29
พระราชบัญญัติ การคาน้ํามันเชื้อเพลิง .. 2543 --------------------- ภูมิพลอดุลยเดช .. ใหไว วันที15 พฤศจิกายน .. 2543 เปนปที55 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศ วา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยน้ํามันเชื้อเพลิง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให กระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนีมาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติการคาน้ํามันเชื้อเพลิง .. 2543มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนหกสิบวันนับแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป* (*ประกาศใน รจ. 117 ตอนที111 วันลง รจ. 29 พฤศจิกายน 2543)

พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

พระราชบัญญัติ การคาน้ํามันเชื้อเพลิง

พ.ศ. 2543 ---------------------

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันท่ี 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 เปนปท่ี 55 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศ วา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยน้ํามันเชื้อเพลิง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติให กระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการคาน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนหกสิบวันนับแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป* (*ประกาศใน รจ. 117 ก ตอนที่ 111 วันลง รจ. 29 พฤศจิกายน 2543)

Page 2: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

2

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2521 (2) พระราชบัญญัติน้ํามันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “น้ํามันเชื้อเพลิง” หมายความวา กาซปโตรเลียมเหลว น้ํามันเบนซิน น้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับ เครื่องบิน น้ํามันกาด น้ํามันดีเซล น้ํามันเตา น้ํามันหลอล่ืน และผลิตภัณฑปโตรเลียมอื่นที่ใชหรืออาจใชเปน เชื้อเพลิงหรือเปนสิ่งหลอล่ืน กาซธรรมชาติ น้ํามันดิบ หรือสิ่งอื่นที่ใชเปนวัตถุดิบในการกลั่นหรือผลิต เพื่อใหไดมาซ่ึงผลิตภัณฑดังกลาวขางตน และใหหมายความรวมถึงสิ่งอื่นที่ใชเปนเชื้อเพลิงหรือเปนสิ่ง หลอล่ืนตามที่รัฐมนตรีกําหนดใหเปนน้ํามันเชื้อเพลิงโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา “ผูคาน้ํามัน” หมายความวา ผูกระทําการคาน้ํามันเช้ือเพลิง โดยซื้อ นําเขามาในราชอาณาจักร หรือ ไดมาไมวาดวยประการใด เพื่อจําหนาย และใหหมายความรวมถึงผูกลั่นหรือผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงดวย แต ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูไดรับสัมปทานตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม “ผูคาสงน้ํามัน” หมายความวา ผูที่รับจางทําการขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งมิใชเปนของตนเอง โดย ใชยานพาหนะสําหรับการขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ “สถานีบริการ” หมายความวา สถานที่สําหรับจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงใหแกประชาชนโดยวิธีเติม หรือใสลงในที่บรรจุน้ํามันเชื้อเพลิงของยานพาหนะ โดยใชมาตราวัดน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายวาดวย มาตราชั่งตวงวัด ที่ติดตั้งไวเปนประจํา และใหหมายความรวมถึงสถานที่จําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงใหแก ประชาชนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “ปริมาณการคาประจําป” หมายความถึง ปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิดที่นําเขามาในราชอาณา จักร ซื้อ กลั่น ผลิต หรือไดมาในปหนึ่ง ทั้งนี้ ไมรวมถึงปริมาณที่จัดหามาเพื่อการสํารองตามกฎหมาย “ป” หมายความวา ปปฏิทิน “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมธุรกิจพลังงานหรือผูซึ่งอธิบดีกรมธุรกิจพลังงานมอบหมาย “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ (สวนคําบางคํา (ตัวหนา / เอียง) ไดแกใหเปนปจจุบันแลว ตาม พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาแกไข บทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 มาตรา 10)

Page 3: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

3

มาตรา 5 พระราชบัญญัติน้ีไมใชบังคับแกกระทรวง ทบวง กรม มาตรา 6 ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ กําหนดกิจการอื่นและออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได (สวนคําบางคํา (ตัวหนา / เอียง) ไดแกใหเปนปจจุบันแลว ตาม พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาแกไข บทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 มาตรา 10)

หมวด 1 กาคาและการขนสงน้ํามันเช้ือเพลิง --------------------------

มาตรา 7 ผูใดเปนผูคาน้ํามันที่มีปริมาณการคาแตละชนิด หรือรวมกันทุกชนิดปละตั้งแตหนึ่ง แสนเมตริกตันขึ้นไป หรือเปนผูคาน้ํามันชนิดกาซปโตรเลียมเหลวแตเพียงชนิดเดียวที่มีปริมาณการคาปละ ตั้งแตหาหมื่นเมตริกตันขึ้นไป ตองไดรับในอนุญาตจากรัฐมนตรี การขออนุญาต การออกใบอนุญาต และคุณสมบัติของผูรับใบอนุญาตใหเปนไปตามที่กําหนดใน กฎกระทรวง ผูขออนุญาตเปนผูคาน้ํามันตามความในมาตรานี้ จะตองมิใชผูคาน้ํามันซึ่งเคยถูกเพิกถอนใบอนุญาต ตามมาตรา 34 โดยยังไมพนกําหนดหนึ่งปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต และกรรมการ ผูจัดการ หรือ บุคคลผูมีอํานาจในการจัดการของผูขออนุญาตจะตองไมใชกรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคลผูมีอํานาจในการ จัดการของผูคาน้ํามันซึ่งเคยถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยยังไมพนกําหนดหนึ่งปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบ อนุญาต มาตรา 8 ในการออกใบอนุญาตตามมาตรา 7 รัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการดําเนินการคา ใดๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได ในกรณีที่มีเหตุจําเปนเพื่อประโยชนแหงความมั่นคงของประเทศ การปองกันและแกไขการ ขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง รวมทั้งการกําหนดและควบคุมคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง รัฐมนตรีจะแกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมเง่ือนไขที่กําหนดไวแลว และในกรณีท่ียังมิไดมีการกําหนดเงื่อนไข รัฐมนตรี

Page 4: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

4

จะกําหนดเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรก็ได มาตรา 9 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 รายใดที่ประสงคจะเลิกประกอบกิจการตามที่ไดรับอนุญาต ตองแจงใหรัฐมนตรีทราบลวงหนาเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันกอนวันเลิกประกอบกิจการ หากมีน้ํามัน เชื้อเพลิงเหลืออยูในการครอบครองในวันเลิกประกอบกิจการ ใหผูนั้นขายหรือจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงที่ เหลือใหเสร็จภายในเกาสิบวันนับแตวันเลิกประกอบกิจการ มาตรา 10 ผูใดเปนผูคาน้ํามันที่มีปริมาณการคาไมถึงปละไมถึงปริมาณที่กําหนดตามมาตรา 7 แต เปนผูคาน้ํามันที่มีปริมาณการคาแตละชนิดหรือรวมกันทุกชนิดเกินปริมาณที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด หรือ เปนผูคาน้ํามันที่มีขนาดของถังที่สามารถเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไดเกินปริมาณที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ตองยื่นขอจดทะเบียนตออธิบดี การขอจดทะเบียนและการจดทะเบียนใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎ กระทรวง เมื่อรัฐมนตรีประกาศกําหนดปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิง หรือขนาดของถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงตามวรรค หนึ่ง หรือประกาศเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงหรือขนาดของถังเก็บน้ํามันเช้ือเพลิงที่ไดกําหนดไว แลว ใหผูคานํ้ามันที่ไดกระทําการคาน้ํามันเชื้อเพลิงอยูแลวและอยูในขายที่จะตองจดทะเบียน ยื่นคําขอจด ทะเบียนตามวรรคหนึ่งภายในหกสิบวันนับแตวันที่ประกาศดังกลาวใชบังคับ มาตรา 11 ผูใดเปนผูคาน้ํามันซึ่งดําเนินกิจการคาน้ํามันโดยจัดตั้งเปนสถานีบริการ ตองยื่นขอจด ทะเบียนตออธิบดี การขอจดทะเบียนและการจดทะเบียนใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎ กระทรวง ความในวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 และมาตรา 10 มาตรา 12 ผูใดเปนผูขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงตามชนิดและปริมาณท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ตอง แจงตออธิบดีตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ประกาศดังกลาวใชบังคับ เมื่อรัฐมนตรีมีประกาศตามวรรคหนึ่ง หรือประกาศเปลี่ยนแปลงชนิดหรือปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่ ไดกําหนดไวแลว ใหผูขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงที่ไดทําการขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงอยูแลวและอยูในขายท่ีจะตอง แจง แจงตออธิบดีตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในหกสิบวันนับแตวันท่ีประกาศดังกลาวใชบังคับ

