังเสียกรุงศรีอยุธยา และมาตั้งถ่ินฐานที่กรุงธนบุรี เร่ือยมาถึงปจจุบัน ชุมชนบานบุ เปนแหลงทําขันลงหินที่หลงเหลือเพียงแหงเดียวในประเทศไทย สืบทอดวิธีการทํามาตัง้แตบรรพบุรุษสมัยอยุธยา ซ่ึงมีขั้นตอนการทําโดยนาํโลหะ 3 ชนิด คือ ทองแดง ดีบุก และทองมาลอ (ถามีโลหะอื่นเจือปนจะทําใหเนือ้ทองไมประสานกันตีแลวจะแตกทันท)ี ใสลงในเบาหลอม หมกลงไปในถานไฟ จนละลายเปนเนือ้เดียวกัน เทออกเปนแผนกลมในเบาหลอมที่มีน้ําหลอ แลวนํามาตแีผขึ้นรูป โดยใชคอนขนาดใหญ ใชคนตี 2 คน สลับกัน ซ่ึงตองมีความชํานาญ รูน้ําหนกัและจงัหวะในการต ี เมื่อตีจนขึ้นรูปเปนขัน แลวจึงนํามาตีลาย แตงไปรอบๆ พรอม ตะไบปาก เสร็จแลวนําไปกลึง เพื่อกรอผิวขนัใหเรียบเสมอกัน และขัดเงา ซ่ึงเรียกวาการ “ลงหิน” ในสมัยกอนจะใชหินละเอยีดผสมน้ําหอผาเอาลงในขันเหยียบหรือคลึงลบรอยตางๆในขนัจนขึ้นเงา แตปจจุบันจะใชเบาหลอม สวนผสมทุบใหละเอยีดแลวหอผาลงขัดแทนและเรียกวา “เหยยีบเบา” ขันลงหิน คือ ผลผลิตจากฝมือของคนไทยโดยแท นับไดวาเปนการสืบทอดภูมิปญญาไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย ตัง้แตอดีตมาจนถึงปจจุบัน

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 19: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

34

งานฝมือกรงนกจากเขาสัตว

การเลี้ยงนกเขาชวา เปนประเพณีที่สืบทอดกันมานาน ศิลปะการฝกเลี้ยงเปนสิ่งสําคัญที่ผูเล้ียงตองศึกษา และปฏิบัติใหถูกตอง สวนกรงนก(บานของนก) ก็เปนสิ่งสําคัญที่ผูเล้ียงบางคน ยินดซ้ืีอหาในราคาแพง เนื่องจากถือวา กรงนกเปนงานศิลปะ โดยเฉพาะกรงเกาที่มีฝมืองดงามประณีต เชน กรงทรงสะเต็งจากยะลา กรงทรงโกยี่จากปตตาน ี ยิ่งเกายิ่งหายาก และราคานับวันจะยิ่งแพงขึ้น พื้นที่ในชุมชนหมูที ่ 5 แขวงกระทุมราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร มีผูผลิตกรงนกสวยงาม ซ่ึงเปนที่นิยมในหมูผูเล้ียงนกเขาชวา สวนวัสดุที่เปนเอกลกัษณของกรงนก เชน หวายตะกรา งาชาง กานโคลน ใบลาน ซ่ีไมจริง ขอเกี่ยวทําดวยโลหะแกว นํามาแกะสลกันิยม ทําเปนรูปสัตวที่เปนสริิมงคล เชน หงส และมังกร หัวกรงทําจากไมจริง หรืองาชางที่นํามาเล่ือยแลวกลึง

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

Page 20: จังหวัดเพชรบูรณ...16 จ งหว ดเพชรบ รณ เคร องหมายประจ าจงหว ด: ภาพเพชรก บภเขาและไร

35

การทําบาตรพระที่ชุมชนบานบาตร

เลากันวา บรรพบุรุษของชุมชนบานบาตร เขตปอมปราบศัตรูพาย ที่เขามากับ กองทัพไทยในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังจากนัน้ไดรวมกันมาอยูที่ตรอกเขมร และบานบาตรจนกลายเปนชุมชน เนื่องจากมีวัดในกรุงเทพมหานครเปนจํานวนมาก พระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ หรือผูมีฐานะตางก็นิยมสรางวัด ประกอบกับชาวเขมรในชุมชนแหงนี้ มีช่ือเสียงดานทําบาตรพระมานานกวา 100 ป และยังไดมีการถายทอดความรูใหแกลูกหลานมาตลอดจนถึงปจจุบัน

หนังสือเสริมประสบการณ “เมืองไทยนารู” ตอนที่ 1 ภาคกลาง โดยครูมาลัยวรรณ จันทร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เขตสาทร กรุงเทพมหานคร