103
บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติการเพื่อ สันติภาพ

บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

บทบาทของกองทัพ

ไทยในปฏิบัติการเพื่อ

สันติภาพ

Page 2: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

คํานํา

สภาพแวดลอมดานความม่ันคงของโลกในยุคปจจุบันท่ีมีความซับซอน (complex) เปราะบาง (fragile) และแปรปรวน (Uncertain) อันเนื่องมาจากปจจัยในมิติตางๆ ท้ังดานการเมือง เศรษฐกิจ ความม่ันคง สังคมจิตวิทยา ผลประโยชนของประเทศท่ีทับซอนกันหรือแมแตภาวะโลกาภิวัฒน ซ่ึงเช่ือมโยงกันเปนลูกโซ สงผลใหบทบาทดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพถูกพัฒนาวัตถุประสงคและรูปแบบไปอยางมาก ประเทศตางๆ หันมาใหความสนใจอยางจริงจังกับการพัฒนาบทบาทดานการปฏิบัติการเพ่ือสันติภาพ ท้ังนี้ เนื่องจากบทบาทดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพมีมิติเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรการปองกันประเทศ และความมัน่คงของชาติหรือแมกระท่ังเปนบทบาทที่สรางสภาพแวดลอมใหยุทธศาสตรมิติอ่ืนๆ ของประเทศ (การเมือง เศรษฐกิจ การคาการลงทุน การตางประเทศ ฯลฯ) สามารถแขงขันในเวทีสากล ในยุคแหงการแขงขันได นักการทหารโดยเฉพาะนักวจิัยยุทธศาสตร จึงไมควรละเลยท่ีจะศึกษาทําความเขาใจและบูรณาการบทบาทดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพเขากับยุทธศาสตรในมิติอ่ืนๆ กองทัพไดเหน็ความจําเปนในบทบาทดังกลาว จึงไดจดัต้ังศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร ข้ึนเพื่อเปนหนวยรับผิดชอบในกระบวนการท้ังปวงอันจะนําไปสูการพัฒนาศักยภาพและบทบาทของกองทัพไทยในดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ นับเปนความภาคภูมิใจของผมท่ีไดรับความไววางใจจากผูบังคับบัญชาใหมาดํารงตําแหนง ผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในหวงการจัดตัง้หนวย ในขณะเดยีวกันกเ็ปนความทาทาย เนื่องจากการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพเปนบทบาทใหมของกองทัพ อยางไรก็ตาม ผมไดปวารณาตัววาจะทุมเทความรูความสามารถเพ่ือวางรากฐานสําหรับการพัฒนาบทบาทดังกลาวของกองทัพใหเติบโตอยางยั่งยืน ผมและทีมงานไดวางยุทธศาสตรเชิงรุกไวอยางเปนรูปธรรม และเร่ิมขับเคล่ือนกลไกตางๆ จนมีความคืบหนาไปบางสวนแลวอยางนาพอใจ

เอกสารประกอบการบรรยายฉบับนี้เปนกาวแรกในแผนงานการจัดทําคูมือ (Manual) การปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย ซ่ึงศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด จะปรับปรุงตอไปจนไดผลผลิตเปนเอกสารคูมือสําหรับเปนบรรทัดฐานใหทุกสวนท่ีเกีย่วของกับการปฏิบัติการเพ่ือสันติภาพยึดถือปฏิบัติตอไป

(

พลตรี

ศักดา แสงสนิท ) ผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด

Page 3: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

สารบัญ

บทท่ี ๑

สหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพ ๑.๑ กลาวนํา ๑.๒ ระบบของสหประชาชาติ ๑.๓ สหประชาชาติกับการรักษาสันติภาพ ๑.๔ วิวัฒนาการของกระบวนการรักษาสันติภาพ ๑.๕ กระบวนการจดัต้ังภารกจิรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ ๑.๖ การประยกุตของกระบวนการสันติภาพกับรูปแบบของความขัดแยง (กรณีศึกษา) ๑.๗ แนวโนมพัฒนาการกระบวนการสันติภาพของสหประชาชาติ ๑.๘ วิเคราะหแนวโนมสถานการณดานสันติภาพ ๑.๙ สรุป

Page 4: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

“Why was the UN established, if not to act a benign policeman or doctor? Can we really

afford to let each state be the judge of it own right, or duty, to intervene in another state’s

internal conflict?

If we do, will we not be forced to legitimize Hitler’s championship of Sudeten

Germans, or Soviet intervention in Afghanistan? Most of us would prefer,

I think – especially now that the Cold War is over – to see such decisions taken

collectively, by an international institution whose authority is generally respected.” 1

๑. สหประชาชาตกัิบการรักษาสันติภาพ ๑.๑ กลาวนํา สหประชาชาติเปนองคกรความรวมมือพหภุาคีของประชาคมโลกท่ีไดรับการยอมรับใหเปนกลไกหลักในการจัดการกับปญหาความขัดแยงท่ีสงผลกระทบตอสันติภาพและความม่ันคงของประชาคมโลก โดยขอเท็จจริงแลวสหประชาชาติมิไดดําเนนิบทบาทในดานการรักษาสันติภาพเพยีงบทบาทเดียว สหประชาชาติยังมีบทบาทตางๆ ท่ีเกี่ยวของต้ังแตการดําเนนิชีวิตประจําวนัของผูคนไปจนถึงการเมืองเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา สันติภาพ ความม่ันคงของโลก เนื่องจากภารกิจของสหประชาชาติไดกําหนดขอบเขตไวอยางกวางขวาง คือ “การชวยเหลือพลเมืองโลกใหมีวิถีชีวิตทีด่ีข้ึน (live better lives) มีความปลอดภยั (in Safety) มีเกียรตแิละศักดิ์ศรี (Dignity) 2” ปฏิบัติการของสหประชาชาติมีความหลากหลายตั้งแตปฏิบัติการขนาดใหญและซับซอน จนถึงโครงการขนาดเล็ก ซ่ึงถูกดําเนินการอยูในทุกภูมิภาคท่ัวโลก แตทุกบทบาท ทุกภารกิจ จะถูกดําเนินการภายใตกรอบแนวทางของกฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter)

๑.๒ ระบบของสหประชาชาต ิ(United Nations System) กําเนิด สหประชาชาติมีกําเนิดมาจากการประชุมของประชาคมโลก ๕๐ ประเทศ ณ กรุงซานฟรานซิสโก สหรัฐฯ เม่ือป ค.ศ.๑๙๔๕ ภายหลังจากการส้ินสุดของสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ เพื่อพิจารณาขอเสนอ ซ่ึงพัฒนาโดยผูแทนของจีน สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และฝร่ังเศส สหราชอาณาจักร ในความพยายามรวม (Collective Effort) ท่ีจะปองกันชนรุนหลังใหพนจากภัยของสงคราม ณ จุดเร่ิมตนของการกําเนิดสหประชาชาติไดกําหนดให ๕ ชาติมหาอํานาจหลักท่ีเปนแกนนําของฝายพันธมิตรในการสูรบในสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ จนไดชัยชนะ มีบทบาทนําในการดแูลสันติภาพและความมั่นคงของประชาคมโลก บทบาทนําของแกนนําท้ัง ๕ ชาติ ไดถายทอดมาจนถึงปจจุบันดวยสถานภาพของสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความม่ันคงฯสหประชาชาติ ซ่ึงเปนองคกรท่ีทรงอิทธิพลที่สามารถอนุมัติมาตรการแทรกแซงประเทศท่ีคณะมนตรีฯ เหน็วาเปนภยัคุกคามตอสันตภิาพและความม่ันคงของประชาคมโลกได จุดเร่ิมตนของสหประชาชาติ จึงเร่ิมตนจากปฏิญญาท่ีเรียกวากฎบัตรสหประชาชาติ (UN charter) มีผลบังคับใช เม่ือ ต.ค.๒๔๘๘ (ค.ศ.๑๙๔๕) และกฎบัตรดังกลาวไดกลายมาเปนรากฐานของการดาํเนินงานของสหประชาชาติจวบจนถึงปจจุบัน

------------------------------------------------------------------------------ 1 Kofi – Anan, UNSG, in address at Ditches Park, 26 June 1998 2 Secretary – General Publications posted at www.un.org/Pubs/ourlives/main.htm

Page 5: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

สมาชิกของสหประชาชาติ สหประชาชาตจิัดต้ังข้ึนโดยมีสมาชิกในหวงเร่ิมตน ๕๕ ประเทศ เม่ือป ๒๕๔๘ (ค.ศ.๑๙๔๕) จนถึงปจจุบัน สหประชาชาติมีสมาชิกรวม ๑๙๒ ประเทศ นอกจากนั้นยังมี ๑๗ ประเทศท่ีมิใชชาติสมาชิก และองคกรระหวางประเทศ จํานวนหนึ่ง มีสถานภาพเปนผูสังเกตการณ ณ สํานักงานใหญในนครนวิยอรก องคกรท่ีเปนกลไกในการปฏิบัติงานของสหประชาชาติ สหประชาชาติในปจจุบันมีโครงสรางขนาดใหญและซับซอน ประกอบดวยองคกรหลัก ๖ องคกร (organs) ตามท่ีบัญญัติไวในกฎบัตร กระทรวงการชํานัญพิเศษ (Associated Specialized agencies) จํานวนมาก รวมท้ังโครงการ (Programmes) และองคกรท่ีเกี่ยวของท่ีสหประชาชาติปฏิบัติการอยูทุกภูมิภาค องคกรหลักและหนวยงานนานาชาติของสหประชาชาต ิ(Major organs and UN agencies) กฎบัตรหมวดท่ี ๓ มาตรา ๗ กําหนดโครงสรางของสหประชาชาติ และอํานาจหนาท่ีโดยประกอบดวยองคกรหลัก ๖ องคกร ไดแก (มาตรา ๗)

• สมัชชาใหญ (General Assembly) กฎบัตรหมวดท่ี ๔

• คณะมนตรีความม่ันคงฯ (Security Council) กฎบัตรหมวดท่ี ๕

• คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Council) กฎบัตรหมวดท่ี ๑๐

• คณะมนตรีภาวะทรัสตี (Trusteeship Council) กฎบัตรหมวดท่ี ๑๒ (กําลังจะยกเลิกและกอต้ังคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติข้ึนแทน)

• ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (International Court of Justice) กฎบัตรหมวดท่ี ๑๒

• สํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ (Secretariat) นอกจากองคกรหลักท่ีกลาวขางตนแลว กฎบัตรหมวดท่ี ๓ มาตราที่ ๗ ขอ ๒ ยังใหอํานาจสหประชาชาติ สามารถจัดต้ังองคกรรอง (Subsidiary organs) ท้ังรูปแบบองคกรเฉพาะกิจหรือองคกรถาวร ตามท่ีพิจารณาเห็นวาสอดคลองกับกฎบัตรฉบับปจจุบัน จึงเปนท่ีมาของหนวยงานตางๆ ของสหประชาชาติท่ีรับผิดชอบเฉพาะดานท่ีกลาวแนะนําขางตน รวมไปถึงการจดัต้ังภารกจิรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในพื้นท่ี (Field Mission) ทุกภารกจิอาศัยอํานาจในบทบัญญัติดังกลาว องคกรนานาชาตินอกเหนอืจากองคกรหลัก ๖ องคกร ไดแก - UNICEF (United Nation Children’s Fund) - UNCTAD (United Nations Conference on Trade and Development) - UNDP (United Nations Development Program) - UNEP (United Nations Environment Program) - ODCCPC (Office of Drug Control and Crime Prevention) - UNRWA (UN Relief and Works Agency for Palestine Refugees in the Near East) - UNHCR (Office of the United Nations High Commissioner for Refugees) - ILO (International Labors Organization) - FAO (Food and Agriculture Organization of the UN)

Page 6: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

- UNESCO (UN Educational, Scientific and Cultural Organization) - ICAO (International Civil Aviation Organization) - WHO (World Health Organization) - World Bank - IMF (International Monetary Fund) - UPU (Universal Postal Union) - ITU (International Telecommunication Union) - WMO (World Meteorological Organization) - IMO (International Maritime Organization) - WIPO (World Intellectual Property Organization) - IFAD (International Fund for Agricultural Development) - UNIDO (UN Industrial Development Organization) - IAEA (International Atomic Energy Agency) ๑.๓ สหประชาชาตกัิบการรักษาสันติภาพ “ We reaffirm our faith in The United Nations and our commitment to the proposes

and principles of the charter of the UN and international law, which are indispensable

foundations of more peaceful, prosperous and just world and reiterate our determination to

foster strict respect for them.”

“We reaffirm that our common fundamental values, including freedom, equality,

solidarity, tolerance, respect for all human rights, respect for nature and shared responsibility

are essential to international relations.”

“We are determined to establish a just and lasting peace all over the world in

accordance with the purposes and principles of the charter.”3

บทบาทหลักประการหนึ่งของสหประชาชาติคือการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงนานาชาติ (The maintenance of international peace and security) ไดถูกกําหนดไวเปนขอแรกในกฎบัตร หมวดท่ี ๑ มาตราท่ี ๑ ท้ังนี้ การดําเนินการใดๆ จะตองสอดคลองกับวัตถุประสงค (Purposes) และหลักการ (Principles) ของกฎบัตร กฎบัตรสหประชาติ (The UN charter) ถือเปนกฎหมายระหวางประเทศท่ีผูกพันทุกชาติ ท้ังท่ีเปนสมาชิกสหประชาชาติและมิไดเปนสมาชิกสหประชาชาติ กําหนดไวในหมวดท่ี ๑ (Chapter 1) มาตรา ๒ (Article 2) ขอ ๖ ท่ีกลาววา “สหประชาชาติจะประกันวารัฐฯ ท่ีมิใชสมาชิกสหประชาชาติท้ังปวงจะปฏิบัติตามหลักการเหลานี้ ตราบเทาท่ีจําเปนตอการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงนานาชาติ” นอกจากนัน้

------------------------------------------------------------------------------ 3 World Summit 2005 Plenary Meeting pledge

Page 7: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

วัตถุประสงคและหลักการของสหประชาชาต ิวัตถุประสงค (Purposes) ของการจดัต้ังองคการสหประชาชาติกาํหนดไวในหมวดที ่๑ มาตราท่ี ๑

๑. เพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงของประชาชาติ (International Peace and Security) โดย มาตรการรวมท่ีมีประสิทธิภาพ (Effective collective measures) สําหรับการปองกัน (prevention) การกําจัดภัยคุกคามตอสันติภาพ (removal of threats to the peace) และการปราบปรามการกระทําในลักษณะรุกราน (suppression of acts of aggression) หรือการกระทําใดๆ ในลักษณะทําลายสันติภาพ (any breaches of peace)

๒. เพื่อพัฒนามิตรภาพความสัมพันธระหวางชาติสมาชิกบนพื้นฐานการเคารพหลักการสิทธิความเทา เทียมกันและการปกครองตนเองของประชาชน (Principles of equal rights and self determination of peoples) ๓. เพื่อบรรลุความรวมมือระหวางนานาชาตใินการแกปญหาประชาชาติในดานเศรษฐกิจ วัฒนธรรม มนุษยธรรม และการสงเสริม/กระตุนการเคารพในสิทธิมนุษยชน (Human rights) และเสรีภาพพืน้ฐาน (fundamental freedoms) โดยไมมีการแบงแยกเผาพันธุ เพศ ภาษา ศาสนา ๔. เพื่อเปนศูนยกลางสําหรับการประสานสอดคลองการดําเนินการของชาติสมาชิกอันจะบรรลุ วัตถุประสงครวมกัน

หลักการ (Principles) ขององคการสหประชาชาตกิําหนดไวในหมวดท่ี ๑ มาตราท่ี ๒ ๑. ความเสมอภาคในอธิปไตยของชาติสมาชิก (๑ ชาติ ๑ เสียง) ๒. เพื่อประกนัสิทธิและผลประโยชนจากสมาชิกภาพ สมาชิกท้ังปวงจะตองปฏิบัติตามขอผูกพันท่ี

กําหนดไวในกฎบัตรโดยสุจริตใจ ๓. การแกไขปญหาขอพิพาทระหวางชาติดวยสันติวิธี โดยไมกอใหเกิดอันตรายตอสันติภาพ ความม่ันคง และกระบวนการยุติธรรมระหวางประชาชาติ ๔. ละเวนการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศในลักษณะท่ีคุกคามหรือใชกําลังหรือคุกคามตออธิปไตยในดินแดนหรือเอกราชของชาติอ่ืนๆ ดวยการกระทําใดๆท่ีไมสอดคลองกับวัตถุประสงคของสหประชาชาติ (หมายรวมถึงสมาชิกทุกชาติ) ๕. การใหความชวยเหลือในทุก ๆ การปฏิบัติท่ีสหประชาชาติดําเนนิการและหลีกเล่ียงการใหความชวยเหลือแกประเทศ ซ่ึงสหประชาชาติกําลังดําเนนิมาตรการปองกันหรือมาตรการบังคับ

๖. ประกันวาชาติท่ีไมใชสมาชิกสหประชาชาติปฏิบัติตามหลักการของสหประชาชาติตราบเทาท่ี จําเปนแกการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงของประชาชาติ ๗. ไมมีบทบัญญัติใดในกฎบัตรท่ีจะใหอํานาจสหประชาชาติแทรกแซงในเร่ืองท่ีอยูในเขตภายในเขตอํานาจของประเทศ หรือตองการใหสมาชิกตองสงเร่ืองดงักลาวใหตดัสินภายใตกฎบัตรนี้ แตหลักการนี้ จะไมกระทบถึง การใชมาตรการบังคับตามหมวดที ่๗

Page 8: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

กลไกของสหประชาชาติกับกระบวนการรักษาสันตภิาพ องคประกอบหลักในกระบวนการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติประกอบดวย องคกรท่ีเกี่ยวของ ไดแก สมัชชาใหญ (General Assembly) คณะมนตรีความม่ันคงฯ (Security Council) และสํานกังานเลขาธิการฯ (Secretariat) และกฎบัตรในหมวดท่ีเกีย่วของ กับอํานาจหนาท่ีในกระบวนการรักษาสันติภาพไดแก หมวด ๖, ๗, ๘ และ ๑๒

สมัชชาใหญ (General Assembly) สมัชชาใหญเปนองคกรหลักของสหประชาชาติ ซ่ึงเปรียบเหมือนสภาโลกหรือเวทีจําลองการเมืองโลก ซ่ึงมีผูแทนของชาติสมาชิกสหประชาชาติทุกชาติเปนสมาชิกฯ แตละชาติจะสงผูแทนมาประจาํสมัชชาใหญชาติละไมเกนิ ๕ คน (แตอาจมีผูแทนสํารองไดอีกชาติละ ๕ คน) แตทุกชาติมีสิทธิมีเสียงเทาเทียมกนั ๑ ชาติ ๑ เสียง สมัชชาใหญจะพิจารณาหลักท่ัวๆ ไป ของความรวมมือในการรักษาความม่ันคงและสันตภิาพนานาชาต ิการควบคุมการปลดอาวุธ กฎขอบังคับในการครอบครองอาวุธ และผลิตขอเสนอแนะในเร่ืองดังกลาวใหกับชาติสมาชิกหรือคณะมนตรีความม่ันคงฯ สมัชชาใหญอาจถกแถลงปญหาท่ีเกี่ยวของกับการธํารงรักษาความม่ันคงและสันติภาพของโลกซ่ึงถูกเสนอเขาสูกระบวนการพิจารณาโดยชาติสมาชิก คณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือชาติท่ีมิใชสมาชิกสหประชาชาติก็ได (มาตรา ๓๕ วรรค ๒) และผลิตขอเสนอแนะ (Recommendation) ยกเวนสถานการณหรือความขัดแยง ซ่ึงคณะมนตรีความม่ันคงฯ กําลังดําเนินมาตรการภายใตกฎบัตรฉบับปจจุบัน สมัชชาใหญไมมีอํานาจพิจารณาหรือผลิตขอเสนอแนะเวนคณะมนตรีความม่ันคงฯ รองขอ หากปญหาท่ีถูกสงเขาสูการพิจารณาเปนประเดน็ ท่ีปฏิบัติการมคีวามจาํเปน ปญหาดังกลาวตองถูกสงตอไปยังคณะมนตรีความม่ันคงฯ กอนหรือหลัง การหารือ ถกแถลงของสมัชชาใหญก็ได การตัดสินใจกระทําโดยระบบเสียงสวนใหญ (Majority Vote) เวนกรณีท่ีเปนเร่ืองสําคัญ เชน ปญหาสันติภาพและความมัน่คงระหวางชาติ การรับสมาชิกใหม การขับไลสมาชิก การพิจารณางบประมาณ การเลือกตั้งคณะมนตรีทรัสตี การขับสมาชิกออก ซ่ึงตอง ใชเสียง ๒ ใน ๓ ไมมีกระบวนการ VETO วาระการประชุมปกติของสมัชชาใหญกําหนดไวปละ ๑ คร้ัง หวง ก.ย. – ธ.ค. แตหากมีวาระสําคัญท่ีตองการการพิจารณาเปนกรณพีิเศษ เลขาธิการสหประชาชาติสามารถเรียกประชุมไดในกรณีดังนี ้ - คณะมนตรีความมั่นคงฯ รองขอ - ประเทศสมาชิกสวนใหญรองขอ

เนื่องจากเร่ืองราวท่ีเขาสูกระบวนการพจิารณาของสมัชชาใหญ มีขอบเขตกวางขวาง จึงมีการจัดต้ังคณะกรรมการเฉพาะ เพื่อพิจารณาเร่ืองราวเฉพาะดาน คณะกรรมการดังกลาวไดแก คณะกรรมการชุดท่ี ๑ รับผิดชอบดานความม่ันคงและการลดอาวุธ คณะกรรมการชุดท่ี ๒ รับผิดชอบดานเศรษฐกจิและการคลัง คณะกรรมการชุดท่ี ๓ รับผิดชอบดานสังคมมนุษยธรรมและวัฒนธรรม คณะกรรมการชุดท่ี ๔ รับผิดชอบการเมืองและดินแดนท่ียังไมไดปกครองตนเองและ การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ

Page 9: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

คณะกรรมการชุดท่ี ๕ รับผิดชอบปญหาการบริหารงานภายในองคกรและการงบประมาณ คณะกรรมการชุดท่ี ๖ รับผิดชอบดานกฎหมาย นอกนั้นยังมี คณะกรรมการท่ีปรึกษาปญหาดานการบริหารจัดการและการงบประมาณ ACABG (Advisory Committee on Administrative and Budgetary Questions) คณะมนตรีความมั่นคงฯ (Security Council) คณะมนตรีความม่ันคงฯ มีความรับผิดชอบหลักในการธํารงและรักษาไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ (International Peace and Security) คณะมนตรีความม่ันคงฯ ประกอบดวยสมาชิกถาวร ๕ ชาติ (สหรัฐ, รัสเซีย, สหราชอาณาจักร, ฝร่ังเศส, จนี) และสมาชิกไมถาวร ๑๐ ชาติ ซ่ึงจะดํารงตําแหนงวาระละ ๒ ป จัดโดยกาํหนดสัดสวนตามภูมิภาค ดังนี้ อัฟริกา ๒ ท่ี อาหรับ ๑ ท่ี เอเซีย ๒ ท่ี ยุโรปตะวันออก ๑ ท่ี ละตินอเมริกา ๑ ท่ี และยุโรปตะวันตก ๑ ท่ี แตละชาติมี ๑ คะแนนเสียง การตัดสินใจในเร่ืองท่ีสําคัญจะตองมีเสียงสนับสนุน ๙ ใน ๑๕ ในจํานวน ๙ เสียง จะตองรวมสมาชิกถาวร ๕ ชาติ โดยไมมีชาติใดชาติหนึ่ง VETO คณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดรับมอบอํานาจพิเศษตามหมวด ๖, ๗, ๘ และ ๑๒ เพื่อจัดการกับความขัดแยงโดยสันติวิธี(article 24) และอํานาจในการตัดสินวาการกระทําใดเปนภยัคุกคามตอสันติภาพ การละเมิดและทําลายสันติภาพ และการกระทําในลักษณะรุกราน รวมถึงรับผิดชอบในการดําเนินมาตรการท่ีจําเปนเพื่อรักษาและสถาปนาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ (article 39) คณะมนตรีความม่ันคงฯ มีสิทธิตามกฎหมายท่ีจะอนุมัติการใชกําลังทหารกรณีจําเปน การปฏิบัติการใดๆ ของ คณะมนตรีความม่ันคงฯ ถือวาเปนการปฏิบัตกิารในนามสมาชิกสหประชาชาติท้ังหมด (article 24) และถือวาสมาชิกเห็นชอบและใหการยอมรับการตัดสินใจน้ันๆ (article25) การดําเนนิการตอภัยคุกคามตอสันติภาพ คณะมนตรีความมั่นคงฯ จะมอบหมายใหเลขาธิการสหประชาชาติ จัดทําแผนในการจัดการกับปญหาและ คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะเปนผูอนุมัติอํานาจในการปฏิบัติตามแผน ซ่ึงเรียกวาขอมติคณะมนตรีความม่ันคง (Resolution) กรณีท่ีสมาชิกของ คณะมนตรีความมั่นคงฯ ไมเห็นชอบในรางขอมติ (เชนมีการ Veto จาก ๑ ใน ๕ ชาติ สมาชิกถาวร) คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจเสนอประเดน็ดงักลาวเขาสูสมัชชาใหญเพือ่พจิารณา สมัชชาใหญอาจใชกระบวนการพิเศษท่ีเรียกวา “Uniting for peace” อนุมัตภิารกิจรักษาสันติภาพ อยางไรก็ตามสมัชชาใหญไมมีอํานาจอนุมัติการปฏิบัติการใดๆ ในลักษณะบังคับใหเกิดสันติภาพภายใตหมวด ๗ ของกฎบัตร จากอํานาจดังกลาวทําใหสหประชาชาติเปนองคกรเดยีวในโลกท่ีมีอํานาจตามกฎหมายในการใชกําลังทหารหรอืกระทําการแทรกแซงตอประเทศอธิปไตยได หากพิจารณาวาเปนภยัคุกคามตอสันติภาพและความม่ันคงนานาชาติ

Page 10: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

สํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ (Secretariat) สํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ มีเลขาธิการสหประชาชาติเปนหวัหนาองคกร มีหนาท่ีดแูล ประสานงานเครือขายตางๆ ของสหประชาชาติและความรับผิดชอบจัดต้ัง ประสานงานและอํานวยการดานธุรการ สําหรับปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peacekeeping) รวมท้ังการบริหารองคการสหประชาชาติโดยมี เลขาธิการสหประชาชาติปฏิบตัิหนาท่ีเปนหัวหนาฝายบริหารของสหประชาชาติ ซ่ึงแตงต้ังโดยสมัชชาใหญ โดยการแนะนาํ (Recommend) ของคณะมนตรีความมั่นคง โดยมีวาระ ๕ ป สํานักงานเลขาฯ (UNHQ) มีหนาท่ีใหบริการองคกรรองอ่ืนๆ ของสหประชาชาติและบริหารอาํนวยการโครงการและนโยบายของสหประชาชาติ ภารกิจท่ัวไปของสํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติโดยมากเปนภารกจิในลักษณะงานธุรการ ไดแก

• จัดทํารายงานเสนอองคกรท่ีใชอํานาจ

• งานบริการดานเลขาธิการ

• จัดการประชุม

• ดําเนินงานศึกษาวิจยั

• ผลิตเอกสารเผยแพรเอกสารทางสถิติ

• รณรงคการพฒันาดานเศรษฐกิจและสังคม

• ใหการบริการดานการวางแผน การเงิน กําลังพล กฏหมาย

ภารกิจสําคัญของสํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติท่ีเก่ียวของกับการรักษาสันตภิาพ

• วางแผน, เตรียมการ, บังคับบัญชาและอํานวยการภารกิจสนามทั้งปวง (Field Mission) ของ สหประชาชาติโดยเฉพาะภารกิจการรักษาสันติภาพ ปจจบัุนภารกจิดานสันติภาพท่ีสํานักเลขาธิการฯ อํานวยการ ประกอบดวย ๒ ลักษณะหลักคือ - ภารกิจรักษาสันติภาพ (Peacekeeping Mission) มี DPKO (Department of Peacekeeping Operations) เปนองคกรรับผิดชอบ ปจจุบันมีภารกิจท่ีดําเนนิการอยู ๑๖ ภารกจิ - ภารกิจสนับสนุนการทางการเมือง (Political Mission) โดย DPA (Department of Political Affairs) เปนองคกรรับผิดชอบ ครอบคลุมกระบวนการ Preventive Diplomacy, Peacemaking, Peace building ปจจุบัน มีภารกิจท่ียังดาํเนินอยู ๑๑ ภารกิจ

ขอสังเกต ุ ๑. แมโดยหลักการสหประชาชาติยึดถือความเสมอภาคและความเทาเทียมกันของชาติสมาชิกไมวาจะเปนประเทศเล็กหรือใหญ ประเทศพัฒนาแลว กําลังพัฒนา หรือดอยพัฒนาทุกชาติถือวาเสมอภาคกนั แตในความเปนจริง องคกรท่ีมีอํานาจและทรงอิทธิพลในการกําหนดทิศทางของประชาคมโลก ไดแก คณะมนตรีความม่ันคงฯ ซ่ึงอํานาจหลักจะข้ึนกับ ๕ ชาติ สมาชิกถาวร และแมอีก ๑๐ ชาติสมาชิกไมถาวรจะ

Page 11: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๐

๒. แมโดยหลักการสหประชาชาติยึดถือหลักการแกไขปญหาโดยสันติวิธี การเคารพในอธิปไตยของนานาชาติและความยินยอม แตหมวด ๗ ของกฎบัตรไดใหอํานาจสหประชาชาติอยางกวางขวางในการเขาไปแทรกแซงโดยไมตองไดรับการยนิยอม และกลับเปนหมวดท่ีถูกนํามาใชในภารกิจรักษาสันติภาพอยางกวางขวางในปจจุบัน และหากอิทธิพลของชาติมหาอํานาจหรือการเมืองระหวางประเทศยังคงเปนปจจยัท่ีมีอิทธิพลตอสหประชาชาติ มีความเปนไปไดท่ีบทบาทของสหประชาชาติอาจสูญเสียความเปนกลางและถูกแสวงประโยชนไปเปนเคร่ืองมือในการแผขยายอิทธิพลและอํานาจเหนอืภูมิภาค รวมถึงการแทรกแซงเหนือดินแดนอธิปไตยโดยอางความชอบธรรม

“keep a permanent watch on the state of peace, security and stability around

the world, seek peaceful solution, mediate disputes, pre-empt or prevent

conflict, assure the protection of the weak, and deal authoritatively with

aggressors or would be aggressors.”4

กฎบัตรในหมวดท่ีเก่ียวของกับอํานาจการปฏิบตัิการเพื่อสันติภาพ หมวด ๖ การระงับขอพิพาทโดยสันติวิธี (Pacific Settlement of Disputes) กําหนดวิธีการจัดการกับความขัดแยงดวยหลายๆ มาตรการสันติวิธี ไดแก การเจรจาตอรอง (Negotiation) การสอบสวน (Enquiry) การไกลเกล่ีย (Mediation) การประนปีระนอมปรองดองกัน (Conciliations) การใชอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) และตัดสินปญหาโดยศาล (Judicial Settlement) คณะมนตรีความม่ันคงฯ มีอํานาจเรียกคูกรณีความขัดแยงเพื่อมารวมกันแกปญหาโดยสันติวธีิหรือใหคําแนะนํา (recommendation) มาตรการแกปญหาความขัดแยงใหกับคูกรณีนําไปปฏิบัต ิ(Article 33) หมวด ๗ มาตรการจัดการเกี่ยวกับการคุกคามตอสันติภาพ การละเมิดสันติภาพและการกระทําในลักษณะรุกราน (Action with respect to threats to peace, Breach of peace, and Act of aggression) เปนการใชอํานาจบังคับอยางจําเปน ออกแบบเพื่อจัดการกับภัยคุกคามตอสันติภาพ (Threats of Peace) การละเมิดสันติภาพ (Breach of the Peace) และการกระทําในลักษณะรุกราน (Act of Aggression) ภายใตแนวทางของหมวด ๗ คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตัดสินวาเปนภยัคุกคามตอสันติภาพที่เปนการละเมิดสันติภาพ หรือ การกระทําในลักษณะรุกรานหรือไม และจัดทําขอแนะนําหรือตัดสินใจวามาตรการใดจะนํามาใชเพื่อธํารงและสถาปนาสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติ (Article ๓๙)

----------------------------------------------------------------------------- 4 B Urquhart in A Roberts & B Kingsbury, “United Nations, Divided Word”, Oxford, Clarendon, 1995,p95.

Page 12: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๑

กอนการจะสถาปนามาตรการบังคับ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจเรียกรองใหทุกฝายปฏิบัติตามมาตรการเฉพาะท่ีกําหนดข้ึนหากเห็นวาจําเปน มาตรการดังกลาวไดแก การคว่ําบาตรทางเศรษฐกิจบางสวนหรือท้ังหมด การโดดเดี่ยวโดยการตัดขาดการส่ือสารคมนาคม เชน การจราจรทางอากาศ รถไฟ การไปรษณยี โทรเลข วิทยแุละวธีิการตดิตอส่ือสารอ่ืนๆ และตัดความสัมพันธทางการทูต (Article ๔๑) เพื่อรักษาไวหรือสถาปนาสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติ หมวด ๘ การจัดการระดับภมิูภาค (Regional Arrangement) สนับสนุนมาตรการจัดการในระดับภูมิภาค สําหรับการจัดการกับความขัดแยงอยางสันติวิธีของความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี กอนท่ีความขัดแยงนั้นจะถูกเสนอเขาสูคณะมนตรีความม่ันคง ดวยมาตรการท่ี สอดคลองกับวัตถุประสงคและหลักการ (Purposes and Principles) ของสหประชาชาติ (Article ๕๒) เม่ือเห็นเหมาะสม คณะมนตรีความมั่นคงฯ อาจแสวงประโยชนจากการดาํเนินการขององคกรภูมิภาค เพื่อบังคับใหเกิดสันติภาพภายใตอํานาจขององคกรภมิูภาคเอง

๑.๔ วิวัฒนาการของกระบวนการรักษาสันตภิาพ (Evolution of Peacekeeping) เทอมของการรักษาสันติภาพ (Peacekeeping) หรือการบังคับใหเกดิสันติภาพ (Peace Enforcement) ไมปรากฏในกฎบัตรของสหประชาชาติ โดยขอเท็จจริงแลวการรักษาสันติภาพ การบังคับใหเกดิสันติภาพเปนเทคนิค วิธีการ และมาตรการท่ีถูกพัฒนาข้ึนเพื่อจัดการกับความขัดแยงภายใตหลักการและแนวทางที่กฎบัตรสหประชาชาติในหมวดท่ี ๖ ๗ ๘ และ ๑๒ กําหนดไว โดยมีการพัฒนารูปแบบไปตามสภาพแวดลอมของความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนในแตละยุคสมัย ๑.๔.๑ Classical Peacekeeping การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติมีกําหนดมาตั้งแตยุคสงครามเยน็ ในหวงดังกลาว ความขัดแยงเปนลักษณะความขัดแยงระหวางรัฐ (Interstate Conflict) ซ่ึงขับเคล่ือนโดยอุดมการณท่ีแตกตางกนัของคายเสรีและคายสังคมนยิม ผานสงครามตัวแทน (Proxy war) การรักษาสันติภาพในยุคสมัยนัน้จึงจํากดัขอบเขตเพียงการใชกําลังไมตดิอาวุธ หรือติดอาวุธเบา เขาไปวางระหวางสองฝายท่ีขัดแยงโดยความยนิยอมของท้ังสองฝาย เพื่อสังเกตการณการละเมิดสัญญาหยุดยิงโดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหการแกปญหาทางการทูตดําเนินไปได ภารกิจรักษาสันติภาพภารกิจแรกท่ีสหประชาชาติจัดต้ังข้ึนเม่ือ ค.ศ.๑๙๔๗ ไดแกภารกิจอํานวยการขอตกลงยุติสงครามระหวางอาหรับและอิสราเอล (United Nations Truce Supervision Organization : UNSTO) ซ่ึงเปนภารกจิสังเกตการณและไมติดอาวุธ ภารกิจการรักษาสันติภาพในรูปแบบดังกลาวดําเนินไปจนถึงประมาณ ค.ศ.๑๙๕๕ ในหวงดังกลาว นาย Dag Hammarskjold เลขาธิการสหประชาชาติในสมัยนัน้ ไดวางหลักการของภารกิจรักษาสันติภาพดวยปจจัย ๓ ประการ ไดแก ความเปนกลาง (Impartiality) ความยินยอม (Consent) และการไมใชกําลัง (non – use of force) สหประชาชาติไดเร่ิมจัดต้ังภารกจิรักษาสันติภาพที่มีการติดอาวุธเปนคร้ังแรก เม่ือ ค.ศ.๑๙๕๖ ในภารกจิสังเกตการณการถอนทหารของฝร่ังเศส อิสราเอล และอังกฤษ ออกจากดนิแดนอียิปต (United Nation Emergency Forces : UNEF)

Page 13: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๒

รูปแบบของการรักษาสันตภิาพแบบดัง้เดิม ไดถูกใชเปนตนแบบเร่ือยมา หวง ค.ศ.๑๙๗๔ – ๑๙๘๘ มีภารกิจรักษาสันติภาพเพยีง ๒ ภารกจิ ท่ีถูกจัดตั้งข้ึนในตะวันออกกลาง ไดแก ภารกิจ UNDOF และภารกิจ UNIFIL ท้ังสองภารกิจเปนภารกิจสังเกตการณท่ีไมติดอาวุธท้ังสองภารกิจ ภารกิจ UNIFIL ในขณะน้ันไดรับการประเมินวา มีอาณัติ (Mandate) ท่ีไมมีประสิทธิภาพ จึงประสบความลมเหลวในการยับยั้งการรุกรานของอิสราเอลในป ๑๙๘๒ และสูญเสียกําลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติถึง ๒๕๖ นาย ภารกิจ UNIFIL ถูกวิเคราะหในเวลาตอมาวา ความลมเหลวเกิดจากการไมไดรับการยินยอม (Consent) จากคูกรณีความขัดแยง อีกท้ังกําลังรักษาสันติภาพถูกจดัต้ังในดินแดนท่ีไมมีอํานาจรฐัปกครอง เหตุการณดังกลาวจึงเปนการจุดประกายใหเกิดการพัฒนารูปแบบการรักษาสันติภาพในเวลาตอมา ๑.๔.๒ Agenda for Peace (Contemporary Peacekeeping) การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติไดถูกพัฒนารูปแบบไปอยางมากในหวงหลังสงครามเย็นหวงประมาณ ค.ศ.๑๙๙๑ การเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมของปญหาความขัดแยงยุคหลังสงครามเยน็ไดเปล่ียนจากความขัดแยงระหวางประเทศ (Interstate Conflict) อันเกิดจากความขัดแยงของ ๒ ข้ัวมหาอํานาจผานสงคราม ตัวแทน (Proxy Wars) เปนความขัดแยงภายใน (Intrastate Conflicts) หรือหากยังคงมีความขัดแยงระหวางรัฐ ก็มิไดขับเคล่ือนดวยพลังทางอุดมการณและชาตินิยม (Nationalism) เชนสมัยสงครามเย็น หากแตเปนเร่ืองของผลประโยชนทับซอนของนานาชาติ และการชวงชิงทรัพยากร ปญหาท่ีสะสมและถูกกดดันไวในหวงของสงครามเย็นอันไดแก ปญหาความแตกแยกดานเช้ือชาติ ศาสนา โดยเฉพาะในรัฐอิสระท่ีไดรับเอกราชใหม กอใหเกิดสงครามกลางเมือง มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรง พลเรือนเสียชีวิตเปนจํานวนมาก เกิดสภาวะอดอยาก ประชาชนตองอพยพหนีภยัการสูรบออกนอกประเทศ จาก Tajikistan และ Yugoslavia ไปถึง Sierra Leone Mozambique การรักษาสันติภาพแบบดั้งเดิม (Classical Peacekeeping) ไมอาจตอบสนองตอความขัดแยงรูปแบบใหม ดงันั้นในป ค.ศ. ๑๙๙๒ นายบรูโตส บรูโตสกาลี เลขาธิการสหประชาชาติจึงไดเสนอ ระเบียบวาระเพ่ือสันติภาพ (Agenda for Peace) กําหนดแนวความคิดของการรักษาสันติภาพโดยใชมาตรการ ๔ ประการ ซ่ึงเปนรากฐานมาจนทุกวันนี้ ดังนี้

• การทูตเชิงปองกัน (Preventive Diplomacy) เปนการปฏิบัติเพื่อปองกันความขัดแยงไมใหเกิดข้ึน ปองกันความขัดแยงขยายตัวเปนการพิพาท หรือปองกันการพิพาทไมใหขยายวงกวาง ไดแก มาตรการสรางความเช่ือม่ัน การคนหาขอเท็จจริง ระบบแจงเตือนแตเนิ่น

• การทําใหเกิดสันติภาพ (Peace Making) เปนการดําเนินการทางการทูต (Diplomatic Action) เพื่อนําคูกรณีในความขัดแยงกลับมาสูขอตกลง โดยวิธีสันติภายใตหมวด ๖ มาตรา ๓๓ ไดแก การเจรจา การสอบสวนขอเท็จจริง การไกลเกล่ีย การประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ กระบวนการทางศาล และอ่ืนๆ

• การรักษาสันติภาพ (Peacekeeping) เปนการปฏิบัติการของสหประชาชาติในพ้ืนท่ีความขัดแยง โดยความยินยอมของคูกรณี โดยทั่วไป เปนการปฏิบัติการของกําลังทหารของสหประชาชาติ ตํารวจ รวมถึงพลเรือน การรกัษาสันติภาพเปน เทคนิค ซ่ึงขยายโอกาสความเปนไปได สําหรับการปองกัน

Page 14: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๓

• การสรางสันติภาพ (Peace Building) เปนการปฏิบัติเพื่อกําหนดและสนับสนุนโครงสรางตางๆ ท่ีจะเสริมความม่ันคงและความแข็งแรงของสันติภาพ เพื่อปองกันการกลับสูสภาพความขัดแยง เปนกระบวนการสําคัญหลังจากภาวะความขัดแยงยตุิ ซ่ึงรวมถึงโครงการความรวมมือท่ีจะนําไปสูการพัฒนาดานเศรษฐกจิ สังคม และการขยาย ความไววางใจ ความเช่ือใจและการปฏิสัมพันธ (Interacting) ระหวางฝายท่ีเคยเปนศัตรูกัน ๑.๔.๓ Peace Enforcement