Page 5: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

5

เมื่อรายการตามที่ไดแจงไวตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองไดเปลี่ยนแปลงไปใหผูขนสงน้ํามันแจง เพิ่มเติมตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในสามสิบวันนับแตวันที่เปลี่ยนแปลง มาตรา 13 อธิบดีอาจกําหนดใหผูไดรับจดทะเบียนตามมาตรา 10 และมาตรา 11 ปฏิบัติตามเงื่อน ไขเกี่ยวกับการจัดระบบการคา การปองกันการขาดแคลนหรือการปลอมปนน้ํามันเชื้อเพลิงไดตามความ จําเปน มาตรา 14 เมื่อรายการตามที่ไดรับอนุญาตไวตามมาตรา 7 หรือไดจดทะเบียนไวตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 ไดเปลี่ยนแปลงไป ใหผูคาน้ํามันแจงขอเปลี่ยนแปลงรายการตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายใน สามสิบวันนับแตวันที่เปลี่ยนแปลง การเลิกการประกอบกิจการการคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 หรือการขนสงน้ํามันตาม มาตรา 12 ใหผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามันแจงตออธิบดีภายในสามสิบวันนับแตวันที่เลิกกิจการตามแบบที่ อธิบดีกําหนด เพื่อลบรายการออกจากทะเบียน มาตรา 15 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 หรือผูขนสง น้ํามันตามมาตรา 12 ตองชําระคาธรรมเนียมรายป ตามหลักเกณฑ วิธีการและอัตราที่กําหนดใน กฎกระทรวงตลอดเวลาที่ยังประกอบกิจการ ถามิไดชําระคาธรรมเนียมภายในเวลาที่กําหนด ใหเสียเงิน เพิ่มอีกรอยละหาตอเดือน และถายังไมยินยอมชําระคาธรรมเนียมโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหพนักงาน เจาหนาที่มีอํานาจสั่งใหหยุดประกอบกิจการไวจนกวาจะไดชําระคาธรรมเนียมและเงินเพิ่มครบจํานวน ในกรณีที่พนักงานเจาหนาท่ีไดมีคําสั่งใหหยุดประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง ผูใดประกอบกิจการ โดยฝาฝนคําสั่งดังกลาว ใหถือวาผูนั้นเปนผูประกอบกิจการคาน้ํามันโดยไมไดรับอนุญาตตามมาตรา 7 หรือ ไมไดจดทะเบียนตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 หรือเปนผูประกอบกิจการขนสงน้ํามันโดยไมไดแจงตาม มาตรา 12 แลวแตกรณี

หมวด 2 การแจงขอมูลและการเผยแพรขอมูล ---------------------------

มาตรา 16 ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 สงบัญชีตามแบบและรายการที่กําหนดใหกฎกระทรวง เกี่ยวกับปริมาณและสถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิดที่นําเขามาในราชอาณาจักร ซื้อ กลั่น ผลิต ไดมา

Page 6: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

6

จําหนายไปแลว และท่ีเหลืออยูในแตละเดือนตอพนักงานเจาหนาที่ ภายในเวลาที่รัฐมนตรีกําหนด ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 สงบัญชีตามแบบและรายการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเกี่ยวกับ ปริมาณของน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิดที่นําเขามาในราชอาณาจักร ซื้อ กลั่น ผลิต ไดมา จําหนายไปแลว และ ที่เหลืออยูในแตละเดือนตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันท่ีสิบหาของเดือนถัดไป ในกรณีที่มีความจําเปนเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแหงราชอาณาจักร รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งเปน หนังสือหรือประกาศในราชกิจจานุเบกษา ใหผูคาน้ํามันแจงขอมูลเกี่ยวกับปริมาณนํ้ามันเชื้อเพลิงเพิ่มเติม นอกจากที่ตองสงตามวรรคหนึ่งและวรรคสองได ตามแบบและระยะเวลาที่รัฐมนตรีกําหนด มาตรา 17 ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 สงแผนการนําเขามาในราชอาณาจักร ซื้อ กลั่น ผลิต หรือ จําหนายซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงในชวงสามเดือนถัดไปตามแบบและรายการที่กําหนดในกฎกระทรวงตอพนักงาน เจาหนาท่ีภายในวันท่ียี่สิบของทุกเดือน ในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อการวางแผนการใชน้ํามันเช้ือเพลิงของประเทศและการติดตาม สถานการณนํ้ามันเชื้อเพลิงของโลก รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งเปนหนังสือหรือประกาศในราชกิจจานุเบกษาให ผูคาน้ํามันสงแผนปฏิบัติการในรายละเอียดเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวในวรรคหนึ่งเกี่ยวกับการนําเขามาใน ราชอาณาจักร ซื้อ กลั่น ผลิต หรือจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงตอพนักงานเจาหนาที่ตามแบบและระยะเวลาที่ รัฐมนตรีกําหนด ผูคาน้ํามันตองดําเนินกิจการคาน้ํามันใหเปนไปตามแผนที่ไดแจงไวในวรรคหนึ่งและแผน ปฏิบัติการตามวรรคสอง เวนแตมีเหตุอันควรที่มิอาจดําเนินการตามนั้นได มาตรา 18 บรรดาขอความ ขอเท็จจริง หรือขอมูลใดๆ ซึ่งพนักงานเจาหนาที่ไดมาเนื่องจากการ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจาหนาที่อาจเปดเผยหรือเผยแพรไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่ อธิบดีประกาศกําหนด

หมวด 3 การปองกันและแกไขการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง

---------------------------------- มาตรา 19 ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ยื่นปริมาณการคาประจําปเพื่อขอความเห็นชอบตออธิบดี กอนปที่จะทําการคานั้น เปนเวลาไมนอยกวาสี่สิบหาวัน ในกรณีที่เปนผูคาน้ํามันรายใหมและขอเริ่มทําการ คาระหวางป ใหย่ืนปริมาณการคาประจําป เพื่อขอความเห็นชอบพรอมการยื่นขอรับใบอนุญาตเปนผูคา

