4
วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสาคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่ง ที่พระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพักประจาอยู ่ ณ ที่ใด ที่หนึ่ง ตลอดช่วงฤดูฝนที่มีกาหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไป ค้างแรมที่อื่น "เข้าพรรษา" แปลว่า "พักฝน" หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ ต้องอยู ่ประจา ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน โดยเหตุทีพระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริกโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคาสั่งสอนแก่ประชาชนไปในที่ต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องมีที่อยู ่ประจา แม้ในฤดูฝน ชาวบ้านจึงตาหนิ ว่าไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอื่น ๆ จนเสียหาย พระพุทธเจ้า จึงทรงวางระเบียบการจาพรรษาให้พระภิกษุอยู ่ประจาทีตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน คือ เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ่า เดือน 8 ของทุกปี เรียกว่า "ปุริมพรรษา" ถ้าปีใดมีเดือน 8 สอง ครั้ง ก็เลื่อนมาเป็นวันแรม 1 ่า เดือนแปดหลัง และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ่า เดือน 11 เรียกว่า "ปัจฉิมพรรษา" เว้นแต่มีกิจธุระคือเมื่อเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลับได้ในเดียวนั ้น ก็ทรงอนุญาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึ่งไม่เกิน 7 คืน เรียกว่า "สัตตาหะ" หากเกินกาหนดนี้ถือว่า ไม่ได้รับประโยชน์แห่งการจาพรรษา จัดว่าพรรษาขาด สาหรับข้อยกเว้นให้ภิกษุจาพรรษาที่อื่นได้ โดยไม่ถือเป็นการขาดพรรษา เว้นแต่เกิน7 วัน ได้แก่

วันเข้าพรรษาsuphanburicampus.dusit.ac.th/report/20-07-55.pdf2012/07/20  · ท งน ในป 2555 น "ว นเข าพรรษา" จะตรงก

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วันเข้าพรรษาsuphanburicampus.dusit.ac.th/report/20-07-55.pdf2012/07/20  · ท งน ในป 2555 น "ว นเข าพรรษา" จะตรงก

วันเข้าพรรษา

วนัเข้าพรรษา เป็นวนัส าคญัในพทุธศาสนาวนัหนึง่ ท่ีพระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพกัประจ าอยู่ ณ ท่ีใด

ท่ีหนึง่ ตลอดช่วงฤดฝูนท่ีมีก าหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามท่ีพระธรรมวินยับญัญตัิไว้ โดยไม่ไป

ค้างแรมท่ีอ่ืน

"เข้าพรรษา" แปลว่า "พกัฝน" หมายถึง พระภิกษุสงฆ์

ต้องอยู่ประจ า ณ วดัใดวดัหนึง่ระหว่างฤดฝูน โดยเหตท่ีุ

พระภิกษุในสมยัพทุธกาล มีหน้าท่ีจะต้องจาริกโปรดสตัว์

และเผยแผ่พระธรรมค าสัง่สอนแก่ประชาชนไปในท่ีต่าง ๆ

ไม่จ าเป็นต้องมีท่ีอยู่ประจ า แม้ในฤดฝูน ชาวบ้านจึงต าหนิ

ว่าไปเหยียบข้าวกล้าและพืชอ่ืน ๆ จนเสียหาย พระพทุธเจ้า

จงึทรงวางระเบียบการจ าพรรษาให้พระภิกษุอยู่ประจ าท่ี

ตลอด 3 เดือน ในฤดฝูน คือ เร่ิมตัง้แต่วนัแรม 1 ค ่า เดือน

8 ของทกุปี เรียกว่า "ปริุมพรรษา" ถ้าปีใดมีเดือน 8 สอง

ครัง้ ก็เล่ือนมาเป็นวนัแรม 1 ค ่า เดือนแปดหลงั และออกพรรษาในวนัขึน้ 15 ค ่า เดือน 11

เรียกว่า "ปัจฉิมพรรษา" เว้นแต่มีกิจธุระคือเม่ือเดินทางไปแล้วไม่สามารถจะกลบัได้ในเดียวนัน้

ก็ทรงอนญุาตให้ไปแรมคืนได้ คราวหนึง่ไม่เกิน 7 คืน เรียกว่า "สตัตาหะ" หากเกินก าหนดนีถื้อว่า

ไม่ได้รับประโยชน์แห่งการจ าพรรษา จดัว่าพรรษาขาด

ส าหรับข้อยกเว้นให้ภิกษุจ าพรรษาท่ีอ่ืนได้ โดยไม่ถือเป็นการขาดพรรษา เว้นแต่เกิน7 วนั

ได้แก่

Page 2: วันเข้าพรรษาsuphanburicampus.dusit.ac.th/report/20-07-55.pdf2012/07/20  · ท งน ในป 2555 น "ว นเข าพรรษา" จะตรงก

1.การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาท่ีเจ็บป่วย

2.การไประงบัภิกษุสามเณรท่ีอยากจะสกึมิให้สกึได้

3.การไปเพ่ือกิจธุระของคณะ

สงฆ์ เช่น การไปหาอปุกรณ์มา

ซอ่มกฏุิท่ีช ารุด

4.หากทายกนิมนต์ไปท าบญุ ก็

ไปฉลองศรัทธาในการบ าเพญ็

กศุลของเขาได้

นอกจากนีห้ากระหว่างเดิน

ทางตรงกบัวนัหยดุเข้าพรรษา

พอดี พระภิกษุสงฆ์เข้ามาทนัใน

หมู่บ้านหรือในเมืองก็พอจะหาท่ี

พกัพงิได้ตามสมควร แต่ถ้ามาไม่

ทนัก็ต้องพึง่โคนไม้ใหญ่เป็นท่ีพกั

แรม ชาวบ้านเห็นพระได้รับ

ความล าบากเช่นนี ้จงึช่วยกนั

ปลกูเพงิเพ่ือให้ท่านได้อาศยัพกัฝน รวมกนัหลาย ๆ องค์ ท่ีพกัดงักล่าวนีเ้รียกว่า "วิหาร" แปลว่า