๒ – ๓ เดือนหลังการเผยแพรวาระแหงสันติภาพ นายบูโทรสฯ ไดเขียนบทความในดานกิจการตางประเทศ ในบทความดังกลาว นายบูโทรสฯ แสดงความคิดเห็นเกีย่วกับความจําเปนท่ีพลเรือนตองเขามามีบทบาทในภารกิจรักษาสันติภาพ และประเด็นการเขาวางกําลังรักษาสันติภาพอยางรวดเร็วในสถานการณท่ีคุกคามตอสันตภิาพและความม่ันคง นายบูโทรสฯ ไดแนะนํามาตรการบังคับใหเกดิสันตภิาพ (Peace Enforcement) วาเปนมาตรการจําเปนในสถานการณท่ีคูกรณีไมเคารพในขอตกลงหยุดยงิ ดวยการสงกําลังบังคับใหเกิดสันติภาพโดยไมตองการการยินยอม ภารกิจบังคับใหเกิดสันติภาพเปนบทเรียนท่ีสะทอนมาจากความลมเหลวของภารกิจ UNIFIL ภารกิจแรกของการบังคับใหเกดิสันติภาพของสหประชาชาติจึงเกิดข้ึนในคองโก (United Nation Operations in Congo : OUNC) หลักการการไมใชกําลังถูกพัฒนาเปนการใชกําลังนอยท่ีสุดเทาท่ีจําเปน (Use of minimum forces as necessary) ปจจยัสําคัญประการหนึง่ท่ีสนับสนนุการพฒันารูปแบบของการรักษาสันติจาก Classical PKO มาสู Contemporary PKO และ Peace Enforcement นอกจากจะเกิดจากการเปล่ียนแปลงธรรมชาติของความขัดแยงแลว ยงัคงเปนประเด็นจากการลมสลายของสหภาพโซเวียตซ่ึงยุติสงครามเย็น สงผลใหกําแพงทางดานอุดมการณพงัทลายไป สหรัฐฯ ซ่ึงประสบผลสําเร็จจากการเปนแกนนําในการใชมาตรการบังคับตออิรักในป ๑๙๙๑ และในนามิเบีย จึงสามารถผลักดันใหเกิดการปฏิรูปกระบวนการรักษาสันติภาพใหมีขอบเขตกวางขวางข้ึน ๑.๔.๔ Modern Peacekeeping หรือ Multi - dimension Peacekeeping ตอมา สหประชาชาติประสบปญหาขอจํากัดจากการเพิม่จํานวนของความขัดแยงท่ีจะตองเขาไปดูแล สภาพแวดลอมของความขัดแยงมีความซับซอนมากข้ึน เนื่องจากการพัฒนาของกระแสโลกานุวัฒน สงผลใหความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนขยายวงกวางอยางรวดเร็ว รุนแรงข้ึน การตอสูของกลุมท่ีเขารวมในความขัดแยงสามารถเช่ือมโยงจากหลายภมิูภาค มีมิติท่ีเขาไปเกี่ยวของมากข้ึน ลักษณะการเขาไปมีบทบาทของสหประชาชาติครอบคลุมการปฏิบัติขององคกรท่ีมิใชทหาร (non – military elements) มากข้ึน มีหลายคร้ังท่ีสหประชาชาติเขาไปมีบทบาทในการสนับสนุนการแกไขปญหาถาวรในลักษณะของขอตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จ (Comprehensive Peace Agreement) การรักษาสันติภาพแบบดั้งเดิมไมสามารถตอบสนองแนวความคิด ในการรักษาสันติภาพจึงถูกพัฒนาตอไป ครอบคลุมมาตรการเหลานี ้

Page 15: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๔

• การกําหนดขอตกลงสันติภาพเบ็ดเสรจ็ (Implementation of Comprehensive Settlement) เปนมาตรการท่ีจะชวยใหคูกรณียุติความขัดแยงถาวร และมุงไปสูการสรางสันติภาพท่ียั่งยนื (Sustainable Peace) ดวยการกําหนดขอตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จ ซ่ึงจะครอบคลุมในทุกมิติท่ีมีผลตอเสถียรภาพและความม่ันคง เชน

- กํากับดแูลมาตรการหยุดยิง (Cease Fire agreement) - การปลดอาวุธ การถอนทหาร และการกลับคืนสูสังคม (Disarmament Demobilization and

Reintegration) - การนําผูอพยพ (Refugee) ผูผลัดถ่ินจากสงคราม (Displaced persons) กลับสูถ่ินฐาน - การสนับสนุนกระบวนการเลือกตั้ง (Electoral support) - การจัดระบบการบริหารแผนดินช่ัวคราว (Interim Administration) - การพัฒนาดานเศรษฐกิจใหกลับสูสภาพปกติ (Economic Rehabilitation)

• คุมครองการปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรม (Protection of Humanitarian Assistance)

• การคว่ําบาตร (Sanction) อํานาจตามกฎหมายกําหนดไวในมาตรา ๔๑ เพื่อใหคูกรณท่ีีคุกคามตอสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติกลับมาใหความรวมมือ

• การปลดอาวุธ (Disarmament) ๑.๔.๕ Intervention ? หลังเหตุการณ 9/11 บทบาทดานการรักษาสันตภิาพถูกหยิบยกไปใชอยางกวางขวางโดยอาศัยขออางของภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติ ในขณะท่ีการปฏิบัตกิารมิไดตั้งอยูบนพื้นฐานหลักการของการรักษาสันติภาพ อันไดแก ความเปนกลาง (Impartiality) การยนิยอม (Consent) และการใชกําลังนอยท่ีสุดเทาท่ีจําเปนตอการปองกันตนเอง (The use of minimum forces sufficiently for self-defense) รูปแบบของการรักษาสันติภาพจึงมีลักษณะใกลเคียงกับการแทรกแซง (Intervention)

๑.๕ กระบวนการจัดตัง้ภารกิจรักษาสันตภิาพของสหประชาชาติ ๑.๕.๑ คณะมนตรีความม่ันคงจะพิจารณาปญหาท่ีเห็นวา เปนภยัคุกคามตอสันติภาพและความม่ันคงของประชาคมโลก โดยปญหาน้ันอาจถูกเสนอเขาสูกระบวนการพิจารณาโดยสมัชชาใหญ (General Assembly) หรือประเทศสมาชิกเสนอผานเลขาธิการสหประชาชาติ ๑.๕.๒ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อนุมัติหลักการโดยออกขอมติ (Resolution) จัดต้ังภารกิจรักษาสันติภาพ ๑.๕.๓ สํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติโดย DPKO, DPA, DHA วางแผนในรายละเอียดกําหนด แนวความคิดในการปฏิบัติ (Concept of operations) และวิธีการปฏิบัติ (Implement) พรอมแผนงบประมาณนําเขาสูคณะมนตรีความม่ันคงฯ ๑.๕.๔ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อนมัุติแผนรายละเอียดของเลขาธิการฯ เสนองบประมาณตอใหสมัชชาใหญพจิารณาและอนมัุติ ๑.๕.๔ เลขาธิการสหประชาชาติแตงต้ังผูแทนพิเศษเลขาธิการสหประชาชาติ (SRSG) เพื่อเปนผูแทนตน ในการบังคับบัญชาองคกร ฝายทหารและพลเรือนในฐานะหวัหนาภารกิจ แตงต้ัง ผบ.กกล.รักษาสันติภาพ ผบ.ตํารวจพลเรือน (Civilian Police) หัวหนาผูสังเกตการณทางทหารและหวัหนาฝายประสานงานขององคกรพลเรือน

Page 16: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๕

นับต้ังแตป ค.ศ.๑๙๔๘ เปนตนมา สหประชาชาติไดดําเนนิการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพจํานวนท้ังส้ิน ๖๑ ภารกิจ ปจจุบันมีภารกจิรักษาสันติภาพท่ียังดาํเนินการอยูจาํนวน ๑๘ ภารกจิ ซ่ึงประมาณ รอยละ ๘๐ ของภารกิจอยูในแอฟริกาและตะวันออกกลาง การรักษาสันติภาพใน ๑๘ ภารกจิท่ีดาํเนินการอยูในปจจุบันใชกําลังทหาร และตํารวจประมาณ ๘๐,๐๙๔ คน จากประเทศตางๆ จํานวน ๑๑๔ประเทศ และใชงบประมาณราว ๕.๒ พนัลานเหรียญสหรัฐฯ ตอป

๑.๖ การประยุกตของกระบวนการสันติภาพกับรูปแบบของความขัดแยง (กรณีศึกษา) ศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ไดจําลองแผนผังความเช่ือมโยงของกระบวนการรักษาสันติภาพกับพัฒนาการของสถานการณความขัดแยงท้ังความขัดแยงระหวางประเทศและความขัดแยงภายใน เพื่อใหงายตอการศึกษา ทําความเขาใจ วากระบวนการสันติภาพท้ังโดยความยินยอม (Consent) และโดยมาตรการบังคับ (Coercive) จะถูกประยุกตเขาสูสถานการณความขัดแยงท่ีกําลังพัฒนาไปอยางไร

๑.๖.๑ กระบวนการสันติภาพและความขัดแยงภายใน ปญหาความขัดแยงภายในปะทุข้ึนในชาติใดชาติหนึ่ง อาจมีสาเหตุจากเง่ือนไขหน่ึงหรือหลายประการประกอบกัน เชน ความไมเปนธรรมในสังคม ความแตกตางทางเช้ือชาติ ศาสนา เผาพันธุ การรักษาการปกครองของรัฐ กฎหมายหรือองคกรบังคับใชกฎหมาย ประกอบกับภูมิรัฐศาสตรท่ีไมเอ้ืออํานวยใหอํานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพ้ืนท่ีอยางเต็มประสิทธิภาพ (กรณีศึกษาเชน อาเจห ติมอร หรือความขัดแยงในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตของไทย) เม่ือความขัดแยงปะทุข้ึน รัฐมีหนาท่ีตองยุติความขัดแยงและรักษาความสงบภายใน โดยการบังคับใชกฎหมายตามกลไกปกติของรัฐ หากสามารถควบคุมสถานการณไดในขณะท่ีเง่ือนไขท่ีเปนตนเหตุไดรับการแกไขความขัดแยงก็จะยุติ

Page 17: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๖

กระบวนการสันติภาพกับปญหาความขัดแยงภายในประเทศกระบวนการสันติภาพกับปญหาความขัดแยงภายในประเทศ

กฎหมายของรัฐและองคกรบังคับกฎหมายออนแอ

Coercive Consent

ไมมีคนกลาง

โดยองคกรสิทธิมนุษยชน

โดยเลขาธิการสหประชาชาติ

กฎหมายการปกครองในสถานการณฉุกเฉิน

การพัฒนาของสถานการณ

จุดตัดสินใจ (Decision Point)

เงื่อนไขเอ้ืออํานวยตอ การกอความไมสงบ

ความไมเปนธรรมในสังคม

ภารก ิภาพ ิจบังคับใหเกิดสันต (Peace-enforcement)

ภารกิจรักษาสันติภาพ

ความแตกตางทางเชื้อชาติ ศาสนา

ภูมิรัฐศาสตร (Geopolitics) การบริหารการปกครองทองถ่ิน

กลไกปกติของรัฐ กลุมตอสูที่มีอุดมการณรวม

ดึงมวลชนหรือขัดขวางมวลชน

มิใหสนับสนุนรัฐบาล สถานการณลดระดับความรุนแรง

และอยูภายใตการควบคุม

รฐับังคับใชมาตรการเฉพาะ ความรุนแรงขยายตัวเปนการ

กอความไมสงบ

การปะทุขึ้นของ ความขัดแยง

ใชความรุนแรง

กฎอัยการศึก, เคอรฟวส

การ Deploy หนวยทหารเขาสูพื้นท่ี

การปฏิบัติของฝายทหารในการตอตานการกอความไมสงบ องคกรดานสิทธิ

มนุษยชนเขาติดตาม

ตรวจสอบ

พัฒนาเปน กกล.ติดอาวุธท่ีมี

โครงสรางและเคร่ือขาย

การแทรกแซงจาก

ภายนอกประเทศ

กระพือความรุนแรง

ย่ัวยุใหฝายรัฐบาลใชมาตรการรุนแรง

สรางสถานการณการละเมิดสิทธิมนุษยชน

รฐับาลตัดสินใจแกปญหาดวยกระบวนการสันติภาพ รฐับาลถูกบังคับใชกระบวนการสันติภาพ

บรรลุกระบวนการ

สมานฉันท ๒ ฝาย

บรรลุความตกลง

ยุติความรุนแรง

บังคับใช

กฎหมาย

กระบวนการจัดการลงประชามติ

แยกตัวเปนเอกราช

(Autonomy)

พัฒนาไปสูการตอสูเพื่อ การแยกตัวเปนเอกราช

บรรลุความตกลง ๒ ฝาย

ไมบรรลุความตกลง

รองขอประเทศ

เปนกลาง

รองขอ

สหประชาชาติ

ภารกิจรักษาสันติภาพ (Multidimensional PKO)

กระบวนการตอสของฝายรัฐบาล

ไมแยกตัว

ขอตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จ

(Comprehensive Peace

ปญหาถูกนําเขาสูเวที

สหประชาชาติ (คณะมนตรีความมั่นคงฯ)

กระบวนการตอสของกลมกอความไมสงบ

สําเร็จ

ไมสําเร็จ

กระบวนการถายโอนอํานาจ การปกครอง

Page 18: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๗

หากการบังคับใชกฎหมายตามกลไกปกติเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ ประกอบกับเง่ือน ไขท่ีเปนตนตอของความขัดแยงไมไดรับการเหลียวแล กลุมตอสูท่ีมีอุดมการณรวมกนัจะอยูในสภาพส้ินหวังและไมเช่ือม่ันในกลไกของรัฐ เม่ือมีปจจยัการแทรกแซงจากภายนอกสนับสนุนเพิ่มเติม เชน การชกัจูงเชิงอุดมการณ และการสนับสนนุดานการเงิน อาวุธ ยุทโธปกรณ คายฝก เทคนิค วธีิการ กลุมตอสู จะพัฒนาเปนกองกําลังติดอาวุธท่ีมีโครงสรางและเครือขาย เม่ือไดรับการปลูกฝงแนวความคิดแบงแยกดินแดน จะตอสูกับรัฐบาลเพื่อบรรลุเปาหมายดวยกลยุทธของการกระพือความรุนแรง ยั่วยุใหรัฐบาลใชมาตรการรุนแรง สรางสถานการณการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อยกระดับของความขัดแยงสูสากล เม่ือความรุนแรงขยายวง เกนิกวากลไกปกติของรัฐโดยหนวยงานตํารวจจะสามารถควบคุมได รัฐจึงอยูในสภาพถูกบังคับใหใชมาตรการเฉพาะโดยฝายทหารเขาควบคุมสถานการณ เพื่อมิใหกระทบตอความม่ันคง เร่ิมจากการเคล่ือนยายกําลังทหารจากภายนอกพื้นท่ีเขาไปเพิ่มเติม การบังคับใชกฎหมายการปกครองในสถานการณฉุกเฉิน การใชกฎอัยการศึก การปฏิบัติการกวาดลาง ตรวจคน ของฝายทหาร ซ่ึงมาตรการดังกลาวมีผลกระทบ ๒ ดาน กลาวคือ ดานหนึ่งเปนส่ิงจําเปนตอการควบคุมสถานการณ เพื่อยตุิความรุนแรงท่ีสงผลกระทบตอความม่ันคง และความเปนอยูของประชาชนผูบริสุทธ์ิ อีกดานหนึ่งเปนการสรางสภาพแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวยใหกลุมผูกอความไมสงบยกระดับความรุนแรง และยกระดับความขัดแยงสูสากล เม่ือสถานการณการละเมิดสิทธิมนุษยชนไดรับความสนใจจากประชาคมโลก องคกรระหวางประเทศดานมนุษยชนเขาติดตามตรวจสอบ นับวาถึงจุดสุกงอมของสถานการณท่ีอาจพัฒนาไปไดหลายรูปแบบและเปนจุดตัดสินใจของรัฐบาลท่ีจะเดินหนาตอไปดวยความระมัดระวัง โดยมีประเด็นพิจารณาดังนี ้ ๑.๖.๑.๑ รัฐบาลตัดสินใจแกปญหาดวยกระบวนการสันติภาพดวยตัวเอง มี ๒ หนทางดังนี ้ ๑.๖.๑.๑(๑) หนทางท่ี ๑ รัฐบาลใชกระบวนการสมานฉันท (Reconciliation Process) ๒ ฝาย กับกลุมผูกอความไมสงบ ถือเปนการแกปญหาภายใน โดยจะตองพยายามปองกันไมใหปญหาดังกลาวถูกยกระดับข้ึนสูสากล หัวใจสําคัญของหนทางนี้ไดแกการไมยอมใหกลุมกองกําลังไดรับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก และการควบคุมสถานการณการละเมิดสิทธิมนุษยชน หากสามารถควบคุมได รัฐบาลก็จะมีสิทธิปฏิเสธความพยายามในการแทรกแซงดวยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได (ตามบทบัญญัติท่ีกําหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดท่ี ๑ Article 2 ขอ 7 ท่ีกลาววา “Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to intervene in matters which are essentially within the domestic jurisdiction of any state or shall require the member to submit such matters to settlement under the present charter; But this principle shall not prejudice the application of enforcement measures under chapter 7” ) ๑.๖.๑.๑(๒) หนทางท่ี ๒ หากรัฐบาลเห็นวาไมอาจควบคุมสถานการณ อันเปนเหตุใหปญหาถูกยกระดับเขาสูสากล จนมีแนวโนมจะเกดิการใชมาตรการบังคับโดยกลไกของสหประชาชาติ รัฐบาลอาจตัดสินใจชิงรองขอกระบวนการรักษาสันติภาพจากสหประชาชาติ หรือจากประเทศท่ีเปนกลาง ซ่ึงมีขอแตกตางกันคือ ในประเด็นการดําเนนิภารกจิโดยประเทศเปนกลาง รัฐบาลยังสามารถจํากัดขอบเขต

Page 19: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๘

๑.๖.๑.๒ รัฐบาลถูกบังคับใชกระบวนการรักษาสันติภาพโดยมติของคณะมนตรีความม่ันคงฯ กรณีปญหาความขัดแยงถูกยกระดับสูสากล ปญหาดังกลาวอาจถูกนําเขาสูเวทีสหประชาชาติ โดยองคกรนานาชาติดานสิทธิมนษุยชน เชน ICRC หรือโดยเลขาธิการสหประชาชาติ (แมรัฐบาลของประเทศที่เกิดความขัดแยงจะไมประสงคก็ตาม) เม่ือปญหาดังกลาวถูกนาํเขาสูการพจิารณาของคณะมนตรีความม่ันคงฯ การแทรกแซงโดยสหประชาชาติอาจเกิดข้ึนได ๒ หนทาง คือ สหประชาชาติจัดต้ังภารกิจ Multidimensional PKO ภายใตกรอบของกฎบัตรหมวดท่ี ๖ หรือหากท่ีประชุมมีมติเห็นวาสถานการณความขัดแยงเขาขายใดใน ๓ กรณี ไดแก เปนภัยคุกคามตอสันติภาพและความม่ันคงนานาชาติ (Threats to International Peace and Security) เปนการละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace) และเปนการกระทําลักษณะรุกราน (Acts of Aggression) จะจัดต้ังภารกิจรักษาสันติภาพภายใตกรอบของกฎบัตรหมวดท่ี ๗ ซ่ึงเราเรียกวา Peace-enforcement ซ่ึงในท่ีสุดท้ัง ๒ หนทางอาจนํา ไปสูกระบวนการลงประชามติเพื่อตัดสินใจในการปกครองตนเองในท่ีสุด ๑.๖.๒ กลไกการรักษาสันตภิาพกับความขัดแยงระหวางรัฐ ปญหาความขัดแยงระหวางรัฐในยุคหลังสงครามเย็นยังคงสามารถเกิดข้ึนไดจากหลายปจจัย เชน ผลประโยชนของชาติทับซอน ปญหาเขตแดน อิทธิพลจากประเทศท่ีมีพลังอํานาจ ความแตกตางของอุดมการณการปกครอง หรือแมแตความขัดแยงของปจเจกบุคคลท่ีถูกกระแสโลกาภิวฒันกระพือความรุนแรง จนเปนความขัดแยงระหวางรัฐ ผนวกกับปจจัยภายในอ่ืนๆ สรางใหเกิดสภาวะความขัดแยงระหวางรัฐ โดย ท่ัวไปรัฐจะใชกลไกทางการทูตเปนเคร่ืองมือในการแกไขปญหาข้ันแรก ซ่ึงอาจประสบผลสําเร็จหรือไมยอมข้ึนกับระดับความเขมขนของปจจัยภายนอก และภายใน ท่ีเปนเง่ือนไขของความขัดแยง กรณคีวามขดัแยงขยายตัวเปนความขัดแยงดวยอาวุธ รัฐคูกรณยีอมทุมเทพลังอํานาจทางทหารของตนเพื่อปกปองอธิปไตย ผลประโยชน และศักดิ์ศรีของชาติ ซ่ึงอาจปรากฏในรูปของสงครามจํากดัตามแนวชายแดนไปจนถึงการประกาศสงครามระหวางรัฐ ผลจากการสูรบอาจสงผลกระทบตอความม่ันคงของประเทศเพื่อนบาน ความม่ันคงของภมิูภาคหรือของโลกในหลายรูปแบบ เชน พลเรือนผูบริสุทธ์ิบาดเจ็บลมตายจากการสูรบท่ีไมควบคุมความเสียหาย การชวยเหลือดานมนุษยธรรมไมสามารถเขาถึงในพ้ืนท่ีการรบ ผูล้ีภัยสงครามหล่ังไหลไปยังประเทศเพื่อนบาน สหประชาชาติซ่ึงปกติจะติดตามความขัดแยงมาต้ังแตเร่ิมกอตัว หรือใหคําแนะนําในการแกไขขอขัดแยงโดยวิถีทางทางการทูต ก็จะกาวเขามาเพ่ือยุตคิวามขัดแยงโดยอํานาจตามกฏบัตรสหประชาชาติ

Page 20: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๙

โดยเลขาธิการสหประชาชาติหรือประเทศสมาชิก

การแกปญหา ดวยกลไกการทูต ปญหาความขัดแยง

ปจจัยภายนอกผลประโยชนของชาติทับซอน

ปญหาเขตแดน

อิทธิพลจากภายนอก

ความแตกตางของการปกครอง

ความขัดแยงของปจเจกบุคคลท่ีถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน

นโยบายความมั่นคงแหงรัฐ

รัฐ A

ทัศนคติของประชาชน

การเมืองภายในประเทศ

ปจจัยภายใน

สําเร็จ

ปญหายุติ

รัฐ B

ขยายตัวเปนการ

ขัดแยงดวยอาวุธ

ผลกระทบจากการขัดแยง ดวยอาวุธของ ๒ รัฐ

การนําเขาสูการพิจารณา ของสหประชาชาติ

ยินยอม ไมยินยอม

เปนภัยคุกคามตอสันติภาพและความม่ันคงนานาชาติ

ละเมิดสันติภาพ การกระทําในลักษณะรุกราน

โดยสหประชาชาติ

คณะมนตรีความม่ันคงฯ

กําหนดมาตรการเฉพาะให

ท้ัง ๒ รัฐนําไปปฏิบัติ

โดยองคกรภูมิภาค

ภารกิจรักษาสันติภาพ

ภายใตกฎบัตรหมวด ๖

ภารกิจบังคับใหเกิด

สันติภาพภายใตกฎบัตร

หมวด ๗

กลไกการรักษาสันติภาพกับความขัดแยงระหวางรัฐกลไกการรักษาสันติภาพกับความขัดแยงระหวางรัฐ

การแกปญหา

ดวยกลไกการทูต

ไมสําเร็จ

โดยองคกรนานาชาติ

ปฏิบัติการทางทหาร

ปฏิบัติการทางทหาร

โดยประเทศคูกรณี/ประเทศที่ไดรับผลกระทบ

การโจมตีตอพื้นท่ีและพลเรือนโดยปราศจาก

การควบคุมความเสียหาย

ประชาชนลมตาย

ความชวยเหลือดานมนุษยธรรมถูกจํากัด

ผูลี้ภัยหลั่งไหลไปยังประเทศเพื่อนบาน

การเมืองภายในประเทศ

ปจจัยภายใน

นโยบายความมั่นคงแหงรัฐ

ทัศนคติของประชาชน

Page 21: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๐

ปญหาและผลกระทบจากความขัดแยงดังกลาวอาจถูกนําเขาสูการพิจารณาของสหประชาชาติโดยประเทศคูกรณี ประเทศท่ีไดรับผลกระทบ เลขาธิการสหประชาชาต ิและองคกรระหวางประเทศ หากคณะมนตรีความม่ันคงฯ พิจารณาเห็นวาเปนภยัตอการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงนานาชาติจะดําเนินมาตรการตามลําดับความรุนแรงดังนี ้ ๑.๖.๒.๑ กรณีรัฐคูกรณีแสดงเจตจํานงท่ีจะยุติความขัดแยงและใหความยินยอมสหประชาชาติใชแนวทางของกฎบัตรฯ หมวด ๖ (Pacific Settlement of Dispute) โดยอาจระบุมาตรการใหท้ัง ๒ ฝายนําไปปฏิบัติ หรืออาจจัดต้ังภารกิจรักษาสันติภาพแบบดั้งเดิม (Traditional PKO) ๑.๖.๒.๒ กรณีรัฐคูกรณไีมยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาวาความขัดแยงดงักลาวเปนภยัคุกคามตอสันตภิาพและความม่ันคงนานาชาติ (Threats to International Peace and Security) การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace) และการกระทําในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression) จะพิจารณาใชมาตรการบังคับใหเกิดสันติภาพภายใตกฎบัตรฯ หมวดท่ี ๗ โดยสหประชาชาติอาจเขาดําเนินการเอง หรืออนุมัติอํานาจใหองคกรภูมิภาคเขาดําเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดท่ี ๘ Article 53 ขอ 1

๑.๗ แนวโนมการพัฒนากระบวนการสันติภาพของสหประชาชาติ

เม่ือ ๑๙ – ๒๕ ต.ค.๔๙ คณะกรรมการชุดท่ี ๔ ของสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติไดประชุมหารือเพ่ือประเมินการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในรอบ ๕ ป ท่ีผานมาและแนวทางการพัฒนาภารกิจรักษาสันติภาพใหสามารถรับมือกับสถานการณของโลกในอนาคต สรุปไดดังนี ้ นาย Jean – Marie Guehenno รองเลขาธิการสหประชาชาติฝายปฏิบัติการรักษาสันติภาพกลาวถึงการขยายตวัอยางรวดเร็วของภารกิจรักษาสันตภิาพของสหประชาชาติในรอบปท่ีผานมา กําลังรักษาสันติภาพซ่ึงปฏิบัติภารกิจในภูมิภาคตางๆ ไดเพิ่มจํานวนข้ึนอยางท่ีไมเคยเกิดข้ึนในประวัติศาสตร ณ ปจจุบัน (พ.ศ.๒๕๔๙) มีกําลังรักษาสันตภิาพปฏิบัตหินาท่ีอยูท้ังส้ิน ๙๓,๐๐๐ นาย ใน ๑๘ ภารกจิ นอกจากน้ันยงัคงมีกําลังรักษาสันติภาพ ซ่ึงอยูในระหวางการเคล่ือนยายเขาสูพืน้ท่ีปฏิบัติการในเลบานอน ติมอรเลสเต และดารฟูในซูดาน ทําใหกําลังรักษาสันติภาพจะเพ่ิมจํานวนถึง ๑๔๐,๐๐๐ นาย ในอนาคตอันใกล การเพิ่มระดับของปฏิบัติการรักษาสันติภาพสงผลใหสหประชาชาติจําเปนตองพัฒนายทุธศาสตรใน ๒ ลําดับความเรงดวนไดแก ๑.๗.๑ การบริหารภารกิจรักษาสันติภาพใหมีประสิทธิภาพโดยปรับปรุงองคประกอบดังนี้ ๑.๗.๑.๑ บุคลากร แบงเปนการผลิตฝายอํานวยการพลเรือนท่ีมีประสบการณจํานวน ๒,๕๐๐ คน เพื่อสนับสนุนใหกับภารกิจในสนาม การพัฒนามาตรฐานของตํารวจพลเรือนเพื่อตอบสนองภารกิจในสนาม การเพิ่มจํานวนฝายอํานวยการใน Military Division ของ UNDPKO และการจัดต้ัง Police Division ข้ึนใน DPKO ๑.๗.๑.๒ หลักนิยม สหประชาชาติจะดาํเนินการรวบรวมบทเรียนจากปฏิบัติการที่ผานมาและหนทางปฏิบัติ เพื่อปรับปรุงเปนเอกสารแนะนําแนวทางการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ (Guidelines) ๑.๗.๑.๓ องคกร ปรับปรุงโครงสรางองคกรเพ่ือให UNHQ สามารถสนับสนุนทางฝายอํานวยการแกภารกิจในสนามไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดต้ัง Office of Internal Oversight Services (OIOS) เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติภารกิจรักษาสันตภิาพ

Page 22: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๑

๑.๗.๑.๔ ทรัพยากร จัดต้ังองคกรใน UNHQ เพื่อทําหนาท่ีใหคําปรึกษาภารกิจในสนามในเร่ืองการสงกําลัง เพิ่มฐานสงกําลังระดับภูมิภาคของสหประชาชาติ จากเดมิท่ีมีเพียงแหงเดียว คือ Brindisi base ประเทศอิตาลี

๑.๗.๒ การปดภารกจิท่ีหมดความจําเปนลง เพื่อใหสามารถรับมือกับภารกจิใหมๆ ท่ีเพิ่มมากข้ึน ยุทธศาสตรดังกลาวตองการการพัฒนาศักยภาพของภารกิจรักษาสันตภิาพใหสามารถสรางสภาพแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวยใหกําลังรักษาสันติภาพถอนกําลังได เชนการเปล่ียนผานไปสูกระบวนการทางการเมืองโดยกลไกการเมืองของประเทศน้ันๆ ภายใตการสนับสนุนของประชาคมโลก อยางไรก็ตามในทุกภารกิจท่ีผานมาเปนบทเรียนท่ีช้ีใหเห็นความจําเปนท่ีภารกจิรักษาสันติภาพจะตองสถาปนาองคกร และกลไกดานความม่ันคงของชาติท่ียั่งยืน (Sustainable national security institutions and processes) กอนการถอนกําลัง บทเรียนในเฮติเปนเคร่ืองพิสูจนวา หากปราศจากระบบการบริหารจัดการดานความม่ันคงท่ียั่งยนื และการสนับสนุนจากประชาคมโลกแลว ความไมสงบจะหวนกลับมาในอนาคต การกลับมาของความรุนแรงในติมอรฯ ก็เปนอีกตัวอยางหน่ึงท่ีช้ีใหเห็นวาภารกิจรักษาสันติภาพไมอาจถอนตัวเร็วเกินไปโดยพื้นฐานดานความม่ันคงยังไมไดรับการพัฒนาใหยั่งยนื มิฉะนั้นกระบวนการพัฒนาอาจตองหมุนกลับไปสูการจดัต้ังภารกจิรักษาสันติภาพใหมอีกคร้ังหนึง่ เปนการส้ินเปลืองงบประมาณมากกวาการคงอยูจนสรางสภาพแวดลอมท่ีม่ันคงเพยีงพอสําหรับกระบวนการสรางสันติภาพ (Peace Building)

3๑.๘ วิเคราะหแนวโนมสถานการณดานสันตภิาพ ๑.๘.๑ สถานการณดานการรักษาสันติภาพมีแนวโนมจะขยายตัวตอไป เนือ่งจากความขัดแยงในรูปแบบดั้งเดิมท่ีเกิดข้ึนในภมิูภาคตางๆ ของโลก ท้ังความขัดแยงระหวางรัฐและความขัดแยงภายในที่เกดิข้ึนยังคงดําเนนิตอไป แมภารกิจรักษาสันติภาพจะชวยใหความขัดแยงดําเนนิไปสูกระบวนการแกไขปญหาทางการเมืองแทนการสูรบดวยอาวุธ แตยงัคงไมมีหนทางประกันสันติภาพท่ียั่งยนืเชนในตะวนัออกกลางหรือในภูมิภาคแอฟริกา สงผลใหภารกิจรักษาสันติภาพที่ดําเนินอยูยงัคงมีความจําเปนตองดําเนินตอไปในระดับเดิม ในขณะท่ีความขัดแยงในรูปแบบใหมท่ีปะทุข้ึน อันเปนผลมาจากหลายปจจยัเชน การเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมดานความม่ันคงของโลกท่ีสรางแกนอํานาจข้ัวเดยีว สงผลใหความแตกตางของเช้ือชาติ ศาสนา ปะทุข้ึน ประกอบกับกระแสของโลกาภิวัตน ท่ีเอ้ืออํานวยใหความขัดแยงในระดับปจเจกบุคคลหรือกลุมผลประโยชนทางการเมืองสามารถขยายตัวเปนความขัดแยงขนาดใหญ ท่ีมีผลกระทบตอสันติภาพและความม่ันคงของนานาชาติ สหประชาชาติแสดงทาทีท่ีชัดเจนในการขยายบทบาทเพื่อเตรียมรับมือกับปญหาความขัดแยงรูปแบบใหมเหลานี้ ในขณะท่ียืนยนัความจําเปนของการขยายขอบเขตภารกิจรักษาสันติภาพไปสูการจัดต้ังกลไกดานความม่ันคงในประเทศท่ีเขาปฏิบัติการใหมีความยัง่ยนืกอนถอนกําลัง ปจจยัดังกลาวนีป้ระเมินไดวาจะทําใหสหประชาชาติมีความตองการกําลังรักษาสันติภาพเพิ่มมากข้ึนในป ๒๕๕๐ ๑.๘.๒ กระบวนการรักษาสันติภาพถูกพัฒนาไปใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงสภาวะแวดลอมของความขัดแยง ในหวงป ๔๗ – ๔๙ องคกรความรวมมือระดับภูมิภาค (Regional Organization) ไดขยายบทบาทเชิงรุกในภารกจิรักษาสันติภาพนอกกรอบสหประชาชาติ ท้ังนี้ เนื่องจากกฎบัตรของสหประชาชาติหมวดท่ี ๘ เปดโอกาสใหองคกรความรวมมือระดับภูมิภาคเขามามีบทบาทในการแกไขความขัดแยงในภูมิภาค

Page 23: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๒

๑.๘.๒.๑ ประเทศท่ีมีศักยภาพตางขยายบทบาททางทหารผานบทบาทดานการรักษาสันติภาพโดยอาศัยกลไกความรวมมือภูมิภาคตามกฎบัตรหมวดท่ี ๘ สงผลใหรูปแบบการรักษาสันติภาพถูกเปล่ียนแปลงไป ขอบเขตของอํานาจการเขาปฏิบัติการภายใตกรอบความรวมมือภูมิภาค มีลักษณะเขาใกลการแทรกแซง (Intervention) ในขณะเดยีวกนัภาพของความพยายามในการขยายบทบาททางทหาร และการแสวงผลประโยชนขามภูมิภาคยังคงซอนทับอยูเบ้ืองหลัง หลายประเทศไดกําหนดยุทธศาสตรในการปฏิบัติการนอกประเทศในบทบาทการรักษาสันติภาพ มีการพัฒนาศักยภาพทางทหารโดยอางภารกิจรักษาสันติภาพ เชน ออสเตรเลีย ญ่ีปุน ๑.๘.๒.๒ กระบวนการรักษาสันตภิาพพัฒนารูปแบบจากในอดีตปฏิบัติการรักษาสันติภาพในหวงป ๔๗ - ๔๙ สรางรูปแบบการปฏิบัติการรวมระหวางภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติและภารกิจรักษาสันตภิาพขององคกรภูมิภาคภายใตสถานการณความขดัแยงเดยีวกัน เชน การปฏิบัตกิารรวมของสหประชาชาติและ NATO ในอัฟกานิสถานและโคโซโว การปฏิบัติการรวมของสหประชาชาตแิละสหภาพแอฟริกาในซูดาน การปฏิบัติการรวมของสหประชาชาติรวมกับประชาคมยุโรปในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก โดยอาศัยกลไกการประสาน (Liaison Mechanism) นอกจากนัน้การปฏิบัติการทางทหารของสหประชาชาติถูกขยายขอบเขตมากข้ึนเชนกนัในป ๔๙ สหประชาชาติไดเร่ิมจัดต้ังองคประกอบของกองกําลังทางเรือ (Maritime Operations) ข้ึนในโครงสรางของกําลังรักษาสันติภาพท่ีในอดีตมีแตกาํลังภาคพื้นดนิ เชน ภารกจิ UNIFIL ในเลบานอนและ ONUB ในสาธารณรัฐบุรุนดี เปนตน ๑.๘.๒.๓ สหประชาชาติขยายบทบาทดานการรักษาสันติภาพครอบคลุมการสนับสนุนการจัดต้ังกลไกดานความม่ันคงท่ียัง่ยนืกอนเปล่ียนผานไปสูข้ันการสรางสันติภาพ Peace Building นาจะสงผลใหภารกจิรักษาสันติภาพในอนาคตมีลักษณะของอาณัติ (Mandate) ท่ีกวางขวางและซับซอนมากข้ึนและหวงเวลาของภารกิจยาวนานข้ึน เนื่องจากเปนการยากท่ีจะระบุตัวช้ีวดัวากลไกดังกลาวมีความแข็งแรงเพียงพอท่ีจะปองกันการกลับมาของความขัดแยง นอกจากนั้น ประเมินวาบทบาทของตํารวจพลเรือนของสหประชาชาติในภารกิจรักษาสันติภาพจะขยายขอบเขต เพื่อเปนเครื่องมือจดัการกับปญหาความวุนวายภายใน บทเรียนจากความวุนวายในติมอรฯ คร้ังลาสุดนี้ สหประชาชาติไดพัฒนาขอมติคณะมนตรีความม่ันคงใหอาณัติตํารวจพลเรือนของสหประชาชาติในการบังคับใชกฎหมาย (Law – enforcement) เพื่อยุติความไมสงบ ๑.๘.๒.๔ สหประชาชาติแสดงออกถึงแนวโนมการพึ่งพิงกําลังรักษาสันติภาพขององคกรความรวมมือระดับภูมิภาคมากข้ึน โดยเฉพาะ EU และ NATO โดยเฉพาะในภารกจิจัดการกับความขัดแยงท่ีปะทุข้ึนอยางฉับพลัน เชน ในเลบานอน แสดงใหเห็นวาระบบเตรียมพรอมของสหประชาชาติ (UNSAS) ยังไมสามารถพัฒนาไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ ปจจยัอ่ืนๆ นาจะไดแกความพรอมและมาตรฐานของกองกําลังของ EU หรือ NATO อีกทั้งศักยภาพและพลังอํานาจในทางการเมืองของประเทศเหลานั้นเปนปจจยัเสริมชวยกดดนัใหฝายท่ีรวมในความขัดแยงหันมารวมมือในกระบวนการสันติภาพ

Page 24: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๓

๑.๙ สรุป ๑.๙.๑ การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติท่ีดําเนินการอยูในปจจุบันมีขอบเขตครอบคลุมท้ังดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา สิทธิมนุษยชน และการชวยเหลือเพื่อมนุษยธรรม กฎหมาย และการปฏิบัติการทางทหารเปนเพียงองคประกอบหน่ึงท่ีจะเตรียมสภาพแวดลอมดานความปลอดภยัใหอยูในระดับท่ีมาตรการดานอ่ืนๆ จะสามารถดําเนินไปได ดังนั้นการปฏิบัติของฝายทหารจะตองเขาไปเกี่ยวของกับฝายพลเรือน จึงตองมีความเขาใจในบทบาทของแตละองคกร ท้ังภายในฝายทหาร องคกรอ่ืนๆ ของสหประชาชาติ และ NGOs ซ่ึงจะตองปฏิบัติงานรวมกันในยุทธบริเวณ กําลังรักษาสันติภาพจึงตองมีความเขาใจในสถานภาพทางกฎหมาย เชน ขอตกลงในสถานภาพของกองกําลัง (SOFA) กฎการปะทะ (ROE) และกฎหมายเกี่ยวกบัสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน รวมท้ังแนวความคิดในกระบวนการรักษาสันติภาพ ๑.๙.๒ ปฏิบัติการรักษาสันติภาพและบังคับใหเกดิสันติภาพของสหประชาชาติมิไดถูกกําหนดรปูแบบการปฏิบัติไวในลักษณะเปนทฤษฎี แตเปนเทคนิค วิธีการ มาตรการ ท่ีถูกพัฒนาข้ึนมาจากบทเรียนจากการปฏิบัติการที่ผานมา และการพัฒนาความซับซอนของปญหาความขัดแยง โดยมีแนวทางการเมือง (Political Guidance) เปนตัวกําหนด ท้ังนี้ เทคนิค วิธีการ และมาตรการในระดับยุทธการ จะถูกกําหนดข้ึนจากการ วางแผน โดยมีลักษณะเฉพาะแตละภารกิจข้ึนกับสถานการณของความขัดแยง Peace Enforcement ถือไดวาเปนมาตรการสวนขยายของ Peacekeeping ภายใตอํานาจตามกฎหมายท่ีกฎบัตรฯ เปดโอกาสให และแมเปนการปฏิบัติการภายใต หมวด ๗ ของกฎบัตรฯ แตสหประชาชาติยังคงเรียกปฏิบัติการวา Peacekeeping Operations ตัวอยางของปฏิบัติการปจจุบันภายใตหมวด ๗ ไดแก ปฏิบัตกิารของสหประชาชาติใน คองโก ไลบีเรีย เซียราลีโอน โคโซโว ติมอรเลสเต บุรุนดี ไฮติ โกตดวิัวร เลบานอน และ ซูดาน ๑.๙.๓ แมหมวดท่ี ๗ จะใหอํานาจสหประชาชาติในการใชกําลังทหารเขาแทรกแซงความขดัแยง แตจาก บทเรียนท่ีผานมา ปจจยัหลักที่จะนําไปสูความสําเร็จของภารกจิไดแก เจตนารมณของฝายท่ีรวมในความขัดแยง (Political will) การยินยอมและใหการยอมรับบทบาทของสหประชาชาติในลักษณะการยอมรับ full consent การวินจิฉัยปญหาท่ีถูกตองของประชาคมโลกจะนําไปสูการแกปญหาที่ถูกตอง “จะตองมีสันติภาพใหรักษา จึงจะมีการรักษาสันติภาพ” “There must be peace to keep” และปจจยัอีกประการหนึ่งคือการกําหนดอาณัติท่ีชัดเจนไมคลุมเครือและสามารถบรรลุได รวมถึงการกาํหนดผลลัพธท่ีตองการ (end state)

Page 25: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๔

สารบัญ

บทท่ี ๒ แนวโนมสถานการณและผลกระทบ

๒.๑ แนวโนมสถานการณดานความม่ันคงและสันติภาพของโลก ๒.๒ ผลกระทบตอประเทศตางๆ ๒.๓ ผลกระทบตอกองทัพไทย

Page 26: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๕

๒. แนวโนมสถานการณและผลกระทบ ๒.๑ แนวโนมสถานการณดานความม่ันคงและสันติภาพของโลก ความขัดแยง (สงคราม) และสันติภาพเปนสภาวะตรงขามท่ีอยูคูกันเหมือนเหรียญท่ีมี ๒ หนา ความขัดแยงสรางสงครามไดฉันทใด สงครามสามารถกําเนิดจากวัตถุประสงคของการรักษาสันติภาพไดฉันทนั้น สงครามเกาหลี สงครามอาวเปอรเซีย อิรัก และอัฟกานสิถาน เปนตัวอยางของสงครามท่ีอางวามีวตัถุประสงคเพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงของประชาคมโลก (The maintenance of International Peace and Security) การพัฒนายุทธศาสตรดานความม่ันคง จึงไมควรละเลยบทบาทดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ หากศึกษาสถานการณดานความม่ันคงของโลกในยุคหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียต สงครามเย็นส้ินสุดลง สภาพแวดลอมดานความม่ันคงของโลกเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ โดยเปล่ียนจากข้ัวอํานาจ ๒ ข้ัวถวงดุลกันมาสูอํานาจข้ัวเดยีว (Uni-Polar Hegemonic Power) หลายฝายประเมินวาสถานการณดานความม่ันคงของโลกในศตวรรษที่ ๒๐ นาจะมีเสถียรภาพเน่ืองจากยุคแหงการตอสูทางอุดมการณ ระหวางฝายเสรีประชาธิปไตยและฝายสังคมนิยม (Socialist) ไดจบส้ินไป แตเหตุการณกลับตรงกันขามความขัดแยงยังคงเกิดข้ึนในภูมิภาคตางๆ อยางกวางขวาง เพยีงแตความขัดแยงไดเปล่ียนรูปแบบไปจาก ความขัดแยงในรูปแบบดั้งเดมิท่ีขับดันจากความแตกตางทางอุดมการณระหวางโลกเสรีนิยมและสังคมนิยมผานสงครามตัวแทน (proxy war) ในลักษณะของความขัดแยงระหวางรัฐ (Inter-state conflict) ไดลดระดับลง ความขัดแยงในรูปแบบใหมในลักษณะของความขัดแยงภายใน (intra-state conflict) อันเกดิจากความแตกตางดานเช้ือชาติ ศาสนา และเผาพันธุ และการแสวงหาเสรีภาพ ซ่ึงถูกกดดนัไวในยุคของสงครามเย็น ไดปะทุข้ึนอยางกวางขวางในภูมิภาคตางๆ โดยเฉพาะประเทศเกิดใหมท่ีเคยเปนอาณานิคมของมหาอํานาจท้ังสองคาย ในหลายๆ พืน้ท่ีความขัดแยงทวีความรุนแรงจนกลายเปนสงครามกลางเมือง เชน สงครามระหวางอาหรับมุสลิมและยวิในตะวนัออกกลาง ในยูโกสลาเวยี หรือบางแหงเกดิการฆาลางเผาพันธุ (Ethnic cleansing) เชน ในซูดาน บุรุนดี เซียรารลีโอน โกตดิววัร คองโก อํานาจรัฐตกอยูในสภาพลมเหลว (failed state) พลเรือนผูบริสุทธ์ิมิไดอยูในสภาพท่ีเปนเพยีงผูไดรับผลกระทบจากความรุนแรงเทานั้น หากแตกลายเปนเปาหมายโดยตรง ประชาคมโลกจึงตางหันมาใหความสนใจกับบทบาทการรักษาสันติภาพผานกลไกของสหประชาชาติ เนื่องจากความขัดแยงในลักษณะดังกลาวสงผลกระทบตอเสถียรภาพและความม่ันคงของภูมิภาคโดยรวม กองทัพของประเทศตางๆ ในฐานะเคร่ืองมือของรัฐจึงตองหันมาพัฒนาบทบาทดานการรักษาสันติภาพอยางกวางขวาง เพือ่สนับสนุนสหประชาชาติตามพันธกรณขีองประเทศสมาชิก แมสหประชาชาติจะเขาไปมีบทบาทอยางมากในการยุติความรุนแรงดวยกลไกการรักษาสันตภิาพ แตยังคงไมสามารถประกันสันตภิาพที่ยัง่ยนื (Lasting peace) สถานการณความขัดแยงเกือบท้ังส้ินยังคงเปราะบาง (fragile) และพรอมท่ีจะเกิดความรุนแรงข้ึนใหมไดตลอดเวลา สภาพแวดลอมของความขัดแยงในลักษณะดังกลาวยังคงดําเนินมาถึงปจจุบัน และมีแนวโนมท่ีจะดาํเนนิตอไปในทศวรรษหนา บทบาทการรักษาสันติภาพในกรอบสหประชาชาติจะยังคงดําเนนิตอไปอยางกวางขวาง