Page 7: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

7

น้ํามันตามมาตรา 7 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการกําหนดในกฎกระทรวง ผูคาน้ํามันตามวรรคหนึ่งอาจขอเปลี่ยนแปลงปริมาณการคาประจําปตามที่ไดย่ืนขอความเห็นชอบ ไวไดตามหลักเกณฑและวิธีการกําหนดในกฎกระทรวง เมื่อผูคาน้ํามันไดย่ืนขอกําหนดปริมาณการคาประจําปตามวรรคหนึ่ง หรือขอเปลี่ยนแปลงปริมาณ การคาประจําปตามวรรคสอง อธิบดีอาจใหความเห็นชอบตามปริมาณที่ขอกําหนดหรือขอเปลี่ยนแปลง หรือ อาจกําหนดเปนปริมาณอื่นตามที่เห็นสมควรได และใหถือวาปริมาณที่อธิบดีใหความเห็นชอบหรือกําหนด นั้นเปนปริมาณการคาประจําปของผูคาน้ํามันดังกลาวในปนั้น ผูคาน้ํามันตองดําเนินกิจการคาน้ํามันใหเปนไปตามปริมาณการคาประจําปที่อธิบดีใหความเห็น ชอบ เวนแตมีเหตุอันควรที่มิอาจดําเนินการตามนั้นได มาตรา 20 ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 สํารองน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดที่อธิบดีกําหนดไวทุกขณะใน สถานที่เก็บตามวรรคสี่ ไมต่ํากวาอัตราที่อธิบดีกําหนดซึ่งตองไมเกินรอยละสามสิบของปริมาณการคา ประจําป เพื่อประโยชนในการสํารองน้ํามันตามวรรคหนึ่ง ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ซึ่งมิไดทําการคาตลอด ทั้งป เมื่อเริ่มทําการคาในระหวางป กําหนดปริมาณการคาประจําป โดยคิดตามอัตราเฉลี่ยของปริมาณการคา น้ํามันรายเดือนในชวงระยะเวลาที่จะทําการคานั้นคูณดวยสิบสอง เสมือนหนึ่งวาทําการคาตลอดทั้งป ในกรณีที่อธิบดีมิไดใหความเห็นชอบหรือกําหนดปริมาณการคาประจําปของผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 รายใดกอนเวลาที่เริ่มตนป ใหผูคาน้ํามันรายนั้นเก็บสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามปริมาณที่เคยเก็บอยูในปที่ ผานมาไปกอนจนกวาอธิบดีจะไดใหความเห็นชอบหรือกําหนดปริมาณการคาประจําปของผูคาน้ํามัน ดังกลาว สถานที่ที่ใชเก็บสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง ตองไดรับความเห็นชอบจากอธิบดีกอน หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการยื่นขอความเห็นชอบและเงื่อนไขที่ผูไดรับความเห็นชอบตองปฏิบัติ ใหเปนไปตามที่ อธิบดีประกาศกําหนด ในกรณีที่มีเหตุจําเปนเพื่อประโยชนแหงความมั่นคงของประเทศ การปองกันและแกไขการ ขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง รวมทั้งการกําหนดและควบคุมคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง อธิบดีมีอํานาจผอนผัน การปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือเง่ือนไขที่กําหนดตามวรรคสี่ได มาตรา 21 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 อาจมอบหมายใหบุคคลอื่นเก็บสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงแทนใน สาถนที่ที่อธิบดีใหความเห็นชอบตามมาตรา 20 วรรคสี่และวรรคหาก็ได และใหนําความในมาตรา 20 วรรคสี่และวรรคหามาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 8: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

8

การมอบหมายตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา 22 การกําหนดชนิดและอัตราของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารองตามมาตรา 20 วรรคหน่ึง ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา ประกาศกําหนดชนิดและอัตราของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารองตามวรรคหนึ่งและประกาศเปลี่ยน แปลงการกําหนดชนิดและอัตราของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารอง ซึ่งไดประกาศไวแลวใหสูงขึ้น ใหมีผลใช บังคับตั้งแตวันที่กําหนดไวในประกาศนั้น แตตองไมนอยกวาเกาสิบวันนับแตวันท่ีประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ในการประกาศเปลี่ยนแปลงชนิดและอัตราของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารอง อธิบดีอาจกําหนดเงื่อน ไขใหผูคาน้ํามันที่สํารองน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดใดอยูแลวตองสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดนั้นตอไปอีกไดตาม ความจําเปน มาตรา 23 เมื่อผูคาน้ํามันแสดงหลักฐานเปนหนังสืออันฟงไดวามีพฤติการณที่ทําใหผูคาน้ํามันไม อาจสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามอัตราที่กําหนดได หรือการสํารองนั้นจะทําใหผูคาน้ํามันตองไดรับความเสีย หายเกินสมควร ใหอธิบดีมีอํานาจออกคําส่ังผอนผันเปนการชั่วคราวมิใหผูคาน้ํามันตองสํารองน้ํามัน เชื้อเพลิง หรือใหลดปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารองไดตามระยะเวลาที่เห็นสมควร ในการที่อธิบดีจะ กําหนดเงื่อนไขในการผอนผันไวดวยก็ได มาตรา 24 ในกรณีที่มีความจําเปนเพ่ือปองกันและแกไขการขาดแคลนน้ํามันเช้ือเพลิง อธิบดีมี อํานาจสั่งเปนหนังสือหรือประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหผูคาน้ํามันงดจําหนายหรือใหจําหนายน้ํามัน เชื้อเพลิงชนิดหนึ่งชนิดใด หรือใหจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองสํารองไวตามมาตรา 20 ได ในการนี้อธิบดี จะกําหนดเงื่อนไขไวดวยก็ได

หมวด 4 การกําหนดและควบคุมคุณภาพ --------------------------

มาตรา 25 อธิบดีมีอํานาจกําหนดลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อใชบังคับทั่วราช อาณาจักร ทั้งนี้ ในกรณีที่มีเหตุจําเปนจะกําหนดใหใชบังคับเฉพาะแตทองที่หนึ่งทองที่ใดหรือหลายทองที่

Page 9: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

9

ไดตามที่เห็นสมควร หรือจะกําหนดใหผูคาน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งชนิดใดตองแจงลักษณะและคุณภาพ ของน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อขอความเห็นชอบ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด ในการนี้จะกําหนด เงื่อนไขใหผูไดรับความเห็นชอบตองปฏิบัติก็ได การกําหนดตามวรรคหนึ่งใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยกําหนดวันเริ่มมีผลใชบังคับไวดวย หามมิใหผูคาน้ํามันจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกตาง จากที่อธิบดีประกาศกําหนดหรือใหความเห็นชอบ หรือที่ยังมิไดรับความเห็นชอบจากอธิบดี หรือที่ไดรับ ความเห็นชอบแลวแตผูไดรับความเห็นชอบยังมิไดปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ถามีเหตุ อันควรซึ่งไมสามารถปฏิบัติตามนั้นได อธิบดีจะผอนผันใหเปนการชั่วคราวก็ได ความในวรรคสามมิใหใชบังคับแกการจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายน้ํามันหลอล่ืนใชแลวหรือสิ่ง หลอล่ืนใชแลว ซึ่งผูคาน้ํามันไมไดจําหนายไปอยางน้ํามันหลอล่ืนหรือสิ่งหลอล่ืน มาตรา 26 เพื่อประโยชนในการตรวจสอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิง ใหอธิบดีมี อํานาจกําหนดเงื่อนไขใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ปฏิบัติดังตอไปนี้ (1) เก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงที่เก็บรักษาหรือมีไวเพื่อจําหนาย สงมอบใหแกพนักงานเจาหนาที่ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด ทั้งนี้ ภายในชวงระยะเวลาที่อธิบดีกําหนดตามความจําเปน (2) ทําการทดสอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงที่เก็บรักษาหรือมีไวเพื่อจําหนาย พรอมทั้งรายงานผลใหแกทางราชการตามหลักเกณฑ วิธีการ และภายในระยะเวลาที่อธิบดีกําหนด ในกรณีที่ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 รายใดไมสามารถดําเนินการตาม (2) ได ใหพนักงานเจาหนาที่จัด ใหมีการทดสอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงดังกลาวตามมาตรา 28 และใหผูคาน้ํามันรายนั้น เปนผูเสียคาใชจาย มาตรา 27 เพื่อประโยชนในการตรวจสอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิง ผูคาน้ํามัน ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 หรือผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ตองจัดเก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อสง มอบใหแกพนักงานเจาหนาที่ทําการตรวจสอบลักษณะและคุณภาพตามความจําเปน เปนครั้งคราวตามคําสั่ง ของพนักงานเจาหนาที่ การเก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด มาตรา 28 ในการทดสอบลักษณะและคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิงที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาตาม พระราชบัญญัตินี้ อธิบดีจะมอบใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 หรือบุคคลใดเปนผูทําการทดสอบลักษณะและ คุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงตามที่เห็นสมควรก็ได