ท่ีอยู่สงฆ์ เม่ือหมดแล้ว พระสงฆ์ท่านออกจาริกตามกิจของท่านครัง้ ถึงหน้าฝนใหม่ท่านก็กลบัมา

พกัอีก เพราะสะดวกดี แต่บางท่านอยู่ประจ าเลย บางทีเศรษฐีมีจิตศรัทธาเล่ือมใสใน

พระพทุธศาสนา ก็เลือกหาสถานท่ีสงบเงียบไม่ห่างไกลจากชมุชนนกั สร้างท่ีพกั เรียกว่า "อาราม"

ให้เป็นท่ีอยู่ของสงฆ์ดงัเช่นปัจจบุนันี ้ ทัง้นี ้โดยปกติเคร่ืองใช้สอยของพระตามพทุธานญุาตให้มี

ประจ าตวันัน้ มีเพียงอฏัฐบริขาร อนัได้แก่

Page 3: วันเข้าพรรษาsuphanburicampus.dusit.ac.th/report/20-07-55.pdf2012/07/20  · ท งน ในป 2555 น "ว นเข าพรรษา" จะตรงก

1.สบง2. จีวร 3.สงัฆาฏิ 4.เข็ม 5.บาตร 6.รัดประคด 7.หม้อกรองน า้ 8.มีดโกน และกว่าพระ

ท่านจะหาท่ีพกัแรมได้ บางทีก็ถกูฝนต้นฤดเูปียกปอนมา ชาวบ้านท่ีใจบญุจงึถวายผ้าอาบน า้ฝน

ส าหรับให้ท่านได้ผลดัเปล่ียน และถวายของจ าเป็นแก่กิจประจ าวนัของท่านเป็นพเิศษในเข้าพรรษา

นบัเป็นเหตใุห้มีประเพณีท าบญุเน่ืองในวนันีสื้บมา...

อย่างไรก็ตาม แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเร่ืองของพระภิกษุ แต่พทุธศาสนิกชนก็ถือเป็น

โอกาสดีท่ีจะได้ท าบญุรักษาศีล และช าระจิตใจให้ผ่องใส ก่อนวนัเข้าพรรษาชาวบ้านก็จะไปช่วย

พระท าความสะอาด

เสนาสนะ ซอ่มแซมกฏุิวิหาร

และอ่ืน ๆ พอถึงวนั

เข้าพรรษาก็จะไปร่วม

ท าบญุตกับาตร ถวายเคร่ือง

สกัการะบชูา ดอกไม้ ธูป

เทียน และเคร่ืองใช้ เช่น สบู่

ยาสีฟัน เป็นต้น พร้อมฟัง

เทศน์ ฟังธรรม และรักษา

อโุบสถศีลกนัท่ีวดั บางคน

อาจตัง้ใจงดเว้นอบายมขุ

ต่าง ๆ เป็นกรณีพเิศษ เช่น

งดเสพสรุา งดฆ่าสตัว์ เป็นต้น อนึง่ บิดามารดามกัจะจดัพธีิอปุสมบทให้บตุรหลานของตน โดยถือ

กนัว่าการเข้าบวชเรียนและอยู่จ าพรรษาในระหว่างนีจ้ะได้รับอานิสงส์อย่างสงู

นอกจากนี ้ยงัมีประเพณีส าคญัท่ีขาดไม่ได้เลย คือ "ประเพณีหล่อเทียนเข้าพรรษา" ประเพณีที

Page 4: วันเข้าพรรษาsuphanburicampus.dusit.ac.th/report/20-07-55.pdf2012/07/20  · ท งน ในป 2555 น "ว นเข าพรรษา" จะตรงก

กระท ากนัเม่ือใกล้ถึงฤดเูข้าพรรษา ซึง่มีมาตัง้แต่โบราณกาล การหล่อเทียนเข้าพรรษานี ้มีอยู่เป็น

ประจ าทกุปี เพราะในระยะเข้าพรรษา พระภิกษุจะต้องมีการสวดมนต์ท าวตัรทกุเช้า – เย็น และใน

การนีจ้ะต้องมีธูป - เทียนจดุบชูาด้วย พทุธศาสนิกชนทัง้หลาย จงึพร้อมใจกนัหล่อเทียนเข้าพรรษา

ส าหรับให้พระภิกษุจดุเป็นการกศุลทานอย่างหนึง่ เพราะเช่ือกนัว่าในการให้ทานด้วยแสงสว่าง จะ

มีอานิสงฆ์เพิม่พนูปัญญาหตูาสว่างไสว ตามชนบทนัน้ การหล่อเทียนเข้าพรรษาท ากนัอย่าง

เอิกเกริกสนกุสนานมาก เม่ือหล่อเสร็จแล้ ก็จะมีการแห่แหน รอบพระอโุบสถ 3 รอบ แล้วน าไปบชูา

พระตลอดระยะเวลา 3 เดือน บางแห่งก็มีการประกวดการตกแต่ง มีการแห่แหนรอบเมืองด้วยริว้

ขบวนท่ีสวยงาม โดยถือว่าเป็นงานประจ าปีเลยทีเดียว

ทัง้นี ้ในปี 2555 นี ้"วนัเข้าพรรษา" จะตรงกบัวนัศกุร์ท่ี 3 สิงหาคม พ.ศ.2555