Page 27: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๖

นอกจากความขัดแยงในรูปแบบตางๆ ท่ีกลาวขางตน จะเปนปจจยัขับดันใหเกิดการเปล่ียน แปลงแลว ปจจัยการเปล่ียนแปลงตางๆ ท่ีสงผลใหสภาพแวดลอมความม่ันคงของโลก ณ ปจจุบันมีความซับซอนยิ่งข้ึน (Complex) สรุปไดดังนี ้ (๑) เหตุการณการโจมตีของกลุมกอการรายตอสหรัฐฯ (9/11) สงผลใหสภาพแวดลอมดานความม่ันคงของโลกเปราะบาง กลุมกองกําลังติดอาวุธนอกกฎหมายในภูมิภาคตางๆ โดยเฉพาะกลุมนกัรบมุสลิมท่ีเดิมเคยตอสูโดยมีเปาหมายของตนเองและมีอิทธิพลจํากดัในระดับภูมิภาค ถูกยุทธศาสตรการกวาดลางของฝายตะวนัตกผลักดันใหรวมตัวกนั สรางเครือขายอุดมการณการกอการราย ยกระดับเปนภยัคุกคามของโลก และยังพยายามสรางกระแสเช่ือมโยงใหเปนการตอสูระหวางตะวันตกกับชาวมุสลิม กอใหเกิดความตึงเครียด ไปท้ังโลก หลายประเทศไดปรับยุทธศาสตรปองกันประเทศเปนเชิงรุก โดยหลักการยุติภัยคุกคามนอกภูมิภาค บทบาทดานการรักษาสันติภาพถูกนําไปใชสนับสนุนผลประโยชนดานอ่ืนๆ สรางกระแสใหประเทศตางๆ ไดขยายบทบาทดานการรักษาสันติภาพ รูปแบบการรักษาสันติภาพถูกบิดเบือนไปจนบางคร้ังมีลักษณะใกลเคียงการแทรกแซง (Intervention) นอกจากการรักษาสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแลว ความรวมมือภูมิภาคตางๆ ขยายบทบาทดานการรักษาสันติภาพขามภมิูภาค เชน (North Atlantic Treaty Organization : NATO) คงกําลังรักษาสันติภาพในอัฟกานสิถานและยุโรป กลุม (African Union : AU) ดาํเนนิบทบาทรักษาสันติภาพในแอฟริกา และกลุมประชาคมรัฐอิสระ (Common Wealth Independent State : CIS) นําโดยรัสเซียดําเนินบทบาทในยุโรป ลักษณะดงักลาวมองได ๒ มุมมอง กลาวคือคือ มุมมองแรกเปนประโยชนตอสันติภาพของโลก โดยสวนรวม อีกมุมมองหน่ึงเปนการสรางพลังอํานาจทางทหารถวงดุลกันเพื่อผลประโยชนแฝง โดยมีบทบาทรักษาสันติภาพเปนเคร่ืองมือ กอใหเกิดการแขงขันกันพัฒนาพลังอํานาจทางทหารเพ่ือการรักษาอิทธิพลในภูมิภาคท่ีตนมีผลประโยชน (๒) กระแสเศรษฐกิจทุนนยิมในปจจุบัน ผลักดันใหเกิดการแขงขันทางเศรษฐกิจและการคาและความตองการบริโภคทรัพยากรของประชากรโลก ประกอบกับประชากรของโลกท่ีเพ่ิมมากข้ึน ผลประโยชนของชาติตางๆ ทับซอนกัน (Intertwined) อันเปนปจจยัเปราะบางทีห่ากไมมีกลไกการจัดสรรผลประโยชนของโลกที่มีประสิทธิภาพจะเกิดการขัดแยงไดทุกเม่ือ บทบาทการรักษาสันติภาพถูกใชเปนเคร่ืองมือสนับสนุนการเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศ ตัวอยางเชน ออสเตรเลียท่ีมีผลประโยชนดานทรัพยากรและการคากับติมอรเลสเตตามมาหลังการเขาปฏิบัติการรกัษาสันติภาพ ประเทศสมาชิกพนัธมิตรที่ปฏิบัตกิารในอิรักตางมีผลประโยชนดานน้ํามันและการกอสราง ประเทศท่ีเขาปฏิบัติการในแอฟริกาตางกอบโกยผลประโยชนจากทรัพยากรเปนตน การตอสูชวงชิงผลประโยชนและแสวงหาความไดเปรียบระหวางรัฐ จึงนาจะขยายความรุนแรงข้ึน โดยอาจพฒันารูปแบบจากการลาอาณานิคมเปนการครอบงําดวยศักยภาพและพลังอํานาจท่ีเหนือกวา และการขยายอิทธิพลผานบทบาทท่ีชอบธรรม เชน การรักษาสันติภาพ จะทําใหเกดิการรวมตัวของกลุม/ความรวมมือภูมิภาคของกลุมประเทศท่ีมีผลประโยชนรวมกนั เพื่อถวงดุลการขยายบทบาทและพลังอํานาจขามภูมิภาค

Page 28: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๗

(๓) ภัยพิบัติธรรมชาติขนาดใหญซ่ึงกลายเปนภัยคุกคามตอเสถียรภาพของภูมิภาคเกิดข้ึนอยางตอเนื่องและมีแนวโนมจะรุนแรงข้ึน (๔) กระแสโลกาภิวฒัน สงผลใหเกดิความขัดแยงของปจเจกบุคคลสามารถขยายวงกวางจนสงผลกระทบตอความม่ันคงแหงรัฐหรือระดับภมิูภาคได หรือแมแตอาจขยายตัวเปนสงครามกลางเมือง หรือนําไปสูสภาพการลมสลายของรัฐ (Failed State) เชน เหตุการณเผาสถานทูตไทยในกัมพชูา การเปล่ียนแปลงทางการเมืองในประเทศเพ่ือนบาน ลวนมีจดุเร่ิมตนมาจากความขัดแยงของปจเจกบุคคลท้ังส้ิน แนวโนมสถานการณโลกในทศวรรษหนา ทิศทางการพัฒนาของสถานการณของโลกท่ีแลวมาขางตน ยอมสงผลตอการพัฒนาไปของสถานการณในอนาคต สภาพแวดลอมของโลกในทศวรรษหนา นาจะมีแนวโนมดังนี้ (๑) สถานการณดานความม่ันคงมีความเปราะบาง (๒) ความขัดแยงระหวางรัฐเกดิข้ึนแลวยังคงดาํเนินตอไป ความขัดแยงภายในรัฐขยายวงกวางในทุกภูมิภาค (๓) ผลประโยชนของประเทศทับซอนกันมากข้ึน (Intertwined Nation’s interest) (๔) ความไมแนนอนหรือการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วอันเปนผลมาจากกระแสโลกาภิวัฒน (๕) การกอบโกยแยงชิงทรัพยากรของรัฐตางๆ (๖) บทบาทการรักษาสันติภาพถูกใชอยางกวางขวางเพื่อสนับสนุนผลประโยชนดานอ่ืนๆ (๗) สหรัฐฯ จะยังคงเปนมหาอํานาจรัฐเดยีวของโลก (Super Power) ท่ีไมมีข้ัวอํานาจท่ีทัดเทียมถวงดลุ แมจีนหรือกลุมประเทศท่ีมีศักยภาพทางนิวเคลียรจะกาวข้ึนมาเปนมหาอํานาจใหมแตยังคงไมอาจเปรียบเทียบกับสหรัฐฯ (๘) ประเทศตางๆจะสรางกลุมความรวมมือเพ่ืออํานาจตอรองและถวงดุลบทบาท (๙) ภัยคุกความจากเครือขายกอการราย อาวุธทําลายลางสูง (๑๐) ภัยคุกความจากภยัพิบัติขนาดใหญ ๒.๒ ผลกระทบตอประเทศตาง ๆ กระแสการแพรขยายบทบาทการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ สงผลใหทุกชาติตางต่ืนตัวกับการปรับบทบาทของกองทัพตนใหรองรับกับบทบาทดานการรักษาสันติภาพ ท้ังนี้ เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมดานความม่ันคงของโลกหลังการส้ินสุดสงครามเย็น และกระแสโลกาภิวัฒน สงผลใหความขัดแยงภายใน ความขัดแยงระหวางเช้ือชาติ ศาสนา ความขัดแยงทางความคิด ประทุข้ึนในภมิูภาคตางๆ ในขณะท่ีประเทศท่ีมีศักยภาพตางรวมกลุมเปนพนัธมิตรท่ีเขมแข็งและเขาปฏิบัติการในภูมิภาคตางๆ ท่ีมีความขัดแยงผานบทบาทการรักษาสันติภาพ เชนกลุม NATO ท่ีปฏิบัติการรักษาสันติภาพในอัฟกานิสถานและในภูมิภาคแอฟริกานอกกรอบสหประชาชาติ กลุมพนัธมิตรนําโดยสหรัฐฯ ปฏิบัติการหลักในอิรัก อัฟกานิสถาน และวางกําลังทางเรือในทะเลอาระเบียน ทะเลแดง และอาวเปอรเซีย ท้ังนี้เปนการปฏิบัติการนอกกรอบ

Page 29: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๘

ประเทศในภูมิภาคเอเชีย หลายประเทศจําเปนตองปรับบทบาททางทหารของตนใหรองรับบทบาทดานการรักษาสันติภาพ และการปฏิบัติเพื่อมนุษยธรรม ท้ังภายใตกรอบสหประชาชาติและกรอบความรวมมือภูมิภาค เพื่อสรางพันธมิตร รักษาบทบาทของตน และถวงดุลการขยายบทบาทขามภูมิภาค เชน ญ่ีปุน ไดแกไขรัฐธรรมนูญของประเทศเพื่อใหอํานาจ กองกําลังปองกันตนเอง ญ่ีปุนสามารถเคล่ือนยายกําลังไปปฏิบัติการนอกประเทศได ปจจุบันญ่ีปุนสงกาํลังปฏิบัติการทั้งภายใตภารกิจของสหประชาชาติ ปฏิบัติการรวมของ กองกําลังนานาชาติ ในอิรัก และสงเรือรบเขาประจาํการในทะเลแคริบเบียน และพัฒนาไปจนกระท่ังสามารถยกระดับทบวงปองกนัประเทศเปนกระทรวงกลาโหม โดยเร่ิมตนจากบทบาทการรักษาสันติภาพ จนีจัดต้ังศูนยสันตภิาพข้ึนและสงกําลังเขาปฏิบัติการรักษาสันติภาพในเลบานอน เฮติ ติมอรเลสเต ไลบีเรีย คองโกและโคโซโว สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตางก็รักษาบทบาทของตน โดยมีกําลังในภารกิจรักษาสันตภิาพของสหประชาชาติในสัดสวนท่ีมากกัมพูชาหรือแมแตเวียดนามกําลังพิจารณาปรับนโยบายในการเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพ โดยเฉพาะประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงเคยมีบทเรียนจากการไมตระหนักวากระบวนการรักษาสันติภาพของประชาคมโลก จะมีผลตอความม่ันคงภายในของตนจนเปนเหตุใหติมอรเลสเตแยกตัวเปนเอกราชและเกือบสูญเสียดินแดนในภูมิภาคอาเจห จึงเรงพัฒนาบทบาทดานการรักษาสันติภาพ ลาสุดไดสงกําลังเขารวมภารกจิรักษาสันติภาพในเลบานอน

๒.๓ ผลกระทบตอกองทัพไทย กองทัพไทยควรตระหนักถึงความจําเปนในการดําเนินบทบาทดานการรักษาสันติภาพควบคูไปกับบทบาทหลักดานการปองกันประเทศ การรักษาความม่ันคงภายใน การรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ และการพัฒนาประเทศ โดยกําหนดยุทธศาสตรระยะยาวและเตรียมความพรอมอยางจริงจัง เพื่อสรางศักยภาพรักษาบทบาท อํานาจการตอรอง การวิเคราะหยุทธศาสตรการปองกันประเทศและความม่ันคงจําเปนตองมีการพัฒนา การปองกันประเทศจะพิจารณาภยัคุกคามเพียงขอบแนวชายแดนเชนในอดีตไมได ในโลกไรพรมแดนและการชวงชิงผลประโยชนท่ีรุนแรง ยุทธบริเวณ (Theater of War) อาจครอบคลุมหลายภูมิภาค

Page 30: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๒๙

Page 31: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๐

สารบัญ

บทท่ี ๓ กองทัพไทยกบัการรักษาสันติภาพ

๓.๑ หลักการและเหตุผลที่กองทัพไทยตองเขามาเกี่ยวของในบทบาทดานการรักษาสันติภาพ ๓.๒ หนวยงานหลักของกองทัพไทยในภารกจิรักษาสันติภาพ ๓.๓ กระบวนการตดัสินใจเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพ ๓.๔ การเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพของกองทัพไทย ๓.๕ ประโยชนท่ีไดรับจากการเปดบทบาทดานรักษาสันติภาพ ๓.๖ ปจจัยท่ีเปนขอจํากัด

Page 32: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๑

๓. กองทัพไทยกับการรักษาสันติภาพ ๓.๑ หลักการและเหตุผลท่ีกองทัพไทยตองเขามาเก่ียวของในบทบาทดานการรักษาสันตภิาพ ประเทศไทยมีพันธกรณกีับสหประชาชาตท่ีิจะตองใหความรวมมือและสนับสนุนสันติภาพและ ความม่ันคงแหงประชาชาติในฐานะชาติสมาชิกกําหนดไวในหมวด ๑ มาตรา ๒ โดยไทยไดเขาเปนสมาชิก สหประชาชาติลําดับท่ี ๕๕ เม่ือ ๑๖ ธ.ค. ๒๔๘๙ หลังจากสหประชาชาติกอตั้งได ๑ ป นอกจากพันธกรณีในฐานะสมาชิกแลวประเทศไทยยังเปนสมาชิกในระบบกองกําลังเตรียมพรอมสหประชาชาติตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๑ กองทัพไทยนอกจากจะมีบทบาทในการปองกันรักษาอธิปไตยของชาติ รักษาความม่ันคงภายในและการพัฒนาประเทศตามท่ีกําหนดในรัฐธรรมนูญแลว กองทัพยังเปนเคร่ืองมือหนึ่งของรัฐบาลในการดําเนินงานการเมืองระหวางประเทศ เพ่ือเสริมสรางศักยภาพ เสถียรภาพและพลังอํานาจของชาติ โดยมีจุดมุงหมายสุดทายคือผลประโยชนสูงสุดของชาติ ดวยเหตุนี้เองบทบาทการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทยจึงถูกกําหนดไวในฐานะเปนเคร่ืองมือของรัฐโดยนโยบายของรัฐบาลเปนหลัก และมีนโยบายของกระทรวงกลาโหมเพ่ือสนองตอบนโยบายของรัฐตามลําดับช้ัน ท้ังนี้มิไดจํากัดเฉพาะบทบาทภายใตกรอบสหประชาชาติเทานัน้ นโยบายยังกําหนดบทบาทความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน องคกรระหวางประเทศอ่ืนๆ ท่ีไทยเปนภาคีสมาชิกหรือมีพันธกรณี นโยบายท่ีเกีย่วของสรุปไดดังนี ้ ๓.๑.๑ นโยบายรัฐบาล ๓.๑.๑.๑ นโยบายดานการตางประเทศ รัฐบาลมุงม่ันในการสงเสริมผลประโยชนของชาติ เสริมสรางความเขาใจและความเชื่อม่ันของประชาคมระหวางประเทศ โดยการดําเนินนโยบายท่ีเปนมิตรกับนานาประเทศ และสานตอความรวมมือระหวางประเทศบนพ้ืนฐานของคุณธรรม ความโปรงใส คานิยมประชาธิปไตย และการเคารพกฎหมายระหวางประเทศ โดยเฉพาะกฎบัตรสหประชาชาติ และปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน รัฐบาลจึงกําหนดนโยบาย ดังน้ี ๓.๑.๑.๑(๑) ดําเนินบทบาทเชิงรุกในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อสนับสนุนความปรองดองและความมั่นคงในชาติ โดยเฉพาะการแกไขปญหาสถานการณในภาคใต ๓.๑.๑.๒(๒) สงเสริมใหเกิดมิตรภาพและความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในระดบัอนุภมิูภาค ภูมิภาคและระหวางภมิูภาค เพื่อใหเกิดเสถียรภาพ ความม่ันคงและความเจริญรุงเรืองรวมกัน ๓.๑.๑.๓(๓) เสริมสรางความแข็งแกรงของอาเซียนโดยเฉพาะอยางยิ่งการเรงจัดต้ังประชาคมอาเซียน ๓.๑.๑.๔(๔) ดําเนินบทบาทสรางสรรคในกรอบสหประชาชาตแิละกรอบพหุภาคีอ่ืน ๆ เพื่อสงเสริมสันติภาพ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม การอนุรักษส่ิงแวดลอม การพัฒนาอยางยั่งยืน การแกไขปญหาขามชาติ และการสาธารณสุข ๓.๑.๑.๕(๕) คุมครองสิทธิและผลประโยชนของคนไทยในตางประเทศ และเสริมสรางบทบาทของชุมชนไทยในตางประเทศ

Page 33: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๒

๓.๑.๑.๒ นโยบายการรักษาความม่ันคงของรัฐ สถานการณความเปล่ียนแปลงของสังคมโลกในยุคโลกาภวิัฒน ทําใหการรกัษาความมั่นคงของรัฐเปนเร่ืองท่ีตองใหความสําคัญเปนอยางยิง่ เนื่องจากปญหาวิกฤตกิารณความไมสงบท่ีเกิดข้ึน สามารถแพรกระจายความรุนแรงไดอยางรวดเร็ว จนอาจสงผลกระทบตอความม่ันคงของรัฐและความสงบสุขของประชาชนโดยรวม รัฐบาลจึงมีนโยบาย ดังนี้ ๓.๑.๑.๒(๑) สงเสรมิการผนึกกาํลังระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม และภาควิชาการ เพื่อการปองกันประเทศอยางตอเนื่องในยามปกติ และนาํไปสูการระดมสรรพกาํลังเพือ่ยกระดับขีดความสามารถของกองทัพใหเพยีงพอและทันเวลาในยามไมปกต ิ ท้ังนี ้ ในยามปกติรัฐบาลจะเสริมสรางและใชศักยภาพของกองทัพสนับสนุนการพัฒนาพลังอํานาจของชาติทุกดาน เพื่อใหประเทศมีความม่ันคงและม่ังค่ังภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสมานฉันท สามารถปองกัน บรรเทา และแกไขปญหาท่ีสําคัญของชาติ ไดแก ปญหาการกอความไมสงบในพ้ืนท่ีจงัหวัดชายแดนภาคใต โดยนอมนําแนวทางพระราชทาน “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” และปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหมท่ีเกี่ยวของกับส่ิงแวดลอม ผูประสบภัยพิบัติ การกอการราย รวมท้ังอาชญากรรมภายในประเทศและท่ีมีลักษณะขามชาติประเภทตางๆ ซ่ึงรวมไปถึงยาเสพติด ผูหลบหนีเขาเมือง แรงงานตางดาวผิดกฎหมาย การคาส่ิงของผิดกฎหมาย การคามนษุย และการกระทําอันเปนโจรสลัด ๓.๑.๑.๒(๒) พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของกองทัพ ใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมดานความม่ันคง มีขีดความสามารถในการปองกัน ปองปราม และรักษาผลประโยชนของชาติ สามารถยุติความขัดแยงไดรวดเร็ว มีระบบการขาวท่ีมีประสิทธิภาพ มีขีดความสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางทหารรวมท้ังอุตสาหกรรมปองกันประเทศ เพื่อการพ่ึงตนเองทางทหาร และนําไปสูการพฒันาขีดความสามารถเพื่อความตอเนือ่งในการรบ มีระบบกําลังสํารอง ระบบการระดมสรรพกําลัง และระบบสงกําลังบํารุงท่ีเหมาะสมกับสถานการณภยัคุกคาม นอกจากนี้ จะสนับสนุนการสรางความรวมมือดานตางประเทศและดานความม่ันคงกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศในกลุมอาเซียน และมิตรประเทศเพ่ือลดความหวาดระแวง สรางความไวเนื้อเช่ือใจสรางสันตภิาพและความสงบสุข รวมท้ังสนบัสนุนภารกิจเพ่ือสันตภิาพและปฏิบัตกิารเพื่อมนษุยธรรมภายใตกรอบของสหประชาชาติและผลประโยชนของประเทศเปนหลัก ๓.๑.๒ ยุทธศาสตร ๔ ป กระทรวงกลาโหม (๒๕๔๘ – ๒๕๔๙) ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๔ วาดวยการเสริมสรางความรวมมือดานความม่ันคงกับประเทศเพื่อนบานและมิตรประเทศ กระทรวงกลาโหมตองมีสวนสําคัญในการเสริมสรางความเช่ือม่ันดานความม่ันคงระหวางประเทศเพื่อลดความหวาดระแวงระหวางประเทศในภูมิภาค และเพื่อใหเกิดความโปรงใสในกจิการดานการปองกนัประเทศ อันจะนําไปสูความเช่ือใจดานความม่ันคงระหวางประเทศโดยการเขารวมในเวทีการเจรจาดานความม่ันคงของอาเซียน (ARF) สงเสริมความสัมพันธระหวางกองทัพในกลุมสมาชิกของอาเซียนและกองทัพของมิตรประเทศ สนับสนุนการแกไขปญหาความขัดแยงอยางสันติเพ่ือลดโอกาสของการใชกําลังระหวางประเทศ โดยการแกไขปญหาความขัดแยงระหวางประเทศในภูมิภาคดวยมาตรการสันติ อาทิปญหาความขัดแยงเร่ืองพรมแดนท้ังทางบกและทางทะเล ความขัดแยงในการอางกรรมสิทธ์ิในพ้ืนท่ีท่ีอุดมไปดวยทรัพยากรทั้งทางบกและทางทะเล สนบัสนุนใหมีการเจรจาเพ่ือลดเงื่อนไขท่ีจะนําไปสูการใชกําลังในการ

Page 34: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๓

๓.๒ หนวยงานหลักของกองทัพไทยในภารกิจรักษาสันตภิาพ จากการเปล่ียนแปลงสถานการณความม่ันคงของโลกหลังยุคสงครามเย็น องคการสหประชาชาติ ไดเพิ่มบทบาทในการจดัการกบัปญหาความขัดแยงท่ีมีแนวโนมเปล่ียนแปลงเปนความขัดแยงอันเนื่องมาจาก เผาพันธุ เช้ือชาติ ศาสนา และความลมสลายของระบบการปกครองของประเทศท่ีเคยเปนอาณานิคม รัฐบาลไทยตระหนักถึงบทบาทการมีสวนรวมในกระบวนการสรางสรรคสันติภาพในฐานะชาติสมาชิก ดังนั้นเม่ือ ๑๕ ก.ย. ๔๑ ครม.มีมติอนุมัติในหลักการใหประเทศไทยเขารวมในระบบกองกําลัง เตรียมพรอมของสหประชาชาติ (UN Stand – By Arrangement System) เพื่อรองรับบทบาทดงักลาว กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด จึงดําเนนิการขอแกไขอัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๑๓๐๐ กรมยุทธการทหาร แปรสภาพกองการสงครามพิเศษเปนกองปฏิบัติการเพื่อสันติภาพตั้งแต ๑๗ ธ.ค. ๒๕๔๓ มีขอบเขตความรับผิดชอบครอบคลุมการปฏิบัติการของกองทัพไทยในภารกจิการรักษาสันติภาพรวมกับสหประชาชาติและพันธมิตร รวมท้ังการปฏิบัติการทางทหารท่ีมิใชสงคราม เนื่องจากบทบาทดานการรักษาสันติภาพของกองทัพไทยไดขยายขอบเขตกวางขวางข้ึนท้ังดานการพัฒนาศักยภาพ ดานการรักษาสันติภาพในกรอบความรวมมือทวิภาคี พหุพาคี ตลอดจนการเขาไปมีสวนรวมของกองกําลังของไทยในภารกิจรักษาสันติภาพในภูมิภาคตางๆ ผบ.ทหารสูงสุด จึงไดมีนโยบายให ยก.ทหารพจิารณาขยายโครงสรางของ กสภ.ยก.ทหาร ใหสามารถรองรับการขยายขอบเขตของบทบาทดังกลาว โดยวางเปาหมายไปสูการพัฒนาเปนศูนยสันตภิาพในระดบัภมิูภาค (Regional Peace Operations Center) จึงไดเกดิ ศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ข้ึนเม่ือวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๙ (คําส่ังกองบัญชาการทหารสูงสุด (เฉพาะ) ท่ี ๕๖๒/๔๙ ) ๓.๒.๑ ศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ (กรมยุทธการทหาร)

ศูนยปฏิบตัิการเพื่อสันติภาพกรมยุทธการทหาร

แผนกธุรการ กองแผนและโครงการ กองปฏิบตัิการ กองการฝกและศึกษา

Page 35: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๔

ศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพถูกกําหนดบทบาทและหนาท่ีหลักไว ๓ ประการ ๓.๒.๑.๑ เปนศูนยฝกการรักษาสันติภาพนานาชาติระดับภูมิภาค รับผิดชอบการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเร่ืองการฝกศึกษา เพ่ือเตรียมความพรอมของกําลังรักษาสันติภาพกองทัพไทยใหมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานของสหประชาชาติ ๓.๒.๑.๒ เปนฝายอํานวยการดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ๓.๒.๑.๒(๑) รับผิดชอบวางยุทธศาสตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพเพ่ือรองรับการปฏิรูปบทบาทการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ เชน การจัดเตรียมกําลังในระบบ UNSAS, Rapid Deployment Level (RDL) ๓.๒.๑.๒(๒) ผลิตขอพิจารณาฝายอํานวยการของกองทัพไทยในกระบวนการตัดสินใจเขารวมในภารกจิรักษาสันติภาพท้ังภายใตกรอบสหประชาชาติและความรวมมือระดับภมิูภาค ๓.๒.๑.๒(๓) วางแผน อํานวยการ ประสานงานในการจัดสงกําลังเขาปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพต้ังแตข้ันเตรียมการกอนการเคล่ือนยายกําลัง ข้ันการเคล่ือนยาย ข้ันการปฏิบัติการ ข้ันการสับเปล่ียนกําลัง จนถึงการเคล่ือนยายกําลังกลับ ๓.๒.๑.๓ เปนศูนยกลางวิทยาการดานการรักษาสันติภาพ รับผิดชอบวิจัยพัฒนาหลักนิยมดานการรักษาสันติภาพ เผยแพรวิชาการ ติดตามประเมินผลการปฏิบัติของกองกําลังรักษาสันติภาพ ๓.๒.๑.๔ เปนศูนยการบังคับบัญชาในสายการบังคับบัญชาของชาติ (National Command) ตอกําลังท่ีเขาปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพในภูมิภาคตาง ๆ เพื่อประกันวากําลังรักษาสันติภาพของไทยปฏิบัติการภายใตการควบคุมบังคับบัญชาของกองทัพไทย ๓.๒.๒ สํานักงานท่ีปรึกษาทางทหารประจําคณะทูตถาวรแหงประเทศไทยประจําสหประชาชาติ หลังจากภารกจิในติมอร ตอ. ส้ินสุด นบัเปนการเปดมิติดานการรักษาสันตภิาพของกองทัพไทย ซ่ึงไทยยังคงไดรับการรองขอใหเขารวมในภารกจิรักษาสันติภาพรวมกับสหประชาชาติ อยางตอเนื่อง จะเห็นไดวาไทยมีบทบาทในการเขารวมในภารกิจรักษาสันตภิาพเพิ่มมากข้ึนเปนลําดับ บก.ทหารสูงสุด เห็นความจําเปนใหมีการจัดต้ัง สน.ทปษ.คทถ. ณ นครนิวยอรก เพื่อเปนกลไกของกองทัพและรัฐบาลในการประสานงานกับสหประชาชาติในเร่ืองเกีย่วกบัการปฏิบัติการทางทหารในภารกจิรักษาสันติภาพ ครม. มีมติ เม่ือ ๑๐ ก.ย.๔๕เห็นชอบให กห. เปดสํานักงานและเพิ่มบุคคลากรในตางประเทศโดยจัดต้ังสํานักงานท่ีปรึกษาประจําคณะทูตถาวรและแตงต้ังนายทหารช้ันยศ พ.อ.(พิเศษ) ไปดํารงตําแหนง ทปษ.คทถ.ฯ โดยมี พ.อ.ศักดา แสงสนทิ (ยศในขณะน้ัน) เปนนายทหารทานแรกท่ีไดรับการแตงต้ังใหดาํรงตําแหนงดังกลาวขณะน้ีไดหมดวาระการดํารงตําแหนงแลว ปจจุบันนายทหารท่ีปฏิบัติหนาท่ีอยูไดแก พ.อ.รวมพล มีชูอรรถ

๓.๓ กระบวนการตัดสินใจเขารวมในภารกิจรักษาสันตภิาพ แมไทยจะสมัครเขาเปนสมาชิกในระบบกองกําลังเตรียมพรอมของสหประชาชาติ ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๔๑ และนโยบายของรัฐบาลจะยดึม่ันตอพนัธกรณีของไทยตามกฎบัตรสหประชาชาติ แตยงัมิไดกําหนดยทุธศาสตร

Page 36: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๕

๓.๓.๑ กรณี กห. ริเร่ิมกระบวนการ ๓.๓.๑.๑ สหประชาชาติสงหนังสือทาบทามขอรับการสนับสนุนกําลังผานคณะทูตถาวร ประจําสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ๓.๓.๑.๒ คณะทูตถาวร รายงานการขอรับการสนับสนุนยังกระทรวงการตางประเทศ ๓.๓.๑.๓ กระทรวงการตางประเทศแจงกระทรวงกลาโหม ขอทราบทาทีและความพรอมของกองทัพไทย ในข้ันตอนนี้ ในบางภารกิจ กต. อาจแจงตรงกบั บก.ทหารสูงสุด ในฐานะหนวยรับผิดชอบการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทยโดยตรง ๓.๓.๑.๔ กองบัญชาการทหารสูงสุด โดยกรมยุทธการทหาร จะเร่ิมกระบวนการแสวงขอตกลงใจ โดยการตรวจสอบปจจัยท่ีเกี่ยวของประกอบการพิจารณา ปจจัยท่ีนํามาพิจารณาไดแก ๓.๓.๑.๔(๑) ทาทีในระดับการเมือง (Political Guidance) ๓.๓.๑.๔(๒) สถานการณดานความปลอดภัย ๓.๓.๑.๔(๓) ผลประโยชนท่ีจะเกิดแกกองทัพและประเทศชาติ ๓.๓.๑.๔(๔) นโยบายทุกระดับช้ัน ๓.๓.๑.๔(๕) ความพรอมดานกําลังพลและยุทโธปกรณ (เหลาทัพ) ๓.๓.๑.๔(๖) ผลกระทบดานความม่ันคง ๓.๓.๑.๔(๗) สถานภาพของภารกิจและสถานภาพกําลังท่ีเขารวมภารกิจ (กรณีเปนภารกิจนอกกรอบ UN) - ขอตกลงแบบทวิภาคี หรือพหุภาคี - สิทธิและการคุมครองตามกฎหมาย (Immunity and Privilege)

Page 37: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๖

๓.๓.๑.๔(๘) งบประมาณท่ีตองใช (ยืมเงินทดรองราชการ) ในข้ันตอนการตรวจสอบความตองการดานงบประมาณโดยคํานวณจากคูมือยุทโธปกรณยืมปฏิบัติงาน (COE, Contingent Owned Equipment Manual) และการประสานกับท่ีปรึกษาทางทหารประจําคณะทูตถาวรประจําสหประชาชาติ (ทปษ.คทถ.ฯ) ทางขางเพ่ือขอพิจารณารางบันทึกความเขาใจ (MOU : Memorandum of Understanding) เม่ือตรวจสอบปจจัยที่เกี่ยวของแลวจะเชิญประชุมในระดับผูปฏิบัติ ไดแก สํานักนโยบายและแผนกระทรวงกลาโหม หนวยข้ึนตรงกองบัญชาการทหารสูงสุด และ กรมยุทธการเหลาทัพ ประชุมหารือเพ่ือพิจารณารวมกนั เพื่อใหการจดัทําขอพิจารณาฝายอํานวยการเปนไปดวยความรอบคอบ และเสนอขอพิจารณาให ผบ.ทหารสูงสุด อนุมัติกําหนดเปนทาทีของกองทัพไทย กรณไีมเห็นชอบในการสนับสนุน จะแจงตอบขัดของไปยังกระทรวงการตางประเทศโดยตรงหรือผานกระทรวงกลาโหม แลวแตกรณี ๓.๓.๑.๕ เม่ืออนุมัติในระดับกองบัญชาการทหารสูงสุดแลว จะเสนอโครงสรางการจัดกําลังพรอมงบประมาณเขาสูการพิจารณาโดยสภากลาโหม ๓.๓.๑.๖ กระทรวงกลาโหม จะเสนอเร่ืองขอความเหน็ไปยงัหนวยงานของรัฐท่ีเกีย่วของดานความม่ันคงการตางประเทศ และงบประมาณ ไดแก กระทรวงการตางประเทศ สภาความม่ันคงแหงชาติ กระทรวงการคลัง เพื่อประกอบการพิจารณาของสภาลาโหม ๓.๓.๑.๗ หากสภากลาโหมไมอนุมัตจิะแจงกระทรวงการตางประเทศทราบ โดยผาน กองบัญชาการทหารสูงสุด หรือใหกระทรวงกลาโหม เปนผูแจงเร่ืองถือวายุติ กรณีสภากลาโหมมีมติอนุมัติ จะตองขอมติคณะรัฐมนตรี เปนอํานาจอนมัุติสุดทาย โดยกระทรวงกลาโหมจะเสนอผานสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.ฯ)

กระบวนการในการตัดสินใจเขารวมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณี กห. ริเริ่มและเสนอใหรัฐบาลพิจารณาสนับสนุน

กระบวนการในการตัดสินใจเขารวมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณี กห. ริเริ่มและเสนอใหรัฐบาลพิจารณาสนับสนุน

สหประชาชาติ

เสนอคาํขอ แจงตอบ

คณะทูตถาวร

รายงานการขอรบัการสนับสนุน แจงตอบ

กระทรวงการตางประเทศ

ขอทราบ

ทาที

และควา

มพรอม

กห.สลค.ครม.

อนุมัต/ิไมอนุมัติ

อนุมัต/ิไมอนุมัติ

สภากลาโหม

บก.ทหารสูงสุด

ขัดของ

ขอทราบทาที

และความพรอมขอทราบทาที

กระบวนการพิจารณารวม

นําเร่ืองเขาสูการพิจารณา ขัดของ

ผลกระทบตอภารกิจหลักความพรอมดานกําลังพล และยุทโธปกรณผลประโยชนตอกองทัพผลกระทบดานความมั่นคง

สถานการณดานความปลอดภยั สถานภาพภารกิจนโยบายที่เกี่ยวของ

ทาทีรัฐบาล

กต.สมช.

สํานักงบประมาณก.ค.

บก.ทหารสูงสุด

Page 38: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๗

๓.๓.๒ กรณีรัฐบาลมีเจตนารมณใหการสนับสนนุ กระบวนการจะแตกตางกันในข้ันการดําเนินการของกระทรวงการตางประเทศ เม่ือไดรับรายงานการรองขอการสนับสนุนจาก คณะทูตถาวรประจําสหประชาชาต ิกระทรวงการตางประเทศจะเปนเจาภาพจดัการประชุมคณะกรรมการพิจารณาการมีสวนรวมในภารกิจรักษาสันติภาพ โดยเชิญผูแทนกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการทหารสูงสุด สภาความม่ันคงแหงชาติ กระทรวงการคลัง สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรมบัญชีกลาง เขารวมพิจารณา ในสวน กองบัญชาการทหารสูงสุด จะใหขอพจิารณาในประเดน็หลัก คือ ความพรอมของกองทัพ งบประมาณท่ีตองใช ผลกระทบดานความมั่นคง ผลกระทบตอภารกิจหลัก หากท่ีประชุมเห็นชอบกระทรวงการตางประเทศจะเสนอมติท่ีประชุมเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีผานสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

กระบวนการในการตัดสินใจเขารวมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณีรัฐบาลมอบนโยบายให กห. พิจารณาสนับสนุน

กระบวนการในการตัดสินใจเขารวมปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ของสหประชาชาติในกรณีรัฐบาลมอบนโยบายให กห. พิจารณาสนับสนุน

สหประชาชาติ

เสนอคําขอ แจงตอบ

คณะทูตถาวร

รายงานการขอรับการสนับสนุน

แจงตอบ

กระทรวงการตางประเทศ

นําเร่ืองเขาสูการพิจารณา

คณะกรรมการพิจารณาการเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพ

สหประชาชาติ

สลค.ครม.

อนุมัติ / ไมอนุมัติ

อนุมัต

ิ/ ไมอนุมั

ติ

กห. บก.ทหารสูงสุด

เห็นชอบในหลักการ ไมเห็นชอบในหลักการ

สนผ .กห

.

บก.ทหารสูงสุด

ความพรอมของกองทัพ

โครงสรางกําลัง

ประมาณการ ความตองการงบประมาณ

สมช.

สํานักงบประมาณ

กค.

สตช.