Page 10: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

10

มาตรา 29 ในกรณีท่ีพบวาผูคาน้ํามันรายใดจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีมี ลักษณะหรือคุณภาพแตกตางจากที่อธิบดีประกาศกําหนดหรือใหความเห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจสั่งหามมิใหผูคาน้ํามันรายนั้นจําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงดังกลาวและผนึกหัวจาย น้ํามันเชื้อเพลิงได ในกรณีที่ผูคาน้ํามันตามวรรคหนึ่งประสงคจะจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิง ดังกลาวตอไป ใหแจงขอทําการแกไขปรับปรุงลักษณะของน้ํามันเชื้อเพลิงตออธิบดี การแกไขปรับปรุงลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงตามวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนด เมื่อผูคาน้ํามันตามวรรคหนึ่งไดกระทําใหนํ้ามันเชื้อเพลิงมีลักษณะและคุณภาพเปนไปตามที่อธิบดี ประกาศกําหนดแลว ใหรองขอตอพนักงานเจาหนาที่เพ่ือขออนุญาตจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงดังกลาวตอไป และเมื่อพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบแลวปรากฏวาน้ํามันเชื้อเพลิงนั้นมีลักษณะและคุณภาพเปนไปตามที่ อธิบดีประกาศกําหนด หรือใหความเห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหน่ึง ใหมีคําสั่งยกเลิกคําสั่งหามจําหนาย และปลดผลึกหัวจายน้ํามันเชื้อเพลิง คําสั่งยกเลิกคําสั่งหามจําหนายดังกลาวนี้ใหมีผลนับแตวันที่พนักงาน เจาหนาท่ีกําหนด การผนึกหัวจายน้ํามันเชื้อเพลิงและการรองขออนุญาตจําหนายน้ํามันเช้ือเพลิงตามมาตรานี้ใหเปน ไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกําหนด มาตรา 30 การขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงของผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือ ผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 ตองเปนไปตามวิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา หามมิใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 ที่จะ ขนสงคราวละตั้งแตสามพันลิตรขึ้นไปใหบุคคลซึ่งมิใชผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ทําการขนสงน้ํามัน เชื้อเพลิงชนิดที่อธิบดีประกาศกําหนดลักษณะและคุณภาพตามมาตรา 25 เวนแตในกรณีมีความจําเปน ชั่วคราวโดยไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่

หมวด 5 อํานาจและหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่

------------------------------- มาตรา 31 เพื่อประโยชนในการตรวจสอบวาไดมีการปฏิบัติถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้ ให

Page 11: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

11

พนักงานเจาหนาที่มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) เขาไปในสํานักงาน สถานที่กลั่น สถานที่ผลิต สถานที่เก็บ และ สถานที่จําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิง ของผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามัน ในเวลาระหวางพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก หรือในระหวางเวลา ทําการของสถานที่นั้น (2) เก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งชนิดใดที่อยูในความครอบครองของผูคาน้ํามัน หรือ ผูขนสงน้ํามัน หรือผูควบคุมรถขนสงน้ํามัน ตัวอยางละไมเกินหาลิตรมาเพื่อตรวจสอบ (3) สั่งใหผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามันตรวจสอบปริมาณของน้ํามันเชื้อเพลิงและรายงานตอ พนักงานเจาหนาที่ (4) ในกรณีที่ผูคาน้ํามันไมยอมใหเขาไปปฏิบัติหนาที่ตาม (1) หรือ (2) ถามีเหตุอันควรเชื่อวาหาก เนิ่นชาไมสามารถเขาปฏิบัติหนาที่ดังกลาวไดจําทําประโยชนในการตรวจสอบการปฏิบัติตามพระราช บัญญัตินี้ตองสูญเสียไป ก็ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจเปด หรือทําลายประตู หนาตางของอาคาร ร้ัวหรือ สิ่งกีดขวางทํานองเดียวกัน และใหมีอํานาจทําลายตรา สิ่งผนึก หรือสิ่งที่ใชยึดหรือผูกหรือกระทําการใดๆ เพื่อใหไดมาซ่ึงตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงหรือเพื่อการตรวจสอบปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิง แตทั้งนี้ ตองพยายาม มิใหเกิดการเสียหายเทาที่จะทําได (5) ยึดหรืออายัดน้ํามันเชื้อเพลิง ภาชนะบรรจุ อุปกรณ หรือสิ่งใดๆ ที่เกี่ยวของ ในกรณีที่มีเหตุ สงสัยวามีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ (6) สั่งใหผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามันแสดงบัญชี เอกสาร และหลักฐานตางๆ เกี่ยวกับน้ํามัน เชื้อเพลิง (7) เรียกบุคคลที่เกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือใหสงบัญชี เอกสารและหลักฐานใดๆ มาให ณ ที่ทําการ ของพนักงานเจาหนาที่ การเก็บตัวอยางน้ํามันเชื้อเพลิงของผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 และผูคาน้ํามัน ตามมาตรา 11 มาเพื่อตรวจสอบตาม (2) ใหพนักงานเจาหนาที่มีหนาท่ีดําเนินการอยางนอยปละหน่ึงครั้ง มาตรา 32 ในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหบุคคลซึ่งเกี่ยวของ อํานวยความสะดวกตามสมควร มาตรา 33 ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัว แกบุคคลซึ่งเกี่ยวของ บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา

Page 12: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

12

หมวด 6

การเพิกถอนใบอนุญาต --------------------------

มาตรา 34 รัฐมนตรีอาจเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกใหแกผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ได เมื่อผูคานํ้ามัน กระทําการอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ โดยไมมีเหตุผลอันสมควร (1) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดตามมาตรา 8 (2) ไมยื่นปริมาณการคาประจําปตามมาตรา 19 วรรคหนึ่ง (3) ไมสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามมาตรา 20 เปนระยะเวลาตอเนื่องกันเกินสามสิบวัน หรือเปนระยะ เวลาไมตอเนื่องกันแตรวมกันแลวเกินหกสิบวันในปหนึ่ง (4) กระทําการฝาฝนบทแหงพระราชบัญญัตินี้ และเปนกรณีที่ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดใน ความผิดดังกลาวใหลงโทษจําคุกบุคคลตามมาตรา 60 ตั้งแตสามเดือนขึ้นไป การสั่งเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ไมเปนเหตุใหผูคาน้ํามันรายนั้นพนจากการที่จะตองรับ โทษตามพระราชบัญญัตินี้

หมวด 7 บทกําหนดโทษ

--------------------- มาตรา 35 ผูใดฝาฝนมาตรา 7 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป ปรับไมเกินหนึ่งลานบาทหรือ ปรับไมเกินกวามูลคาของน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีทําการคาและผลประโยชนอื่นที่บุคคลนั้นไดรับ แลวแตวา จํานวนใดจะสูงกวากัน หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 36 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดตามมาตรา 8 ตอง ระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาทหรือท้ังจําทั้งปรับ

Page 13: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

13

มาตรา 37 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดที่เลิกประกอบกิจการโดยไมแจงใหรัฐมนตรีทราบตาม มาตรา 9 หรือไมปฏิบัติตามมาตรา 14 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกิน หาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 38 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือ ปรับไมเกินหาแสนบาท หรือปรับไมเกินกวามูลคาของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ทําการคาและผลประโยชนอื่นที่ บุคคลนั้นไดรับ แลวแตวาจํานวนใดจะสูงกวากัน หรือท้ังจําทั้งปรับ มาตรา 39 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 ผูใดไมปฏิบัติตามเงื่อนไขตาม มาตรา 13 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 40 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 หรือผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 14 ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท มาตรา 41 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 12 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 42 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 หรือผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 16 หรือ สงบัญชีหรือแจงขอมูลตามมาตรา 16 อันเปนเท็จ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน หาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 43 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมสงแผนตามมาตรา 17 วรรคหนึ่ง หรือไมสงแผนปฏิบัติ การตามมาตรา 17 วรรคสอง หรือจงใจไมดําเนินกิจการใหเปนไปตามแผนตามมาตรา 17 วรรคหน่ึง หรือ แผนปฏิบัติการตามมาตรา 17 วรรคสอง โดยไมมีเหตุอันควร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ไมเกินหาหม่ืนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 44 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมย่ืนปริมาณการคาประจําปเพื่อขอความเห็นชอบตอ อธิบดีตามมาตรา 19 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหาหม่ืนบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ และปรับเปนรายวันวันละหาพันบาทจนกวาจะไดปฏิบัติใหถูกตอง

Page 14: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

14

มาตรา 45 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดจงใจไมปฏิบัติใหถูกตองตามปริมาณการคาประจําปที่ อธิบดีใหความเห็นชอบหรือกําหนดตามมาตรา 19 วรรคสามโดยไมมีเหตุอันควร ตองระวางโทษจําคุกไม เกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหม่ืนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 46 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 20 วรรคหนึ่ง หรือวรรคสี่ หรือไม ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา 22 วรรคสาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ เปนรายวันวันละไมต่ํากวาหาแสนบาทแตไมเกินวันละหนึ่งลานบาท จนกวาจะไดปฏิบัติใหถูกตอง หรือ ทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 47 ผูคาน้ํามันใดไมปฏิบัติตามคําสั่งหรือเงื่อนไขตามมาตรา 24 ตองระวางโทษจําคุกไม เกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 48 ผูคาน้ํามันผูใดฝาฝนมาตรา 25 วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับ ไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 49 ผูใดกระทําการปลอมปนน้ํามันเชื้อเพลิง หรือกระทําการอยางหนึ่งอยางใดอันทําให ลักษณะหรือคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงแตกตางไปจากที่อธิบดีประกาศกําหนดหรือใหความเห็นชอบตาม มาตรา 25 วรรคหนึ่ง เพื่อจําหนาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินสามแสนบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ ในกรณีที่ผูกระทําการปลอมปนเปนผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 ผูคาน้ํามันตาม มาตรา 11 หรือผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับตั้งแตหาหม่ืนบาทถึง หาแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 50 ผูใดมีไวครอบครองซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีมีลักษณะหรือคุณภาพแตกตางจากที่อธิบดี ประกาศกําหนดหรือใหความเห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง มีปริมาณตั้งแตสองรอยลิตรขึ้นไป ใหสันนิษฐานไวกอนวา ผูน้ันเปนผูกระทําการปลอมปนน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อจําหนาย เวนแตพิสูจนไดวา (1) มีน้ํามันเชื้อเพลิงดังกลาวไวในครอบครองเพื่อใชในกิจการของตน (2) ครอบครองไวตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมน้ํามัน เชื้อเพลิงหรือกฎหมายอ่ืน (3) ไดน้ํามันเชื้อเพลิงมาโดยไมทราบวาเปนน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกตางจาก

Page 15: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

15

ที่อธิบดีกําหนด หรือ ใหความเห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง หรือ (4) ไดมาหรือมีไวเพื่อใชในกิจการอื่นนอกจากการใชอยางน้ํามันเช้ือเพลิงตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ผูมีไวในครอบครองซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงตามวรรคหนึ่งเปนผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูคา น้ํามันตามมาตรา 10 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 หรือผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ซึ่งรัฐมนตรีหรืออธิบดี กําหนดเงื่อนไขใหตองทําการพิสูจนคุณภาพของน้ํามันเช้ือเพลิงดวยวิธีการอยางหนึ่งอยางใดตามมาตรา 8 มาตรา 13 หรือมาตรา 30 วรรคหนึ่ง แลวแตกรณี ซึ่งหากไดกระทําการตามวิธีการที่กลาวนี้แลว ก็อาจ ทราบไดวาน้ํามันเชื้อเพลิงน้ันมีลักษณะหรือคุณภาพแตกตางไปจากที่อธิบดีประกาศกําหนด หรือใหความ เห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง การอางวาไดมาซึ่งนํ้ามันเชื้อเพลิงตาม (3) เปนอันมิใหรับผัง เวนแต จะนําสืบไดวาไดปฏิบัติตามเงื่อนไขการพิสูจนคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิงดังกลาวแลวไมปรากฏวาเปน น้ํามันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกตางไปจากที่อธิบดีประกาศกําหนด หรือใหความเห็นชอบตาม มาตรา 25 วรรคหนึ่ง ความในวรรคหนึ่งและวรรคสอง มิใหใชบังคับกับผูคาน้ํามันที่มีไวในครอบครองซึ่งน้ํามัน เชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพแตกตางจากที่อธิบดีประกาศกําหนดหรือใหความเห็นชอบตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง โดยไดรับการผอนผันจากอธิบดีตามมาตรา 25 วรรคสาม และน้ํามันหลอล่ืนใชแลวหรือ สิ่งหลอล่ืนใชแลวตามมาตรา 25 วรรคสี่ มาตรา 51 ในกรณีที่ผูจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีลักษณะหรือคุณภาพ แตกตางจากที่อธิบดีประกาศกําหนดตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง หรือผูกระทําความผิดตามมาตรา 48 เปน ลูกจางหรือเปนบุคคลซึ่งผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามันมอบหมายใหกระทํา หรือการกระทําความผิดนั้น เกิดขึ้นภายในสถานที่ทําการ หรือสถานที่จําหนาย หรือยานพาหนะสําหรับขนสงนํ้ามันดังกลาวเปนผูรวม กระทําความผิดดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลวที่จะปองกันมิใหมีการ กระทําความผิดเกิดข้ึน มาตรา 52 ผูใดรายงานผลการทดสอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเชื้อเพลิงตามมาตรา 26 (2) หรือมาตรา 28 อันเปนเท็จ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ ถาการกระทําตามวรรคหนึ่ง ผูกระทําไดกระทําโดยเจตนาทุจริตตองระวางโทษเปนสองเทาของ โทษที่กําหนดไดตามวรรคหนึ่ง

Page 16: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

16

มาตรา 53 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 26 ตองระวางโทษปรับตั้งแต หนึ่งพันบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา 54 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 11 หรือผูขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 27 ตองระวางโทษปรับตั้งแตหนึ่งพันบาทถึงหาหมื่นบาท มาตรา 55 ผูใดจําหนายน้ํามันเชื้อเพลิงที่พนักงานเจาหนาที่มีคําสั่งหามจําหนาย หรือทําลายผนึก หัวจายน้ํามันเชื้อเพลิงที่พนักงานเจาหนาที่ทําไวตามมาตรา 29 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือ ปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 56 ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 30 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองแสนบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ ผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 ผูใดฝาฝนมาตรา 30 วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับ ไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 30 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูคาน้ํามันตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 30 วรรคสอง ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 57 ผูใดขัดขวางพนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา 31 ตองระวางโทษจําคุกไม เกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 58 ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา 31 ตอง ระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือนหรือปรับไมเกินสองหมื่นหาพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ และปรับอีกไมเกิน วันละหนึ่งพันบาท จนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง มาตรา 59 ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 32 ตองระวางโทษปรับไมเกินสองหมื่นหาพันบาท มาตรา 60 ในกรณีที่ผูกระทําความผิดซึ่งตองรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เปนนิติบุคคล ให กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น ตองระวางโทษ