ผลกระทบตอมิติดานความมั่นคง

๓.๔ การเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพของกองทัพไทย จากพันธกรณใีนฐานะสมาชิกสหประชาชาตแิละนโยบายของรัฐบาลท่ีกลาวขางตน กองทัพไทยไดสงกําลังสนับสนุนภารกจิรักษาสันติภาพท้ังภายใตกรอบสหประชาชาติ กรอบความรวมมือระดับภูมิภาคและ กองกําลังพันธมิตร (Multinational/Coalition Forces) ซ่ึงจัดต้ังข้ึนภายใตการรับรองโดยขอมติสหประชาชาติ จํานวนท้ังส้ิน ๑๓ ภารกิจ หลายภารกจิท่ีกองทัพไทยประสพความสําเร็จจนสงผลใหไทยสามารถกาวไปสูการมีบทบาทในเวทีโลกดังนี ้ ๓.๔.๑ ภารกิจในกองบัญชาการสหประชาชาติในคาบสมุทรเกาหลี (United Nations Command : UNC) เม่ือเวลา ๐๔.๐๐ น. ของวันท่ี ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓ กองทัพเกาหลีเหนือประกอบดวย กําลังทหารราบในแนวหนา ๗ กองพล กองหนุน ๓ กองพล มีกําลังประมาณ ๖๐,๐๐๐ คน ไดเคล่ือนกําลังผาน

Page 39: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๘

คณะมนตรีความม่ันคงของสหประชาชาติ ไดเปดประชุมเปนการฉุกเฉิน เม่ือ ๒๕ มิถุนายน ๒๔๙๓ เวลา ๑๔.๐๐ น. ท่ีนครนวิยอรก ไดประณามการกระทําของเกาหลีเหนือ ท่ียกกําลังทหารบุกรุกเกาหลีใตวาเปนการทําลายสันติภาพ และไดลงมติสองประการ คือ

(๑) ใหท้ังสองฝายหยุดรบทันที (๒) ใหฝายเกาหลีเหนือ ถอนกําลังกลับไปอยูเหนือเสนขนานที่ ๓๘

คณะมนตรีความม่ันคงไดลงมติฉบับท่ี ๒ เม่ือ ๒๗ มิถุนายน ๒๔๙๓ ขอใหประเทศตาง ๆ ท่ีเปนสมาชิกของสหประชาชาติ สงทหารไปชวยเกาหลีใตตานทานการรุกรานดวยอาวุธของกองทัพเกาหลีเหนือ และผลักดันใหกองทัพเกาหลีเหนือออกจากดินแดนเกาหลีใต เพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพ และความม่ันคงระหวางประเทศในบริเวณน้ัน นอกจากน้ัน ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ไดส่ังการอนุมัติให พลเอก ดกัลาส แมคอารเธอร (General of the Army Douglas Mac Arther) ในฐานะผูบัญชาการทหารสหรัฐฯ ภาคตะวนัออกไกล ใชกําลังทางอากาศ และกําลังทางเรือ เพื่อผลักดันขาศึกใตเสนขนานท่ี ๓๘ ตอมาสหประชาชาติไดรองขอใหรัฐบาลสหรัฐฯ จัดกองบัญชาการรวม (Unified Command) และใหแตงต้ังผูบัญชาการทหารสูงสุดดวย ประธานาธิบดี แฮรี เอส ทรูแมน (Harry S. Truman) ของสหรัฐฯ จึงไดแตงต้ังพลเอก แมกอาเธอร ซ่ึงขณะนั้นดํารงตําแหนง ผูบัญชาการทหารสูงสุดของสัมพันธมิตรในการยึดครองประเทศญ่ีปุน ภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง เปนผูบัญชาการทหารสูงสุดกองกําลังสหประชาชาติในเกาหลี (Supreme Commander UN Forces in Korea) เม่ือ ๗ กรกฎาคม ๒๔๙๓ กองบัญชาการกองกําลังสหประชาชาติ (UN. Command Headquarters) ตั้งอยูท่ีตกึไดอิชิในกรุงโตเกียว เลขาธิการสหประชาชาติไดมีโทรเลขถึงรัฐบาลไทย ผานรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ แจงมติของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เม่ือ ๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๓ ตอมาเม่ือ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๓ เลขาธิการสหประชาชาติ ไดมีโทรเลขถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศของไทย เตือนวาตามมติของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ขอใหประเทศสมาชิกของสหประชาชาติ ใหความชวยเหลือสาธารณรัฐเกาหลี ตานทานการโจมตีดวยอาวุธนั้น รัฐบาลไทยจะใหความชวยเหลือประการใด ขอใหแจงใหเลขาธิการสหประชาชาติทราบโดยเร็ววา จะใหความชวยเหลือชนิดใด คณะรัฐมนตรีมีมติวา ในฐานะท่ีประเทศไทยเปนประเทศกสิกรรม จึงตกลงใหความชวยเหลือทางดานอาหาร เชน สงขาวไปชวยเหลือเปนตน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจึงไดมีโทรเลขตอบเลขาธิการสหประชาชาติ เม่ือ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๓ มีใจความวา รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัไดเฝาดูการคล่ีคลายของเหตุการณในประเทศเกาหลี ดวยความหวงใยท่ีสุด และประณามการใชกาํลังรุกรานซ่ึงไดกระทําตอ สาธารณรัฐเกาหลีท่ีเกิดใหมนี้ ดวยการทําลายสันติภาพ ซ่ึงมิไดนําพาตอคําส่ังของคณะมนตรีความม่ันคงฯ และโดยละเมิดบทบัญญัติแหงกฎบัตรสหประชาชาติ เชนนี้ไมเปนส่ิงท่ีควรจะผอนผันไดเลย

Page 40: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๓๙

เลขาธิการสหประชาชาติ ไดมีโทรเลขถึงกระทรวงการตางประเทศ เม่ือ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๓ มีใจความวา ขอแสดงความขอบคุณในการท่ีรัฐบาลไทย พรอมท่ีจะสนับสนุนการปฏิบัติของสหประชาชาติ และการตกลงใจใหความชวยเหลือ เร่ืองอาหารเชน ขาว และรัฐบาลสหรัฐฯ ภายใตอาณัต ิแหงมติ ลง ๙ กรกฎาคม ๒๔๙๓ ไดมอบภาระความรับผิดชอบท้ังมวลแกกองทัพสหประชาชาติ ฉะนั้นจึงขอแนะนําวา ขอใหรัฐบาลไทยไดพิจารณาหาทางชวยเหลือในเร่ืองกําลังรบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กําลังทางภาคพื้นดนิเทาท่ีอยูในวิสัยสามารถ การชวยเหลือในกรณีนี ้ในหลักการท่ัวไปขอใหติดตอไปยังเลขาธิการสหประชาชาติ สวนรายละเอียดปลีกยอย ใหตกลงกับกองบัญชาการกองทัพสหประชาชาติตอไป นายกรัฐมนตรีไดบัญชาใหนาํเร่ืองนี้เสนอตอ สถาบันปองกันราชอาณาจักร ซ่ึงไดมีการประชุมปรึกษา เม่ือ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๓ มีมติเปนเอกฉันท รับหลักการท่ีจะใหความชวยเหลือทางการทหาร เฉพาะกําลังทหารทางพื้นดินในกรณีสงครามเกาหลีดวยกําลัง ๑ กรมผสม (๑ Combat Team) และสภาปองกันราชอาณาจักร ไดเสนอเร่ืองนี้ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาตัดสินตกลงใจเปนการดวน คณะรัฐมนตรีไดประชุมปรึกษา เม่ือ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๓ มีมติเปนเอกฉันทเห็นชอบตามมติของสภาปองกันราชอาณาจักร และโดยเหตุท่ีเร่ืองนี้เกี่ยวกับปญหาราชการแผนดินท่ีสําคัญ สมควรแจงใหรัฐสภาอันประกอบดวยวฒุิสภา และสภาผูแทนราษฎรทราบ ตามความในมาตรา ๑๓๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทยในคร้ังนั้น นายกรัฐมนตรีไดนําเร่ืองนีเ้สนอรัฐสภาเม่ือ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๙๓ ไดรับความเห็นชอบและสนับสนนุจากฐสภา รัฐบาลไทยตกลงใจท่ีจะสงกาํลังทหาร ๑ กรมผสม มีกําลังพลประมาณ ๔,๐๐๐ คน ไปรวมรบกับสหประชาชาติในเกาหลี ตามความเหน็ชอบของรัฐสภา เม่ือ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ โดยไดมอบหมายใหกระทรวงกลาโหมดําเนินการ เสนาธิการกลาโหมไดออกคําส่ังแตงตั้งให พันเอก บริบูรณ จุลละจารติต หวัหนาแผนกท่ี ๓ กรมจเรทหารราบ เปนผูบังคับหนวยทหารท่ีจะไปปฏิบัติราชการ ณ ประเทศเกาหลี ไดมอบนโยบายในการจัดกาํลังของหนวยเปนรูปกรมผสม มีสวนอํานวยการและสวนกําลังรบ ประกอบดวยกําลังทหารราบ ๓ กองพนั ทหารปนใหญ ๑ กองพนั พรอมท้ัง ๑ กองส่ือสาร ๑ กองชาง และ ๑ กองลาดตระเวณ สําหรับกองพนัทหารราบ ใหกองทัพเรือและกองทัพอากาศใหเตรียมกําลังเหลาทัพละ ๑ กองพัน เพื่อสนธิกาํลังกับกองทัพบก ตอมา ไดมีคําส่ังใหกรมผสมน้ีไปข้ึนกองทัพบก การจัดกรมผสม ยดึถือการจดัหนวย Regimental Combat Team ของกองทัพบกสหรัฐฯ เปนหลัก อาวุธใชของกองทัพสหรัฐฯ กองบังคับการกรมผสมเปดทํางาน เม่ือ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ท่ีหองสมุดกระทรวงกลาโหม (หองสุรศักดิ์มนตรี) ตอมาไดยายไปท่ีหองฉายภาพยนตรของโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ซ่ึงอยูท่ีระเบียงช้ัน ๓ ดานตะวนัออกเฉียงเหนือของศาลาวาการกระทรวงกลาโหม ตอมาไดไปใชตกึสรางใหม

Page 41: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๐

กระทรวงกลาโหมไดประกาศรับสมัครทหารอาสาไปราชการชวยสหประชาชาติ เม่ือ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ มีผูมาสมัครท้ังส้ิน ๑๔,๙๙๘ คน เนื่องจากตองรับสงกําลังไปปฏิบัติการใหทันกับสถานการณ กระทรวงกลาโหมจึงส่ังการใหกองทัพบก จัดกําลังกองบังคับการผสม และหนวยข้ึนตรงกองพันทหารราบ ๑ กองพัน จากอัตราปกติของกองทพับก จึงไดจดักาํลังจากหนวยปกติของกองทัพบก โดยจดัจากกรมทหารราบท่ี ๒๑ กองพันละ ๑ กองรอย สวนกองรอยอาวุธหนกัไดสนธิกําลังของหนวยทหารจากกรมจเรทหารราบ และกองพันตาง ๆ ตอมาเม่ือ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๙๓ กระทรวงกลาโหมไดออกคําส่ังพิเศษเร่ืองการจัดกําลังทหาร เพื่อไปสงครามเกาหลี โดยให พลตรี หมอมเจาพิสิฐดิษยพงษ ดิสกุล เปนผูบัญชาการทหารไทย ทําการรบรวมกับสหประชาชาติในเกาหลี (ผ.บ.ท.ก.) ให กองทัพบก จัดกองบังคับการกรมผสมท่ี ๒๑ และกําลังทหารราบ ๑ กองพัน ใหพรอมเคล่ือนที่ไดใน ๑๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๓ เพื่อลวงหนาไปปฏิบัติการรบไดกอน กองทัพเรือ จัดการลําเลียงทหารและเรือคุมกัน โดยเชาจากบริษัทเอกชน ๑ ลํา เพ่ือลําเลียงกําลังทหารสวนแรกของกรมผสมท่ี ๒๑ จัดเรือรบหลวงสีชัง ลําเลียงสวนหนึ่งของกําลังพลกรมผสมท่ี ๒๑ และหนวยพยาบาลสภากาชาดไทย จัดเรือรบหลวงประแสกับเรือรบหลวงบางปะกง ทําหนาท่ีคุมกัน เม่ือปฏิบัติหนาท่ีเสร็จส้ินแลว ใหเรือรบหลวงท้ังสามลําปฏิบัติการท่ีประเทศเกาหลี หรือประเทศญี่ปุนตอไป กองทัพอากาศ เตรียมการในการบินขนสงตามท่ีรัฐบาลกําลังเจรจาขอเคร่ืองบินลําเลียงอยู สวนลวงหนา มีพันตรี สุรกิจ มัยลาภ เปนหัวหนา เพื่อไปเตรียมรับอาวุธยุทโธปกรณ และเตรียมท่ีพกัออกเดินทางโดยเคร่ืองบินของ P.O.A.S. (Pacific Oversea Air Services) เม่ือ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๙๓ กําลังสวนใหญเดินทางโดยทางเรือ ออกจากทาเรือกรุงเทพ ฯ คลองเตย เม่ือ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๓ ถึงเกาหลีข้ึนบกท่ีเมืองปูซาน เม่ือ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๓ แลวข้ึนรถไฟไปยังคายพักศูนยรับทหารของสหประชาชาติ ท่ีเมืองเตกู อยูทางเหนือของเมืองปูซาน ๘๐ ไมล สวนทหารเรือเดินทางไปประจํา ณ เมืองซาเซโบในประเทศญ่ีปุน เพื่อปฏิบัติตามนโยบาย ในการสงกําลังเขารวมปฏิบัติงานกับสหประชาชาติ ผูบัญชาการทหารของไทย ฯ จึงมอบกําลังในสวนของกองทัพบกคือ กรมผสมที่ ๒๑ ใหกับกองทัพท่ี ๘ สหรัฐฯ ซ่ึงเปนการข้ึนทางยุทธการและทางเทคนิค สวนดานการปกครอง และการดูแลหนวยยงัคงอยูในความรับผิดชอบของผูบัญชาการทหารของไทยฯ กองทัพไทยไดรวมรบกับกองกาํลังสหประชาชาติ จนกระท่ังสงครามยุติดวยการเจรจาสงบศึก เม่ือ ๒๗ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๙๖ สรุป ไทยสงกําลัง ๑ กรมผสม (-) ไปรวมรบกบักองกําลังสหประชาชาติ ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๘ จํานวน ๖ ผลัด หลังจากนัน้ไดเหลือกําลังไวเพยีง ๑ รอย ร. จํานวน ๑๗ ผลัด ตั้งแต ผลัดท่ี ๗ ถึงผลัดท่ี ๒๓ (มิถุนายน ๒๔๙๘ - มิถุนายน ๒๕๑๕)

Page 42: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๑

ผลัดท่ี ๑ (ผลัดแรก) พ.อ.บริบูรณ จุละจาริตต ผบ.ผส.๒๑ เปนผูอัญเชิญธงไชยเฉลิมพลไปเกาหลีใต เม่ือวันท่ี ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ผลัดท่ี ๒๓ (ผลัดสุดทาย ระดับ รอย ร.) พ.ต.เอ้ือมศักดิ์ จุละจาริตต ผบ.รอยอิสระ ร.๒๑ รอ. เปนผูอัญเชิญธงไชยเฉลิมพลกลับประเทศไทย เม่ือวันท่ี ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๕ กําลังพลตั้งแตผลัดท่ี ๑ - ๒๓ มีจํานวนท้ังส้ิน ๑๑,๗๗๘ นาย (นายทหาร ๗๔๐ นาย นายสิบ ๕,๓๓๖ นาย และพลทหาร ๕,๗๐๒ นาย) กําลังทหารไทยประสบการณสูญเสียดังนี้ เสียชีวิต ทบ. ๑๓๐ นาย ทร. ๔ นาย ทอ. ๒ นาย บาดเจ็บ ทบ. ๓๑๘ นาย สูญหายทบ. ๕ นาย จากเกยีรติประวัติการรบอันเกรียงไกร กองทัพบกจึงไดสรางอนุสาวรียทหารผานศึกเกาหลีข้ึน ณ คายนวมินทราชินี จ.ชลบุรี (ท่ีตั้ง บก.มทบ.๑๔ และ บก.ร.๒๑ รอ.) เพื่อเปนอนุสรณสถานสําหรับอนุชนรุนหลังจะไดระลึกถึงวีรกรรมของทหารไทยผูเปนบรรพชนในอดีตท่ีไดรวมรบกบักองกาํลังสหประชาชาติสรางเกียรติประวัติการรบไวจนไดรับสมญานามจากชาติพันธมิตรวา พยัคฆนอย อันหมายถึง นักรบรางเล็กแตเต็มไปดวยเข้ียวเล็บ ทหารไทยผูกลาหาญไดรับพระราชทานเหรียญกลาหาญจํานวน ๔๔ นาย และไดรับเหรียญกลาหาญ ตางประเทศ ๗๒ นาย ๓.๔.๒ กองกําลังสังเกตการณของสหประชาชาติประจําชายแดนอิรัก- คูเวต (United Nations Iraq-Kuwait Observation Mission) เม่ือ ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ อิรักไดใชกําลังทางบกเขารุกรานและยึดครองคูเวตในวันเดียวกันคณะมนตรีความม่ันคงสหประชาชาติ ไดมีมติท่ี ๖๖๐ (๑๙๙๐) ประณามอิรัก และเรียกรองใหอิรักถอนกําลังโดยไมมีเงื่อนไข ๒-๓ วันตอมาคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติ ออกขอมติจดัต้ังมาตรการคว่ําบาตรทางเศรษฐกจิและหามการขายอาวุธใหอิรัก และยังไดออกขอมติบังคับใชมาตรการตาง ๆ กับอิรัก ถึง ๑๒ มติ และกําหนดเง่ือนไขในมตสุิดทายท่ี ๖๗๘ (๑๙๙๐) วาหากอิรักไมปฏิบัติตามมาตรการท่ีกําหนดโดยมติท้ัง ๑๒ มติ ภายใน ๑๕ ม.ค.๒๕๓๔ ซ่ึงหนึ่งใน ๑๒ มติ คือใหอิรักถอนทหารโดยไมมีเง่ือนไข สหประชาชาติโดยความรวมมือของชาติสมาชิกจะใชทุกหนทาง (all necessary means) เพื่อบังคับ เสนตายท่ีกาํหนดไดผานไปโดยไมมีการตอบสนองจากฝายอิรัก เม่ือ ๑๖ ม.ค.๓๔ กกล.นานาชาติ ซ่ึงรับรองโดยสหประชาชาติเร่ิมโจมตีทางอากาศตออิรักจนถึงวนัท่ี ๒๔ ก.พ.๓๔ กกล.ภาคพืน้ของพันธมิตรจงึรุกเขาสูอิรักและปลดปลอยคูเวตไดสําเร็จเม่ือเท่ียงคืนของวัน ๒๘ ก.พ.๓๔ เม่ือ ๓ เม.ย.๓๔ คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติ ออกขอมติท่ี ๖๘๗ (๑๙๙๑) กําหนดขอตกลงหยุดยิงโดยจัดต้ังเขตปลอดทหาร (DMZ) จัดต้ังหนวยสังเกตการณและส่ังการใหเลขาธิการสหประชาชาติสงแผนในรายละเอียดใหคณะมนตรีความม่ันคงพิจารณาและออกอาณตัิท่ี ๖๘๙ (๑๙๙๑) อนุมัติจดัต้ังภารกิจ UNIKOM ภายใตหมวด ๗ ของกฎบัตรสหประชาชาติประกอบดวย ผูสังเกตการณทางทหาร จํานวน ๓๐๐ คน จาก ๓๓ ประเทศ ประเทศไทยไดรับเชิญจากสหประชาชาติ ใหจดักําลังเขารวมในภารกิจนี้จํานวน ๕ - ๗ คน ตอวงรอบหนึ่งป ท้ังนี้สหประชาชาติไดแตงต้ังให น.ท.สมเกียรติ ผลประยูร ร.น. ดํารงตาํแหนง ผบ.พืน้ท่ีเขตใต (นบัเปนทหารไทยคนแรกในภารกิจนี้ ท่ีไดรับเกยีรติใหดํารงตําแหนงบังคับบัญชาภายใตโครงสรางของกองกําลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ (หมวกฟา) แมจะไมใชตําแหนงสูงสุดในฝายทหารของภารกิจรักษาสันติภาพ) ผูสังเกตการณฯ จะมีภารกจิในการติดตามความเคล่ือนไหวในเขตปลอดทหารตามแนวชายแดน

Page 43: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๒

ผลการปฏิบัติภารกจิผูสังเกตการณทางทหารของ UNIKOM ท่ีผานมา สามารถควบคุมเหตุการณ โดยท่ัวไปใหอยูในความสงบ ไมมีการปะทะกนัดวยกําลังทหารของประเทศท้ังสองประเทศแตสามารถตรวจพบการละเมิดพรมแดนทางอากาศจากอากาศยานของท้ังฝายบินลวงลํ้าเขามาในเขต DMZ บอยคร้ัง สวนพรมแดนทางบกในบางจุดมีการละเมิดพรมแดนของตํารวจชายแดนของทั้งสองฝาย ซ่ึงมักจะตองจัดตรวจเผชิญหนากันและบางคร้ังกมี็การลํ้าแดน เนื่องจากความเขาใจผิดเกี่ยวกับแนวชายแดนและความคลาดเคล่ือนของแผนท่ี อยางไรก็ตามหลังจากไดรับคําช้ีแจงจากผูสังเกตการณทางทหารแลว ผูท่ีละเมิดพรมแดนสวนใหญจะใหความรวมมือปฏิบัติตามคําแนะนําเปนอยางดี ๓.๔.๓ กองกําลังรักษาความปลอดภยัสหประชาชาติในประเทศอิรัก หรือ United Nations Guard Contingent in Iraq-UNGCI ภายหลังสงครามอาวเปอรเซียส้ินสุดลงในป ๒๕๓๔ เชนเดียวกนั คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติไดเสนอใหมีการสงกองกําลังรักษาความปลอดภัยของสหประชาชาติเขาไปในบริเวณตอนเหนือของอิรักเพื่อควบคุมดแูลความเรียบรอยและใหความปลอดภัยแกชาวเคิรดแทนกองกําลังของฝายพันธมิตรท่ีจะถอนตัวออกมาโดยมีการจดัต้ังสํานักงานและศูนยชวยเหลือดานมนุษยธรรมของสหประชาชาติในอิรัก (United Nations Sub-offices and Humanitarian Center) ภายใตโครงการชวยเหลือดานมนุษยธรรมสําหรับอิรัก- คูเวตบริเวณชายแดนอิรัก-อิหราน และบริเวณชายแดนอิรัก-ตุรกี และตอมาไดมีการจัดต้ังกองกําลังรักษาความปลอดภัยหรือ UNGCI ข้ึนในอิรักภายใตโครงการดังกลาวดวย และเม่ือ ๑๘ มิ.ย.๓๔ สหประชาชาติไดทาบทามรัฐบาลไทยใหจดัสงเจาหนาท่ีจํานวน ๕๐ คน เขารวมใน กกล.ดังกลาว และ ครม. ไดมีมติเหน็ชอบเม่ือ ๑๐ ก.ย.๓๔ ใหกองทัพไทยจัดกําลังรวมปฏิบัติการประกอบดวย กําลังพลจาก บก.ทหารสูงสุด และ ๓ เหลาทัพ รวม ๕๐ คน เดินทางไปปฏิบัติหนาท่ี ตั้งแต ๑๘ ก.ย.๓๔ โดยมีภารกิจหลัก คือการพิทักษชีวิตและทรัพยสินของสหประชาชาติดวยการระวังปองกันและรักษาความปลอดภัยใหแกเจาหนาท่ีสํานักงาน คลังอาหาร ยาและเวชภัณฑของ UNHCR และ บก.UNGCI รวมท้ังคุมครองเจาหนาท่ีทองถ่ินท่ีปฏิบัติงานใหกับ UNHCR คุมกันขบวนรถยนตบรรทุก สป.ตางๆ เพื่อชวยเหลือ ผูอพยพและลาดตระเวนเฝาตรวจบริเวณพ้ืนท่ีตาง ๆ ท่ีมีผูอพยพอาศัยในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ กองทัพไทยไดจัดกําลังพลเขารวมปฏบิัตภิารกิจเพียง ๒ ชุด คือ ชุดแรก จัดจํานวน ๕๐ นาย ปฏิบัติหนาท่ีตั้งแต ๑๘ ก.ย.๓๔ - ๓ ส.ค.๓๕ จาก บก.ทหารสูงสุด ๑ นาย ปฏิบัติหนาท่ีเปนนายทหารการขาว ทบ. ๒๙ นาย ทร. ๑๐ นาย และ ทอ. ๑๐ นาย สวนใหญเปนนายทหารประทวนโดยมี พ.ต.สุภทัร ทิพยมงคล เปนหัวหนาชุด และชุดท่ีสอง จํานวน ๕๐ นาย ปฏิบัติหนาท่ีตั้งแต ๔ พ.ย.๓๖ - ๑ ก.ย.๓๗ จาก บก.ทหารสูงสุด ๕ นาย ทบ. ๒๕ นาย ทร. ๑๐ นาย และ ทอ. ๑๐ นาย โดยมี พ.อ.มานิจ บุญโปรง (ยศในขณะนั้น) เปนหัวหนาชุด แตกําลังพลในชุดท่ีสองน้ีไดเดินทางกลับประเทศไทยกอนกําหนดเม่ือ ๑๕ ส.ค.๓๗ เนื่องจากสหประชาชาติจําเปนตองลดกําลังพลเพราะประสบภาวะขาดแคลนเงินจากงบบริจาคท่ีไมเพียงพอ

Page 44: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๓

สําหรับผลการปฏิบัติภารกจิเจาหนาท่ีไทยทุกคนสามารถปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมายสําเร็จตามภารกิจของสหประชาชาติ และ ผบ. UNGCI ไดมอบแถบเชิดชูเกียรต ิ(MISSION BAR) ใหกําลังพลของไทยเปนการตอบแทนผลการปฏิบัติงานท่ีผานมา นอกจากนัน้ ครม. ไดอนุมัติหลักการใหไดรับสิทธิกําลังพล คือ พ.ส.ร. และไดนับเวลาราชการวันทวีคูณ ๓.๔.๔ การจัด พัน.ช.ฉก.ท่ี ๒ เพ่ือเก็บกูระเบิดในประเทศกัมพูชา หรือ United Nations Transitional Authority in Cambodia-UNTAC ผลของสงครามกลางเมืองในกัมพูชาต้ังแตป ๒๕๑๘ เปนตนมา ทําใหเกิดความสูญเสียเปนอยางมากแกประเทศกัมพูชา เม่ือ ๑๖ ต.ค.๓๔ คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติ จึงมีขอมติท่ี ๗๑๗ (๑๙๙๑) ใหจดัต้ังภารกจิ UNAMIC (United Nations Advance Mission in Cambodia) เพื่อใหความชวยเหลือกัมพูชาในการควบคุมดูแลการหยุดยิงโดยสมัครใจของเขมรฝายตางๆ ตอมาเม่ือ มี.ค.๓๕ สหประชาชาติไดจัดต้ังองคการบริหารช่ัวคราวของสหประชาชาติในกัมพูชาหรือ UNTAC (United Nations Transitional Authority in Cambodia) ข้ึน เพื่อเตรียมการจัดการเลือกตัง้ท่ัวไปข้ึนในประเทศกัมพชูา UNAMIC จึงสลายรวมเปนสวนหนึ่งของ UNTAC จากสภาพความเสียหายและภัยอันตรายจากกับระเบิดท่ีเกิดจากการทําสงครามทําใหเปนอุปสรรคตอการฟนฟูและดําเนินงานของสหประชาชาติ ดังนั้นเม่ือ ๒๒ ม.ค.๓๕ เลขาธิการของสหประชาชาติไดมีหนังสือเปนทางการขอใหไทยพิจาณาสงกองพันทหารชางเขารวมกับกองกําลังของ UNAMIC เพื่อปฏิบัติภารกิจในการเก็บกูระเบิดในกัมพูชา ตลอดจนซอมแซมสะพาน ถนน เสนทาง อาคารสถานท่ี และสาธารณปูโภคตางๆ เม่ือ ๑๑ ก.พ.๓๕ คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติใหสงกองพันทหารชางเฉพาะกจิของไทย จํานวน ๗๐๕ นาย เขารวมในกองกําลัง UNAMIC ตามคํารองขอของสหประชาชาติ โดยมีภารกจิในการซอมแซมเสนทางและสะพานสนามบินตางๆ ตามความจําเปน ลาดตระเวนทางการชางและเก็บกูระเบิดตามท่ีไดรับมอบ และปฏิบัติงานชางท่ัวไปสนับสนุนหนวยงานของ UNTAC ในพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ ในการปฏิบัติ กห. มอบหมายให ทบ. เปนผูดําเนินการจดั พัน.ช.ฉก.ท่ี ๒ สนับสนนุสหประชาติ และไดเคล่ือนยายกาํลังไปปฏิบัติภารกิจในประเทศกัมพชูา ตั้งแต ๒๐ ก.พ.๓๕ มีการผลัดเปล่ียนกําลังพลจํานวน ๒ ผลัด คือ ผลัด ๑ ตั้งแต ๒๐ ก.พ.๓๕ – ๑๙ ก.พ.๓๖ (๑ ป) โดยมี พ.อ.สมมารถ ปรุงสุวรรณ ดาํรงตําแหนง ผบ.พัน.ช.ฉก.ท่ี ๒ (สหประชาชาติ) ผลัด ๒ ตั้งแต ๑๙ ก.พ.๓๖ – ต.ค.๓๖ (๘ เดอืน) โดยมี พ.อ.ธนดล สุรารักษ ดํารงตําแหนง ผบ.พัน. สนามท่ี ๑ (สหประชาชาติ) พัน.ช.ฉก.ท่ี ๒ (สหประชาชาติ) ปฏิบัติภารกิจตามท่ีไดรับมอบประสบผลสําเร็จเปนอยางดีและไดรับคําชมเชยจากท้ังผูบังคับบัญชาช้ันสูงของไทย และสหประชาชาติ รวมท้ังมิตรประเทศท่ีจัดสงทหารมาปฏิบัติงานเชนเดียวกับไทย ๓.๔.๕ กองกําลังสังเกตการณสหประชาชาติในเซียรราลีโอน หรือ United Nations Mission in Sierra Leone-UNAMSIL

Page 45: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๔

จากสถานการณความวุนวายภายในเซียรราลีโอนท่ีมีการแยงชิงอํานาจและการลมลางรัฐบาลโดยกลุมกําลังตางๆ รวมท้ังมีการแทรกแซงจากประเทศภายนอก ซ่ึงเหตุการณเกิดข้ึนต้ังแต มี.ค.๓๔ และยดืเยื้อเร่ือยมา คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติจึงไดมีขอมติท่ี ๑๑๖๒ เม่ือ ๑๗ เม.ย.๔๑ เพื่อเร่ิมปฏิบัติการฟนฟูสันติภาพและความม่ันคงในเซียรราลีโอน และใน ๑๓ ก.ค.๔๑ คณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดมี ขอมติท่ี ๑๑๘๑ ใหจดัต้ังภารกิจ UNOMSIL (United Nations Observer Mission in Sierra Leone) โดยมีนายทหารจากประเทศสมาชิก ๑๒ ประเทศเขารวมปฏิบัติหนาท่ีผูสังเกตการณทางทหาร ภารกิจของผูสังเกตการณทางทหารสหประชาชาติประจําเซียรราลีโอน คือ - ลาดตระเวนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ เพื่อประเมินสถานการณและความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสินของประชาชนเปนสวนรวมโดยไมติดอาวุธ - เปนนายทะเบียนรับมอบอาวุธจากกลุมท่ีทําการสูรบกันอยู - เจรจาแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนระหวางกลุมตาง ๆ ในฐานะผูแทนของสหประชาชาติ (กลุมตาง ๆ แปรสภาพเปนพรรคการเมือง) - สงตัวทหารปา (Militia) ไปยังคายฝกอบรมเพ่ือกลับสูสังคมในฐานะพลเมืองปกติซ่ึงเปนสวนหนึ่งของกระบวนการ Reintegration หลังจากการเลือกตั้งประธานาธิบดีเม่ือ ๑๔ พ.ค.๔๕ สหประชาชาติขอรับการสนับสนุนนายทหารสังเกตการณจากประเทศสมาชิก และประเทศไทยไดตอบรับใหการสนับสนนุ โดย ครม. มีมติเม่ือ ๒๘ ก.ย.๔๒ อนุมัตหิลักการจัดสงนายทหารไปปฏิบัติหนาท่ีโดยกองทัพไทยไดสนบัสนนุนายทหารสัญญาบัตร จาํนวน ๕ คน สังกดั บก.ทหารสงูสุด และเหลาทัพ ช้ันยศ พ.ท./น.ท. ๑ คน ร.อ.-พ.ต./น.ต. ๔ คน ไปปฏิบัติหนาท่ี มีวาระการปฏิบัติหนาท่ีคราวละ ๑ ป ภารกิจ UNOMSIL ไดรับการปรับใหเปน UNAMSIL ในภายหลัง เพื่อเพ่ิมขอบเขตการปฏิบัติหนาท่ีโดยมีการใชกองกําลังสหประชาชาติเขาปฏิบัติภารกิจทดแทนกําลังจากประชาคมเศรษฐกิจแหงรัฐแอฟริกาตะวันตก หรือ The Economy Community of West African State (ECOWAS) ซ่ึงวางกําลังรักษาความสงบในหวงแรก

ภารกิจ UNAMSIL ส้ินสุดเม่ือ ๓๑ ต.ค.๔๘ โดยกองทัพไทยจดัสงผูสังเกตการณทางทหารหมุนเวียนเขาปฏิบัติหนาท่ีรวม ๖ ผลัด ๓.๔.๖ การปฏิบัติการของกองทัพไทยในติมอร ตอ. (กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. ในภารกจิรักษาสันติภาพในติมอร ตอ. หวง INTERFET UNTAET และ UNMISET) จากปญหาความไมสงบเรียบรอยในตมิอร ตอ. ภายหลังการลงประชามติแยกตัวเปนเอกราช เม่ือ ๓๐ ส.ค.๔๒ ประชาชน รอยละ ๗๘.๕๗% ตองการแยกตัวเปนเอกราชจากอินโดนีเซีย กองทัพอินโดนีเซีย ไมยอมรับในผลประชามติ กกล.กึ่งทหารชาวติมอร ตอ. ซ่ึงไดรับการจัดต้ังและฝกหัดโดยกองทัพอินโดนีเซีย จึงไดเปดปฏิบัติการรุนแรงทํารายราษฎร เผาบานเรือน และสังหารประชาชน สงผลกระทบใหเจาหนาท่ีพลเรือน สหประชาชาติซ่ึงปฏิบัติภารกิจในการชวยเหลือติมอร ตอ. ในกระบวนการประชามติ (United Nations Assistance Mission in East Timar : UNAMET) ตองอพยพออกจากติมอร ตอ.

Page 46: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๕

สหประชาชาติเห็นวาสถานการณในติมอร ตอ. มีระดับความรุนแรงเกนิกวาจะดําเนนิการภารกิจในข้ันตอไปคือ การสนับสนุนการเลือกตั้งในติมอร ตอ.ได ประกอบกับการจดัสงกําลังรักษาสันติภาพสหประชาชาติจะตองใชเวลาในการจดัต้ังภารกิจตามกระบวนการของสหประชาชาติอีกระยะหนึ่ง อาจเปนหวงท่ีกองกําลังกึ่งทหารที่ตอตานการแยกตัวกอความรุนแรงตอประชาชนชาวติมอร ตอ.ได คณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดจัดการประชุมเรงดวนเม่ือ ๕ ก.ย.๔๒ เพื่อพิจารณาจดัต้ังกองกําลังนานาชาติเขาไปควบคุมสถานการณและสถาปนาสภาพแวดลอมดานความม่ันคงใหเกิดความปลอดภัยตอประชาชนชาวติมอร ตอ. โดยประธานาธิบดีฮาบิบี แหงอินโดนีเซีย ไดแสดงความจริงใจโดยออกประกาศเชิญใหสหประชาชาติสงกองกาํลังเขาไปในติมอร ตอ. คณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดออกขอมติ ๑๒๔๖ (๑๙๙๙) จัดต้ังกองกําลังนานาชาติ (INTERFET) เขาปฏิบัตกิารรักษาสันติภาพในติมอร ตอ. โดยใหอํานาจในการกําหนดมาตรการท่ีจาํเปนภายใตหมวด ๗ ของกฎบัตรสหประชาชาติมอบหมายใหออสเตรเลียเปนแกนนําในการจัดต้ังกองกําลังนานาชาติ ภายใตอาณัติของสหประชาชาติ และ มีกิจเฉพาะที่สําคัญ ๓ ประการ คือ ฟนฟูสันติภาพและความปลอดภัยในติมอร ตอ. คุมครองและสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี UNAMET และสนบัสนนุการปฏิบัติงานชวยเหลือดานมนุษยธรรมแกชาวติมอร ตอ. เม่ือ ๒๑ ก.ย.๔๒ ครม. ไดมีมติใหจัดกําลังกองทัพไทย จํานวน ๑,๕๘๑ คน เขารวมกับ INTERFET โดยใหมีผลตั้งแตวนัท่ีคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติมีมติเม่ือ ๑๕ ก.ย.๔๒ ใชช่ือหนวยวา กองกําลังเฉพาะกิจรวม ๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. (กกล.ฉก.รวม ๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ.) ประกอบดวยกําลังจาก บก.ทหารสูงสุด และ ๓ เหลาทัพ มีภารกิจในการฟนฟูสันติภาพ การสรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมแกประชาชนชาวติมอร ตอ. ในพ้ืนท่ีปฏิบัติการ PALISADE ไดแก เมืองเบาเกา และเมืองวีเคเค ท้ังนี้กองทัพไทยไดรับเกียรติใหจัดนายทหารระดับสูง เขาดํารงตําแหนง รอง ผบ.กกล.นานาชาติ (INTERFET) คือ พล.ต.ทรงกิตติ จักกาบาตร (ยศขณะน้ัน) ตอมา กกล.INTERFET ไดส้ินสุดอาณัติเม่ือ ๒๓ ก.พ.๔๓ สหประชาชาติ จงึไดจดัต้ังองคกรบริหารชั่วคราวในติมอร ตอ. (United Nations Transitional Administration in East Timor) ภายใตช่ือยอวา UNTAET ข้ึน เพื่อชวยเหลือติมอร ตอ. จัดต้ังระบบโครงสรางพื้นฐานท้ังดานการเมือง เศรษฐกิจ การทหาร สังคม และระบบราชการใหมีความเขมแข็งเพียงพอท่ีจะปกครองตนเองไดเม่ือมีการประกาศเอกราช โดย กกล.ของไทยในหวง INTERFET บางสวนไดแปรสภาพเขารวมเปน กกล.รักษาสันติภาพภายใตภารกจิ UNTAET ในนามหนวย กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. ตั้งแตผลัดท่ี ๑ จนถึงผลัดท่ี ๙ (ผลัดละ ๖ เดือน) การปฏิบัติงานของ UNTAET ไดกาวหนาไปอยางรวดเร็วเนื่องจาก กกล.รักษาสันติภาพ สามารถควบคุมสถานการณไดและสรางความม่ันคงปลอดภัยใหเกิดข้ึน ซ่ึงทําใหสหประชาชาติสามารถจัดใหมีการเลือกตั้งสภารางรัฐธรรมนูญ ซ่ึงนําไปสูการเลือกตั้งประธานาธิบดีเปนคร้ังแรกไดใน ๑๔ เม.ย.๔๕ และการประกาศเอกราชใน ๒๐ พ.ค.๔๕ ในหวงภารกิจ UNTAET นี้กองทัพไทยมีบทบาทอยางสูงตอความสําเร็จของ กกล.รักษาสันติภาพของสหประชาชาติในติมอร ตอ. และประวตัิศาสตรของไทยไดจารึกบทบาทของนายทหารไทย ในตําแหนง ผบ.กกล.รักษาสันติภาพสหประชาชาติในตมิอร ตอ. และเปนตําแหนงบังคับบัญชาทหารสูงสุด

Page 47: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๖

ในหวงของการดํารงตําแหนงของ พล.ท.บุญสรางฯ นบัเปนภาระท่ีหนักมากในการบังคับบัญชา กกล.รักษาสันติภาพซ่ึงประกอบดวยกาํลังจาก ๓๖ ชาติ ในหวงการเร่ิมตน ซ่ึงเปนข้ันตอนท่ียากท่ีสุดในกระบวนการสันติภาพ คือการสรางชาติ (Nation Building) ใหสามารถบรรลุเปาหมายสุดทายของภารกิจ UNTAET ซ่ึงถูกกําหนดไวในขอมติคณะมนตรีความม่ันคงที่ ๑๒๗๒ (๒๕ ต.ค.๔๒) และ ขอมติท่ี ๑๓๓๘ (๓๑ ม.ค.๒๕๔๓) ไดแกการสรางติมอร ตอ. ใหเปนประเทศเอกราชท่ีมีระบอบประชาธิปไตยโดยผานกระบวนการเลือกต้ังและการถายโอนอํานาจจากรัฐบาลช่ัวคราวท่ีจัดต้ังโดยสหประชาชาติใหกับรัฐบาลท่ีมาจากการเลือกต้ังของติมอร ตอ. กระบวนการเลือกตั้งตองสนับสนุนกระบวนการปรองดองของชาติ (National Reconciliation) และไดรับการสนับสนุนจากประชาคมโลก (International Community) พล.ท.บุญสราง เนียมประดษิฐ ส้ินสุดวาระการปฏิบัติหนาท่ีเม่ือ ๓๑ ส.ค.๔๔ นับเปนความภาคภูมิใจของกองทัพไทยครั้งใหญอีกคร้ังเม่ือสหประชาชาติไดคัดเลือกและแตงต้ัง พล.ท.วินัย ภัททิยกุล (ยศขณะน้ัน) เขารับตําแหนง ผบ.กกล.รักษาสันติภาพตอจาก พล.ท.บุญสรางฯ นับเปนทหารไทยคนท่ีสองของประวัติศาสตรท่ีไดดํารงตําแหนงสูงสุด ของภารกจิรักษาสันติภาพสหประชาชาติ และเปนคร้ังแรกในประวัติศาสตรการรักษาสันตภิาพท่ี ผบ.กกล.รักษาสันตภิาพสหประชาชาติมาจากชาติเดยีวกันติดตอกัน ๒ สมัย หลังจากการประกาศเอกราชของติมอร ตอ. เม่ือ ๒๐ พ.ค.๔๕ สหประชาชาติไดจดัต้ังภารกิจ การสนับสนุนในติมอร ตอ. (United Nations Mission in Support of Support of East Timor) UNMISET ข้ึนทดแทนภารกิจ UNTAET โดยกําหนดหวงการปฏิบัตงิานประมาณ ๒ ป เพื่อใหการชวยเหลือในข้ันตนแกประเทศติมอร ตอ. ใหมีความเขมแข็งเพียงพอท่ีจะสามารถปกครองตนเอง กองทัพไทยไดจัดสงกําลังเขารวมภารกิจ UNTAET และ UNMISET ท้ังส้ิน ๙ ผลัด ประกอบดวย หนวยทหารราบ หนวยแพทยระดบั ๒ และเจาหนาท่ีฝายอํานวยการประจาํ กกล.UNMISET โดยจบภารกิจสมบูรณเม่ือ ๒๓ มิ.ย.๔๗ หลังจากนั้น ไทยไดสนับสนนุเจาหนาท่ีนโยบาย HIV/AIDS ใหกับภารกจิ UNMISET จํานวน ๑ นาย จนจบภารกิจเม่ือ พ.ย.๔๘ กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. แบงผลัดดังนี ้ ผลัดท่ี ๑ ตั้งแต ๑ ก.พ.๔๓-๓๑ ก.ค.๔๓ มีกําลังพล ๙๐๐ นาย โดยมี พ.อ.นภดล เจริญพร ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. ผลัดท่ี ๒ ตั้งแต ๑ ส.ค.๔๓ – ๓๑ มี.ค.๔๔ มีกําลังพล ๖๙๐ นาย โดยมี พ.อ.พิเชษฐ วิสัยจร ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. ผลัดท่ี ๓ ตั้งแต ๑ ก.พ.๔๔ – ๓๑ ก.ค.๔๔ มีกําลังพล ๖๙๐ นาย มีการสับเปล่ียนกําลังเร็วข้ึนเนื่องจากมีกําหนดเลือกต้ังใน ๓๐ ส.ค.๔๔ โดยมี พ.อ.ปรีชา พลายอยูวงษ ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ ติมอร ตอ. ผลัดท่ี ๔ ตั้งแต ก.ค.๔๔ – ๓๑ ม.ค.๔๕ มีกําลังพล ๖๙๐ นาย โดยมี พ.อ.ทนงศักดิ ์อภิรักษโยธิน ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ.

Page 48: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๗

ผลัดท่ี ๕ ตั้งแต ๑ ก.พ.๔๕-๓๑ ก.ค.๔๕ มีกําลังพล ๓๕๐ นาย เนื่องจากมีการปรับลดกําลัง โดยมี พ.ท.จรินทร จอยสองสี ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ๙๗๒ ผลัดท่ี ๖ ตั้งแต ๑ ส.ค.๔๕-๒๔ ก.พ.๔๖ มีกําลังพล ๔๙๖ นาย โดยมี พ.ท.กาจบดินทร ยิ่งดอน ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ผลัดท่ี ๗ ตั้งแต ๒๑ ก.พ.๔๖-๑๕ ส.ค.๔๖ มีกําลังพล ๕๐๑ นาย โดยมี พ.ท.ชวลิต จารุกลัส ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ผลัดท่ี ๘ ตั้งแต ๒๕ ก.ค.๔๖- ม.ค.๔๗ มีกําลังพล ๔๙๖ นาย โดยมี พ.ท.อํานาจ ศรีมาก ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ผลัดท่ี ๙ ตั้งแต ๑๕ ม.ค.๔๗ - ๒๓ มิ.ย.๔๗ มีกําลังพล ๕๒ นาย โดยมี พ.ท.มาวิน โอสถ ปฏิบัติหนาท่ี ผบ.กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ภายหลังจากท่ี กกล.๙๗๒ฯ ผลัดท่ี ๘ ซ่ึงจัดกําลังหลักจาก ทภ.๓ ( ร.๔ พัน ๒) มี พ.ท. อํานาจ ศรีมาก เปน ผบ.พัน กําหนดครบวาระการปฏิบัติหนาท่ีและเดินทางกลับประเทศไทย ใน ธ.ค.๔๖ ท่ีผานมา สหประชาชาติไดขอใหไทยสนับสนุนหนวยแพทยระดบั ๒ และ เจาหนาท่ี ฝอ.ประจํา กกล.UNMISET จนถึง เดือน มิ.ย.๔๗ ซ่ึงสหประชาชาติกาํหนดจบภารกิจการรักษาสันติภาพในติมอร ตอ. โดยจัดเปน กกล.๙๗๒ฯ ผลัดท่ี ๙ มียอดกําลังพลจํานวน ๕๔ คน มี พ.อ.มาวิน โอสถ ทําหนาท่ีเปน ผบ.กกล.ฉก.ฯ ผลัดท่ี ๙ ประกอบดวย - ร.พ.สหประชาชาติฯ ผลัดท่ี ๙ จํานวน ๔๐ คน - ฝอ.บก.กกล.UNMISET จํานวน ๔ คน - คณะผูสังเกตการณทางทหาร จํานวน ๖ คน - สํานักงานเพื่อพัฒนากองทัพติมอร ตอ. จํานวน ๑ คน - ชุด จนท.เทคนิคกระสุนวตัถุระเบิด จํานวน ๓ คน และไดจบภารกิจเดนิทางกลับประเทศเม่ือวนัท่ี ๓๐ มิ.ย.๔๗ สําหรับกําลังพลกองทัพไทยอ่ืนๆ นอกเหนือจาก กกล.๙๗๒ ไทย/ติมอร ตอ. ท่ีเขารวมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ณ ติมอร ตอ. ภายใตภารกิจ UNMISET ประกอบดวย - ฝายอํานวยการ ณ บก.กกล.UNMISET จํานวน ๗ คน - ผูสังเกตการณทางทหารประจํา UNMISET จํานวน ๖ คน - ฝายอํานวยการ ณ บก. Sector West จํานวน ๑๐ คน - Thai National Command Element (Thai NCE) จํานวน ๕ คน - ผูเช่ียวชาญดานกระสุนและวัตถุระเบิด (EOD) ประจํา บก.กกล.UNMISET จํานวน ๒ คน - ท่ีปรึกษาดานการฝกประจาํ ODFD จํานวน ๑ คน

Page 49: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๘

การปฏิบัติการของกองทัพไทยในติมอร ตอ. นับเปนปฏิบัติการรกัษาสันติภาพสหประชาชาติอยางแทจริงคร้ังใหญท่ีสุดในประวตัิศาสตรของกองทัพไทย และนบัเปนปฏิบัตกิารสําคัญท่ีสงผลใหประเทศไทยกาวข้ึนมามีบทบาทนําในภูมิภาคและเปดมิติดานการรักษาสันติภาพของกองทัพไทยบนเวทีโลก ๓.๔.๗ ภารกิจสังเกตการณกระบวนการสันติภาพในอาเจหรอบแรก (Aceh Monitoring Mission I ) ความเปนมา : เม่ือเดือน พ.ย.๔๕ องคกร Henri Dunant Centre (HDC) แหงนครเจนีวา ซ่ึงเปนองคกรเอกชนของสภากาชาดสากลท่ีทําหนาท่ีไกลเกล่ียการเจรจาระหวางรัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการอาเจหเสรี (GAM) ไดรวมกบัรัฐบาลอินโดนีเซียทาบทามรัฐบาลไทยและฟลิปปนส เพื่อขอใหสนับสนุนการจัดสงบุคลากรทางทหารเขารวมในคณะผูสังเกตการณเพือ่ความม่ันคง (Joint Security Committee-JSC) ซ่ึงประกอบดวยบุคลากรจากรัฐบาลอินโดนีเซีย ๕๐ คน ฝายอาเจหเสรี (GAM) ๕๐ คน และ HDC ๕๐ คน โดยขอใหไทยจัดนายทหารระดับพลตรีเขาดํารงตําแหนงผูแทนพิเศษ (Senior Envoy) ของ HDC ใน JSC ดวย รวมท้ังจัดผูสังเกตการณอีกจํานวนหนึง่ ตอมาเม่ือ ๑๙ พ.ย.๔๕ ครม.มีมติอนุมัติหลักการ ใหยืมตัวบุคลากรทางทหารของไทยเพ่ือเขารวมคณะผูสังเกตการณตรวจสอบกระบวนการเพื่อสันติภาพในอาเจหตามท่ีศูนย HDC และรัฐบาลอินโดนีเซีย ขอรับการสนับสนุน กองทัพไทยไดจัดกําลังพลจํานวน ๔๖ นายโดยมี พล.ต.ทนงศักดิ์ ตวุินันท (ยศในขณะนั้น) ปฏิบตัิหนาท่ีเปนประธานคณะกรรมการดานความม่ันคงรวม (Senior Envoy/ Chief of Joint Security Committee-JSC) มีกําลังพลปฏิบัติหนาท่ีใน บก.JSC ๓ นาย และเปนเจาหนาท่ีสังเกตการณสนาม (Field Monitoring Team) อีก ๔๒ นาย โดยมี พ.อ.ชัยวฒัน สะทอนด ี เปน หน.ชุด เดินทางไปปฏิบัติหนาท่ีในหวง ธ.ค.๔๕ - ก.ย.๔๖ แตเนื่องจากการพัฒนากระบวนการสันติภาพในอาเจหไมสามารถบรรลุเปาหมายและเกิดการชะงักงนัทําใหกําลังพลของไทยตองจบภารกิจกอนกําหนดและเดินทางกลับถึงประเทศไทยเม่ือ ๑๕ พ.ค.๔๖ ๓.๔.๘ รอย.ช.ฉก. ปฏิบัติภารกิจเพื่อสันติภาพในอัฟกานิสถาน ภายหลังจากท่ีสหรัฐฯ และพันธมิตรไดใชกําลังทหารเขาโจมตีเพื่อทําลายเครือขายการกอการรายในอัฟกานิสถาน เปนผลใหประเทศอัฟกานสิถานตกอยูในสภาพท่ีจาํเปนตองไดรับการฟนฟูบูรณะอยางเรงดวน ท้ังดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม สภาพความเปนอยูของประชาชนและสาธารณูปโภคตางๆ ประเทศไทยไดรับการทาบทามจากสหรัฐฯ ใหจัดกําลังเขารวมกับกองกาํลังนานาชาติ เพื่อชวยฟนฟแูละบูรณะประเทศอัฟกานิสถานโดยมีสหรัฐฯ เปนแกนนําประเทศไทยไดรับการประสานขอรับการสนับสนุนหนวยทหารชางเพื่อเขาปฏิบัติการรวมกับสหรัฐฯ ในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในอัฟกานิสถาน ตั้งแต ก.ค.๔๕ การประชุมหารือระหวางสองประเทศเพื่อพิจารณาความเปนไปไดในการสนับสนนุภารกิจดังกลาวไดดําเนนิมาอยางตอเนื่องในหวง ส.ค. - ต.ค.๔๕ ในท่ีสุดท้ังสองฝายไดขอยุตใินสาระสําคัญและไดจดัทําบันทึกชวยจาํ (Memorandum for Record) เพื่อยืนยันการสนับสนุนซ่ึงกันและกัน สรุปรายละเอียดไดดังนี ้ ๓.๔.๘.๑ กองทัพไทยสามารถสนับสนุนกําลังของ รอย.ช.ฉก. ในการปฏิบัติภารกิจจํานวน ๑๓๐ นาย ประกอบดวยกําลังสวนของ รอย.ช.ฉก.๑๒๐ นาย และสวนสนับสนุน จํานวน ๑๐ นาย

Page 50: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๔๙

๓.๔.๘.๒ สหรัฐฯ ยืนยนัการสนับสนนุการปฏิบัติของไทยในรายการตามท่ีตกลงกนัโดยสหรัฐฯ จะชําระเงินคืน (Reimbursement) ใหแกฝายไทยภายหลัง ตามรายการดังนี ้ - คาใชจายในการขนสงยุทโธปกรณของ รอย.ช.ฉก. ไปสนามบิน Bagram ประเทศ อัฟกานิสถาน ท้ังเท่ียวไปและกลับ - คาใชจายสําหรับ สป.๓ ในการขนยายกําลังพลทั้งไปและกลับระหวางประเทศไทยอัฟกานิสถานและการสงกําลังบํารุงตามวงรอบเปนรายเดือน โดยใช บ.ล.(C-130) ของ ทอ.ไทย - คาใชจายสําหรับ สป.๓ ปฏิบัติการ (JP-8) ในการปฏิบัติภารกิจอัฟกานิสถาน หากใช สป.๓ ประเภทอ่ืนตองเสียคาใชจายเอง - คาใชจายในการสรางท่ีพัก (Tent) ของกําลังพลที่ Bagram - คาใชจายในการรักษาพยาบาลใน รพ.สนาม (Medical Unit Level 3) ของสหรัฐฯ - สหรัฐฯ ให รอย.ช.ฉก. ยมืชุดปฏิบัติงานในสภาพอากาศหนาวเย็น (cold weather gear) และชุดปองกันนิวเคลียร ชีวะ เคมี โดยท่ีรัฐบาลไทยจะตองชดใชคาเสียหาย กรณีท่ีส่ิงอุปกรณชํารุด ๓.๔.๘.๓ รายการท่ีกองทัพไทยรับผิดชอบมีดังนี ้ - คาใชจายในรายการเงนิตอบแทนกําลังพล คาใชจายทรงชีพ การสงกําลัง การเตรียมการและเตรียมความพรอมหนวย - คาใชจายในการปฏิบัติงานตามภารกจิ (ยกเวนคา สป.๓ JP-8) - คาใชจายในการปรับปรุงยุทโธปกรณ - คาใชจายในการจัดหายุทโธปกรณเพิ่มเติม - คาใชจายในการเคลื่อนยายภายในประเทศ และการตรวจเยีย่มหนวย - คาใชจายในการจัดหาชิ้นสวนอะไหล (PPL) การซอมบํารุง - คาใชจายในการทดแทนกําลังพลและยุทโธปกรณ รัฐบาลไทยไดอนุมัติใหกองทัพไทยจดักําลัง รอย.ช.ฉก. โดยมี พ.ต.สิรภพ ศุภวานชิ เปน ผบ.รอย.ช.ฉก.ไทย/อัฟกานิสถาน มีกําลังพล ๑๓๐ นาย ประกอบดวย บก.รอย.ช. สวนสนับสนุน ชุดแพทย มว.งานดนิ มว.กอสรางท่ัวไป และตอนระวังปองกนั รอย.ช.ฉก. นี้ มีภารกิจในการซอมแซมและฟนฟูสนามบินเมือง Bagram เร่ิมปฏิบัติภารกิจเม่ือวันท่ี ๑๕ มี.ค.๔๖ มีวาระการปฏิบัติหนาท่ีเปนเวลา ๖ เดือน และจบภารกิจเม่ือ ๑ ต.ค.๔๖ ๓.๔.๙ กองกําลังเฉพาะกิจรวมเพ่ือมนุษยธรรมในอิรัก (กกล.๙๗๖ ไทย/อิรัก) นายกรัฐมนตรี ไดมีบัญชาผานกระทรวงการตางประเทศ เม่ือวันท่ี ๒๑ เม.ย.๔๖ เห็นชอบในหลักการใหกระทรวงกลาโหมจัดกําลังหนวยทหารเสนารักษสนับสนนุปฏิบัติการในอิรักตามการรองขอของฝายสหรัฐฯ และเม่ือวันท่ี ๒๒ เม.ย.๔๖ กระทรวงการตางประเทศ ไดจัดการประชุมหนวยงานภาครัฐ เพื่อพิจารณา

Page 51: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๐

กห. ไดส่ังการให บก.ทหารสูงสุด เปนหนวยรับผิดชอบดําเนินการตามบัญชาของ นรม. โดยใหประสานรายละเอียดกับ กต. และฝายทหารของสหรัฐฯ โดยตรง เนื่องจากความไมชัดเจนในประเด็นความตองการของฝายสหรัฐฯ นโยบายของรัฐบาลในเร่ืองของขนาดกําลังท่ีไทยประสงคจะเขารวม งบประมาณในการปฏิบัติการ ตลอดจนขอมูลทางทหารท่ีจําเปนสําหรับกระบวนการวางแผนเชน ภารกิจ, ลักษณะของปฏิบัตกิาร, ระบบการควบคุมบังคับบัญชา,ลักษณะของขอตกลงทวิภาคี (Bilateral Agreement) การขนสงเคล่ือนยาย, การสงกําลัง, สถานการณความรุนแรงในพืน้ท่ี, พื้นที่การวางกําลัง เปนตน บก.ทหารสูงสุด (โดยกรมยุทธการทหาร: ยก.ทหาร) จึงไดรองขอใหกระทรวงการตางประเทศ (โดยกรมอเมริกา), สํานกังานประสานความชวยเหลือทางทหารสหรัฐฯ ประจําประเทศไทย (JUSMAGTHAI) และ สง.ผชท.ทหาร ไทย/วอชิงตัน ประสานฝายสหรัฐฯ หาขอมูลท่ีจําเปนสําหรับกระบวนการวางแผนทางทหารของกองทัพไทยในปฏิบัตกิารดังกลาว สง.ผชท.ทหารไทย/วอชิงตัน ไดประสานงานกับ USCENTCOM เพื่อขอใหสนบัสนุนขอมูลท่ีจําเปนในข้ันตน และไดรับคําแนะนําใหจัดคณะวางแผนจํานวน ๓ นาย เดนิทางมาประชุมรวมกับ USCENTCOM ในลักษณะการประสานงานฝายทหาร (Military to Military Discussion) การประชุมดังกลาวสามารถบรรลุขอตกลงรวมกนัในการจัดกําลัง การวางกําลัง การขนสง การสงกําลัง และเง่ือนไขท่ีกองทัพกําหนดและในการประชุมดงักลาว USCENTCOM ไดขอใหกองทัพไทยจัดนายทหาร ๒ นาย มาปฏิบัติหนาท่ีนายทหารตดิตอเพ่ือรวมกระบวนการวางแผนทางทหารรวมกับผูแทนชาติสมาชิก และประสานการวางกําลังควบคูไปกับการดําเนินกระบวนการในระดับรัฐบาลตอรัฐบาล ผลการประชุมรวมกับฝายสหรัฐฯ รอบแรกในการจัดกําลังสนับสนุนปฏิบัติการในอิรัก (Operation Iraqi Freedom) ณ บก.กกล. สหรัฐประจําภาคกลาง มลรัฐฟลอริดา สรุปไดดังนี ้ ๓.๔.๙.๑ USCENTCOM ช้ีแจงวาปฏิบัติการในอิรักมีลักษณะเปน Coalition Operations โดยมีสหรัฐฯเปนแกนนํา กลไกการดําเนนิงานระหวางประเทศสหรัฐฯ กับประเทศผูเขารวมในปฏิบัติการจะกระทําคูขนานกันไปทั้งในระดับรัฐบาลและระดับกองทพั โดย USCENTCOM ซ่ึงรับผิดชอบในปฏิบัติการ ท้ังใน อัฟกานสิถานและปฏิบัติการในอิรัก (โดย J5) จะวางแผนการปฏิบัติการทางทหารในภาพรวมในระดับยุทธศาสตร(strategic level) ใหกับกองกําลังพันธมิตร โดยประสานงานกับกองทัพของประเทศผูเขารวมในลักษณะ military to military discussion (ผาน liaison officer ) ขอตกลงท่ีหารือในฝายทหารจะถูกดําเนินการโดยดวน เพื่อเร่ิมกระบวนการทางเอกสารท่ีจําเปนระหวางรัฐบาลสหรัฐฯ กับรัฐบาลของประเทศน้ันๆ เชน การพิจารณาขอเสนอจากฝายทหารของประเทศเขารวม และใหคําตอบในระดบัรัฐบาล

Page 52: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๑

๓.๔.๙.๒ ฝายสหรัฐฯ ไดกําหนดแนวความคิดในการปฏิบัติโดยแบงมอบพ้ืนท่ีปฏิบัติการใหกับ ๓ ชาติหลัก ไดแกสหรัฐฯ อังกฤษ และโปแลนด ในการประกอบกําลัง USCENTCOM โดย Iraqi Coalition Coordination Center (IC3) จะเปนตัวกลางสนธิกําลังจากกลุมประเทศที่เขารวม(Integrated Coalition Partner) ในระดับยุทธศาสตร ดวยการนําขอมูลความตองการกาํลังของ๓ชาติหลักที่รับผิดชอบพืน้ท่ี ไปจับคูกบัขอเสนอดานกําลังจากประเทศที่เขารวมเพื่อใหเกิดการประกอบกําลัง (force generation) ซ่ึงประเทศที่สงกําลังเขารวมถูกมอบไปปฏิบัติในพื้นท่ีรับผิดชอบของชาติใด จะหารือในรายละเอียดรวมกับประเทศท่ีรับผิดชอบพื้นท่ีตอไป โดยสรุป กกล.กองทัพไทยจะไดรับมอบหมายใหปฏิบัตงิานในพืน้ท่ีรับผิดชอบของโปแลนด ๓.๔.๙.๓ USCENTCOM ทราบถึงการเตรียมการของกองทัพไทยตามกรอบแนวทางท่ี ผบ.ทหารสูงสุด อนุมัติแนวทางไว และความตองการขอรับการสนับสนุนจากสหรัฐฯไดแก การขนสงกําลัง สป.๓ และ สป. ส้ินเปลืองประเภทตางๆ อาคารท่ีตั้งหนวยพรอมสาธารณูปโภค ความตองการกําหนดพื้นท่ีปฏิบัติการความตองการในการทําขอตกลงในสถานะภาพของกองกําลัง (SOFA) และขอทราบความชัดเจนในเร่ืองตางๆ ไดแก ภารกจิ พื้นที่ปฏิบัติการ การควบคุมบังคับบัญชา ๓.๔.๙.๔ USCENTCOM ไดรับทราบทาทีของรัฐบาลไทยในการสนับสนุนหนวยตางๆ รวมถึงการเตรียมความพรอมของกองทัพไทยตามขอ๓ แลว และมีความสนใจในหนวยตาง ๆท่ีเตรียม คือ ๑ กองพันทหารชางกอสราง ๖ ชุดแพทย และ ๑ กองรอยทหารสารวตัร ๓.๔.๙.๔(๑) กําลังสวนใหญของไทยจะไดรับการรองขอใหปฏิบัติงานในพื้นที่เมือง Karbala ทางตอนใตของกรุงแบกแดด ซ่ึงเปนพื้นท่ีรับผิดชอบของโปแลนด ๓.๔.๙.๔(๒) สหรัฐฯ จะสนบัสนุนคาใชจายสวนปฏิบัตกิารท้ังส้ิน(Operation cost) และสนับสนุน สป.สําคัญในการทรงชีพ ๓.๔.๙.๔(๓) สหรัฐฯ จะรับผิดชอบการขนสงในระดับยุทธศาสตร (strategic transportation) จากประเทศผูสนับสนนุกาํลังถึงประเทศอิรัก การขนสงภายในประเทศอิรัก ซ่ึงรวมถึงการขนสงกําลังพลและยทุโธปกรณไป - กลับใหแกกองกําลังทหารไทยดวย และเสนอความชวยเหลือในการขนยายยุทโธปกรณของ รอย.ช.ฉก.๙๗๕ฯ จากอัฟกานิสถานมายังอิรักเม่ือจบภารกิจในอัฟกานิสถานแลว ๓.๔.๙.๔(๔) สหรัฐฯ จะอํานวยความสะดวกในการสงกาํลังบํารุงของไทย

๓.๔.๙.๔(๕) สหรัฐฯ จะดําเนินการใหมีการจัดทําขอตกลงตางๆ ๓.๔.๙.๔(๖) สหรัฐฯ อาจสนับสนุน สป. เพิ่มเติมในรายการที่ไทยขาดแคลน เชน หนากากปองกัน ไอพิษประจําตัวทหาร ชุดกันหนาว เส้ือเกราะกนักระสุน กองทัพไทยสง น.ติดตอ (Liaison officer) ๒ นาย ไปปฏิบัติหนาท่ี ณ บก.CENTCOM เพื่อเร่ิมกระบวนการวางแผนรวมกับสหรัฐฯและชาตพินัธมิตรตางๆ ในลักษณะ Mil-to-Mil ควบคูไปกับการดําเนินการของรัฐบาล เพื่อใหสามารถวางกําลังไดตามแผน โดยมี พ.อ.ณัฐพล แสงจันทร ปฏิบัติหนาท่ีหัวหนาสํานักงานนายทหารติดตอ

Page 53: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๒

คณะรัฐมนตรีไดมติเม่ือ ๕ ส.ค.๔๖ อนุมัติการจัดตั้งกองกําลังทหารไทยไปปฏิบัติการเพื่อมนษุยธรรมในอิรัก มีระยะเวลาการปฏิบัติภารกจิ ๑ ป โดยใหถือเปนการปฏิบัติราชการพิเศษ ตามท่ี กห.กําหนด มีกําลังพล ๔๔๓ นาย ปฏิบัติภารกิจเปน ๒ ผลัด ผลัดละ ๖ เดือน โดยมี พ.อ.บุญชู เกิดโชค (ยศในขณะนั้น) เปน ผบ.กกล.๙๗๖ ไทย/อิรัก (ผลัดท่ี ๑) และ พ.อ.มนตรี อุมารี (ยศในขณะนัน้) เปน ผบ.กกล.๙๗๖ไทย/อิรัก (ผลัดท่ี ๒) กกล.ทหารไทยเขารวมปฏิบัติการในพืน้ท่ีรับผิดชอบของโปแลนด ในพื้นท่ี Central South มีท่ีตั้งในเมือง คารบาลา หางจากกรุงแบกแดด ๑๑๐ กม. ข้ึนการบังคับบัญชากบักองพลนอยโปแลนด ภายใต กกล.ผสมนานาชาติ (MND-CS ) มีภารกิจสนับสนุนท่ัวไปใหกบั MND-CS เกี่ยวกับงานชางสนามและงานชางกอสราง สนับสนุนการฟนฟูบูรณะอิรัก การบริการทางการแพทย และการปฏิบัติการกิจการพลเรือนจบภารกิจของผลัดท่ี ๑ เม่ือ ๓๑ มี.ค.๔๗ และผลัดท่ี ๒ ไดเขาปฏิบัติภารกิจแทนเม่ือ ๓๑ มี.ค.๔๗ และจบภารกจิ เม่ือ ๙ ก.ย.๔๗ ๓.๔.๑๐ การปฏิบัติภารกิจชวยเหลือผูประสบภัยแผนดินไหวในอิหราน เม่ือ ๒๖ ธ.ค.๔๖ ไดเกิดแผนดินไหวรุนแรงบริเวณเมืองบาม จ.เคอรมาน ประเทศอิหราน นรม. มีบัญชาใหรัฐบาลสนับสนุนงบประมาณเพ่ือชวยเหลือชาวอิหราน จํานวน ๑๐ ลานบาท และให กห. จัดกําลังไปสนบัสนนุและชวยเหลือประชาชนชาวอหิรานท่ีประสบภยั และ ครม.ไดมีมติเม่ือ ๓๐ ธ.ค.๔๖ ให บก.ทหารสูงสุด เปนหนวยงานหลักในการประสานงานกับเหลาทัพ กต. สธ. และมูลนิธิปอเต็กต้ึง รวมกันจัดกําลัง โดยใชช่ือ “หนวยเฉพาะกิจปฏิบัติการ เพื่อมนุษยธรรมกองทัพไทย” กําลังพล ๖๔ คนท้ังเจาหนาท่ีทหารและพลเรือน โดยมี พ.อ.วิทยา วชริกุล เปน ผบ.กกล.ฉก.ปฏิบตัิการเพื่อมนุษยธรรม ไทย - อิหราน จบภารกิจ เม่ือ ๑๓ ม.ค.๔๖ ๓.๔.๑๑ ภารกิจรักษาสันติภาพสหประชาชาติ ณ สาธารณรัฐบุรุนดี : ONUB (United Nations Operations in Burundi) ภารกิจ ONUB ตั้งข้ึนตามมติคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติท่ี ๑๕๔๕ เม่ือ ๒๑ พ.ค.๔๗ โดยมวีัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือฝายตางๆ ในการปฏิบัติตามขอตกลง Arusha ซ่ึงเม่ือ ๓๑ พ.ค.๔๘ คณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติไดมีมติใหขยายเวลาในการปฏิบัติภารกจิออกไปจนถึง ๓๑ ธ.ค.๔๘ ท้ังนี้ ครม. มีมติอนุมัตใิหกองทัพไทยสงนายทหารไปปฏิบัติหนาท่ีผูสังเกตการณทางทหารเพื่อเขารวมปฏิบัติการรักษาสันติภาพในสาธารณรัฐบุรุนดี จํานวน ๓ นาย ตั้งแต ๒๘ ธ.ค.๔๗ โดยมีวาระการปฏิบัติหนาท่ีคราวละ๑ ป ตอมาเม่ือ ๘ มี.ค.๔๘ ครม .มีมติอนุมัตใิหกองทัพจัดกําลัง รอย.ช.ผสม ไทย/บุรุนดี (Combined Engineer Company) จํานวน ๑๗๗ นายไปปฏิบัติภารกจิรักษาสันติภาพรวมกับสหประชาชาติ ภายใต กกล.รักษาสันติภาพของสหประชาชาติ ณ สาธารณรัฐบุรุนดี (ONUB PKF) กําลังพล รอย.ช.ผสมไทย/บุรุนดี (ผลัดท่ี ๑) ไดออกเดินทางจากประเทศไทยไปปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพ ณ สาธารณรัฐบุรุนดี ตั้งแต ๓๑ พ.ค.๔๘ โดยมี พ.ท.สุรเชษฐ คําพุฒ เปน ผบ.รอย.ช.ผสม ไทย/บุรุนดี (ผลัดท่ี ๑) ตอมากาํลังพล รอย.ช.ผสม ไทย/บุรุนดี (ผลัดท่ี ๑) ไดเดินทางกลับถึงประเทศไทย เม่ือ ๑ ธ.ค.๔๘ และกําลังพล รอย.ช.ผสมฯ (ผลัดท่ี ๒) ไดเดินทางไปผลัดเปล่ียน เม่ือ ๒๙ พ.ย.๔๙ โดยมี พ.ท.ชิษณุพงษ ปุนศิริ เปน ผบ.รอย.ช.ผสม ไทย/บุรุนดี (ผลัดท่ี ๒) ซ่ึงไดจบภารกิจและเดินทางกลับประเทศไทย เม่ือ ๒ มิ.ย.๔๙ โดยกําลังพล รอย.ช.ผสมฯ (ผลัดท่ี ๓) ซ่ึงมี พ.ท.ตวงทิพย ติณเวช เปน ผบ.รอย.ช.ฯ ไดเดินทางไป

Page 54: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๓

นอกจาก รอย.ช.ผสมฯ ท้ัง ๓ ผลัด รวมกําลังพลทั้งส้ิน ๕๒๕ นาย แลว กองทัพไทยยังไดใหการสนับสนุนกําลังพลประเภทบุคคลแกภารกจิเดยีวกันนี ้ คือ ผูสังเกตการณทางทหาร จํานวน ๒ ผลัด ผลัดละ ๓ นาย ปฏิบัติหนาท่ีตั้งแต ๒๗ ส.ค.๔๗ ถึง ๒๗ ธ.ค.๔๙ และ ฝอ. จํานวน ๒ ผลัดๆ ละ ๒ นาย ปฏิบัติหนาท่ีตัง้แต ๒๘ เม.ย.๔๘ ถึง ๒๗ ธ.ค.๔๙ รวมกําลังพลทั้งส้ินท่ีกองทัพไทยใหการสนบัสนุนแกภารกิจดังกลาวจํานวน ๕๓๕ นาย ๓.๔.๑๒ ภารกิจสังเกตการณกระบวนการสันติภาพในอาเจห รอบที่สอง (Aceh Monitoring Mission II) เม่ือ ๘ ส.ค.๔๘ ครม. มีมติอนุมัติหลักการใหสนับสนุนกําลังพลของไทยเขารวมในกระบวนการสันติภาพในอาเจห (AMM) ตามคําเชิญอยางเปนทางการของรัฐบาลอินโดนีเซีย อันเปนผลสืบเนื่องมาจากท่ีรัฐบาลอินโดนีเซีย และขบวนการอาเจหเสรีไดตกลง ลงนามในความตกลงสันติภาพ ณ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟนแลนด ใน ๑๕ ส.ค.๔๘ ตอมา รมว.กห .กรุณาอนมัุติให บก.ทหารสูงสุด รับผิดชอบจัดกําลังพล ๒๐ นาย เขารวมในภารกิจดังกลาว โดยจัดต้ังเปนหนวยเฉพาะกิจใชช่ือวา “หนวยสังเกตการณกระบวนการสันติภาพ ไทย/อาเจห : นสก .ไทย/อาเจห” ประกอบกาํลังจาก บก.ทหารสูงสุด และ ๓ เหลาทัพ โดยมี พ.อ.นพดล มังคละทน ปฏบิัติหนาท่ี ผบ.นสก .ไทย/อาเจห และไดเคล่ือนยายเขาวางกําลังเปน ๒ ข้ันคือ ข้ันท่ี ๑ สวนลวงหนาจํานวน ๔ นาย เดินทางออกจากประเทศไทยเม่ือ ๑๔ ส.ค.๔๘ และข้ันท่ี ๒ กําลังสวนใหญจํานวน ๑๖ นายเดินทางโดย บ.ล.๘ จากประเทศไทยเม่ือ ๙ ก.ย.๔๘ นอกจากกําลังพลของไทยจํานวน ๒๐ นาย ท่ีปฏิบัติหนาท่ีผูสังเกตการณกระบวนการสันติภาพในอาเจหแลว อินโดนีเซียยังไดทาบทามนายทหารระดับสูงของไทยใหปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนง รองหัวหนาภารกิจฝายทหาร (Principal Deputy Head of the Aceh Monitoring Mission) ซ่ึง รมว.กห. กรุณาอนุมัติให พล.ท.นิพัทธ ทองเล็ก รอง ผอ.สนผ.กห .เขาดํารงตําแหนงกลาวมีกาํหนด ๑ ป หลังส้ินสุดอาณัติของภารกจิ เม่ือ ๑๕ มิ.ย.๔๙ AMM สามารถบรรลุภารกิจในข้ันแรกของขอตกลงสันติภาพไดแกการปลดอาวุธของฝายอาเจหเสรี (GAM) และการถอนกําลังทหาร ตํารวจของฝายรัฐบาลอินโดนีเซีย เปนไปตามขอตกลงของท้ังสองฝายโดยสันติอันเปนสัญญาณท่ีดีวา กระบวนการสันติภาพจะสามารถดําเนินการตอไปได อยางไรกต็ามการเลือกตั้งทองถ่ินอาเจหซ่ึงเปนข้ันตอนหน่ึงในขอตกลงสันติภาพตองอาศัยกลไกการออกกฎหมายการปกครองทองถ่ิน ซ่ึงไมสามารถเสร็จส้ินตามท่ีกําหนดได AMM และรัฐบาล อซ. จงึเหน็ชอบรวมกนัท่ีจะขยายอาณัตภิารกิจออกไปอีก ๓ เดือน เพือ่เตรียมการจัดการเลือกตั้งทองถ่ินใหไดภายใน ๑๕ มิ.ย.๔๙ รัฐบาลไทยไดรับการรองขอจากรัฐบาลอินโดนีเซีย และกลุมประชาคมยโุรปใหคงกําลังพลบางสวนเพื่อสนับสนุนภารกิจ AMM ในหวงการขยายอาณัติ โดยลดกําลังเหลือ ๖ นาย ซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีอยูจนถึง ๑๕ ก.ย.๔๙ หลังจากนั้นภารกจิ AMM ไดรับการรองขอใหขยายหวงอาณตัิออกไปเปนคร้ังสุดทายจนถึง ๑๕ ธ.ค.๔๙ โดยไทยคงการสนับสนุนกําลังพล ๒ นายจนจบภารกิจในท่ีสุด

Page 55: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๔

๓.๔.๑๓ ภารกิจรักษาสันติภาพสหประชาชาติในซูดาน (United Nations mission in Sudan – UNMIS) สหประชาชาติไดมีหนังสือแจงคณะทูตถาวรแหงประเทศไทยประจําสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรก ขอรับการสนับสนุนผูสังเกตการณทางทหาร ในภารกิจรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในซูดาน จํานวน ๑๕ นาย โดยใหจดัสงกําลังเรงดวนภายใน ๑๘ ม.ค.๔๙ เนื่องจากเปนกรณีเรงดวน ทางกระทรวงการตางประเทศไดนําเร่ืองเขาท่ีปะชุม ครม. เม่ือ ๒๗ ธ.ค.๔๘ และท่ีประชุม ครม. ไดใหความเห็นชอบในการจัดสงกําลังพลในภารกิจดังกลาว โดยให บก.ทหารสูงสุด เปนหนวยดําเนินการ ในสวนของการเดินทางไปปฏิบัติหนาท่ีของกําลังพลทั้ง ๑๕ นาย นั้น สหประชาชาติ ซ่ึงเปนผูรับผิดชอบจัดการเดินทางไดแบงการเดินทางออกเปน ๒ ชุด ชุดแรกจํานวน ๓ นาย ออกเดินทางจากประเทศไทยเม่ือ ๑๒ ม.ค.๔๙ จบภารกิจและเดินทางกลับประเทศไทยเม่ือ ๑๓ ม.ค.๕๐ สวนชุดท่ี ๒ จํานวน ๑๒ นาย ออกเดินทางจากประเทศไทยเมื่อ ๑๙ ก.พ.๔๙ จบภารกจิและเดินทางกลับประเทศไทยเม่ือ ๒๕ ก.พ.๕๐ ท้ังนี้สหประชาชาติไดรองขอใหไทยจัดกําลังพลไปผลัดเปล่ียนกับกําลังพลชุดท่ี ๒ จาํนวน ๑๒ นาย กองทัพไทยจึงไดคัดเลือกกําลังพลท้ัง ๑๒ นาย จากบัญชีรายช่ือพรอมเรียกปฏิบัติงานเพ่ือสงไปปฏิบัติภารกิจในคร้ังนี้ โดยกําลังพลทั้ง ๑๒ นาย มีกําหนดออกเดินทางจากประเทศไทยใน ๕ มี.ค.๕๐ ๓.๔.๑๔ หนวยแพทยเฉพาะกิจปฏิบัติการเพื่อมนษุยธรรม ณ ประเทศอินโดนีเซีย จากเหตุการณแผนดินไหวในอินโดนีเซีย เม่ือ ๒๗ พ.ค. ๒๕๔๙ นับเปนภยัพิบัติรุนแรงเปนลําดับสองรองจากเหตุการณสึนามิสงผลใหเกดิความสูญเสียเกชีวติและทรัพยสินแกชาวอินโดนีเซียเปนวงกวาง ประมาณการวามีผูเสียชีวิตกวา ๕,๐๐๐ คน บาดเจบ็และไรท่ีอยูอาศัยกวา ๒๐๐,๐๐๐ คน จากเหตุการณดังกลาว ดวยพจิารณาเหน็วา ไทยและ อซ. เปนประเทศเพื่อนบานท่ีมีความสัมพนัธแนนแฟนระหวางกัน ท้ังในระดับรัฐบาลและระดับกองทัพ โดยหวงท่ีผานมามีการแลกเปล่ียนการเยอืนของผูนําในทุกระดับมาอยางตอเนื่อง และกองทัพไทย ไดดําเนนิบทบาทการสนบัสนุนความชวยเหลือในภารกิจสันติภาพและ ภารกจิเพื่อมนุษยธรรมแก อซ.มาโดยตลอด นับจากกรณี ติมอร ตอ.และอาเจห ประกอบกับไทยถูกคาดหวังในบทบาทการแกปญหาภายในภูมิภาค ในฐานะท่ีเปนประเทศท่ีมีศักยภาพในภมิูภาค พลเอก เลิศรัตน รัตนวานิช เสธ.ทหาร จึงมีดําริเม่ือ ๒๘ พ.ค.๔๙ ให ยก.ทหาร พิจารณาจัดกําลังหนวยแพทยเฉพาะกิจฯ เดินทางไปสนับสนุนความชวยเหลือแกผูประสบภยัใน อซ. เปนกรณีเรงดวน โดยใหพรอมเดนิทางไดภายใน ๓๑ พ.ค. ๔๙ ท้ังนี้เพื่อใหความชวยเหลือของกองทัพไทยถึงมือผูประสบภัยทันกับความตองการในหวงท่ียังคงอยูในภาวะวิกฤติ ยก.ทหาร ไดจดักําลังจาก บก.ทหารสูงสุดและสามเหลาทัพรวม ๔๙ นาย ประกอบกําลังเปนหนวยแพทยเฉพาะกิจรวมไทยปฏิบัตกิารเพื่อมนุษยธรรมในอินโดนีเซีย ประกอบดวยชุดแพทยเคล่ือนท่ี ๔ ชุด โดยมี พล.ต. ภูษติ รัตนธรรม เปน ผบ.หนวยแพทยเฉพาะกิจรวม ๙๖๐ ไทย/อินโดนีเซีย นพฉก.รวมฯ ไทย/อซ เคล่ือนยายออกจากประเทศไทย เม่ือ ๓๑ พ.ค. ๒๕๔๙ โดย บ. การบินไทยจํากดั (มหาชน) เท่ียวบินท่ี TG 433 ไปยังกรุงจาการตา จากน้ันเคล่ือนยายตอไปยงัพื้นท่ีปฏิบัตกิาร ณ เมืองโซโล โดย บล.๘ ซ่ึงกองทัพ อซ. จัดสนับสนุน กระบวนการจัดสงกําลังในครั้งนีใ้ชเวลาดําเนนิการท้ังส้ินเพยีง

Page 56: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๕

นพฉก.รวมฯ ไทย/อซ ไดเร่ิมปฏิบัติภารกิจสนับสนุนความชวยเหลือทางการแพทยแกผูประสบภัยตั้งแต ๑ มิ.ย. ๒๕๔๙ เปนตนมา โดยไดกาํหนดพืน้ท่ีเปาหมายในเขตเมืองโซโล และคลาเทน ซ่ึงเปนพื้นท่ีซ่ึงไดรับผลกระทบจากเหตุการณแผนดนิไหวท่ีมีจํานวนผูเสียชีวิตมากเปนลําดับสองรองจากเมืองยอคยากาตาร ในขณะท่ีความชวยเหลือจากประชาคมโลกเขาไปไมถึง ซ่ึงมีผูไดรับผลกระทบ รอคอยความชวยเหลือจาํนวนมาก สงผลให ยาและเวชภณัฑสายแพทย ท่ีเตรียมไป ไมเพียงพอตอความตองการ เพื่อเปนการบรรเทาปญหา ยก.ทหาร ไดจดัสงยาและเวชภณัฑเพิม่เติม จํานวนประมาณ ๒,๓๐๐ กก. โดย บ.ทอ.และบริษัทการบินไทย ไปสนับสนนุเม่ือ ๒ มิ.ย.๔๙

๓.๕ ประโยชนท่ีไดรับจากการเปดบทบาทดานรักษาสันตภิาพ ๓.๕.๑ สรางศักยภาพของประเทศไทยในเวทีภูมิภาคและเวทีโลก หลังจากความสําเร็จของ กกล.รักษาสันติภาพในติมอร ตอ. นับเปนการเปดบทบาทดานการรักษาสันตภิาพของไทยจนเปนท่ียอมรับในศักยภาพและบทบาทนาํดานการรักษาสันติภาพในภูมิภาค ๓.๕.๒ สรางและกระชับความสัมพนัธกับประเทศในภูมิภาคตาง อันจะเปนประโยชนตอการดําเนินนโยบายดานการตางประเทศ และดานความม่ันคง ลดความหวาดระแวงระหวางกัน อีกท้ังเปนการลดแรงกดดันท่ีเกิดจากกระแสการขยายบทบาทและอิทธิพลของกลุมความรวมมือของประเทศตะวันตก ผานบทบาทการรักษาสันติภาพ ๓.๕.๓ ในระดบักองทัพ ประโยชนโดยตรงไดแกการนํากองทัพกาวไปสูความเปนสากล สงผลใหเกิดการต่ืนตัวของกําลังพลตอสถานการณโลกในกระแสโลกาภิวัฒน สรางความรูและประสบการณในการปฏิบัติการรวมกับนานาชาติ ตั้งแตผูบังคับหนวยลงมาจนถึงกําลังพล เกดิกระแสผลักดนัดานการพัฒนากองทพัไปสูความทันสมัย และเปนการแสดงศักยภาพของกองทัพในเวทีสากล ซ่ึงเปนองคประกอบหนึ่งของพลังอํานาจของชาติ ผลพลอยไดประการหน่ึงคือ เปนการชวยเหลือใหกําลังพลช้ันผูนอยไดมีโอกาสสรางความมั่นคงดานเงินออม สงผลตอสภาพคลองทางเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง และเปนการลดปญหาหนีสิ้นกําลังพล ประเมินวากําลังพลชั้นผูนอยท่ีถูกจดัเขาไปปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพหลักไดแกในติมอร ตอ. อิรัก อัฟกานิสถาน และบุรุนดี มีจํานวนท้ังส้ินประมาณ ๖ พันกวานาย คิดเปนงบประมาณคาตอบแทนกําลังพลประมาณเกือบ ๓ แสนบาทตอกําลังพล ๑ นายตอการปฏิบัติงานในวงรอบ ๖ เดือน รวมกวา ๑,๕๐๐ ลานบาทท่ีแจกจายลงไปสูกําลังพลชั้นผูนอยโดยตรง ซ่ึงเปนปจจัยหนึ่งในการกระตุนเศรษฐกิจของชาติในภาวะชะงักงนั ๓.๕.๔ สรางโครงการความรวมมือทวิภาคีและพหภุาคีข้ึนใหม เม่ือกองทัพไทยไดรับความเช่ือถือและการยอมรับในศักยภาพและบทบาทแลว ผลประโยชนท่ีตามมาไดแกความชวยเหลือ หรือความรวมมือทวภิาคี/พหภุาคีในรูปแบบตางๆ เชน โครงการพฒันาศักยภาพดานการรักษาสันติภาพ (Enhance International Peacekeeping Capabilities: EIPC) โครงการความริเร่ิมการรักษาสันติภาพรวม (Global Peace operation initiative : GPOI) สนับสนุนโดยสหรัฐฯ โครงการความรวมมือระหวางศูนยสันตภิาพไทย และออสเตรเลีย เปนตน และความชวยเหลือในรูปแบบของท่ีนั่งศึกษาในตางประเทศ ท่ีผานมาเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง

Page 57: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๖

๓.๖ ปจจัยท่ีเปนขอจํากัด นับต้ังแตมีการจัดต้ังกองปฏิบัติการเพื่อสันติภาพข้ึนเพื่อเปนกลไกหลักในการดําเนินบทบาทดานการสนับสนุนสันติภาพของกองทัพไทย ภารกิจท่ีไทยไดรับการรองขอใหสนับสนุนกําลัง ท้ังในกรอบสหประชาชาติ และนอกกรอบ และไดรับการอนุมัติในระดับรัฐบาลให กห. จัดกําลังเขารวม สวนใหญเปนภารกจิท่ีรัฐบาล มีนโยบายชดัเจนแลวใหปฏิบัติ สําหรับภารกิจท่ีมีจุดเร่ิมตนจากการริเร่ิมของ กห. มักจะไมสามารถผลักดันไปถึงข้ันการปฏิบัติไดดวยเหตุผลดังนี้คือ ๓.๖.๑ การขาดเจตนารมณในระดับการเมืองท่ีชัดเจน (Political Will) แมนโยบายในทุกระดบัต้ังแตระดับรัฐบาลลงมาจนถึงระดับกองทัพจะถูกประกาศไวอยางชัดเจนถึงการสนับสนุนความรวมมือแกสหประชาชาติและมิตรประเทศในบทบาทดานการรักษาสันติภาพตามพันธกรณีท่ีไทยเปนสมาชิก อยางไรก็ตามในความเปนจริง การตัดสินใจสนับสนุนกําลังในภารกิจรักษาสันติภาพแตละภารกิจยังคงตองอาศัยเจตนารมยของฝายการเมืองท่ีชัดเจน เนื่องจากอํานาจการตัดสินใจสูงสุดเปนของ ครม. ท้ังการสนับสนุนกําลังเปนหนวยหรือเปนบุคคล (ซ่ึงไมใชงบประมาณของรัฐบาล) แมการสนับสนุนเหลานี้จะอยูภายใตกรอบบัญชีความพรอม (List of Capability) ท่ีไทยเสนอไวในระบบกําลังสํารองเตรียมพรอมของสหประชาชาติ (UN Standby Arrangement System – UNSAS) แลวสงผลใหกองทัพในฐานะหนวยปฏิบัติไมสามารถยืนยัน (Commit) กรอบการสนับสนุนตอการทาบทามในข้ันการวางแผนข้ันตนของฝายปฏิบัติการรักษาสันติภาพสหประชาชาติได สหประชาชาติจึงมักพิจารณาชาติท่ีมีความพรอมเชิงนโยบายมากกวา ขอจํากัดดังกลาวสงผลใหบทบาทของไทยถูกจํากัดอยูในวงแคบไมเติบโตเทาท่ีควรจะเปน ท้ังนี้สาเหตุประการหนึ่งอาจเปนเพราะวา การเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพ มักถูกหยิบยกเปนประเด็นการเมือง เชน กรณีท่ีไทยสงกําลังไปสนบัสนนุการรักษาสันติภาพในติมอร ตอ. ในหวงเร่ิมตนของภารกิจ INTERFET รัฐบาลก็ถูกโจมตีในประเด็นขอบเขตอํานาจการตัดสินใจวา ควรจะเปนของสภาผูแทนราษฎร การสงกําลังไปสนับสนุนความชวยเหลือดานมนุษยธรรมในอิรัก หรือการสนับสนุนผูสังเกตการณกระบวนการสันติภาพในอาเจห ตางถูกหยบิข้ึนเปนประเด็นทางการเมืองท้ังส้ิน ทําใหขาดความออนตัว กระบวนการพิจารณามีข้ันตอนมากใชเวลานาน หลายภารกิจไมสามารถตอบสนองการรองขอของสหประชาชาติไดทัน ๓.๖.๒ การขาดความออนตัวในกระบวนการตัดสินใจตามท่ีกลาวในขอ ๑ การที่กระบวนการตัดสินใจตองไปส้ินสุดท่ี ครม.ทุกกรณี แมการสนับสนุนผูสังเกตการณทางทหารเพียง ๑ คน โดยไมใชงบประมาณของรัฐบาลไทย สงผลใหไมสามารถกําหนดทิศทางการมีสวนรวม บทบาทของไทยในเวทีโลกจึงไมมีเสถียรภาพ ๓.๖.๓ ปจจัยงบประมาณ การสนับสนุนกําลังในภารกิจรักษาสันติภาพ หากเปนการปฏิบัตกิารในกรอบความรวมมือพันธมิตรนอกกรอบสหประชาชาติ โดยท่ัวไปจะอยูภายใตหลักการรับผิดชอบคาใชจายรวมกัน (Cost Sharing) ซ่ึงรัฐบาลจะตองสนับสนุนงบประมาณเพ่ิมเติมจากงบประมาณประจําปของกองทัพ งบประมาณจึงอาจเปนปจจัยจํากัดประการหน่ึง แตการปฏิบัติการภายใตกรอบสหประชาชาติ สหประชาชาติจะรับผิดชอบคาใชจายท้ังหมด หากมีการบริหารจัดการดานงบประมาณท่ีเหมาะสม ปญหาดานงบประมาณไมนาจะเปนปจจัยจํากัดสําหรับการเขารวมปฏิบัติการภายใตกรอบสหประชาชาติ เชน รัฐบาลอาจหาแหลงเงินยืมเพื่อจัดต้ังเปนกองทุนเงินสํารอง เพื่อการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพภายใตกรอบสหประชาชาติในรูปแบบ