Page 17: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

17

ตามที่บัญญัติไวสําหรับความผิดนั้นๆ ดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนในการกระทําความผิดนั้น มาตรา 61 น้ํามันเชื้อเพลิงหรือทรัพยสินใดบรรดาที่ศาลมีคําพิพากษาใหริบ ใหสงมอบแก กรมธุรกิจพลังงาน เพื่อทําลายหรือจัดการที่เห็นสมควรตอไป ในกรณีที่ตองทําลาย ใหศาลมีคําสั่งในคําพิพากษาใหเจาของชําระคาใชจายที่เกิดขึ้นใหแกทาง ราชการดวย (สวนคําบางคํา (ตัวหนา / เอียง) ไดแกใหเปนปจจุบันแลว ตาม พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาแกไข บทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 มาตรา 10) มาตรา 62 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือเปนความผิดที่มี โทษปรับหรือจําคุกไมเกินหนึ่งป ใหอธิบดีมีอํานาจเปรียบเทียบได ในกรณีที่พนักงานสอบสวนพบวาผูใดกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง และผูนั้นยินยอมใหเปรียบ เทียบปรับ ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องใหอธิบดีหรือผูซึ่งไดรับมอบอํานาจภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ผูนั้น แสดงความยินยอมใหเปรียบเทียบปรับ เมื่อผูตองหาไดชําระเงินคาปรับตามจํานวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่กําหนดแลว ใหถือวา คดีเลิกกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถาผูตองหาไมยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระเงินคาปรับภายในระยะเวลาที่ กําหนด ใหดําเนินคดีตอไป ในกรณีที่ทรัพยสินที่อาจริบไดตามกฎหมาย ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบ เปรียบเทียบไดเฉพาะกรณีดัง ตอไปนี้ (1) สําหรับทรัพยสินที่ทํา ใช หรือมีไวเปนความผิด เมื่อผูกระทําความผิดยินยอมใหทรัพยสินน้ัน ตกเปนของกรมธุรกิจพลังงาน (2) สําหรับทรัพยสินที่ไดมาโดยการกระทําความผิดและมีกฎหมายหามมิใหจําหนาย จาย โอน ถาอาจแกไขใหถูกตองได เมื่อผูกระทําความผิดยินยอมและไดแกไขทรัพยสินน้ันใหถูกตองแลว (3) สําหรับทรัพยสินที่ไดมาโดยการกระทําความผิดและมีกฎหมายหามมิใหจําหนาย จาย โอน ถาไมอาจแกไขใหถูกตองได เมื่อผูกระทําความผิดยินยอมใหทรัพยสินน้ันตกเปนของกรมธุรกิจพลังงาน ในการนี้จะกําหนดใหผูกระทําความผิดออกคาใชจายในการทําลายของกลางนั้นดวยก็ได (ตารางอัตราโทษสําเร็จรูป ดู “CD ฐานความผิดตั้งและแกขอหา” : สูตรไพศาล) (สวนคําบางคํา (ตัวหนา / เอียง) ไดแกใหเปนปจจุบันแลว ตาม พระราชกฤษฎีกาพระราชกฤษฎีกาแกไข

Page 18: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

18

บทบัญญัติใหสอดคลองกับการโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 มาตรา 10)

หมวด 8 บทเฉพาะกาล

------------------------- มาตรา 63 ใหผูคาน้ํามันซึ่งไดรับใบอนุญาตจากรัฐมนตรีตามมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติน้ํามัน เชื้อเพลิง พ.ศ. 2521 เปนผูคาน้ํามันซึ่งไดรับใบอนุญาตตามมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 64 ใหปริมาณการคาประจําปและสถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่รัฐมนตรีไดใหความเห็นชอบ แลวตามพระราชบัญญัติน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2521 เปนปริมาณการคาประจําปและสถานที่เก็บน้ํามัน เชื้อเพลิงที่อธิบดีใหความเห็นชอบตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 65 ใหผูคาน้ํามันซึ่งอยูในขายที่จะตองจดทะเบียนตามมาตรา 10 และมาตรา 11 และผูขนสง น้ํามันซึ่งอยูในขายที่จะตองแจงตามมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัตินี้ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ ยื่นขอจดทะเบียนตามมาตรา 10 และ มาตรา 11 หรือแจงตออธิบดีตามมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัตินี้ แลวแตกรณี ภายในหกสิบวันนับแตวันท่ีพระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับ มาตรา 66 บรรดากฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ คําสั่ง หรือเงื่อนไขที่ออกหรือกําหนดตาม พระราชบัญญัติน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2521 ซึ่งใชบังคับอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใชบังคับใหคงใช บังคับไดตอไปเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกวาจะมีกฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ คําสั่ง หรือเงื่อนไข ที่ออกหรือกําหนดตามพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี

Page 19: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

19

อัตราคาธรรมเนียม (1) คําขอ ฉบับละ 100 บาท (2) ใบทะเบียน ฉบับละ 1,000 บาท (3) ใบอนุญาตเปนผูคาน้ํามัน ฉบับละ 20,000 บาท (4) คาธรรมเนียมประกอบกิจการคาน้ํามันตามมาตรา 7 ปละ 100,000 บาท (5) คาธรรมเนียมประกอบกิจการคาน้ํามันตามมาตรา 10 ปละ 50,000 บาท (6) คาธรรมเนียมประกอบกิจการคาน้ํามันตามมาตรา 11 ปละ 5,000 บาท (7) คาธรรมเนียมประกอบกิจการขนสงน้ํามันตามมาตรา 12 ปละ 5,000 บาท ในการออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมจะกําหนดอัตราคาธรรมเนียมใหแตกตาง โดยคํานึงถึงขนาดและกิจการของผูคาน้ํามันหรือผูขนสงน้ํามันก็ได

------------------------------------------------------------------- หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่บทบัญญัติของพระราชบัญญัติ น้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2521 ที่ใชสําหรับควบคุมเกี่ยวกับการคาน้ํามันมีลักษณะที่ไมเหมาะสมกับสภาพการณ ของการประกอบกิจการคานํ้ามันในปจจุบัน สมควรปรับปรุงบทบัญญัติใหมีความทันสมัยยิ่งขึ้น โดย กําหนดควบคุมผูคาน้ํามันเปน 3 ระดับ คือ ผูคาน้ํามันรายใหญ ผูคาน้ํามันรายยอย และสถานีบริการน้ํามัน และผอนคลายมาตรการควบคุมบางอยางใหเขมงวดนอยลง เชน การจัดตั้งสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง สามารถยื่นคําขอเพื่อจดทะเบียนตออธิบดีได ซึ่งแตเดิมกําหนดใหตองขออนุญาตจากอธิบดี สําหรับผูขนสง น้ํามันเชื้อเพลิงก็เพียงแตแจงตออธิบดีเทาน้ัน และปรับปรุงอํานาจของรัฐมนตรีบางประการที่เปนเร่ืองใน รายละเอียดเปลี่ยนเปนอํานาจของอธิบดี เพื่อใหการควบคุมดูแลมีความรวดเร็วยิ่งข้ึน รวมทั้งเพิ่มมาตรการ ควบคุมผูคาน้ํามันรายใหญใหเขมงวดยิ่งข้ึน เพื่อใชควบคุมการคาน้ํามันและการปลอมปนน้ํามัน รวมทั้ง ปรับปรุงมาตรการบางอยางใหสามารถคุมครองผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน การฟองรองและ ดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดฐานปลอมปนน้ํามันเชื้อเพลิง ตลอดจนบทกําหนดโทษของพระราชบัญญัติ ใหมีความเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน โดยเฉพาะโทษปรับท่ียังต่ําไปเนื่องจากกิจการคานํ้ามันเปน กิจการที่ทํารายไดสูงมาก สมควรปรับปรุงพระราชบัญญัติดังกลาวใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตอง ตราพระราชบัญญัตินี้

Page 20: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

20

***หมายเหตุ ไดโอนอํานาจหนาที่ของรัฐมนตรีในการดําเนินการ “รัฐมนตรี” หมายความวา “รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน” ------------------------------------------------------ แกไขโดย “พระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2545 นัยมาตรา 91

Page 21: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

21

ประกาศกรมทะเบียนการคา

เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตา พ.ศ. 2544

------------------------ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการคาน้ํามันเช้ือเพลิง พ.ศ. 2543 อธิบดีกรมทะเบียนการคาออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกรมทะเบียนการคา เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของ น้ํามันเตา พ.ศ. 2544” ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2544 เปนตนไป ขอ 3 ใหกําหนดลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตา โดยแบงน้ํามันเตาออกเปน 2 ประเภท คือ (1) ประเภท ก หมายถึง น้ํามันเตาซึ่งมีปริมาณกํามะถันสูง และ (2) ประเภท ข หมายถึง นํ้ามันเตาซึ่งมีปริมาณกํามะถันต่ํา น้ํามันเตาแตละประเภทตามวรรคหนึ่ง แบงตามความหนืดออกเปน 5 ชนิด ขอ 4 ภายใตบังคับของขอ 7 ลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตาแตละประเภทใหเปนไปตาม รายละเอียดแนบทายประกาศนี้ ขอ 5 ภายใตบังคับของขอ 6 น้ํามันเตาที่ผูคาน้ํามันจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายเพ่ือใชเปน เชื้อเพลิงสําหรับการประกอบกิจการใด ๆ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครปฐม จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสงขลา จังหวัดประจวบคีรีขันธ จังหวัดกระบี่ และจังหวัดภูเก็ต ตองเปนนํ้ามันเตา ประเภท ข น้ํามันเตาที่ผูคาน้ํามันจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนาย เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับการประกอบ กิจการใด ๆ ในเขตพื้นที่อื่นนอกจากเขตพื้นที่ที่กําหนดในวรรคหนึ่งจะเปนนํ้ามันเตาประเภท ก หรือ ประเภท ข ก็ได

Page 22: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

22

ขอ 6 ในกรณีที่สถานประกอบการที่ตั้งอยูในเขตพื้นที่ท่ีกําหนดในขอ 5 วรรคหนึ่ง มีเครื่องมือ และอุปกรณซ่ึงสามารถกําจัดสารเจือปนประเภทซัลเฟอรไดออกไซด (Sulphur Dioxide) ที่ระบายออกจาก สถานประกอบการนั้นใหอยูในปริมาณท่ีไมเกินคาท่ีกระทรวงอุตสาหกรรมไดกําหนดไว น้ํามันเตาที่ผูคา น้ํามันจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนาย เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับการประกอบกิจการในสถานประกอบการ ดังกลาวจะเปนน้ํามันเตาประเภท ก ก็ได แตผูคาน้ํามันนั้นตองแจงเพ่ือขอความเห็นชอบและไดรับความ เห็นชอบจากอธิบดี ขอ 7 ลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตาที่ผูคาน้ํามันจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายสําหรับการสง ออกไปนอกราชอาณาจักร หรือการนําไปใชในการอื่นนอกเหนือจากการใชเปนเชื้อเพลิงที่ใหความรอน โดยตรง เชน การใชของเรือเดินสมุทรเปนตน จะไมเปนไปตามที่กําหนดในประกาศนี้ก็ได แตผูคาน้ํามัน ตองแจงลักษณะและคุณภาพของน้ํามันดังกลาวเฉพาะสวนที่ไมเปนไปตามที่กําหนดในประกาศนี้เพื่อขอ ความเห็นชอบและตองไดรับความเห็นชอบจากอธิบดี ขอ 8 แบบแจงเพื่อขอความเห็นชอบตาม 6 หรือขอ 7 ใหเปนไปตามแบบ นพ. 403 ทาย ประกาศนี้ ขอ 9 การยื่นแบบแจงเพื่อขอความเห็นชอบดวยตามขอ 6 หรือขอ 7 ใหย่ืนตอสํานักน้ํามัน เชื้อเพลิง กรมทะเบียนการคา ขอ 10 เมื่ออธิบดีใหความเห็นชอบตามขอ 6 หรือขอ 7 แลว กรมทะเบียนการคาจะออกหนังสือ รับรองการใหความเห็นชอบตามแบบ นพ. 404 ใหแกผูคาน้ํามันเก็บไวเพื่อแสดงเปนหลักฐานตอพนักงาน เจาหนาที่ ขอ 11 การใหความเห็นชอบตามขอ 10 ใหมีกําหนดระยะเวลาหนึ่งปนับแตวันที่ออกหนังสือ รับรองการใหความเห็นชอบ ขอ 12 ในการจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนายน้ํามันเตาตามขอ 6 หรือขอ 7 ผูคาน้ํามันที่ได รับความเห็นชอบตามขอ 10 ตองปฏิบัติตามเงื่อนไข ดังนี้

Page 23: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

23

(1) การเก็บ การขนสงน้ํามันเตาตามขอ 6 หรือขอ 7 ตองเปนไปตามรายละเอียดที่ผูคา น้ํามันไดระบุไวในแบบแจงเพื่อขอความเห็นชอบ ในกรณีที่ขนสงโดยยานพาหนะ ผูคาน้ํามันตองดําเนินการดังนี้ (ก) สลักหลังตามรายการที่กําหนดในรายละเอียดการสลักหลังซึ่งอยูดานหลัง สําเนาหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบตามขอ 10 ทุกครั้งที่มีการขนสง และตองเก็บไวเปนหลักฐานที่ คลังน้ํามันเพื่อแสดงตอพนักงานเจาหนาที่ (ข) จัดทําสําเนาหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบตามขอ 10 ซึ่งไดทําการ สลักหลังตามรายการที่กําหนดในรายละเอียดของการสลักหลังตาม (ก) แนบไปกับในกํากับการขนสงทุก ครั้งและสงมอบใหผูควบคุมยานพาหนะที่ใชในการขนสงนําติดไปกับยานพาหนะ เพื่อไวแสดงเปนหลัก ฐานตอพนักงานเจาหนาที่ (2) การเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดใด ๆ เกี่ยวกับการเก็บการขนสงน้ํามันเตา ตามที่ผูคาน้ํามันไดระบุไวในแบบแจงซึ่งไดรับความเห็นชอบแลวผูค้ําน้ํามันตองทําหนังสือแจงตอกรม ทะเบียนการคาลวงหนาไมนอยกวา 15 วัน นับแตวันท่ีประสงคจะเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม ประกาศ ณ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 อดุลย วินัยแพทย อธิบดีกรมทะเบียนการคา

(ประกาศใน รจ. 118 ง ตอนที่ 76 ลงวันวันที่ 7 สิงหาคม 2544)