Page 58: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๗

๓.๖.๔ ทัศนคตใินการเขารวมภารกิจรักษาสันติภาพ หากเปนกระบวนการตดัสินใจแบบลางข้ึนบน (Bottom-up Decision making) โดย กห.ริเร่ิมกระบวนการ จะตองผานกระบวนการตัดสินใจหลายระดับ ตั้งแตระดับกองทัพ ระดบั กห.โดยสภากลาโหม รวมถึงความเห็นชอบรวมของหนวยงานดานความม่ันคงทีเกีย่วของ เชน สมช. สตช. กต. กค. เปนตน ทุกระดับช้ัน ทุกหนวยเกี่ยวของ จะตองมีความเห็นสอดคลองกันท้ังหมด จึงจะนําไปสูข้ันตอนการอนมัุติโดย ครม. ทัศนคติตอบทบาทดานการรักษาสันติภาพจึงเปนปจจัยสําคัญจาก บทเรียนท่ีผานมามุมมองหรือทัศนคติท่ีถูกวิเคราะหเพยีงดานเดยีว อาจสงผลใหการพิจารณาการมีสวนรวมในบทบาทการรักษาสันติภาพไมเปนกลางดังนี ้ ๓.๖.๔.๑ การสนับสนุนภารกิจรักษาสันติภาพเปนการส้ินเปลืองทรัพยากรของรัฐโดย

เปลาประโยชน ขอเท็จจริง การดํารงบทบาทดานสันติภาพในเวทีภมิูภาคหรือเวทีโลก อํานวยประโยชน อยางยิ่งตอประเทศไทย กองทัพไทย หรือแมแตประชาชนชาวไทยทุกคน ท้ังนี้ ผลตอบแทนท่ีไดรับอาจเปนผลประโยชนเชิงรูปธรรมท่ีสามารถวัดผลและประเมินความคุมคาโดยทฤษฎีทางคณิตศาสตรไดเชนเงินตอบแทน หรืออาจเปนผลประโยชนเชิงนามธรรมท่ีมิสามารถประเมินคาเปนตัวเลขได ตามท่ีไดกลาวไวในชวงตน อีกท้ังประเด็นการส้ินเปลืองทรัพยากรก็เปนประเด็นการมองภาพเพียงดานเดียว ทรัพยากรท่ีใชในภารกิจรักษาสันติภาพอาจพิจารณาไดเปน ๓ หมวดหลัก ไดแก ทรัพยากรบุคคล ยุทโธปกรณและงบประมาณในประเดน็ทรัพยากรบุคคลนั้นเปนท่ีประจักษชัดมาตลอดหวงวา กองทัพไทยมีขนาดใหญโตเกินความจาํเปนในสภาวะแวดลอมดานความม่ันคงของยุคหลังสงครามเย็นท่ีสงครามขนาดใหญมีโอกาสเกิดข้ึนไดนอย สงผลใหงบประมาณกวาคร่ึงถูกใชในการดํารงสภาพกําลังพลในขณะท่ีมีความพยายามปรับโครงสรางของกองทัพใหเล็กลงมาโดยตอเนื่อง ส่ิงเหลานี้เปนตัวช้ีวัดท่ีชัดเจนวา กองทัพไทยมีศักยภาพดานกําลังพลที่จะสนับสนุนภารกิจดานการรักษาสันติภาพ หากมีการบริหารจัดการท่ีด ีโดยเฉพาะแนวทางของกองทัพไทยกาํหนดใหสนับสนนุความความชวยเหลือดานมนุษยธรรมเปนแนวทางหลักเชน หนวย ช. หนวย พ. หนวย สห. หรืองานดานกจิการพลเรือน ซ่ึงกองทัพไทยมีความเช่ียวชาญ ในมุมมองกลับกัน การสนับสนุนภารกจิรักษาสันติภาพกลับเปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพกําลังพลดวยการใหประสบการณตรงโดยกองทัพไมตองลงทุน ประเด็นอาวุธยุทโธปกรณและความเส่ือมสภาพนั้น สหประชาชาติไดจายเงินตอบแทนสําหรับคาปรนนิบัติบํารุง และคาเส่ือมสภาพของยุทโธปกรณในอัตราท่ีคุมคาและเพียงพอตอการปรนนิบัติบํารุงหรือซอมแซมฟนฟูสภาพยุทโธปกรณหรือจัดหาทดแทนไดในระดับหนึ่ง ประเด็นงบประมาณ สหประชาชาติรับผิดชอบท้ังคาตอบแทนกําลังพล คาใชจายในการปฏิบัติการ การดํารงสภาพหนวย การปรนนิบัติบํารุงและคาตอบแทนการเส่ือมสภาพของยุทโธปกรณตามอัตราคํานวณท่ีกําหนดไวเปนมาตรฐานในคูมือยุทโธปกรณยืมปฏิบัติงาน (Contingent Owned Equipment : COE) จึงมิไดเปนภาระแกกองทัพไทย

Page 59: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๘

๓.๖.๔.๒ ไทยยังคงประสบปญหาดานความม่ันคงภายในหรือประสบภัยพิบตัิธรรมชาติเปนประจําจึงไมสมควรแบงแยกทรัพยากรไปปฏบิัตภิารกิจดานการรักษาสันตภิาพ แนวความคิดดังกลาวถูกตองหากพิจารณาเพียงมิติเดียว แตหากพิจารณาองครวมของผลประโยชนของชาติแลว การปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพของกองทัพเปนกลไกหนึ่งของรัฐบาลในการดําเนนิบทบาทระหวางประเทศเพ่ือเสริมสรางพลังอํานาจของชาติ ซ่ึงจําเปนตองดําเนินควบคูไปกับบทบาทหลักดานการปองกันประเทศ บทบาทดานการรักษาความม่ันคงภายใน และบทบาทดานการพัฒนาประเทศ แตละบทบาทตางมีความจําเปนคนละดานและไมสามารถทดแทนกัน หลายประเทศท่ีกําลังดําเนินบทบาทดานการรักษาสันติภาพอยูในปจจุบัน ตางประสบปญหาภายใน เชน อินเดยี ปากีสถานท่ีมีปญหาขดัแยงตามแนวพรมแดน อินโดนเีซียประสบปญหาความขดัแยงและการแบงแยกดินแดนในติมอร ตอ. อาเจห และปญหาภัยพิบัติรุนแรงมากมาย เนปาล และบังคลาเทศ ตางประสบปญหาดานความขัดแยงทางการเมืองภายในเปนตน ๓.๖.๔.๓ การเตรียมความพรอมของกําลังรักษาสันติภาพตามมาตรฐานของสหประชาชาติ ยังคงเปนขอจํากัดประการหนึ่ง ปจจุบันการจัดและประกอบกําลังรักษาสันติภาพ จะดําเนินการใน โดยสนธิกําลังพล ยุทโธปกรณจากเหลาทัพ ความไมพรอมดานยุทโธปกรณยังคงเปนปญหาหลักท่ีประสบอยูในทุกภารกิจแนวทางแกปญหาควรมีการเตรียมกําลังไวตั้งแตยามปกติ อยางเปนข้ันตอน ดวยการวางแผน (Planning) การจัดการ (Managing) การติดอาวุธยุทโธปกรณท่ีเหมาะสม (Equipping) งบประมาณ (Budgeting) และการฝก (Training) เพ่ือใหกําลังรักษาสันติภาพของไทยมีความพรอมสามารถตอบสนองการรองขอของสหประชาชาติไดทันที เชน จีน สิงคโปร มาเลเซีย มีการจัดเตรียมหนวยรักษาสันติภาพในลักษณะกองพันคอนเทนเนอร ท่ีพรอมเคล่ือนยายไดภายใน ๑ สัปดาห เม่ือไดรับภารกิจ ความพรอมของกําลังรักษาสันติภาพเม่ือออกไปปฏิบัติการภายนอกประเทศ นับเปนดัชนีช้ีวัดศักยภาพของกองทัพ ๓.๖.๕ ปจจัยความพรอมของกําลังพลดานทักษะและองคความรู กองทัพไทยยังไมมีหลักนยิมดานการรักษาสันติภาพท่ีเปนรูปธรรม และขาดองคความรูในเร่ืองจําเปน เชน กฎหมายสิทธิมนษุยชนระหวางประเทศ กฎการปะทะ กฎหมายอาญาระหวางประเทศ แนวคิด หลักการของการปฏิบัติการรักษาสันติภาพสากล และปญหาเร่ืองภาษาสงผลใหการปฏิบัติภารกิจทุกคร้ังมีความเส่ียงเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจในพื้นท่ี กําลังพลจะตองสัมผัสกับองคกรพลเรือนตางประเทศมากมาย ซ่ึงยึดถือกฎหมายสากลเปนบรรทัดฐานการปฏิบัติงานรวมกัน

Page 60: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๕๙

สารบัญ

บทท่ี ๔ ยุทธศาสตรการดําเนินบทบาทดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย

๔.๑ ยุทธศาสตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ๔.๒ แผนการดําเนนิงานเพื่อรองรับยุทธศาสตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ๔.๓ การดําเนินการเพื่อการพัฒนาระบบงานดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในปจจุบัน

Page 61: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๐

๔. ยุทธศาสตรดานการดําเนินบทบาทดานการปฏิบตัิการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย ๔.๑ ยุทธศาสตรรองรับการเปล่ียนแปลงในทศวรรษหนา เพื่อรับมือกับแนวโนมสถานการณดานความมั่นคงในทศวรรษหนา ศสภ.ยก.ทหาร ไดกาํหนดยุทธศาสตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย ดังนี ้ ๔.๑.๑ ขยายบทบาทดานการรักษาสันติภาพของกองทัพไทยอยางสมดุลใน ๓ กรอบความรวมมือ ไดแก กรอบสหประชาชาติ กรอบความรวมมือภูมิภาค และกรอบความรวมมือกลุมประเทศพันธมิตร โดยใหความเรงดวนกบักรอบสหประชาชาติ กรอบความรวมมือภูมิภาคและกรอบความรวมมือกลุมประเทศพันธมิตรตามลําดับ ๔.๑.๒ การดําเนนิบทบาทการรักษาสันติภาพท้ัง ๓ กรอบ จะตองไดรับการช่ืนชมและยอมรับจากประชาคมโลกในแงของศักยภาพของกองกําลัง มาตรฐานการปฏิบัติงาน ระเบียบวนิัยทหาร และความรูความสามารถของกําลังพลระดับผูบังคับหนวย ๔.๑.๓ การเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพถูกกําหนดดวยกระบวนการการตัดสินใจของผูบังคับบัญชาบนพืน้ฐานของการผลิตขอพิจารณาฝายอํานวยการท่ีมาจากองคความรู หลักวชิาการ และความรอบรูตอสถานการณของโลกเปนอยางด ี

๔.๒ แผนการดาํเนนิงานเพื่อรองรับยุทธศาสตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ

เพื่อบรรลุจุดหมายยุทธศาสตร ศสภ.ยก.ทหาร ไดพัฒนาแผนการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาบทบาทดานการรักษาสันติภาพของกองทัพดวยแผนการพัฒนาศักยภาพเบ็ดเสร็จ (Peace Operations Capability’s Comprehensive Plan) ไดแก ๔.๒.๑ บทบาทดานฝายอํานวยการรักษาสันติภาพ ๔.๒.๑.๑ พัฒนาความรูความสามารถของฝายอํานวยการท่ีรับผิดชอบโดยตรงและฝายอํานวยการอ่ืนๆ ทุกภาคสวน ใหมีความรูเชิงลึกตอกลไกสันติภาพ สถานการณความขัดแยง รูรากเหงาของปญหาและสามารถวเิคราะหเช่ือมโยงกับการเปล่ียนแปลงของกระแสโลกได เพือ่ผลิตขอพิจารณาในการกําหนดทาทีของกองทัพตอความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนไดอยางแมนยาํ ๔.๒.๑.๒ พัฒนาระบบการเฝาติดตามและแจงเตือนความขัดแยงในภูมิภาคตาง ๆ เพื่อแจงเตือนเม่ือความขัดแยงมีแนวโนมจะปะทุข้ึนและมีผลกระทบตอประเทศชาติ โดยใชยุทโธปกรณท่ีมีอยูแลว เนนการพัฒนากระบวนการดาํเนินกรรมวิธีและประมวลผลขาวสารใหเปนขอมูลเชิงตัดสินใจ ๔.๒.๒ บทบาทดานการเตรียมกําลังรักษาสันติภาพ : ปจจัยสําคัญเม่ือตัดสินใจสงกําลังเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพไดแก เวลาพรอมเคล่ือนยาย และประสิทธิภาพของหนวยตามมาตรฐาน การเตรียมหนวยสําหรับภารกิจรักษาสันตภิาพจึงตองเตรียมต้ังแตภาวะปกติดวยกระบวนการฝก - ศึกษาอยางเปนระบบ กระบวนการเตรียมความพรอมของยุทโธปกรณหลัก – รอง และเตรียมแผนการเคล่ือนยายใหสามารถหยิบแผนมาใชไดทันทีท่ีเกดิภารกจิ ๔.๒.๓ บทบาทการควบคุมบังคับบัญชาหนวยในสนาม พัฒนาระบบการควบคุมบังคับบัญชา การรายงานและระบบประมวลผลรายงาน โดยใชยุทโธปกรณท่ีมีอยูเพ่ือเปนขอมูลท่ีผูบังคับบัญชานําไปใชไดและเพือ่ประกนัวาการปฏิบัตภิารกิจของ กกล.กองทัพไทย ณ ตางประเทศอยูภายใตการกํากบัดแูละเชิงนโยบายจากกองทัพไทย

Page 62: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๑

๔.๒.๔ บทบาทดานการฝก – ศึกษา : ในฐานะท่ีมี ศสภ.ยก.ทหาร เปนหนวยรับผิดชอบในฐานะเปน ศูนยฝกอบรมดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย ศสภ.ยก.ทหาร จึงตองกําหนดแผนงานเชิงรุกดานการฝก – ศึกษา เพ่ือเตรียมความพรอมของกําลังท้ังประเภทบุคคลและประเภทหนวย โดยพัฒนาหลักสูตรดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพเพื่อรองรับในระดับตางๆ อยางเปนระบบ ภายใตมาตรฐานหลักสูตรของสหประชาชาติ ตั้งแตการฝกอบรมสัมมนาสันติภาพนานาชาติ สําหรับผูปฏิบัติงานระดับสูง หลักสูตรฝกอบรมฝายอํานวยการปฏิบัติงานใน บก.กกล.รักษาสันติภาพ หลักสูตรผูสังเกตการณทางทหาร จนกระท่ังหลักสูตรการฝกเปนหนวยขนาดเล็กทางยุทธวิธีสําหรับระดับผูปฏิบัติการ เพื่อประกันวากําลังรักษาสันติภาพไดรับการเตรียมความพรอมอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานท่ีสหประชาชาติกําหนด นอกจากนั้นยังตองกําหนดเปาหมายระยะปานกลางโดยการผลักดันให ศสภ.ยก.ทหาร ขยายบทบาทไปสูการเปนศูนยฝกอบรมการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพระดบัภูมิภาค (Regional Penance Operation Training Center) รวมกัน เปนเครือขายรวมกับประเทศอ่ืนๆ ในภูมิภาค เชน มาเลเซีย ออสเตรเลีย เปนตน ๔.๒.๕ บทบาทการเปนศูนยกลางวิชาการดานสันตภิาพ : ศสภ.ยก.ทหาร ตองกําหนดแผนงานระยะยาว โดยจะพัฒนาบทบาทใหสามารถเปนศูนยกลางวิชาการ (Center of Excellence) โดยการวิจยั พฒันาและจดัทําหลักนิยมดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ ระเบียบปฏิบัตปิระจํา (SOP) รวบรวม วเิคราะห วิจยั บทเรียนจากปฏิบัติการท่ีผานมา เพื่อพัฒนาหลักนิยมและยุทธวิธีในการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพท่ีมีประสิทธิภาพและทันสมัยอยางตอเนื่อง

๔.๓ ความคืบหนาในการดําเนินการตามแผนการพัฒนาศักยภาพเบ็ดเสร็จ การนําแผนไปสูการปฏิบัติเพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายทางยุทธศาสตรนับเปนข้ันตอนท่ีทาทาย ท้ังนี้เนื่องจากแผนการดําเนนิงานทุกแผนงานจะตองบรรลุวัตถุประสงคและดําเนินไปอยางสอดคลองกัน อีกท้ังตองสามารถวดัผลความคืบหนาในภาพรวมของยุทธศาสตรตามหวงเวลาได ศสภ.ยก.ทหาร จึงไดกาํหนดปฏิทินการดาํเนินงานหวงป ๕๐ – ๕๑ โดยมีผลผลิต (Output) และผลลัพธ (Outcome) ท่ีเปนรูปธรรมเปนดัชนีช้ีวดัประสิทธิภาพของแตละแผนงาน โดยเร่ิมตนท่ีระบบและขยายผลไปจนถึงองคประกอบตางๆ สรุปไดดังนี ้ ๔.๓.๑ การพัฒนาระบบงานดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อใหแผนการดําเนินงานดงักลาวขางตน มีการดําเนนิการอยางเปนรูปธรรม มีความชัดเจน ลดความซับซอนลง และประกันวาทุกสวนราชการท่ีเกีย่วของมีความเขาใจตรงกนั และดําเนินการไดอยางประสานสอดคลองกัน ศสภ.ยก.ทหาร จงึไดเชิญผูแทนหนวยท่ีเกีย่วของท้ังหมดจากสภาความมัน่คงแหงชาติ กระทรวงการตางประเทศ สํานักงบประมาณ สํานักนโยบายและแผนกลาโหม กรมยทุธการ ๓ เหลาทัพ และกรมฝายเสนาธิการรวม บก.ทหารสูงสุด เขารวมประชุมเพื่อพัฒนาระบบงานดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เม่ือวันท่ี ๒๑ พ.ย.๔๙ เพื่อหาแนวทางในการบริหารทรัพยากรอันจํากดันีอ้ยางไดผล และไดรับการสนบัสนุนจาก ผูท่ีเกีย่วของอยางเหมาะสมท่ีสุด กําหนดเปนแนวทางการพัฒนาระบบการปฏิบัติการรักษาสันติภาพกองทัพไทย ดังมีรายละเอียดสําคัญของการประชุมสรุปไดดังน้ี

Page 63: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๒

๔.๓.๑.๑ กําหนดข้ันตอนการพิจารณาจัดสง กําลังพล/หนวย เขารวมการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพสนับสนุนสหประชาชาติและมิตรประเทศ

● กรณีเปนบคุคล เม่ือสหประชาชาติสงคํารองขอการสนับสนุนกําลังพล เขารวมในภารกิจฯ ผานกระทรวงการตางประเทศมาท่ีกระทรวงกลาโหม/กองบัญชาการทหารสูงสุด เพื่อใหพิจารณาเห็นชอบแลวจึงเสนอเร่ืองใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัตหิลักการสงกําลังพลดังกลาว แลวจึงตอบกลับสหประชาชาติ และใหกระทรวงกลาโหม /กองบัญชาการทหารสูงสุด ประสานงานกับสหประชาชาติในรายละเอียดตอไป

● กรณีเปนหนวย เม่ือสหประชาชาติสงคํารองขอการสนับสนุนกองกําลังเขารวมภารกจิฯ กระทรวงการตางประเทศจะมีหนังสือกราบเรียนนายกรัฐมนตรีกอนเพื่อขออนุมัติหลักการสงกําลังฯ จากนั้นกระทรวงการตางประเทศ จะนาํเร่ืองเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการประสานงานดานการเขารวมในปฏิบตัิการรักษาสันตภิาพของสหประชาชาติ (คณะกรรมการฯ นี้ จัดต้ังข้ึนเม่ือป ๒๕๓๘ โดยมีอธิบดีกรมองคการระหวางประเทศเปนประธาน ประกอบดวยผูแทนกรมภูมิภาคและหนวยงานท่ีเกี่ยวของจาก กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย สภาความม่ันคงแหงชาติ สํานกังานตํารวจแหงชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และสํานักงบประมาณ) เพือ่พิจารณาความเหมาะสมในการสนับสนุน หากท่ีประชุมมีมติใหสงกองกําลังเขารวม กระทรวงการตางประเทศจะนําเร่ืองเสนอเขาคณะรัฐมนตรีพิจารณา แลวจึงตอบกลับสหประชาชาติ และใหกระทรวง กลาโหม /กองบัญชาการทหารสูงสุด ประสานงานกับสหประชาชาติในรายละเอียดตอไป ท้ังนี้รวมไปถึงการทําความตกลงกับสํานกังบประมาณในการขออนุมัติงบประมาณในการจัดสงกองกําลัง

Page 64: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๓

๔.๓.๑.๒ งบประมาณในการพัฒนาบุคลากร/หนวย และเตรียมความพรอมตามระบบบัญชีกําลังเตรียมพรอมสหประชาชาติ (UNSAS, UN Standby Arrangement System) ท่ีประชุมฯ มีมติใหกองทัพเสนอความตองการงบประมาณสวนนีไ้วในแผนงบประมาณปกติของกองทัพ ตามสัดสวนกําลังในระบบกําลังเตรียมพรอมฯ สวนงบประมาณท่ีจะใชในการจัดสงกําลัง และจะไดรับการจาย (Reimburse) คืนจากสหประชาชาติในภายหลังนั้น ใหกองทัพขอรับการสนับสนุนจากงบกลางของรัฐบาล โดยใหสัมพันธกับประเภทและจํานวนของหนวยกําลังเตรียมพรอมในบัญชีกําลังเตรียมพรอมฯ ดังนั้นบัญชีกําลังเตรียมพรอมฯ จึงเปนปจจัยหลักในการพจิารณาในเร่ืองอ่ืนๆ ท้ังการจัดเตรียมหนวย การฝกอบรม และการเตรียมการดานงบประมาณ ท่ีประชุมฯ จึงมีมติใหกองทัพปรับปรุงบัญชีกําลังเตรียมพรอมฯ ใหสมบูรณท้ังเนื้อหา และการเตรียมการอยางเปนรูปธรรม ท้ังนี้ท่ีประชุมฯ ยังมีขอสังเกตรวมกันวา ในการจดัสงกําลังสนับสนุนภารกิจสหประชาชาติใหม ๆ ควรเร่ิมจากการสงกําลังพลเปนบุคคลเชนผูสังเกตการณทางทหารไปกอน เพื่อเปนการหาขอมูลเพื่อใชในการพิจารณาสงกําลังระดับหนวยตอไปภายหลัง ซ่ึงจะทําใหข้ันตอนการจัดสงกําลังเปนหนวยงายข้ึน และเพิ่มโอกาสท่ีกําลังพลของกองทัพไทยจะไดรับการคัดเลือกไปปฏิบัติงานที่แผนกปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ (DPKO, Department of Peacekeeping Operations) อันจะเปนผลดีตอการจัดสงกําลังของกองทัพไทยในภาพรวมดวย ๔.๓.๑.๓ การพัฒนากําลังคน ท่ีประชุมฯ ขอใหกองทัพใหความสําคัญกับการฝกอบรม บุคลากร/หนวยท่ีอยูในระบบกําลังเตรียมพรอมฯ ใหมีขีดความสามารถพรอมปฏิบัติงานอยางแทจริง

๔.๓.๑.๔ สภาความม่ันคงแหงชาติ ไดนําสรุปแนวทางการพัฒนาระบบงานดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพดังกลาว กราบเรียน นายกรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลว เม่ือวันท่ี ๑๕ ก.พ.๕๐ และให บก.ทหารสูงสุด จัดทํารายละเอียดแผนการพัฒนาระบบงานดานการปฏิบัติการเพ่ือสันติภาพใหรอบดาน เสนอ สมช. พิจารณาความเหมาะสม และยึดถือปฏิบัตติอไป

Page 65: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๔

๔.๓.๒ การจัดทําระบบบัญชีพรอมเรียกปฏิบัติงาน (On – Call List) ดําเนินการแลวเสร็จในไตรมาสท่ี ๑ ของปงบประมาณ ๕๐ ระบบดังกลาวจะทําใหกองทัพสามารถตอบสนองคําขอเรงดวนของสหประชาชาติในการสนับสนุนกําลังพลประเภทบุคคลและอํานวยใหสามารถวางแผนการพัฒนาศักยภาพของกําลังพลเปนบุคคลดวยระบบการฝกศึกษาไดอยางเปนระบบ และสามารถบริหารกําลังพลหรือหมุนเวยีนกาํลังพลไดอยางมีประสิทธิภาพ ๔.๓.๓ การจัดหลักนยิมการปฏิบัตกิารเพื่อสันติภาพของกองทัพไทย ศสภ.ยก.ทหาร ตระหนักถึงความจําเปนท่ีกองทัพจําเปนตองมีหลักนิยมดานการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อเปนหลักการพื้นฐาน (Fundamental Principle) กําหนดแนวทางท่ีจําเปน (Essential Guidance) ในการปฏิบัติใหกับหนวยท่ีเกี่ยวของกับภารกิจรักษาสันติภาพ กําหนดแนวความคิดในการบริหารทรัพยากรทางทหารในภารกจิรักษาสันติภาพ และกําหนดกรอบแนวทางการปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพใหมีมาตรฐานเดียวกัน ทัง้นี้ หลักนิยมดังกลาวจะตองมาจากระบวนการทางวิชาการ จึงไดกําหนดแผนในการดําเนินโครงการวจิัยเพื่อจัดทําหลักนิยมใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณ ๕๐ ๔.๓.๔ การจัดทําระเบียบปฏิบัติประจํา (Standard Operating Procedure : SOP) ในการอํานวยการภารกิจรักษาสันติภาพ ซ่ึงกําหนดปฏิทินการดําเนินการปงบประมาณ ๕๐ เชนกัน SOP ดังกลาวจะเปนคูมือฉบับแรกของกองทัพไทยทีก่ําหนดกลไกการดําเนนิงานและความรับผิดชอบของฝายอํานวยการสายงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับภารกจิรักษาสันติภาพ ไดแก การกําลังพล การขาว การยุทธการ การสงกําลัง การเงินและงบประมาณ การติดตอส่ือสารและการควบคุมบังคับบัญชา กลไกการประสานงาน โดยจะครอบคลุมตั้งแตข้ันตอนการวางแผน การเตรียมกําลัง การเคล่ือนยายกําลัง การปฏิบัติการของ กกล.ในสนาม จนกระท่ังการเคล่ือนยายกําลังกลับ ๔.๓.๕ การยกระดับสมาชิกภาพของไทยในระบบกําลังเตรียมพรอมของสหประชาชาติ (UNSAS) เพื่อขยายโอกาสของกองทัพในการเขารวมในภารกิจรักษาสันติภาพในลักษณะท่ีกองทัพสามารถกําหนดบทบาทการมีสวนรวมได ศสภ.ยก.ทหาร จึงกําหนดแผนในการยกระดับสมาชิกภาพของไทยในระบบกําลังเตรียมพรอมข้ึนไปสูระดับ ๒ โดยมีแผนในการเสนอหนวยประเภท รอย.ช. (กอสรางหลายบทบาท) และ พัน.ร.เบา เขาสูระบบ UNSAS ซ่ึงมีแผนจะเร่ิมกระบวนการตรวจสอบความพรอม วิเคราะหปจจยัท่ีเกี่ยวของ จนถึงการจัดทําขอมูลทางเทคนิคของหนวยท้ัง ๒ ประเภท เพื่อเสนอสหประชาชาติในการปรับระดับสมาชิกภาพในหวงไตรมาสท่ี ๓ ของป ๕๐ ๔.๓.๖ เปาหมายเชิงผลผลิตปงบประมาณ ๒๕๕๑ เม่ือส้ินสุดปงบประมาณ ๕๐ โครงสรางท่ีจําเปนตอกระบวนการพัฒนาศักยภาพดานการรักษาสันติภาพจะถูกวางรากฐานไวอยางม่ันคง เกิดผลผลิตท่ีเกดิข้ึนจากแผนงานตางๆ อันไดแก ระบบ On – Call List, UNSAS, SOP, กลไกการประสานงานกบัสวนราชการในและนอกประเทศ เพื่อเปนเคร่ืองมือขยายผลไปสูแผนงานการพฒันาในข้ันตอไป โดยในป ๕๑ ไดกาํหนดไวดังนี ้ ๔.๓.๖.๑ โครงการพัฒนาระบบเฝาติดตามและแจงเตือนสถานการณความขัดแยงในภูมิภาคตางๆ ท่ีอาจมีผลกระทบตอกองทัพ โดยเนนการพัฒนาระบบการรวบรวมติดตาม วิเคราะห และประมวลขอมูลขาวสาร เพื่อเปนขอมูลเชิงตัดสินใจ เพื่อใหกระบวนการตัดสินใจของผูบังคับบัญชาในการกาํหนดจดุยนืของกองทัพตอสถานการณตางๆ ท่ีเกิดขึน้มีความแมนยําและตอบสนองตอประโยชนสูงสุดของชาติ

Page 66: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๕

๔.๓.๖.๒ โครงการพัฒนาศักยภาพและความพรอมของกําลังในระบบ UNSAS การยกระดับสมาชิกภาพในระบบ UNSAS ยอมหมายถึงระดับพันธกรณีท่ีมีตอสหประชาชาติเพิ่มสูงข้ึนดวย กองทัพจะตองประกนัวากาํลังท่ีเตรียมไวมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับของสหประชาชาติ ท้ังประสิทธิภาพของกําลังพล มาตรฐานอาวุธยุทโธปกรณ และพรอมเคล่ือนยายเขาปฏิบัติการในระยะเวลาตอบสนองที่กําหนด ศสภ.ฯ ไดกําหนดแผนงานในการพัฒนากําลังในระบบ UNSAS ไว ๒ ข้ันตอน ข้ันท่ี ๑ จัดหายุทโธปกรณท่ีจําเปนระยะเรงดวน โดยมีแผนจะดําเนนิการในป ๕๑ ประกอบดวยการจัดหาเคร่ืองแตงกายและยุทโธปกรณประจําตัวทหาร ยุทโธปกรณท่ีจําเปนสําหรับการดํารงสภาพหนวย (Self Sustainment) ท้ังนี้ ยุทโธปกรณท่ีจัดหาจะตองทนทานตอสภาพแวดลอมท่ีแตกตางกันในแตละภูมิภาค มีความสามารถในการปองกนั และมีมาตรฐานตามท่ีสหประชาชาติกําหนด ข้ันท่ี ๒ จะพัฒนาใหเปนหนวยท่ีมีความพรอม สามารถเคล่ือนยายไดรวดเร็ว (Rapid Deployable Unit) โดยจัดอุปกรณ เคร่ืองใชท่ีจาํเปนท้ังระดับตัวบุคคล และการดํารงสภาพระดบัหนวย บรรจพุรอมใชงานในตูคอนเทนเนอร ในลักษณะพรอมยกขนเพ่ือขนสงทางอากาศยานหรือเรือ และสามารถสถาปนาความเปนหนวย ณ ฐานปฏิบัติการไดทันท ี และหากเปนไปไดจะพัฒนาไปสูระดับท่ีทุกสวนท้ังหนวยพรอมเคล่ือนยาย และปฏิบัติงาน โดยการปรับปรุงใหมีคุณสมบตัิมาตรฐานไดแก มีความพรอมตั้งแตภาวะปกติ (Availability) ความสามารถในการสถาปนาและวางกําลัง (Employability and Deployability) ความพรอมในการปฏิบัติ (Readiness) ความออนตัว (Flexibility) การเช่ือมตอ (Connectivity) โดยจัดทําโมดูลยอยสําเร็จรูปท่ีมีลักษณะสําเร็จรูป (Prefabricate Module) บรรจุในคอนเทนเนอร มีแหลงพลังงานของตนเอง (Self – Energized Module) แตละโมดูลสามารถเช่ือมตอกันไดงาย ประกอบดวย

- ระบบสํานักงาน ระบบการติดตอส่ือสารและหองประชุม (Office and Communication System) - ระบบท่ีพัก หองน้ํา/หองสวม (Accommodation and Lavatory System) - ระบบบริการกาํลังพล สันทนาการ ซักรีด (Welfare, Recreation and laundry System) - ระบบการประกอบเล้ียงและหองรับประทานอาหาร (Catering and Mess System) - ระบบการรักษาพยาบาลประจําหนวย (Basic Medical Service System) - ระบบรักษาความปลอดภัยและอุปกรณเคร่ืองมือ (Field Defence and General Equipment Stores) - ระบบไฟฟา ประปา เคร่ืองกําเนิดไฟฟา (Electrical and Water Supply System) ปจจุบันอยูในระหวางการดําเนินโครงการวิจัยเพื่อจดัทําหนวยตนแบบ ศึกษาความเปนไปได และความคุมคา

Page 67: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๖

บทสงทาย เนื่องจากเอกสารฉบับนี้ยังอยูในรูปแบบของเอกสารตนแบบ อีกท้ังเนือ้หาภายในประกอบดวยขอมูลขางในรูปแบบขอเท็จจริงและบทวิเคราะห เพื่อความสมบูรณของเอกสาร อันจะนําไปสูการจัดทําหลักนิยมและระเบียบปฏิบัติประจําในโอกาสตอไป ศสภ.ยก.ทหาร หวังวาจะไดรับคําแนะนํา ขอคิดเห็นขอสังเกตตอเนื้อหา หรือการแลกเปล่ียนมุมมองจากทานผูอานในประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ เพื่อใหเกิดการปรับปรุงเนือ้หาตอไป ท้ังนี้ กรุณาติดตอ พนัเอก ณฐัพล แสงจนัทร กองปฏิบัติการ ศูนยปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ กรมยุทธการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด โทร. ๐ ๒๕๗๕ ๖๐๖๒, ๐ ๒๕๗๒ ๑๓๒๖ – ๗ ตอ ๓๐๐ – ๓๐๑ โทร.ทหาร ๕๗๒๑๓๒๖ – ๗ ตอ ๓๐๐ – ๓๐๑

-----------------------------------------

ผนวก ก กฎบัตรสหประชาชาติ ข โครงสรางและกลไกการปฏิบัติงานของแผนกปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (UNDPKO)

Page 68: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๗

ผนวก ก กฎบัตรสหประชาชาต ิกฎบัตรสหประชาชาต ิ

------------------ เราบรรดาประชาชนแหงสหประชาชาติไดตั้งเจตจาํนงท่ีจะชวยชนรุนหลังใหพนจากภยัพิบัติแหงสงคราม ซ่ึงไดนําความวิปโยคอยางสุดจะพรรณนามาสูมนุษยชาติในช่ัวชีวิตของเราถึงสองคร้ังแลว และ ท่ีจะยืนยนัความเช่ือม่ันในสิทธิมนุษยชนอันเปนหลักมูลในเกียรติศักดิ์และคุณคาของมนษุยบุคคลในสิทธิอันเทาเทียมกนัของบุรุษและสตรี และของประชาชาติใหญนอย และท่ีจะสถาปนาภาวการณอันจะธํารงไวซ่ึงความยุติธรรม และความเคารพตอขอผูกพันท้ังหลายอันเกิดจากสนธิสัญญาและท่ีมาอ่ืนๆ ของกฎหมายระหวางประเทศ และที่จะสงเสริมความกาวหนาทางสังคม และมาตรฐานแหงชีวิตอันดยีิ่งข้ึนในอิสรภาพที่กวางขวางยิ่งข้ึน และเพื่อจุดมุงหมายปลายทางเหลานี้ท่ีจะปฏิบัติการผอนส้ันผอนยาว และดํารงชีวติอยูดวยกันในสันติภาพ เยี่ยงเพือ่นบานท่ีด ีและท่ีจะรวมกําลังของเราเพ่ือธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ และท่ีจะใหความแนนนอนใจวาจะไมมีการใชกําลังอาวุธนอกจากเพื่อประโยชนรวมกัน โดยการยอมรับหลักการและวิธีการท่ีตั้งข้ึน และท่ีจะใชจักรกลระหวางประเทศสําหรับสงเสริมความรุดหนาในทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนทั้งปวง จึงไดลงมติท่ีจะผสมผสานความพยายามของเราในอันท่ีจะใหสําเร็จผลตามความมุงหมายเหลานี ้ โดยนัยนี ้รัฐบาลของเราโดยลําดับจึงไดตกลงกันตามกฎบัตรสหประชาชาติฉบับปจจุบัน โดยทางผูแทนท่ีมารวมชุมนุมในนครซานฟรานซิสโก ซ่ึงไดแสดงหนังสือมอบอํานาจเต็มของตนอันไดตรวจแลววาเปนไปตามแบบท่ีดแีละถูกตอง และ ณ ท่ีนี้ จึงสถาปนาองคการระหวางประเทศข้ึน เรียกวา สหประชาชาติ

หมวดท่ี ๑ ความมุงหมายและหลักการ

มาตรา ๑

ความมุงหมายของสหประชาชาติ ดังนี ้ ๑. เพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ และเพื่อจดุหมายปลายทางนัน้ จะไดดําเนนิมาตรการรวมกันอันมีผลจริงจังเพื่อการปองกันและการขจัดปดเปาการคุกคามตอสันติภาพ และเพื่อปราบปรามการกระทําการรุกรานหรือการละเมิดอ่ืน ๆ ตอสันติภาพ และนํามาซ่ึงการแกไขหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณระหวางประเทศอันอาจนําไปสูการละเมิดสันติภาพ โดยสันติวิธีและสอดคลองกับหลักการแหงความยุติธรรมและกฎหมายระหวางประเทศ ๒. เพื่อพฒันาความสัมพันธฉันมิตรระหวางประชาชาติท้ังหลายโดยยดึการเคารพตอหลักการ แหงสิทธิท่ีเทาเทียมกนัและการกําหนดเจตจํานงของตนเองแหงประชาชนท้ังหลายเปนมูลฐาน และจะดําเนินมาตรการอ่ืนๆ อันเหมาะสมเพ่ือเปนกาํลังแกสันติภาพสากล

Page 69: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๘

๓. เพื่อใหบรรลุถึงการรวมมือระหวางประเทศ ในอันท่ีจะแกปญหาระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม หรือมนุษยธรรมและในการสงเสริมและสนับสนุนการเคารพตอสิทธิมนุษยชน และตออิสรภาพอันเปนหลักมลูสําหรับทุกคน โดยไมเลือกปฏิบัติในเร่ืองเช้ือชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา และ ๔. เพื่อเปนศูนยกลางสําหรับประสานการดําเนนิการของประชาชาติท้ังหลายใหกลมกลืนกัน ในอันท่ีจะบรรลุจุดหมายปลายทางรวมกันเหลานี ้

มาตรา ๒

เพื่ออนุวัติตามความมุงประสงคดังกลาวในมาตรา ๑ องคการฯ และสมาชิกขององคการฯ จะดําเนินการโดยสอดคลองกับหลักการดงัตอไปนี ้ ๑. องคการฯ ยึดหลักการแหงความเสมอภาคในอธิปไตยของสมาชิกท้ังปวงเปนมูลฐาน ๒. เพื่อทําความแนใจใหแกสมาชิกท้ังปวงในสิทธิและผลประโยชนอันพงึไดรับจากสมาชิกภาพสมาชกิท้ังปวงจะตองปฏิบัติตามขอผูกพันซ่ึงตนยอมรับตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันโดยสุจริตใจ ๓. สมาชิกท้ังปวงจะตองระงับกรณีพิพาทระหวางประเทศของตนโดยสันติวิธี ในลักษณะการเชนท่ีจะไมเปนอันตรายแกสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ และความยุติธรรม ๔. ในความสัมพนัธระหวางประเทศ สมาชิกท้ังปวงจะตองละเวนการคุกคามหรือการใชกําลังตอบูรณภาพแหงอาณาเขต หรือเอกราชทางการเมืองของรัฐใดๆ หรือการกระทําในลักษณะการอ่ืนใดท่ีไมสอดคลองกับความมุงประสงคของสหประชาชาติ ๕. สมาชิกท้ังปวงจะตองใหความชวยเหลือทุกประการแกสหประชาชาติในการกระทําใดๆ ท่ีดําเนินไปตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน และจะตองละเวนการใหความชวยเหลือแกรัฐใดๆ ท่ีกําลังถูกสหประชาชาติดําเนินการปองกันหรือบังคับอยู ๖. องคการฯ จะตองใหความแนนอนใจวา รัฐท่ีมิไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติจะปฏิบัติโดยสอด คลองกับหลักการเหลานี้เทาท่ีจําเปนเพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ ๗. ไมมีขอความใดในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันจะใหอํานาจแกสหประชาชาติเขาแทรกแซงในเร่ืองซ่ึงโดยสาระสําคัญแลวตกอยูในเขตอํานาจภายในของรัฐใดๆ หรือจะเรียกใหสมาชิกเสนอเร่ืองเชนวาเพ่ือการระงับตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันแตหลักการนี้จะตองไมกระทบกระเทือนตอการใชมาตรการบังคับตามหมวดท่ี ๗

หมวดท่ี ๒ สมาชิกภาพ มาตรา ๓

สมาชิกดั้งเดิมของสหประชาชาต ิไดแกรัฐซ่ึงลงนามในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันและใหสัตยาบันตามขอ ๑๑๐ โดยไดเขารวมในการประชุมสหประชาชาตวิาดวยองคการระหวางประเทศท่ีซานฟรานซิสโก หรือไดลงนามไวกอนในปฏิญญาโดยสหประชาชาติ ลงวนัท่ี ๑ มกราคม ค.ศ.๑๙๔๒ แลว

Page 70: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๖๙

มาตรา ๔

๑. สมาชิกภาพแหงสหประชาชาติเปดใหแกรัฐท่ีรักสันติภาพท้ังปวง ซ่ึงยอมรับขอผูกพันท่ีมีอยูในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน และในการวินจิฉัยขององคการฯ เหน็วามีความสามารถและเต็มใจท่ีจะปฏิบัติตามขอผูกพัน เหลานี้ ๒. การรับรัฐใดๆ เชนวานั้นเขาเปนสมาชิกของสหประชาชาติจะเปนผลก็แตโดยมติของสมัชชาฯ ตามคําแนะนําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ

มาตรา ๕

สมาชิกของสหประชาชาติท่ีไดถูกคณะมนตรีความม่ันคงฯ ดําเนนิการในทางปองกนัหรือบังคับ อาจถูกสมัชชาฯ ส่ังงดใชสิทธิและเอกสิทธิแหงสมาชิกภาพไดตามคําแนะนําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจคืนการใชสิทธิและเอกสิทธิเหลานี้ใหได

มาตรา ๖

สมาชิกของสหประชาชาต ิซ่ึงไดละเมิดหลักการอันมีอยูในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันอยูเปนเนืองนิจอาจถูกขับไลออกจากองคการฯ โดยสมัชชาตามคําแนะนําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ

หมวดท่ี ๓ องคกร มาตรา ๗

๑. องคกรสําคัญของสหประชาชาติท่ีไดสถาปนาข้ึน มีสมัชชาฯ คณะมนตรีความม่ันคงฯ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ และสํานักเลขาธิการ ๒. องคกรยอยอาจสถาปนาข้ึนไดตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจบัุนตามความจาํเปน

มาตรา ๘

สหประชาชาติจะไมวางขอกาํกัดในการรับบุรุษและสตรีเขารวมในองคกรสําคัญ และองคกรยอยของสหประชาชาติไมวาในฐานะใด ๆ และตองอยูภายใตเง่ือนไขแหงความเสมอภาค

Page 71: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๐

หมวดท่ี ๔ สมัชชาฯ

องคประกอบ มาตรา ๙

๑. สมัชชาฯ ตองประกอบดวยสมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติ ๒. สมาชิกแตละประเทศจะมีผูแทนในสมัชชาฯ ไดไมมากกวาหาคน

หนาท่ีและอํานาจ มาตรา ๑๐

สมัชชาอาจอภปิรายปญหาใด ๆ หรือเร่ืองใด ๆ ภายใน ขอบขายแหงกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน หรือท่ีเกี่ยวโยงไปถึงอํานาจและหนาท่ีขององคการใดๆ ตามท่ีบัญญัติไวในกฎบัตรฉบับปจจุบันได และอาจทําคํา แนะนําไปยังสมาชิกของสหประชาชาติ หรือคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือท้ังสองแหงในปญหาหรือเร่ืองราวใด ๆ เชนวานัน้ได เวนแตท่ีไดบัญญัติไวในมาตรา ๑๒