Page 24: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

24

เลขท่ี แบบ นพ.404

หนังสือรับรองการใหความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตา

สวนที่ไมเปนไปตามที่กรมทะเบียนการคากําหนด

หนังสือรับรองฉบับนี้ออกใหเพื่อแสดงวา ผูคาน้ํามันชื่อ.................................................................... มีที่อยู/ ที่ตั้งสถานประกอบการ หรือสํานักงานใหญ ตั้งอยูเลขที่...............................หมูที่............................. ถนน.........................................ตําบล/แขวง........................................อําเภอ/เขต............................................. จังหวัด........................................โทรศัพท.......................................ไดแจงลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเตา สวนที่ไมเปนไปตามที่กรมทะเบียนการคากําหนด เพื่อจําหนายหรือมีไวเพื่อจําหนาย.................................... .............................................................................เพื่อขอความเห็นชอบ และอธิบดีใหความเห็นชอบลักษณะ และคุณภาพของน้ํามันดังกลาวแลว โดยมีสวนที่ไมเปนไปตามที่กรมทะเบียนการคากําหนด ดังนี้ คือ 1. ........................................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................................ 3. ........................................................................................................................................................ 4. ........................................................................................................................................................ 5. ........................................................................................................................................................ โดยผูไดรับความเห็นชอบตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนด การใหความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพของน้ํามันเช้ือเพลิงตามหนังสือรับรองฉบับนี้

Page 25: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

25

มีกําหนดระยะเวลาหนึ่งป นับแตวันที่ออกหนังสือรับรอง ออกให ณ วัน.................................................. ................................................... ประทับตรากรมทะเบียนการคา หมายเหตุ ใหสําเนาหนังสือรับรองการใหความเห็นชอบฯ และใหสลักหลังตามรายการที่กําหนดในรายละเอียดการสลัก หลังแนบไปกับใบกํากับการขนสงทุกครั้ง

ใบสลักหลังหนาที่................. รายละเอียดการสลักหลัง

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ลําดับที่ ชื่อเรือหรือเลขทะเบียน ปริมาณน้ํามัน ใบกํากับการขนสง/Invoice/BL ลงชื่อ ลงชื่อ พาหนะที่ใชขนสง (ลิตร) เลขท่ี วันที่ออก ผูรับผิดชอบ (ลายเซ็น) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

Page 26: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

26

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................... --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(ประกาศใน รจ. 118 ง ตอนพิเศษ 76 ลงวันวันที่ 7 สิงหาคม 2544)

ประกาศกรมทะเบียนการคา

เรื่อง กําหนดชนิดและอัตราการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2544

---------------------- โดยที่เปนการสมควรแกไขปรับปรุงอัตราสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงใหเกิดความมั่นคงดานพลังงาน ตามมติของคณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน ในการประชุมเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2544 อธิบดี กรมทะเบียนการคาอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 20 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการคาน้ํามัน เชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศกรมทะเบียนการคา เรื่อง กําหนดชนิดและอัตราการสํารอง น้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2544” ขอ 2 ประกาศนี้ใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

Page 27: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

27

ขอ 3 ภายใตบังคับขอ 4 และ ขอ 5 ใหผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 สํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามชนิด และอัตราตามตารางรายละเอียดทายประกาศนี้ ขอ 4 น้ํามันเชื้อเพลิงดังตอไปนี้ ใหไดรับการยกเวนไมตองนํามาคํานวณปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิง สํารอง คือ (1) น้ํามันเชื้อเพลิงที่จําหนายใหแกผูคาน้ํามันตามมาตรา 7 รายอ่ืน (2) น้ํามันเชื้อเพลิงที่สงออกไปจําหนายในตางประเทศ (3) น้ํามันเชื้อเพลิงที่จําหนายเพื่อใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีหรือ อุตสาหกรรมอื่นๆ (4) น้ํามันดิบที่โรงกล่ันน้ํามันจัดหามาเพื่อใชในการกลั่นเปนน้ํามันสําเร็จรูปเพ่ือสงออก ขอ 5 การคํานวณปริมาณการเก็บสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงในแตละวันวาเปนไปตามอัตราที่กําหนด ในขอ 3 หรือไม ใหคํานวณเฉลี่ยจากปริมาณการเก็บสํารองรวมของแตละเดือน แตทั้งนี้ปริมาณสํารองใน แตละวันตองไมต่ํากวารอยละเจ็ดสิบของปริมาณที่มีหนาที่ตองเก็บสํารอง ขอ 6 การสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงตามตารางรายละเอียดทายประกาศนี้ผูคาน้ํามันจะเก็บสํารองใน รูปน้ํามันดิบแทนน้ํามันสําเร็จรูป หรือเก็บสํารองน้ํามันสําเร็จรูป หรือน้ํามันองคประกอบแทนน้ํามันดิบที่ ผูคาน้ํามันมีหนาที่ตองเก็บสํารองก็ไดทั้งน้ี อัตราการคํานวณเพื่อแปลงน้ํามันดิบเปนน้ํามันสําเร็จรูป หรือ น้ํามันสําเร็จรูปเปนน้ํามันองคประกอบ ใหเปนไปตามรายละเอียดที่อธิบดีกรมทะเบียนการคาประกาศเปน คราวๆ ตามความเหมาะสม ขอ 7 การสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงแตละชนิด จะสํารองน้ํามันเชื้อเพลิงในกลุมเดียวกันตามตาราง รายละเอียดทายประกาศนี้ทดแทนกันก็ได ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2544 อดุลย วินัยแพทย อธิบดีกรมทะเบียนการคา ---------------------------------------------------------------- ประกาศใน รจ.เลม 118/ พิ 94 ง ลงวันที่ 26 ก.ย. 44

Page 28: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

28

ชนิดและอัตราการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง แนบทายประกาศกรมทะเบียนการคา

เรื่อง กําหนดชนิดและอัตราการสํารองน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2544

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- น้ํามันเชื้อเพลิงที่ผลิต น้ํามันเชื้อเพลิงที่นําเขามา ชนิดน้ํามันเชื้อเพลิง ในราชอาณาจักร ในราชอาณาจักร รอยละ รอยละ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. น้ํามันดิบและวัตถุดิบ ไดแก (1.1) น้ํามันดิบ 5 5 (1.2) เรสซิดิว 5 5 (1.3) แว็กซี่ ดิสทิลเลต 5 5 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. น้ํามันสําเร็จรูป (1) กลุมท่ี 1 ไดแก (1.1) น้ํามันเบนซินออกเทน 91 5 10 (1.2) น้ํามันเบนซินออกเทน 95 5 10 (2) กลุมท่ี 2 ไดแก (2.1) น้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องบินไอพน 5 10 ชนิด เจ.พี.1 (2.2) น้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องบินไอพน 5 10 ชนิด เจ.พี.5 (2.3) น้ํามันกาด 5 10 (3) กลุมท่ี 3 ไดแก (3.1) น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว 5 10

Page 29: พระราชบัญญัติ การค าน้ํามัน ...pao-roiet.go.th/files_news/18_fileAttach_16_02_2012_09_28...พระราชบ ญญ ต การค

29

(3.2) น้ํามันดีเซลหมุนชา 5 10 (4) กลุมท่ี 4 ไดแก นํ้ามันเตา 5 10 (5) กลุมท่ี 5 ไดแก นํ้ามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องบิน 20 20 ชนิดออกเทน 100/130 (6) กลุมท่ี 6 ไดแก นํ้ามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องบิน 10 10 ไอพนชนิด เจ.พี.8 (7) กลุมท่ี 7 ไดแก นํ้ามันหลอล่ืนสําหรับเครื่องบิน 20 20 ทหาร (8) กลุมท่ี 8 ไดแก นํ้ามันหลอล่ืนอื่นนอกจาก 5 10 กลุมที่ 7 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------