มาตรา ๑๑

๑. สมัชชาฯ อาจพิจารณาหลักการท่ัวไปแหงความรวมมือ ในการธํารงไว ซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ รวมท้ังหลักการควบคุมการลดอาวุธและการควบคุมกาํลังอาวุธ และอาจทําคําแนะนําเกี่ยวกับหลักการเชนวาไปยังสมาชิก หรือคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือท้ังสองแหงก็ได ๒. สมัชชาฯ อาจอภิปรายปญหาใดๆ เกี่ยวกับการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศอันไดเสนอตอสมัชชาฯ โดยสมาชิกใดๆ ของสหประชาชาติ หรือโดยคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือโดยรัฐท่ีมิใชสมาชิกของสหประชาชาติตามมาตรา ๓๕วรรค ๒ และ เวนแตท่ีไดบัญญัติไวในมาตรา ๑๒ อาจทําคํา แนะนําเกีย่วกบัปญหาใด ๆ เชนวานัน้ไปยงัรัฐหนึง่หรือหลายรัฐท่ีเกี่ยวของ หรือคณะรัฐมนตรีความมัน่คงฯ หรือท้ังสองแหงก็ได สมัชชาฯ จะตองสงปญหาใดๆ เชนวา ซ่ึงจําเปนตองดําเนินการไปยังคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะเปนกอนหรือหลังการอภิปรายก็ได ๓. สมัชชาฯ อาจแจงใหคณะมนตรีความม่ันคงฯ ทราบสถานการณซ่ึงนาจะเปนอันตรายตอสันติภาพและความมัน่คงระหวางประเทศ ๔. อํานาจของสมัชชาฯ ตามท่ีกาํหนดไวในขอนี้จะตองไมจาํกัดขอบขายท่ัวไปของมาตรา ๑๐

Page 72: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๑

มาตรา ๑๒

๑. ในขณะท่ีคณะมนตรีความม่ันคงฯ กําลังปฏิบัติหนาท่ีเกีย่วกับกรณพีิพาทหรือสถานการณใดๆ อันไดรับมอบหมายตามกฎบัตรฉบับปจจุบันอยูนั้น สมัชชาฯ จะตองไมทําคําแนะนําใดๆ เกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณนั้น นอกจากคณะมนตรีความมั่นคงฯ จะรองขอ ๒. โดยความยินยอมของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เลขาธิการฯ จะตองแจงใหสมัชชาฯ ทราบทุกสมัยประชุมถึงเร่ืองราวใดๆ เกี่ยวกับการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมัน่คงระหวางประเทศ ซ่ึงคณะมนตรีความม่ันคงฯ กําลังดําเนินการอยู และในทํานองเดียวกันจะตองแจงสมัชชาฯ หรือสมาชิกของสหประชาชาติ ในกรณีท่ีสมัชชาฯ มิไดอยูในสมัยประชุมใหทราบในทันทีท่ีคณะมนตรีความม่ันคงฯ หยุดดําเนินการในเร่ืองเชนวานั้น

มาตรา ๑๓

๑. สมัชชาฯ จะตองริเร่ิมการศึกษาและทําคําแนะนําเพื่อความมุงประสงคในการ ก. สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศในดานการเมือง และสนับสนนุพฒันาการกาวหนาของกฎหมายระหวางประเทศและการประมวลกฎหมายน้ี ข. สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม การศึกษาและอนามัย และชวยเหลือใหไดรับสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพอันเปนหลักมูลสําหรับทุกคน โดยไมเลือกปฏิบัติในเร่ืองเช้ือชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ๒. ความรับผิดชอบ หนาท่ี และอํานาจตอไปของสมัชชาฯ เกี่ยวกับเร่ืองท่ีระบุไวในวรรค ๑ (ข) ขางตน ไดกําหนดไวในหมวดท่ี ๙ และ ๑๐

มาตรา ๑๔

ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของมาตรา ๑๒ สมัชชาฯอาจแนะนํามาตรการเพ่ือการปรับปรุง สถานการณใดๆ โดยสันติ เม่ือเห็นวานาจะเส่ือมเสียแกสวัสดกิารท่ัวไป หรือความสัมพันธฉันมิตรระหวางประชาชาติท้ังหลาย รวมทั้งสถานการณซ่ึงเปนผลการละเมดิบทบัญญัติของกฎบัตรฯ ฉบับปจจบัุน อันไดกาํหนดความมุงประสงคและหลักการของสหประชาชาติไว ท้ังนี้โดยมิตองคํานึงถึงแหลงกําเนิด

มาตรา ๑๕

๑. สมัชชาฯ จะตองรับและพิจารณารายงานประจําปและรายงานพิเศษจากคณะมนตรีความม่ันคงฯ รายงานเหลานี้จะตองรวมรายละเอียดเก่ียวกับมาตรการตางๆ ท่ีคณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดวินิจฉัยหรือดําเนินการไปเพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ

Page 73: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๒

๒. สมัชชาฯ จะตองรับและพิจารณารายงานจากองคกรอ่ืนๆ ของสหประชาชาติ

มาตรา ๑๖

สมัชชาฯ จะตองปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวกับระบบภาวะทรัสตีระหวางประเทศ ดังท่ีไดรับมอบหมายตามหมวดท่ี ๑๒ และ ๑๓ รวมท้ังเกีย่วกับความเหน็ชอบเร่ืองความตกลงภาวะทรัสตีสําหรับดินแดนท่ีมิไดกําหนดวาเปนเขตยุทธศาสตร

มาตรา ๑๗

๑. สมัชชาฯ จะตองพิจารณาและใหความเห็นชอบแกงบประมาณขององคกรฯ ๒. สมาชิกจะตองเปนผูออกคาใชจายขององคการฯ ตามสวนท่ีสมัชชาฯ ไดกําหนดให ๓. สมัชชาฯ จะตองพิจารณาและใหความเห็นชอบแกขอตกลงใด ๆ ทางการเงินและงบประมาณกับทบวงการชํานัญพิเศษดังกลาวไวในมาตรา ๕๗ และจะตองตรวจสอบงบประมาณดานบริหารของทบวงการชํานัญพิเศษดังกลาว เพื่อท่ีจะทําคําแนะนําตอทบวงการท่ีเกีย่วของ

การลงคะแนนเสียง มาตรา ๑๘

๑. สมาชิกแตละประเทศของสมัชชาฯ จะมีคะแนนเสียงหนึ่งคะแนน ๒. คําวินิจฉัยของสมัชชาฯ ในปญหาสําคัญๆ จะตองกระทําโดยเสียงขางมากสองในสามของสมาชิกท่ีมาประชุมและลงคะแนนเสียง ปญหาเหลานีจ้ะตองรวมคําแนะนําเกีย่วกบัการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไมประจําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม การเลือกต้ังสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตีตาม วรรค ๑ (ค) ของมาตรา ๘๖ การรับสมาชิกใหมของสหประชาชาติ การงดใชสิทธิ และเอกสิทธิแหงสมาชิกภาพ การขับไลสมาชิกปญหาเกี่ยวกับการดําเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปญหางบประมาณ ๓. คําวินิจฉัยปญหาอ่ืนๆ รวมท้ังการกําหนดประเภทแหงปญหาท่ีจะตองวินิจฉัยดวยเสียงขางมากสองในสามเพิ่มเติมนั้น จะตองกระทําโดยเสียงขางมากของสมาชิกท่ีมาประชุมและลงคะแนนเสียง

มาตรา ๑๙

สมาชิกของสหประชาชาติท่ีคางชําระเงินคาบํารุงแกองคการฯ ยอมไมมีสิทธิลงคะแนนเสียงในสมัชชาฯ ถาจํานวนเงินคางชําระเทาหรือมากกวาจํานวนเงินคาบํารุงท่ีถึงกําหนดชําระสําหรับสองปเต็มท่ีลวงมา อยางไรก็ตาม

Page 74: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๓

วิธีดําเนินการประชุม

มาตรา ๒๐

สมัชชาฯ จะตองประชุมกันในสมัยประชุมสามัญประจําป และในสมัยประชุมพิเศษ เชนโอกาสท่ีจําเปนเลขาธิการจะเรียกประชุมสมัยพิเศษตามคํารองขอของคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือของสมาชิกขางมากของสหประชาชาติ

มาตรา ๒๑

สมัชชาฯ จะกาํหนดระเบียบขอบังคับการประชุมของตนเอง ท้ังจะเลือกตั้งประธานสมัชชาฯ สําหรับแตละสมัยประชุมดวย

มาตรา ๒๒

สมัชชาฯ อาจสถาปนาองคกรยอยเชนท่ีเหน็จําเปน สําหรับการปฏิบัติหนาท่ีของตนก็ได

หมวดท่ี ๕ คณะมนตรีความมั่นคงฯ

องคประกอบ มาตรา ๒๓

๑. คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองประกอบดวยสมาชกิของสหประชาชาติสิบหาประเทศ สาธารณรัฐจีน ฝร่ังเศส สหภาพสาธารณรัฐสังคมนยิมโซเวยีต สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ และสหรัฐอเมริกา จะเปนสมาชิกประจําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ สมัชชาฯจะตองเลือกตั้งสมาชิกอ่ืนของสหประชาชาติ อีกสิบประเทศ เปนสมาชิกไมประจําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ท้ังนี้จะตองคํานึงเปนพิเศษในประการแรกถึงสวนเกื้อกูลของสมาชิกของสหประชาชาติ ตอการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ และความมุงประสงคอ่ืนๆ ขององคการ ฯ และทั้งการแจกกระจายตามเขตภูมิศาสตรอยางเปนธรรมอีกดวย ๒. สมาชิกไมประจําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองไดรับเลือกตั้ง มีกําหนดเวลาสองป ในการเลือกตัง้คร้ังแรกของสมาชกิไมประจํา หลังจากการเพิ่มจํานวนสมาชิกของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จากสิบเอ็ด

Page 75: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๔

๓. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะมีผูแทนไดหนึ่งคน

หนาท่ีและอํานาจ มาตรา ๒๔

๑. เพื่อประกนัการดําเนินการของสหประชาชาติอยางทันทวงทีและเปนผลจริงจัง สมาชิกของสหประชาชาติจึงมอบความรับผิดชอบช้ันตนสําหรับการ ธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศใหแกคณะมนตรีความม่ันคงฯ และตกลงวาในการปฏิบัตหินาท่ีของตนตามความรับผิดชอบน้ี คณะมนตรีความม่ันคงฯ กระทําในนามของสมาชิก ๒. ในการปฏิบัตหินาท่ีเหลานี ้คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองกระทําตามความมุงประสงคและหลักการของสหประชาชาติ อํานาจเฉพาะท่ีมอบใหคณะมนตรีความมั่นคงฯ สําหรับการปฏิบัติหนาท่ีเหลานี้ ไดกําหนดไวในหมวดท่ี ๖, ๗, ๘ และ ๑๒ ๓. คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองเสนอรายงานประจําป และรายงานพิเศษเม่ือจําเปนตอสมัชชาฯ เพื่อการพิจารณา

มาตรา ๒๕

สมาชิกของสหประชาชาติ ตกลงยอมรับและปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน

มาตรา ๒๖

เพื่อสงเสริมการสถาปนา และการธํารงไวซ่ึงสันติภาพ และความมัน่คงระหวางประเทศ โดยการผันแปรทรัพยากรทางมนุษยชนและทางเศรษฐกิจของโลกมาใชเพื่อเปนกําลังอาวุธใหนอยท่ีสุด คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองรับผิดชอบในการกําหนดแผนซ่ึงจะเสนอตอสมาชิกของสหประชาชาติเพื่อการสถาปนาระบบอันหนึ่ง สําหรับการควบคุมกําลังอาวุธ ท้ังนี้ดวยความชวยเหลือ ของคณะกรรมการ

เสนาธิการทหารตามท่ีระบุไวในมาตรา ๔๗ การลงคะแนนเสียง

มาตรา ๒๗

๑. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะมีคะแนนเสียงหนึ่งคะแนน

Page 76: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๕

๒. คําวินจิฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ในเร่ืองวิธีดําเนนิการ จะตองกระทําโดยคะแนนเสียงเหน็ชอบของสมาชิกเกาประเทศ ๓. คําวินิจฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ในเร่ืองอ่ืนท้ังหมดจะตองกระทําโดยคะแนนเสียงเห็นชอบของสมาชิกเกาประเทศ ซ่ึงรวมคะแนนเสียงเห็นพองกันของบรรดาสมาชิกประจําอยูดวย โดยมีเง่ือนไขวาในคําวินิจฉัยตามหมวดท่ี ๖ และตามวรรค ๓ ของมาตรา ๕๒ ผูเปนฝายหนึ่งในกรณีพิพาทจะตองงดเวนจากการลงคะแนนเสียง

วิธีดําเนินการประชุม มาตรา ๒๘

๑. คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองกอตัง้ข้ึนในลักษณะท่ีสามารถปฏิบัตหินาท่ีไดโดยตอเนื่อง เพื่อความมุงประสงคนี้สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะมีผูแทนประจาํอยูทุกเวลา ณ ท่ีตั้งขององคการฯ ๒. คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะประชุมกันเปนคร้ังคราว สมาชิกแตละประเทศถาปรารถนาก็อาจใหเจาหนาท่ีของรัฐบาล หรือผูแทนอ่ืนท่ีไดกําหนดตวัเปนพิเศษ เปนผูแทนของตนเขารวมประชุมนั้นได ๓. คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจประชุม ณ สถานท่ีอ่ืนนอกไปจากท่ีตั้งขององคการฯ หากวนิิจฉัยวาจะอํานวยความสะดวกแกงานของตนไดดีท่ีสุด

มาตรา ๒๙

คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจสถาปนาองคกรยอยเชนท่ีเห็นจําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาท่ีของตน

มาตรา ๓๐

คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะกําหนดระเบียบขอบังคับการประชุมของตนเอง รวมท้ังวิธีคัดเลือกประธานของตนดวย

มาตรา ๓๑

สมาชิกใด ๆ ของสหประชาชาติซ่ึงมิไดเปนสมาชิกของคณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจเขารวมในการอภิปรายปญหาใด ๆ ท่ีจะนํามาสูคณะมนตรีความม่ันคงฯไดโดยไมมีคะแนนเสียง เม่ือคณะมนตรีความม่ันคงฯพิจารณาวาผลประโยชนของสมาชิกนั้นไดรับความกระทบกระเทือนเปนพิเศษ

Page 77: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๖

มาตรา ๓๒

สมาชิกใด ๆ ของสหประชาชาติซ่ึงมิไดเปนสมาชิกของคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือรัฐใดๆ ท่ีมิไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติ หากตกเปนฝายหนึ่งในกรณีพิพาทซ่ึงอยูภายใตการพิจารณาของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองไดรับเชิญใหเขารวมในการอภิปรายเกี่ยวกับกรณีพิพาทนั้นดวยโดยไมมีคะแนนเสียงคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองกําหนดเงื่อนไขเชนท่ีเห็นวายุติธรรมสําหรับการเขารวมในการอภิปรายของรัฐท่ีมิไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติ

หมวดท่ี ๖ การระงับกรณีพิพาทโดยสันต ิ

มาตรา ๓๓

๑. ผูเปนฝายในกรณีพิพาทใด ๆ ซ่ึงหากดําเนินอยูตอไปนาจะเปนอันตรายแกการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ กอนอ่ืนจะตองแสวงหาทางแกไขโดยการเจรจา การไตสวน การไกลเกล่ียการประนีประนอมอนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การอาศัยทบวงการตัวแทนสวนภูมิภาคหรือขอตกลงสวนภูมิภาค หรือสันติวิธีอ่ืนใดท่ีคูกรณีจะพึงเลือก ๒. เม่ือเห็นวาจําเปน คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองเรียกรองใหคูพิพาทระงับกรณีพพิาทของตนโดยวิธีเชนวานั้น

มาตรา ๓๔

คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจสืบสวนกรณพีิพาทใดๆ หรือสถานการณใดๆ ซ่ึงอาจนําไปสูการกระทบ กระท่ังระหวางประเทศ หรือกอใหเกิดกรณีพิพาท เพื่อกาํหนดลงไปวาการดําเนนิอยูตอไปของกรณีพิพาทหรือสถานการณนั้นๆ นาจะเปนอันตรายแกการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศหรือไม

มาตรา ๓๕

๑. สมาชิกใดๆ ของสหประชาชาติอาจนํากรณพีิพาทใดๆ หรือสถานการณใดๆ อันมีลักษณะตามท่ีกลาวถึงในมาตรา ๓๔ มาเสนอคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือสมัชชาฯ ได ๒. รัฐท่ีมิไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติอาจนํากรณีพพิาทใดๆ ซ่ึงตนเปนฝายหนึ่งในกรณีพพิาทมาเสนอคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือสมัชชาฯ ได ถารัฐนั้นยอมรับลวงหนาซ่ึงขอผูกพันเกีย่วกับการระงับกรณีพิพาทโดยสันติตามท่ีบัญญัตไิวในกฎบัตรฉบับปจจุบันเพือ่ความมุงประสงคในการระงับกรณีพพิาท

Page 78: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๗

๓. การดําเนนิการพิจารณาของสมัชชาฯ ในเร่ืองท่ีเสนอข้ึนมาตามขอนี้ ตองอยูภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของมาตรา ๑๑ และ ๑๒

มาตรา ๓๖

๑. คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจแนะนาํวิธีดําเนนิการหรือวิธีการปรับปรุงแกไขท่ีเหมาะสมได ไมวาในระยะใดๆ แหงการพิพาทอันมีลักษณะตามท่ีกลาวถึงในมาตรา ๓๓ หรือแหงสถานการณอันมีลักษณะทํานองเดียวกนันั้น ๒. คณะมนตรีความม่ันคงฯ ควรพิจารณาวิธีดาํเนินการใดๆ เพื่อระงับกรณพีิพาทซ่ึงคูพิพาทไดรับปฏิบัติแลว ๓. ในการทําคําแนะนําตามขอนี ้คณะมนตรีความม่ันคงฯ ควรพิจารณาดวยวา กรณีพพิาทในทางกฎหมายนั้นตามหลักท่ัวไป ควรใหคูพพิาทเสนอตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญของศาลนั้น

มาตรา ๓๗

๑. หากผูเปนฝายในกรณีพิพาทอันมีลักษณะตามท่ีกลาวถึงในมาตรา ๓๓ ไมสามารถระงับกรณพีิพาทไดโดยวิธีระบุไวในขอนั้นแลว ใหเสนอเร่ืองนั้นตอคณะมนตรีความม่ันคงฯ ๒. ถาคณะมนตรีความม่ันคงฯ เห็นวา โดยพฤติการณการดําเนินตอไปแหงกรณีพิพาทนาจะเปนอันตรายตอการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศแลวกใ็หวนิิจฉัยวาจะดําเนินการตามมาตรา ๓๖ หรือจะแนะนาํขอกําหนดในการระงับกรณีพิพาทเชนท่ีอาจพิจารณาเห็นเหมาะสม

มาตรา ๓๘

โดยไมกระทบกระเทือนตอบทบัญญัติแหงมาตรา ๓๓ ถึง ๓๗ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจทําคําแนะนําแกคูพิพาทดวยความมุงหมายในการระงับกรณีพพิาทโดยสันติ หากผูเปนฝายท้ังปวงในกรณีพิพาทใดๆ รองขอเชนนั้น

หมวดท่ี ๗ การดําเนินการเก่ียวกับการคุกคามตอสันตภิาพ การละเมิดสันติภาพ และการกระทําการรุกราน

มาตรา ๓๙

คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองกําหนดวา การคุกคามตอสันติภาพการละเมิดสันติภาพ หรือการกระทําการรุกรานไดมีข้ึนหรือไม และจะตองทําคําแนะนําหรือวนิิจฉัยวาจะใชมาตรการใดตามมาตรา ๔๑ และ ๔๒ เพื่อธํารงไวหรือสถาปนากลับคืนมาซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ

Page 79: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๘

มาตรา ๔๐

เพื่อปองกันมิใหสถานการณทวีความรายแรงยิ่งข้ึน คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจเรียกรองใหคูกรณีพิพาทท่ีเกีย่วของอนุวัตตามมาตรการช่ัวคราวเชนท่ีเห็นจําเปนหรือพึงปรารถนา กอนท่ีจะทําคําแนะนํา หรือวินิจฉัยมาตรการตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๓๙ มาตรการชั่วคราวเชนวานี้จะตองไมกระทบกระเทือนตอสิทธิ สิทธิเรียกรองหรือฐานะของคูพิพาทท่ีเกีย่วของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองคํานึงถึงการไมสามารถอนุวัตตามมาตรการช่ัวคราวเชนวานั้นตามสมควร

มาตรา ๔๑

คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจวินิจฉัยวา จะตองใชมาตรการใด อันไมมีการใชกําลังอาวุธ เพื่อใหเกิดผลตามคําวินิจฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ และอาจเรียกรองใหสมาชิกของสหประชาชาติใชมาตรการเชนวานัน้มาตรการเหลานี้อาจรวมถึงการหยดุชะงักซ่ึงความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และการคมนาคม ทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย ทางโทรเลข ทางวิทย ุและวิถีทางคมนาคมอยางอ่ืนโดยส้ินเชิงหรือแตบางสวน และการตัดความสัมพันธทางการทูตดวย

มาตรา ๔๒

หากคณะมนตรีความม่ันคงฯ พิจารณาวา มาตรการตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๔๑ จะไมเพยีงพอหรือไดพิสูจนแลววาไมเพียงพอ คณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจดําเนนิการใชกําลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดิน เชนท่ีอาจเห็นจําเปนเพื่อธํารงไวหรือสถาปนากลับคืนมาซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ การดําเนนิการเชนวานี้อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปดลอมและการปฏิบัติการอยางอ่ืนโดยกําลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดิน ของบรรดาสมาชิกของสหประชาชาติ

มาตรา ๔๓

๑. เพื่อไดมีสวนเกื้อกูลในการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ สมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติ รับท่ีจะจัดสรรกําลังอาวุธ ความชวยเหลือ และความสะดวก รวมท้ังสิทธิในการผานดินแดนตามท่ีจําเปน เพื่อความมุงประสงคในการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ ใหแกคณะมนตรีความม่ันคงฯ เม่ือคณะมนตรีความม่ันคงฯ เรียกรองและเปนไปตามความตกลงพิเศษฉบับเดยีวหรือหลายฉบบั ๒. ความตกลงฉบับเดียวหรือหลายฉบับเชนวานั้น จะตองกําหนดจํานวนและประเภทของกําลังข้ันแหงการเตรียมพรอมและท่ีตั้งโดยท่ัวไปของกําลังและลักษณะของความสะดวกและความชวยเหลือท่ีจะจดัหาให

Page 80: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๗๙

๓. ใหดําเนินการเจรจาทําความตกลงฉบับเดียวหรือหลายฉบับนั้นโดยความริเร่ิมของคณะมนตรีความม่ันคงฯ โดยเร็วท่ีสุดเทาท่ีจะทําได ความตกลงเหลานีจ้ะตองทํากนัระหวางคณะมนตรีความม่ันคงฯ และสมาชิก หรือระหวางคณะมนตรีความม่ันคงฯ และกลุมสมาชิก และจะตองไดรับการสัตยาบันโดยรัฐท่ีลงนามตามกระบวนการทางรัฐธรรมนูญของรัฐเหลานั้น

มาตรา ๔๔

เม่ือคณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดวินจิฉัยท่ีจะใชกําลังแลว กอนท่ีจะเรียกรองใหสมาชิกซ่ึงมิไดมีผูแทนอยูในคณะมนตรีความม่ันคงฯ จัดสงกาํลังทหารเพือ่การปฏิบัติตามขอผูกพันท่ีไดยอมรับตามมาตรา ๔๓ คณะมนตรีความม่ันคงฯจะตองเชิญสมาชิกนั้นใหเขารวมในการวินจิฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เกี่ยวกับการใชกองกําลังทหารของสมาชิกนั้น หากสมาชิกนั้นปรารถนาเชนนัน้

มาตรา ๔๕

เพื่อใหสหประชาชาติสามารถดําเนินมาตรการทางทหารไดโดยดวน สมาชิกจะตองจดัสรรกองกําลังทางอากาศแหงชาติไวใหพรักพรอมโดยทันทีเพื่อการดําเนนิการบังคับระหวางประเทศรวมกัน กําลังและข้ันแหงการเตรียมพรอมของกองกําลังเหลานี ้ และแผนการสําหรับการดํา เนนิการรวมจะตองกําหนดโดยคณะมนตรีความม่ันคงฯ ดวยความชวยเหลือของคณะกรรมการเสนาธิการทหาร ท้ังนีภ้ายในขอบเขตท่ีวางไวในความตกลงพิเศษฉบับเดียวหรือหลายฉบับท่ีอางถึงในมาตรา ๔๓

มาตรา ๔๖

แผนการสําหรับการใชสําหรับทหารจะตองจัดทําโดยคณะมนตรีความม่ันคงฯ ดวยความชวยเหลือของคณะกรรมการเสนาธิการทหาร

มาตรา ๔๗

๑. ใหจัดสถาปนาคณะกรรมการเสนาธิการทหารข้ึนคณะหนึ่งเพื่อใหคําปรึกษาและชวยเหลือคณะมนตรีความม่ันคงฯ ในปญหาท้ังปวงท่ีเกี่ยวกับความตองการทางทหารของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เพ่ือการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ การใชและการบังคับบัญชากําลังทหารท่ีมอบใหอยูในอํานาจจัดการของคณะมนตรีฯ การควบคุมกําลังอาวุธ และการลดอาวุธอันจะพึงเปนไปได ๒. คณะกรรมการเสนาธิการทหารจะตองประกอบดวยเสนาธิการทหารของสมาชิกประจาํของคณะมนตรีความม่ันคงฯ หรือผูแทนของบุคคลเหลานี้คณะกรรมการฯ จะตองเชิญสมาชิกของสหประชาชาติ ท่ีมิไดมีผูแทนประจําอยูในคณะกรรมการฯ เขารวมงานกับคณะกรรมการฯ ดวย เม่ือการปฏิบัติหนาท่ีตามความ

Page 81: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๐

๓. คณะกรรมการเสนาธิการทหารจะตองรับผิดชอบภายใตคณะมนตรีความม่ันคงฯ สําหรับการบัญชา การทางยุทธศาสตรเกี่ยวกับการใชกําลังทหารใดๆ ซ่ึงไดมอบไวใหอยูในอํานาจจัดการของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เร่ืองเกี่ยวกบัการบังคับบัญชาทหารเชนวานั้นจะไดดําเนินการในภายหลัง ๔. คณะกรรมการเสนาธิการทหารอาจสถาปนาคณะอนุกรรมการสวนภมิูภาคข้ึนได ท้ังนี้โดยไดรับมอบอํานาจจากคณะมนตรีความม่ันคงฯ และหลังจากไดปรึกษาหารือกับทบวงการตัวแทนสวนภูมิภาคท่ีเหมาะสมแลว

มาตรา ๔๘

๑. การดําเนนิการที่จําเปนเพื่อปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เพื่อการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศจะตองกระทําโดยสมาชิกของสหประชาชาติท้ังปวงหรือแตบางประเทศ ตามแตคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะพึงกําหนด ๒. คําวินิจฉัยเชนวานั้นจะตองปฏิบัติตามโดยสมาชิกของสหประชาชาติโดยตรง และโดยผานการดําเนินการของสมาชิกเหลานั้นในทบวงการตัวแทนระหวางประเทศท่ีเหมาะสมซ่ึงตนเปนสมาชิกอยู

มาตรา ๔๙

สมาชิกของสหประชาชาติจะตองรวมกนัอํานวยความชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรการท่ีคณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดวินจิฉัยไวแลว

มาตรา ๕๐

หากคณะมนตรีความม่ันคงฯ ไดดําเนินมาตรการปองกันหรือบังคับตอรัฐใดรัฐอ่ืนไมวาจะเปนสมาชิกของสหประชาชาติหรือไม ซ่ึงตองเผชิญกับปญหาพิเศษทางเศรษฐกิจท่ีเกิดจากการปฏิบัติตามมาตรการเหลานั้น ยอมมีสิทธิท่ีจะปรึกษาหารือกับคณะมนตรีความม่ันคงฯ เกีย่วกับวิธีแกไขปญหาเหลานัน้

มาตรา ๕๑

ไมมีขอความใดในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันจะลิดรอนสิทธิประจําตัวในการปองกันตนเองโดยลําพังหรือโดยรวมกัน หากการโจมตีดวยกําลังอาวุธบังเกิดแกสมาชิกของสหประชาชาติ จนกวาคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะไดดําเนินมาตรการท่ีจําเปนเพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ มาตรการที่สมาชิกไดดําเนินไปในการใชสิทธิปองกันตนเองนี้จะตองรายงานใหคณะมนตรีความมั่นคงฯ ทราบโดยทันที และจะ

Page 82: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๑

หมวดท่ี ๘

ขอตกลงสวนภูมิภาค มาตรา ๕๒

๑. ไมมีขอความใดในกฎบัตรฉบับปจจุบันท่ีกดีกันการมีขอตกลงสวนภูมิภาคหรือทบวงการตัวแทนสวนภูมิภาค เพื่อการจัดการเร่ืองท่ีเกีย่วกับการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศเชนท่ีเหมาะสมสําหรับการดําเนินการสวนภมิูภาค โดยมีเง่ือนไขวา ขอตกลงหรือทบวงการตัวแทนเชนวาและกิจกรรมนั้น ๆ สอดคลองกับความมุงประสงคและหลักการของสหประชาชาติ ๒. สมาชิกของสหประชาชาติ ท่ีเขารวมในขอตกลงเชนวานั้นหรือประกอบข้ึนเปนทบวงการตัวแทนเชนวานั้น จะตองพยายามทกุวิถีทางท่ีจะบรรลุถึงการระงับกรณีพิพาทแหงทองถ่ินโดยสันติ โดยอาศัยขอตกลงสวนภูมิภาคหรือโดยทบวงการตวัแทนสวนภูมิภาคเชนวานั้น กอนท่ีจะเสนอกรณีพิพาทเหลานั้นไปยังคณะมนตรีความม่ันคงฯ ๓. คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองสนับสนุนพัฒนาการเก่ียวกับการระงับกรณีพิพาทแหงทองถ่ินโดยสันติ โดยอาศัยขอตกลงสวนภูมิภาคหรือทบวงการตัวแทนสวนภูมิภาคเชนวานั้น ไมวาจะเปนการริเร่ิมของรัฐท่ีเกี่ยวของหรือโดยการเสนอเร่ืองมาจากคณะมนตรีความม่ันคงฯ ๔. ขอนี้ไมทําใหเส่ือมเสียโดยประการใดๆ ตอการนํามาตรา ๓๔ และ ๓๕ มาใชบังคับ

มาตรา ๕๓

๑. เม่ือเห็นเหมาะสม คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองใชประโยชนจากขอตกลงสวนภูมิภาคหรือทบวงการตัวแทนสวนภูมิภาคเชนวานั้น เพื่อการดําเนินการบังคับภายใตอํานาจของตน แตจะมีการดําเนนิการบังคับตามขอตกลงสวนภูมิภาคหรือโดยทบวงการตวัแทนสวนภูมิภาค โดยปราศจากการมอบอํานาจของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ไมได โดยมีขอยกเวนเกีย่วกับมาตรการท่ีกระทําตอรัฐศัตรู ดังท่ีนิยามไวในวรรค ๒ แหงขอนี้ ซ่ึงไดบัญญัติไวโดยอนุวตัตามขอ ๑๐๗ หรือในขอตกลงสวนภูมิภาค ซ่ึงตอตานการร้ือฟนนโยบายรุกรานของรัฐศัตรูเชนวานัน้จนกวาจะถึงเวลาท่ีองคการฯ อาจเขารับผิดชอบเพื่อปองกนัการรุกรานตอไปโดยรัฐศัตรูเชนวาตามคํารองของรัฐบาลท่ีเกี่ยวของ ๒. คําวารัฐศัตรูท่ีใชในวรรค ๑ แหงขอนีย้อมนํามาใชกับรัฐใดๆ ซ่ึงในระหวางสงครามโลกคร้ังท่ีสองไดเปนศัตรูของรัฐท่ีลงนามในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน

Page 83: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๒

มาตรา ๕๔

คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะตองไดรับแจงโดยครบถวนตลอดเวลาถึงกิจกรรมท่ีไดกระทําไป หรืออยูในความดําริตามขอตกลงสวนภูมิภาคหรือโดยทบวงการตวัแทนสวนภูมิภาค เพื่อการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ

หมวดท่ี ๙ ความรวมมือระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ และสังคม

มาตรา ๕๕

ดวยความมุงหมายในการสถาปนาภาวการณแหงเสถียรภาพและความเปนอยูท่ีดี ซ่ึงจาํเปนสําหรับความ สัมพันธโดยสันติและโดยฉันมิตรระหวางประชาชาติท้ังหลาย โดยยึดความเคารพตอหลักการแหงสิทธิอันเทาเทียมกนัและการกําหนดเจตจาํนงของตนเองของประชาชนเปนมูลฐานสหประชาชาติจะตองสงเสริม ก. มาตรฐานการครองชีพท่ีสูงข้ึน การมีงานทําโดยท่ัวถึง และภาวการณแหงความกาวหนาและพัฒนา การทางเศรษฐกิจและสังคม ข. การแกไขปญหาระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม อนามัย และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของ และความรวมมือระหวางประเทศทางวัฒนธรรมและการศึกษา และ ค. การเคารพโดยสากล และการปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพอันเปนหลักมูลสําหรับทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติในเร่ืองเช้ือชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา

มาตรา ๕๖

สมาชิกท้ังปวงใหคําม่ันวาตนจะดําเนินการรวมกันและแยกกัน ในการรวมมือกับองคการฯ เพื่อใหบรรลุความมุงประสงคท่ีกําหนดไวในมาตรา ๕๕

มาตรา ๕๗

๑. ทบวงการชํานญัพิเศษตาง ๆ ท่ีไดสถาปนาข้ึน โดยความตกลงระหวางรัฐบาล และมีความรับผิดชอบระหวางประเทศอยางกวางขวางทางเศรษฐกิจ สังคม วฒันธรรม การศึกษา อนามัยและอ่ืนๆ ท่ีเกีย่วของ ดังไดนิยามไวในตราสารกอต้ังของตน จะ ตองนาํเขามาสูความสัมพันธกับสหประชาชาติตามบทบัญญัติของมาตรา ๖๓

Page 84: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๓

๒. ทบวงการตัวแทนเชนวานี้ดวยเหตุท่ีไดนําเขามาสูความสัมพันธกับสหประชาชาติ ตอไปในท่ีนีจ้ะเรียกวา ทบวงการชํานัญพิเศษ

มาตรา ๕๘

องคการฯ จะตองนําคําแนะนาํสําหรับการประสานนโยบายและกิจกรรมของทบวงการชํานัญพิเศษ

มาตรา ๕๙

เม่ือเห็นเหมาะสม องคการฯ จะตองริเร่ิมการเจรจาระหวางรัฐท่ีเกี่ยวของ เพื่อการกอต้ังทบวงการชํานัญพิเศษใหมใด ๆ อันจําเปนเพือ่ใหสําเร็จตามความมุงประสงคท่ีกําหนดไวในมาตรา ๕๕

มาตรา ๖๐

ความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาท่ีขององคการฯ ตามที่กําหนดไวในหมวดนี้จะตองมอบใหแกสมัชชาฯ และภายใตอํานาจของสมัชชาฯ แกคณะมนตรีเศรษฐกจิและสังคม ซ่ึงจะตองมีอํานาจเพ่ือความมุงประสงคนี้ตามท่ีกําหนดไวในหมวดท่ี ๑๐

หมวดท่ี ๑๐

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม องคประกอบ มาตรา ๖๑

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจะตองประกอบดวยสมาชิกของสหประชาชาติหาสิบส่ีประเทศซ่ึงเลือกตั้งข้ึนโดยสมัชชาฯ ๒. ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของวรรค ๓ แตละปสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมสิบแปดประเทศจะไดรับเลือกตั้งเปนกําหนดเวลาสามป สมาชิกท่ีกําลังพนตําแหนงมีสิทธิเขารับเลือกตั้งซํ้าทันที ๓. ในการเลือกตัง้คร้ังแรกหลังจากเพ่ิมจํานวนสมาชิกในคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จากย่ีสิบเจด็ประเทศเปนหาสิบส่ีประเทศ นอกจากสมาชิกทีไ่ดรับเลือกเพือ่แทนท่ีสมาชิกเกาประเทศซ่ึงกําหนดเวลาดํารงตําแหนงจะส้ินสุดลงในปลายปนั้นแลว จะไดเลือกสมาชิกเพิ่มข้ึนอีกยี่สิบเจ็ดประเทศ สมาชิกท่ีไดรับเลือกเพิ่มข้ึนยี่สิบเจด็ประเทศนี ้ กําหนดเวลาดํารงตําแหนงของสมาชิกเกาประเทศที่ไดรับเลือกจะส้ินสุดลงในปลายปแรก และของสมาชิกอีกเกาประเทศจะส้ินสุดลงในปลายปท่ีสอง ตามขอตกลงท่ีสมัชชาฯไดทําไว ๔. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจะมีผูแทนไดหนึ่งคน

Page 85: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๔

หนาท่ีและอํานาจ มาตรา ๖๒

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม อาจทําหรือริเร่ิมการศึกษาและรายงานเกี่ยวกับเร่ืองระหวางประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษาอนามัยและอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของ และอาจทําคําแนะนําเกีย่วกับเร่ืองเชนวานั้นเสนอตอสมัชชาฯ ตอสมาชิกของสหประชาชาติ และตอทบวงการชํานัญพิเศษท่ีเกีย่วของ ๒. คณะมนตรีฯ อาจทําคําแนะนาํเพื่อความมุงประสงคท่ีจะสงเสริมการเคารพ และการปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพอันเปนหลักมูลสําหรับทุกคน ๓. คณะมนตรีฯ อาจจัดเตรียมรางอนุสัญญา เพื่อเสนอตอสมัชชาฯเ กีย่วกบัเร่ือท้ังหลายที่อยูในขอบเขตอํานาจของคณะมนตรีฯ ๔. คณะมนตรีฯ อาจเรียกประชมุระหวางประเทศ ในเร่ืองท้ังหลายท่ีตกอยูในขอบเขตอํานาจของคณะมนตรีฯ ตามขอบังคับท่ีสหประชาชาติกําหนดไว

มาตรา ๖๓

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม อาจเขาทําความตกลงกับทบวงการตัวแทนใดๆ ท่ีอางถึงในมาตรา ๕๗ ซ่ึงวางขอกําหนดในการนําทบวงการตัวแทนท่ีเกีย่วของเขามาสูความสัมพันธกบัสหประชาชาติ ความตกลงเชนวานัน้จะตองไดรับความเหน็ชอบจากสมัชชาฯ ๒. คณะมนตรีฯ อาจประสานกิจกรรมของทบวงการชํานัญพิเศษโดยการปรึกษาหารือ และการทําคําแนะนําตอทบวงการตัวแทนเชนวานั้นและโดยการทําคําแนะนําตอสมัชชาฯ และตอสมาชิกของสหประชาชาต ิ

มาตรา ๖๔

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมอาจดําเนินการท่ีเหมาะสมเพ่ือใหไดรับรายงานโดยสม่ําเสมอจากทบวงการชํานัญพิเศษ คณะมนตรีอาจทําขอตกลงกับสมาชิกของสหประชาชาติและกับทบวงการชํานัญพิเศษ เพื่อใหไดรับรายงานเกี่ยวกับการดําเนินการซ่ึงไดทําไปแลว เพือ่ใหบังเกดิผลตามคําแนะนําของตนและตามคํา แนะนําของสมัชชาฯ ในเร่ืองท่ีตกอยูในขอบเขตอํานาจของคณะมนตรีฯ ๒. คณะมนตรีฯ อาจแจงขอสังเกตของตนเก่ียวกับรายงานเหลานี้ตอสมัชชาฯ

Page 86: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๕

มาตรา ๖๕

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม อาจจัดหาขอสนเทศใหแกคณะมนตรีความม่ันคงฯ และจะตองชวยเหลือคณะมนตรีความม่ันคงฯ ในเมื่อคณะมนตรีความม่ันคงฯ รองขอ

มาตรา ๖๖

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจะตองปฏิบัติหนาท่ีท่ีตกอยูในขอบเขตอํานาจของตนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคําแนะนําของสมัชชาฯ ๒. ดวยความเห็นชอบของสมัชชาฯ คณะมนตรีฯ อาจปฏิบัติการตามคํารองขอของสมาชิกของสหประชาชาต ิและตามคํารองขอของทบวงการชํานัญพิเศษ ๓. คณะมนตรีฯ จะปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนเชนท่ีระบุไวในท่ีอ่ืนใดในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันหรือเชนท่ีสมัชชาฯ อาจมอบหมายให

การลงคะแนนเสียง มาตรา ๖๗

๑. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จะมีคะแนนเสียงหนึ่งคะแนน ๒. คําวินิจฉัยของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จะตองกระทําโดยเสียงขางมากของสมาชิกท่ีมาประชุมและลงคะแนนเสียง

วิธีดําเนินการประชุม มาตรา ๖๘

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจะตองจดัต้ังคณะกรรมาธิการตาง ๆ ทางเศรษฐกิจและสังคม และสําหรับการสงเสริมสิทธิมนุษยชน และคณะกรรมาธิการอื่นเชนท่ีอาจจําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาท่ีของตน

มาตรา ๖๙

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จะตองเชิญสมาชิกใดๆ ของสหประชาชาติใหเขารวมโดยไมมีคะแนนเสียง ในการพจิารณาของคณะมนตรีฯ ในเร่ืองใดๆ ซ่ึงเกี่ยวของโดยเฉพาะกับสมาชิกนั้น

Page 87: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๖

มาตรา ๗๐

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม อาจทําขอตกลงสําหรับผูแทนของทบวงการชํานัญพิเศษ ท่ีจะเขารวมโดยไมมีคะแนนเสียงในการพิจารณาของคณะมนตรีฯ และในการพิจารณาของคณะกรรมาธิการที่คณะมนตรีฯ ไดสถาปนาข้ึนและสําหรับผูแทนของตนท่ีจะเขารวมในการพจิารณาของทบวงการชํานัญพิเศษ

มาตรา ๗๑

คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม อาจทําขอตกลงท่ีเหมาะสมเพื่อการปรึกษาหาหรือกบัองคการที่มิใชของรัฐบาล ซ่ึงเกี่ยวของกับเร่ืองอันอยูภายในขอบเขตอํานาจของตน ขอตกลงเชนวาอาจทํากับองคการระหวางประเทศและเม่ือเห็นเหมาะสมกับองคการแหงชาติ หลังจากการปรึกษาหารือกับสมาชิกของสหประชาชาติท่ีเกี่ยวของแลว

มาตรา ๗๒

๑. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จะกําหนดระเบียบขอบังคับการประชุมของตนเอง รวมท้ังวิธีคัดเลือกประธานของตนดวย ๒. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม จะตองประชุมกันเทาท่ีจาํเปนตามระเบียบขอบังคับของตน ซ่ึงจะตองรวมบทบัญญัติสําหรับเรียกประชุมตามคํารองขอของสมาชิกเสียงขางมากของคณะมนตรีฯ ไวดวย

หมวดท่ี ๑๑ ปฏิญญาวาดวยดินแดนท่ียงัมิไดปกครองตนเอง

มาตรา ๗๓

สมาชิกของสหประชาชาติ ซ่ึงมีหรือเขารับเอาความรับผิดชอบในการปกครองดินแดน ซ่ึงประชาชนยังมิไดมาซ่ึงการปกครองตนเองโดยสมบูรณยอมรับหลักการวาผลประโยชนของประชาชนผูอาศัยในดนิแดนเหลานี ้ เปนส่ิงสําคัญยิ่ง และยอมรับเปนภาระมอบหมายอันศักดิ์สิทธ์ิ ซ่ึงขอผูกพันท่ีจะสงเสริมความเปนอยูท่ีดีของประชาชนผูอาศัยในดนิแดนเหลานี้อยางสุดกําลังภายในระบบแหงสันติภาพ และความม่ันคงระหวางประเทศท่ีไดสถาปนาข้ึนโดยกฎบัตรฉบับปจจุบัน และเพือ่จุดหมายปลายทางนี ้ ก. จะประกันความรุดหนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา การปฏิบัติอันเท่ียงธรรมและการคุมครองใหพนจากการใชสิทธิในทางมิชอบ ท้ังนี้ดวยความเคารพตามสมควรตอวฒันธรรมของประชาชนท่ีเกี่ยวของ

Page 88: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๗

ข.จะพัฒนาการปกครองตนเอง จะคํานงึตามสมควรถึงปณิธานทางการเมืองของประชาชน และจะชวยเหลือประชาชนเหลานีใ้นการพัฒนาสถาบันอิสระทางการเมืองใหกาวหนาตามพฤติการณโดยเฉพาะของดินแดนแตละแหงและของประชาชนในดินแดนนัน้ และข้ันแหงความรุดหนาอันตางกันของประชาชนเหลา นั้น ค. จะสงเสริมสันติภาพ และความม่ันคงระหวางประเทศ ง. จะสงเสริมมาตรการแหงพัฒนาการในเชิงสรางสรรค จะสนบัสนนุการวิจยั และจะรวมมือซ่ึงกันและกนั และเม่ือใด และ ณ ท่ีใด ท่ีเห็นเหมาะสมกบัองคกรชํานญัพิเศษระหวางประเทศดวยความมุงหมายเพ่ือใหบรรลุความมุงประสงคโดยแทจริงทางสังคม เศรษฐกิจและวิทยาศาสตรดังกลาวไวในขอนี ้และ จ. จะสงขอสนเทศทางสถิติและทางอ่ืน อันมีลักษณะทางวิชาการเกี่ยวกับภาวการณทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาในดนิแดนซ่ึงตนรับผิดชอบโดยลําดับ นอกเหนือไปจากดินแดนท่ีหมวดท่ี ๑๒ และ ๑๓ ใชบังคับใหแกเลขาธิการโดยสมํ่าเสมอเพ่ือความมุงประสงคในการสารนิเทศท้ังนี้ภายใตบังคับแหงขอจํากัดเชนท่ีขอพิจารณาทางความม่ันคงและรัฐธรรมนูญจะพึงมี

มาตรา ๗๔

สมาชิกของสหประชาชาติตกลงดวยวานโยบายของตนเกี่ยวกับดนิแดนท่ีหมวดนีใ้ชบังคับอยู จะตองยึดหลักการท่ัวไปแหงความเปนเพื่อนบานท่ีดีเปนมูลฐาน ไมนอยไปกวาท่ีเกี่ยวกบัเขตนครหลวงของตนเอง ท้ังนี้โดยคํานึงตามสมควรถึงผลประโยชน และความเปนอยูท่ีดีของสวนอ่ืนของโลก ในเร่ืองทางสังคม เศรษฐกิจ และการพาณิชยดวย

หมวดท่ี ๑๒ ระบบภาวะทรัสตีระหวางประเทศ

มาตรา ๗๕

สหประชาชาติจะสถาปนาข้ึนภายใตอํานาจของตน ซ่ึงระบบภาวะทรัสตีระหวางประเทศ เพ่ือการปกครองและการควบคุมดูแลดินแดนเชนนีอ้าจจะนําเขามาอยูภายใตระบบนี้ โดยความตกลงเปนราย ๆ ไปในภายหลัง ดินแดนเหลาตอไปในท่ีนีจ้ะเรียกวาดนิแดนทรัสตี

มาตรา ๗๖

วัตถุประสงคมูลฐานของระบบภาวะทรัสตี ตามความมุงประสงคของสหประชาชาติ ท่ีกําหนดไวในมาตรา ๑ ของกฎบัตรฉบับปจจุบัน คือ ก. สงเสริมสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศ

Page 89: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๘

ข. สงเสริมความรุดหนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการศึกษาของประชาชนผูอาศัยอยูในดินแดนทรัสตีเหลานัน้และพฒันาการกาวหนาไปสูการปกครองตนเอง หรือเอกราช ตามความเหมาะสมแหงพฤติการณโดยเฉพาะของดนิแดนแตละแหงและของประชาชน และความปรารถนาอันแสดงออกโดยอิสระของประชาชนท่ีเกี่ยวของ และตามแตขอกําหนดของความตกลงภาวะทรัสตีแตละรายจะวางไว ค. สนับสนุนความเคารพตอสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพอันเปนหลักมูลสําหรับทุกคน โดยไมเลือกปฏิบัติในเร่ืองเช้ือชาติ เพศ ภาษาหรือศาสนา และสนับสนนุการยอมรับในการพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันของประชาชนของโลก และ ง. ประกันการปฏิบัติอันเทาเทียมกันในเร่ืองทางสังคมเศรษฐกิจและการพาณิชยสําหรับสมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติ และคนชาติของสมาชิกเหลานั้น และการปฏิบัติอันเทาเทียมกันสําหรับคนชาติของประเทศสมาชิกในการอํานวยความยตุิธรรมดวย ท้ังนี้โดยไมกระทบกระเทือนตอการบรรลุวตัถุประสงคขางตน และภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของมาตรา ๘๐

มาตรา ๗๗

๑. ระบภาวะทรัสตีจะตองนํามาใชบังคับกับดินแดนในประเทศดังตอไปนี้ เชน ท่ีอาจนํามาไว ภายใตระบบนี้ โดยวิถีทางแหงความตกลงภาวะทรัสตี ก. ดินแดนซ่ึงบัดนี้อยูภายใตอาณัต ิ ข. ดินแดนซ่ึงอาจแยกมาจากรัฐศัตรู โดยผลแหงสงครามโลกคร้ังท่ีสอง และ ค. ดินแดนซ่ึงรัฐท่ีรับผิดชอบในการปกครองไดนําเขามาอยูภายใตระบบน้ีโดยสมัครใจ ๒. เปนเร่ืองท่ีจะทําความตกลงกันภายหลังวาจะใหนําดินแดนใดในประเภทท่ีกลาวขางตนมาอยูภายใตระบบภาวะทรัสตี และโดยมีขอกําหนดอยางไรบาง

มาตรา ๗๘

ระบบภาวะทรัสตีจะตองไมนาํมาใชบังคับกบัดินแดนท่ีไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติแลวซ่ึงสัมพันธ-ภาพระหวางกนัจะตองยึดความเคารพตอหลักการแหงความเสนอภาคในอธิปไตยเปนมูลฐาน

มาตรา ๗๙

ขอกําหนดแหงภาวะทรัสตีสําหรับแตละดนิแดน อันจะนํามาอยูภายใตระบบภาวะทรัสตี ความท้ังขอเปล่ียนแปลงหรือขอแกไขใด ๆ จะตองไดรับการตกลงโดยรัฐท่ีเกี่ยวของโดยตรง รวมท้ังประเทศท่ีใชอํานาจอาณัตใินกรณท่ีีเปนดินแดนภายใตอาณัติอันสมาชิกของสหประชาชาติไดรับมอบหมายและจะตองไดรับความเห็นชอบตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๘๓ แล ะ ๘๕

Page 90: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๘๙

มาตรา ๘๐

๑. นอกจากท่ีอาจไดตกลงไวในความตกลงภาวะทรัสตเีปนรายๆ ไปซ่ึงทําข้ึนตามมาตรา ๗๗, ๗๙ และ ๘๑ โดยนําเอาดินแดนแตละแหงมาอยูภายใตระบบภาวะทรัสตี และจนกวาจะไดทําความตกลง เชนวานัน้แลว ไมมีขอความใดในหมวดน้ีจะแปลความในหรือโดยตวัเอง เปนการเปล่ียนแปลงในลักษณะใดๆ ซ่ึงสิทธิอยางหนึ่งอยางใดของรัฐหรือประชาชนใด ๆ หรือซ่ึงกําหนดในตราสารระหวางประเทศท่ีมีอยู ซ่ึงสมาชิกของสหประชาชาติอาจเปนภาคีตามลําดับ ๒. วรรค ๑ ของขอนี้จะตองไมตีความไปในทางท่ีถือเปนมูลเหตุสําหรับการหนวงเหนีย่วใหชาหรือการผลัดเล่ือนการเจรจา และการทําความตกลงเพ่ือนาํดินแดนในอาณัติและดินแดนอ่ืนมาไวภายใตระบบภาวะทรัสตีตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๗๗

มาตรา ๘๑

ความตกลงภาวะทรัสตีในแตละกรณี จะตองรวมไวซ่ึงขอกําหนดตามที่ดินแดนทรัสตีจะถูกปกครอง และจะกําหนดตัวผูทรงอํานาจซ่ึงจะทําการปกครองดินแดนทรัสตี ผูทรงอํานาจเชนวานีซ่ึ้งตอไปในทีน่ี้จะเรียกวาผูใชอํานาจปกครอง อาจเปนรัฐเดียว หรือมากกวานั้น หรือสหประชาชาติเองก็ได

มาตรา ๘๒

ในความตกลงภาวะทรัสตีรายใดรายหน่ึง อาจมีการกําหนดเขตยุทธศาสตรเขตหนึ่งหรือหลายเขตซ่ึงอาจรวมดินแดนทรัสตีแตบางสวนหรือท้ังหมดท่ีความตกลงใชบังคับอยู โดยไมกระทบกระเทือนตอความตกลงพิเศษฉบับใดฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับท่ีทําไวตามมาตรา ๔๓

มาตรา ๘๓

๑. หนาท่ีท้ังปวงของสหประชาชาติเกีย่วกับเขตยทุธศาสตร รวมท้ังการใหความเห็นชอบตอขอกําหนดของความตกลงภาวะทรัสตี และตอขอเปล่ียนแปลงหรือขอแกไขจะตองกระทําโดยคณะมนตรีความม่ันคงฯ ๒. วัตถุประสงคมูลฐานท่ีกลาวไวในขอ ๗๖ จะตองนํามาใชบังคับไดกับประชาชนของเขตยุทธศาสตรแตละเขต ๓. ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติของความตกลงภาวะทรัสตี และโดยไมกระทบกระเทือนตอขอพิจารณาทางความม่ันคง คณะมนตรีความม่ันคงฯ จะถือเอาประโยชนแหงความชวยเหลือของคณะมนตรีภาวะทรัสตี

Page 91: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๐

มาตรา ๘๔

เปนหนาท่ีของผูใชอํานาจปกครอง ท่ีจะประกันวาดินแดนทรัสตีจะตองมีสวนในการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมัน่คงระหวางประเทศเพื่อจุดหมายปลายทางนี้ ผูใชอํานาจปกครองอาจใชประโยชนจากกองทหารอาสาสมัครความสะดวก และความชวยเหลือจากดนิแดนทรัสตี ในการปฏิบัติตามขอผูกพันตอคณะมนตรีความม่ันคงฯ ซ่ึง ผูใชอํานาจปกครองเขารับดําเนินการในเร่ืองนี้ ตลอดจนการปองกันดินแดนและการธํารงไวซ่ึงกฎหมายและระเบียบภายในดินแดนทรัสตีนั้น

มาตรา ๘๕

๑. หนาท่ีของสหประชาชาติเกี่ยวกับความตกลงภาวะทรัสตี สําหรับเขตท้ังปวงท่ีมิไดกําหนดใหเปนเขตยุทธ ศาสตร รวมท้ังการใหความเห็นชอบตอขอกําหนดของความตกลงภาวะทรัสตี และตอขอเปล่ียนแปลงหรือขอแกไขจะตองกระทําโดยสมัชชาฯ ๒. คณะมนตรีภาวะทรัสตี ซ่ึงดาํเนินการภายใตอํานาจของสมัชชาฯ จะตองชวยเหลือสมัชชาฯ ในการปฏิบัติตามหนาท่ีเหลานี ้

หมวดท่ี ๑๓ คณะมนตรีภาวะทรัสตี

องคประกอบ มาตรา ๘๖

๑. คณะมนตรีภาวะทรัสตี จะตองประกอบดวยสมาชิกของสหประชาชาติ ดังตอไปนี ้ ก. สมาชิกท่ีปกครองดินแดนทรัสตี ข. สมาชิกท่ีไดระบุนามไวในมาตรา ๒๓ ซ่ึงมิไดปกครองดินแดนทรัสตีและ ค. สมาชิกอ่ืน ๆ ซ่ึงสมัชชาฯ ไดเลือกตั้งข้ึนมีกาํหนดเวลาสามปเทาจํานวนท่ีจําเปน เพือ่ประกันวาจํานวนรวมของสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตีจะแบงออกไดเทากนั ระหวางจํานวนสมาชิกของสหประชาชาติท่ีปกครองดินแดนทรัสตีและท่ีไมไดปกครอง ๒. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีภาวะทรัสตี จะตองกําหนดบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะคนหนึ่งเปนผูแทนในคณะมนตรีความม่ันคงฯ

Page 92: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๑

หนาท่ีและอํานาจ มาตรา ๘๗

ในการปฏิบัตติามหนาท่ี สมัชชาฯและคณะมนตรีภาวะทรัสตีภายใตอํานาจของสมัชชาฯ อาจ ก. พิจารณารายงานซ่ึงเสนอโดยผูใชอํานาจปกครอง ข. รับคํารองทุกข และตรวจสอบคํารองเหลานั้น โดยปรึกษาหารือกับผูใชอํานาจปกครอง ค.จัดใหมีการเยี่ยมเยียนดินแดนทรัสตีเปนคร้ังคราว โดยลําดับตามกําหนดเวลาท่ีไดตกลงกับผูใชอํานาจปกครอง และ ง. ดาํเนินการเหลานี้และอ่ืน ๆ โดยสอดคลองกับขอกําหนดแหงความตกลงภาวะทรัสตี

มาตรา ๘๘

คณะมนตรีภาวะทรัสตีจะตองจัดทําแบบสอบถาม เกี่ยวกับความรุดหนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาของประชาชนผูอาศัยในดนิแดนทรัสตีแตละแหง และผูใชอํานาจปกครองของดินแดนทรัสตีแตละแหงภายในขอบเขตอํานาจของสมัชชาฯจะตองทํารายงานประจําปเสนอตอสมัชชาฯโดยอาศัยมูลฐานแหงแบบสอบถามเชนวานัน้

การลงคะแนนเสียง มาตรา ๘๙

๑. สมาชิกแตละประเทศของคณะมนตรีภาวะทรัสตีจะมีคะแนนเสียงหนึ่งคะแนน ๒. คําวินิจฉัยของคณะมนตรีภาวะทรัสตีจะตองกระทําโดยเสียงขางมากของสมาชิกท่ีมาประชุมและลงคะแนนเสียง

วิธีดําเนินการประชุม มาตรา ๙๐

๑. คณะมนตรีภาวะทรัสตี จะกาํหนดระเบียบขอบังคับการประชุมของตนเอง รวมท้ังวธีิคัดเลือกประธานของตนดวย ๒. คณะมนตรีภาวะทรัสตีจะตองประชุมกันเทาท่ีจําเปนตามระเบียบขอบังคับของตน ซ่ึงจะรวมบทบัญญัติสําหรับเรียกประชุมตามคํารองขอของสมาชิกเสียงขางมากของคณะมนตรีฯ ดวย

Page 93: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๒

มาตรา ๙๑

เม่ือเหน็สมควร คณะมนตรีภาวะทรัสตีจะตองถือเอาประโยชนแหงความชวยเหลือของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และของทบวงการชํานัญพิเศษเกี่ยวกับเร่ืองซ่ึงคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และทบวงการชํานัญพิเศษเกี่ยวของอยูโดยลําดับ

หมวดท่ี ๑๔ ศาลยุติธรรมระหวางประเทศ

มาตรา ๙๒

ศาลยุติธรรมระหวางประเทศจะเปนองคการทางตุลาการอันสําคัญของสหประชาชาติ ศาลฯตองปฏิบัติหนาท่ีตามธรรมนูญผนวกทาย ซ่ึงยึดธรรมนูญศาลประจํายุติธรรมระหวางประเทศเปนมูลฐานและซ่ึงถือวาเปนสวนหนึ่งสวนเดยีวกับกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน

มาตรา ๙๓

๑. สมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติ ยอมเปนภาคีแหงธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวางประเทศ โดยพฤตินัย ๒. รัฐซ่ึงมิไดเปนสมาชิกของสหประชาชาติ อาจเปนภาคีแหงธรรมนูญศาลยุติธรรมระหวางประเทศได โดยเงือ่นไขซ่ึงสมัชชาฯ จะไดกําหนดในแตละรายตามคําแนะนําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ

มาตรา ๙๔

๑. สมาชิกแตละประเทศของสหประชาชาติ รับท่ีจะอนวุัตติามคําวินิจฉัยของศาลยุติธรรมระหวางประเทศในคดใีดๆ ท่ีตนตกเปนฝายหนึ่ง ๒. ถาผูเปนฝายในคดีฝายใดไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันซ่ึงตกอยูแกตนตามคําพิพากษาของศาล ผูเปนฝายอีกฝายหนึ่งอาจรองเรียนไปยงัคณะมนตรีความม่ันคงฯ ซ่ึงถาเห็นจําเปนก็อาจทําคําแนะนําหรือวินิจฉัยมาตรการท่ีจะดําเนินเพื่อใหเกิดผลตามคําพิพากษานั้น

มาตรา ๙๕

ไมมีขอความใดในกฎบัตรฉบับปจจุบัน จะหวงหามสมาชิกของสหประชาชาติ มิใหมอบหมายการแกไขขอขัดแยงตนตอศาลอ่ืน โดยอาศัยอํานาจตามความตกลงท่ีไดมีอยูแลวหรือท่ีอาจจะทําข้ึนในอนาคต

Page 94: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๓

มาตรา ๙๖

๑. สมัชชาฯ หรือคณะมนตรีความม่ันคงฯ อาจรองขอตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศเพือ่ใหความเห็นแนะนําในปญหากฎหมายใดๆ ๒. องคกรอ่ืนของสหประชาชาติและทบวงการชํานัญพ ิเศษ ซ่ึงอาจไดรับอํานาจจากสมัชชาฯ ในเวลาใดๆ อาจรองขอความเหน็แนะนําของศาลเกีย่วกบัปญหากฎหมายอันเกดิข้ึนภายในขอบขายแหงกจิกรรมของตน

หมวดท่ี ๑๕ สํานักเลขาธิการ มาตรา ๙๗

สํานักเลขาธิการฯ จะตองประกอบดวยเลขาธิการฯ หนึ่งคนและพนักงานเทาท่ีองคการฯ อาจเหน็จาํเปน เลขาธิการฯ จะตองไดรับการแตงต้ังโดยสมชัชาฯ ตามคําแนะนําของคณะมนตรีความม่ันคงฯ เลขาธิการฯ จะตองเปนหวัหนาเจาหนาท่ีฝายบริหารขององคการฯ

มาตรา ๙๘

เลขาธิการฯ จะตองปฏิบัติการในตําแหนงหนาท่ีนัน้ ในการประชุมท้ังปวงของสมัชชาฯ ของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และของคณะมนตรีภาวะทรัสตี และจะตองปฏิบัติหนาท่ีอยางอ่ืนเชนท่ีองคกรเหลานีจ้ะพึงมอบหมายให เลขาธิการฯ จะตองทํารายงานประจําปเกี่ยวกับงานขององคการฯ เสนอตอสมัชชาฯ

มาตรา ๙๙

เลขาธิการฯ อาจนําเร่ืองใด ๆ ซ่ึงตามความเห็นชอบของตนอาจคุกคามการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความม่ันคงระหวางประเทศมาเสนอใหคณะมนตรีความม่ันคงฯ ทราบ

มาตรา ๑๐๐

๑. ในการปฏิบัติหนาท่ีของตน เลขาธิการฯ และพนักงานจะตองไมขอหรือรับคําส่ังจากรัฐบาลใด ๆหรือจากเจาหนาท่ีอ่ืนใดภายนอกองคการฯ บุคคลเหลานี้จะตองละเวนจากการดาํเนินการใดๆ ซ่ึงอาจมีผลสะทอนถึงตําแหนงหนาท่ีของตนในฐานะท่ีเจาหนาท่ีระหวางประเทศ ซ่ึงรับผิดชอบตอองคการฯ เทานั้น ๒. สมาชิกแตละประเทศของสหประชาชาติ รับท่ีจะเคารพตอความรับผิดชอบของเลขาธิการฯ และพนักงาน อันมีลักษณะระหวางประเทศโดยเฉพาะ และจะไมพยายามใชอิทธิพลตอบุคคลเหลานั้นในการปฏิบัติตามความรับผิดชอบของเขา

Page 95: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๔

มาตรา ๑๐๑

๑. พนักงานจะตองไดรับการแตงต้ังโดยเลขาธิการฯ ตามขอบังคับท่ีสมัชชาฯ ไดสถาปนาข้ึน ๒. พนักงานทีเ่หมาะสมจะตองไดรับมอบหมายใหไปประจําอยูเปนการถาวรในคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ในคณะมนตรีภาวะทรัสตีและในองคกรอ่ืนของสหประชาชาติตามท่ีจําเปน พนกังานเหลานี้จะตองถือเปนสวนหนึ่งของสํานักเลขาธิการฯ ๓. ขอพิจารณาอันสําคัญยิ่งในการวาจางพนกังาน และในการกําหนดเงื่อนไขแหงบริการ ไดแกความจําเปนท่ีจะตองใหไดมาซ่ึงมาตรฐานอันสูงสุดแหงสมรรถภาพ ความสามารถ และความซ่ือสัตยม่ันคงจะตองคํานึงตามสมควรถึงความสําคัญในการจัดหาพนักงาน โดยยึดมูลฐานทางภูมิศาสตรใหกวางขวางท่ีสุดเทาท่ีจะกระทําได

หมวดท่ี ๑๗ บทเบ็ดเตล็ด มาตรา ๑๐๒

๑. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหวางประเทศทุกฉบับซ่ึงสมาชิกใดๆ ของสหประชาชาติไดเขาเปนภาคีภายหลังท่ีกฎบัตรฯ ฉบับปจจบัุนไดใชบังคับ จะตองจดทะเบียนไวกับสํานักเลขาธิการฯ โดยเร็วท่ีสุดเทาท่ีจะทําไดและจะตองพิมพโฆษณาโดยสํานักเลขาธิการฯ นี ้ ๒. ภาคีแหงสนธิสัญญาหรือความตกลงระหวางประเทศเชนวาใดๆ ซ่ึงมิไดจดทะเบียนไวตามบทบัญญัติในวรรค ๑ ของขอนี้ไมอาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้นๆ ข้ึนกลาวอางตอองคกรใดๆ ของสหประชาชาติ

มาตรา ๑๐๓

ในกรณีแหงการขัดแยงระหวางขอผูกพันของสมาชิกของสหประชาชาติตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจบัุน และตามขอผูกพันตามความตกลงระหวางประเทศอ่ืนใด ขอผูกพันตามกฎบัตรฯ ฉบับปจจบัุนจะตองใชบังคับ

มาตรา ๑๐๔

องคการฯ จะมีความสามารถทางกฎหมายในดินแดนของสมาชิกแตละประเทศขององคการฯ เทาท่ีจําเปน เพื่อการปฏิบัติหนาท่ีและเพ่ือใหบรรลุผลตามความมุงประสงคขององคการฯ

มาตรา ๑๐๕

๑. องคการฯ จะอุปโภคเอกสิทธิ และความคุมกัน ในดนิแดนของสมาชิกแตละประเทศขององคการฯ เทาท่ีจําเปน เพื่อใหบรรลุผลตามความมุงประสงคขององคการฯ

Page 96: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๕

๒. ผูแทนของสมาชิกของสหประชาชาติ และเจาหนาท่ีขององคการฯ จะอุปโภคเอกสิทธิและความคุมกันเชนวานัน้เทาท่ีจําเปน เพือ่การปฏิบัติหนาท่ีของตน เกี่ยวกับองคการฯ โดยอิสระ ๓. สมัชชาฯอาจทําคําแนะนํา ดวยความมุงหมายในการกําหนดรายละเอยีดของการนําวรรค ๑ และ ๒ ของขอนี้มาใชบังคับ หรืออาจเสนออนุสัญญาตอสมาชิกของสหประชาชาติ เพื่อความมุงประสงคนี้

หมวดท่ี ๑๗ ขอตกลงเฉพาะกาลเก่ียวกับความมั่นคง

มาตรา ๑๐๖

ในระหวางท่ีความตกลงพิเศษดังท่ีอางถึงในมาตรา ๔๓ ยังมิไดใชบังคับ ซ่ึงตามเห็นของคณะมนตรีความม่ันคงฯ จะชวยใหตนไดเร่ิมปฏิบัติตามความรับผิดชอบของตนตามมาตรา ๔๒ ภาคีแหงปฏิญญาส่ีประชาชาติไดลงนามกัน ณ กรุงมอสโกในวนัท่ี ๓๐ ตลุาคม ค.ศ. ๑๙๔๓ และฝร่ังเศสจะปรึกษาหารือซ่ึงกันและกัน และกับสมาชิกอ่ืนๆ ของสหประชาชาติเม่ือจําเปน ตามบทบัญญัติของวรรค ๕ ของปฏิญญานั้น ดวยความมุงหมายท่ีจะดาํเนินการรวมกันในนามขององคการฯ เชนท่ีอาจจําเปน เพือ่ความมุงประสงคในการธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ

มาตรา ๑๐๗

ไมมีขอความใดในกฎบัตรฉบับปจจุบัน จะทําใหไมสมบูรณ หรือลบลางซ่ึงการดําเนินการในความเก่ียว พันกับรัฐใด ๆ ซ่ึงในระหวางสงครามโลกคร้ังท่ีสองไดเปนศัตรูของรัฐใดๆ ท่ีลงนามในกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน ซ่ึงรัฐบาลท่ีรับผิดชอบการดําเนินการเชนวานั้นไดกระทําไป หรือไดใหอํานาจกระทําไปโดยผลแหงสงครามน้ัน

หมวดท่ี ๑๘ การแกไข มาตรา ๑๐๘

การแกไขกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน จะมีผลใชบังคับกับสมาชิกท้ังปวงของสหประชาชาติ เม่ือการแกไขนั้นไดรับคะแนนเสียงสองในสามของสมาชิกของสมัชชาฯ ลงมติให และไดรับการสัตยาบันตามกระบวนการทางรัฐธรรมนูญจากสองในสามของสมาชิกของสหประชาชาติ ซ่ึงรวมถึงสมาชิกประจําท้ังปวงของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ดวย

มาตรา ๑๐๙

๑. การประชุมท่ัวไปของสมาชิกของสหประชาชาติ เพื่อความมุงประสงคท่ีจะทบทวนกฎบัตรฯ ฉบับปจจุบัน อาจจัดใหมีข้ึนตามวันท่ีและสถานท่ี ซ่ึงจะกําหนดโดยคะแนนเสียงสองในสามของสมาชิกของ

Page 97: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๖

๒. การเปล่ียนแปลงใดๆ ในกฎบัตรฉบับปจจบัุน ซ่ึงไดรับคําแนะนําโดยคะแนนเสียงสองในสามของท่ีประชุม จะมีผลเม่ือไดรับการสัตยาบันตามกระบวนการทางรัฐธรรมนูญ จากสองในสามของสมาชิกของสหประชาชาต ิซ่ึงรวมถึงสมาชิกประจําท้ังปวงของคณะมนตรีความม่ันคงฯ ดวย ๓. ถาการประชุมเชนวายังมิไดจัดใหมีข้ึนกอนสมัยประชุมประจําปคร้ังท่ีสิบของสมัชชาฯ นับแตกฎบัตรฉบับปจจุบันไดมีผลใชบังคับแลว ขอเสนอท่ีจะใหเรียกประชุมเชนวานั้นจะตองนาํเขาระเบียบวาระของสมัยประชุมนั้นของสมัชชาฯ และการประชุมจะตองจดัใหมีข้ึนหากไดวนิิจฉัยเชนนัน้โดยคะแนนเสียงขางมากของสมาชิกของสมัชชาฯ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกใดๆ ของคณะมนตรีความม่ันคงฯเจ็ดประเทศ

หมวดท่ี ๑๙ การสัตยาบนัและการลงนาม

มาตรา ๑๑๐

๑. กฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันจะตองไดรับการสัตยาบันโดยรัฐท่ีลงนามตามกระบวนการทางรัฐธรรมนูญของรัฐตน ๒. สัตยาบันจะตองมอบไวกับรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงจะตองแจงใหรัฐท่ีลงนามท้ังปวงตลอดจนเลขาธิการฯ ขององคการฯ เม่ือไดรับการแตงต้ังแลวใหทราบถึงการมอบแตละคร้ัง ๓. กฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันจะมีผลใชบังคับ เม่ือสาธารณรัฐจีน ฝร่ังเศส สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนอื และสหรัฐอเมริกา และจํานวนขางมากของรัฐอ่ืนๆ ท่ีลงนามไดมอบสัตยาบันแลว พิธีสารแหงสัตยาบันท่ีไดมอบไวนัน้จะตองจัดทําข้ึนโดยรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา ซ่ึงจะตองสงสําเนาพิธีสารนั้นไปยังรัฐท่ีลงนามท้ังปวง ๔. รัฐท่ีลงนามในกฎบัตรฉบับปจจุบัน และใหสัตยาบนัภายหลังท่ีกฎบัตรมีผลใชบังคับแลว จะเปนสมาชิกดั้งเดิมของสหประชาชาติในวันท่ีมอบสัตยาบันของตน

มาตรา ๑๑๑

กฎบัตรฯ ฉบับปจจุบันซ่ึงตัวบทภาษาจีน ฝร่ังเศส รัสเซีย อังกฤษและสเปน ถูกตองเทาเทียมกัน จะตองมอบไวในบรรณสารของรัฐบาลของสหรัฐอเมริกา รัฐบาลนั้นจะตองสงสําเนาซ่ึงรับรองโดยถูกตองแลวไปยังรัฐบาลของรัฐท่ีลงนามอ่ืนๆ เพื่อเปนพยานแกการนี้ ผูแทนของรัฐบาลท้ังหลายของสหประชาชาติไดลงนามกฎบัตรฉบับปจจุบัน ทําข้ึน ณ นครซานฟรานซิสโก เม่ือวันท่ียี่สิบหก มิถุนายน คริสตศักราช หนึ่งพันเการอยส่ีสิบหา

---------------------------------------------

Page 98: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๗

ผนวก ข โครงสรางและกลไกการปฏบิัติงานของ DPKO

แผนกปฏิบัติการรักษาสันตภิาพสหประชาชาต ิ(Department of Peacekeeping Operations)

----------------------------------------

๑. DPKO เปนแผนกหนึ่งใน ๗ แผนก ภายใตสํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ (Executive Office of the Secretary General) (หมายเหตุ : ๗ แผนก ดังกลาว ไดแก Department of Political Affairs, Department of Disarmament Affairs, Department of Economic & Social Affairs, Department of General Assembly Affairs & Conference Services, Department of Public Information, Department of Management และ Department of Peacekeeping Operations.) ๒. DPKO ทําหนาท่ีเสมือนฝายปฏิบัติการสําหรับเลขาธิการสหประชาชาติ ในกจิการท่ีเกี่ยวกับการปฏิบัติการรักษาสันตภิาพ โดยการวางแผน, ระดมทรัพยากร, สงกําลังเขาปฏิบัติการ, สงกําลังบํารุง, ใหคําแนะนาํ และการสนับสนุนกับภารกิจรักษาสันติภาพตาง ๆรวมท้ังการสนับสนุนดานการสงกําลังบํารุงใหกับการปฏิบัติการอ่ืนๆ ของ UN ในสนาม ในภารกิจตาง ๆ เชน Peace-making Missions, Peace-building Offices, Human rights Verification Missions และ Electoral Assistance Mission เปนตน และทําหนาท่ีเปนศนูยกลางในการประสานงานขององคกรตางๆ ท่ีทํางานรวมกันใน UN Multi-dimentional Operations.

๓. โครงสราง DPKO

Peacekeeping Doctrine and Best Practice Unit

Executive Office

Office of Operations Mine Action Service CIVPOL Division Office of Mission Support

Military Division

Africa Division

Asia & Middle East Division

Europe & Latin America i i i

Logistics Support Division

Administrative Support i i i

Situation Centre

Office of the USG

Page 99: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๘

๓.๑ แผนกปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (DPKO) มีรองเลขาธิการสหประชาชาติ Mr.Jean-Marie Guehenno เปนหัวหนาสํานกังาน รองเลขาธิการฯ (Office of the Under Secretary General) มีหนวยรองหลัก ประกอบดวย ๓.๑.๑ ฝายเลขานุการ (Executive officer) ๓.๑.๒ ฝายหลักนยิม และสรุปบทเรียนจากการปฏิบัติ (Peacekeeping Doctrine and Best Practice Unit) ๓.๑.๓ ฝายปฏิบัติการ (Office of Operations) ๓.๑.๔ ฝายปฏิบัติการทุนระเบิด (Mine Action Service) ๓.๑.๕ ฝายทหาร (Military Division) ๓.๑.๖ ฝายตํารวจพลเรือน (Civilian Police Division) ๓.๑.๗ ฝายสนับสนุน (Office of Missing Support) ๓.๒ ฝายเลขานุการ (Executive Office) ทําหนาท่ีเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานในสํานักงานรองเลขาธิการฯ ๓.๓ ฝายหลักนยิม และสรุปบทเรียนจาการปฏิบัติการ (Peacekeeping Doctrine and Best Practice Unit) ทําหนาท่ีกําหนดนโยบาย (Strategic Policy) สําหรับการปฏิบัติการรักษาสันติภาพในภารกิจตาง ๆและบริหารองคความรู (Knowledge Management) จากบทเรียนของการปฏิบัติการฯ ท่ีผานมา นํามารวบรวมจัดทําเปนเอกสารแจกจาย และนําเสนอใน UN Website ใหคําแนะนาํในเร่ืองกฎหมาย และตุลาการ, DDR (Disarmament, Demobilization and Reintegration) , ความเทาเทียมทางเพศ, HIV/AIDS และการลักลอบคามนุษย และอาวุธโดยผิดกฎหมาย แก DPKO ฝายตางๆ , คณะกรรมการ 4 ของสมัชชาฯใหญสหประชาชาติ (4th Committee General Assembly) และคณะกรรมการพิเศษดานการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (C34 Working Group) ๓.๔ ฝายปฏิบัติการทุนระเบิด (Mine Action Service) ทําหนาท่ีใหคําแนะนําทางเทคนิค และใหการสนับสนุนในการคนหา, ทําลายลางวัตถุระเบิด กับระเบิดในพ้ืนท่ีปฏิบัติการ สนับสนุนกระบวนการ DDR (Disarmament, Demobilization and Reintegration) ๓.๕ ฝายปฏิบัตกิาร (Office of Operations) ทําหนาท่ีติดตามสถานการณท่ีอาจสงผลกระทบตอสันติภาพในภูมิภาคตางๆ ของโลกตลอด ๒๔ ช่ัวโมงประกอบดวย ๓.๕.๑ กองแอฟริกา ๗ ภารกิจ ไดแก ไลบีเรีย (UNMIL) , เซียราลีโอน (UNAMSIL), โครดีวัวร (ONUCI) , สาธารณรัฐคองโก (MONUC), บุรุนดี (ONUB), เอธิโอเปย/เอริเทรีย (UNMEE) และซาฮาราตะวันตก (MINURSO) ๓.๕.๒ กองเอเชีย และตะวันออกกลาง ๖ ภารกิจ ไดแก อัฟกานิสถาน (UNAMA), ท่ีราบสูงโกลาน (UNDOF), เยรูซาเล็ม (UNTSO), เลบานอน (UNIFIL), แคชเมียร (UNMOGIP) และติมอรตะวนัออก (UNMISET)

Page 100: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๙๙

๓.๕.๓ กองยุโรป และลาตินอเมริกา 4 ภารกิจ ไดแก ไซปรัส (UNFICYP) , จอเจียร (UNOMIG), โคโซโว (UNMIK) และไฮติ (MINUSTAH) ๓.๕.๔ ศูนยติดตามสถานการณ ( Situation Centre) ตลอด ๒๔/๗ ๓.๖ ฝายทหาร (Military Division) ทําหนาท่ีเกีย่วกบัการปฏิบัติการทางทหาร เพื่อสนบัสนุนภารกิจรักษาสันติภาพท่ีกําหนดโดยสหประชาชาติ โดยมีสํานักงานท่ีปรึกษาทางทหาร (OMA- Office of the Military Advisor) เปนผูรับผิดชอบ มีการจัดภายในองคกร ดังนี้

๓.๖.๑ สํานักงานท่ีปรึกษาทางทหาร (OMA) ทําหนาท่ีดานการบริหารฝายทหาร ประกอบดวย ทปษ.ทางทหาร (ช้ันยศ พลตรี) , รอง ฯ (ช้ันยศ พลจัตวา) และเสนาธิการ (ช้ันยศ พันเอก) และเจาหนาท่ีอีกจํานวนหนึ่งไดแก ๒ Laison Officers, Evaluation Officer, Administrative Management Officer และ ๓ Administrative Assistants ๓.๖.๒ กองสนับสนนุการปฏิบัติการทางทหารในปจจุบัน (CMOS) ทําหนาท่ีเฝาติดตามสถานการณทางทหารในทุกภารกิจรักษาสันติภาพ, ใหคําแนะนําและการสนับสนุนกับ บก.ภารกิจรักษาสันติภาพตาง ๆและสวนอ่ืนๆ ของ DPKO รวมท้ังประเทศที่สงกําลังเขารวม (TCC-Troop Contributing Countries) การจัดภายในประกอบดวย หวัหนากอง, ชุดปฏิบัติการดานเอเชีย & ตะวนัออกกลาง และชุดปฏิบัตกิารดานยุโรป & ลาตนิอเมริกา ๓.๖.๓ กองสนับสนุนการวางแผนทางทหาร (MPS) ทําหนาท่ีกาํหนดแนวความคิดในการปฏิบัติ และการวางแผนทางทหารสําหรับการปฏิบัติการรักษาสันติภาพที่กําลังดําเนินอยูในปจจุบันและท่ีกําลังจะเร่ิมภารกจิใหม และทําหนาท่ีผลิตเอกสารสําคัญสําหรับการปฏิบัติการ อันไดแก กฎการปะทะ (ROE-Rule of Engagement) และแนวทางการปฏิบัติของผูบังคับบัญชาในสนาม (Directive to the Head of the Military Component) การจัดภายในประกอบดวย : หัวหนากอง, ชุดวางแผนดานยุโรป เอเชีย ตะวนัออกกลาง & ลาตินอเมริกา, ชุดวางแผนดานแอฟริกากลาง & แอฟริกาใต และชุดวางแผนดานแอฟริกาตะวันตก & แอฟริกาเหนือ ๓.๖.๔ กองสนับสนุนการจัดหนวย และกําลังพลทางทหาร (FGS) ทําหนาท่ีประกอบกําลังหนวยจากประเทศท่ีสงกําลังเขารวม (TCC) รวมท้ัง จนท.บุคคลตางๆ เชน ผูสังเกตุการณทางทหาร (UNMO)

Current Military Operations

Service (CMOS)

Force Generation & Military Personal Service (FGS)

Training & Evaluation Service

(TES)

Military Planning Service (MPS)

Office of the Military Advisor (OMA)

Page 101: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๐๐

การจัดภายในประกอบดวย หัวหนากอง, ชุดปฏิบัติการดานการจดัหนวยทหาร (Force Generation Team), ชุดปฏิบัติการดานกําลังพลทหาร (Military Personnel Team) ๓.๖.๕ กองสนับสนุนการฝกอบรม และการประเมินผล (TES) ทําหนาท่ีกําหนดมาตรฐาน และหลักสูตรการฝกตางๆ สําหรับผูปฏิบัติหนาท่ีรักษาสันติภาพ (Peacekeeper) ใหกับประเทศสมาชิก (TCC) และ จนท.ตางๆ ของสหประชาชาติท่ีทํางานเกี่ยวกับการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ การจัดภายในประกอบดวย หัวหนากอง, สวนกําหนดมาตรฐานการฝก (Training Recognition), สวนใหการบริการ (Client Service), สวนสนับสนุน บก.ภารกิจ (Mission Support), สวนงบประมาณ และโครงการ (Activities Programme & Budget) และสวนผสมผสานองคความรู (Knowledge Fusion) ๓.๗ ฝายตํารวจพลเรือน (CIVPOL Division) ทําหนาท่ี เกีย่วกับการปฏิบัติการของตํารวจพลเรือนเพื่อสนับสนุนภารกจิรักษาสันติภาพท่ีกําหนดโดยสหประชาชาติ โดยมีสํานักงานท่ีปรึกษาตํารวจ (OPA-Office of the Police Advisor) เปนผูรับผิดชอบ มีการจัดภายในองคกรดังนี้

Office of the Police Advisor (OPA)

Policy and Planning Section (PPS)

Training and development Section (TDS)

Mission Management Section (MMS)

๓.๗.๑ กองนโยบาย และแผน (PPS) ทําหนาท่ีเหมือนกองสนับสนุนการวางแผนทางทหาร (MPS) ฝายทหาร ๓.๗.๒ กองฝกและพัฒนาการฝก (TDS) ทําหนาท่ีเหมือนกองสนับสนุนการฝกอบรม และการประเมินผล (TES) ฝายทหาร ๓.๗.๓ กองจัดการภารกิจ (MMS) ทําหนาท่ีเหมือนกองสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารในปจจุบัน (CMOS) ฝายทหาร ๓.๘ ฝายสนับสนุน (Office of Mission Support) มีผูชวยเลขาธิการฯ (ASG) เปนหวัหนา ทําหนาท่ีสนับสนุนดานการสงกําลังบํารุง, การจัดการกาํลังพล และการจัดการงบประมาณ สําหรับภารกิจรักษาสันติภาพ สหประชาชาติ ท้ังหมด

Page 102: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๐๑

๓.๘.๑ กองสนับสนุนการสงกําลังบํารุง (LSD) ทําหนาท่ีสนับสนุนดานการสงกําลังบํารุงท้ังปวง การจัดภายในประกอบดวย ๓.๘.๑.๑ สวนบริการสนับสนุนการปฏิบัติการ (Operational Support Service) ประกอบดวยหนวยตางๆ คือ Programme Support Unit, Contract Management Unit, Property Management Unit, Logistics Operation Section และ Strategic Deployment Stock (SDS) & Deployment Unit ๓.๘.๑.๒ สวนบริการดานการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Communication & IT Service) ประกอบดวยหนวยยอยตางๆ คือ System Section, Information Technology Section และ Communication Section ๓.๘.๑.๓ สวนบริการสนับสนับสนุนพิเศษ (Specialist Support Service) ประกอบดวยหนวยยอยตางๆ คือ Supply Section, Surface Transport Section, Engineering Section, Air Transport Section และ Medical Support Section. ๓.๘.๑.๔ หนวยนิรภัยการบิน (Aviation Safety Unit) ทําหนาท่ีกาํหนด และควบคุมมาตรการรักษาความปลอดภัยดานการบิน ๓.๘.๑.๕ ฐานการสงกําลังบํารุงสหประชาชาติ (UN Logistic Base) ท่ีเมือง Bridisi ประเทศอิตาลี ซ่ึงเปนท่ีตั้งของ SDS-Strategic Deployment Stocks สนับสนุนภารกิจรักษาสันติภาพ สหประชาชาติท้ังหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเร่ิมภารกิจใหม

Office of Mission Support (OMS)

Page 103: บทบาทของกองทัพ ไทยในปฏิบัติื่อการเพ สันติภาพj3.rtarf.mi.th/poc/pdf/article/rtarf role in poc.pdf ·

๑๐๒

๓.๘.๒ กองสนับสนุนดานการบริหารจัดการ (ASD) ทําหนาท่ีสนับสนุนดานการจัดการกําลังพล และการจัดการงบประมาณ การจดัภายในประกอบดวย ๓.๘.๒.๑ สวนบริการดานการจัดการกาํลังพล (Personnel Management Support Service) ประกอบดวยหนวยยอยตางๆ คือ Administration and Travel Section, Human Resource Planning and Development Section, Recruitment Section และ Civilian Training Section. ๓.๘.๒.๒ สวนบริการดานการจัดการงบประมาณ (Finance Management Support Service) ประกอบ ดวยหนวยยอยตางๆ คือ Financial Support Section และ Claims and Information Management Section ซ่ึงท้ัง ๒ หนวยยอย จะแบงความรับผิดชอบเปน ๓ ภูมิภาค ไดแก แอฟริกา, เอเชีย & ตะวนัออกกลาง และยุโรป & ลาตินอเมริกา

----------------------------------------