18
39 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà´×͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554 การวิเคราะหศิลปะการใชภาษาในนวนิยายเรื่อง ชางสําราญAn Analysis of the Art of Language Usage in ‘Chang Sum Ran’ บทคัดยอ งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะหศิลปะการใชภาษาในนวนิยายเรื่อง ชางสําราญนวนิยายรางวัลซีไรตประจํา .. 2546 มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะเดนดานศิลปะการใชภาษา ที่ปรากฏใน 4 ดาน ไดแก การใชคํา การ ใชประโยค การใชสํานวนโวหาร และการใชภาพพจน โดยการศึกษาวิจัยจากเอกสาร และนําเสนอผลงานการวิจัย แบบพรรณนาวิเคราะห ผลการวิจัยพบวา เดือนวาด พิมวนาเปนนักเขียนที่สามารถใชภาษาไดอยางประณีตบรรจง พิถีพิถันเลือกสรรภาษาวรรณศิลปไดอยางสละสลวย ใชภาษาที่เรียบงาย ใชคํา และความที่กระชับ ชัดเจน ลักษณะ เดนดานศิลปะการใชภาษาที่ปรากฏมีดังตอไปนีดานการใชคําไดแก การใชคําแสดงอารมณความรู สึก แสดงอาการ เคลื่อนไหว บอกแสง สี เสียง กลิ่น รส แสดงการสัมผัส การใชคําที่ตางไปจากปกติ การเลนสัมผัสเสียงของคํา การ ซํ้าคํา การหลากคํา การใชคํา แบบบันไดคํา การใชสรอยคํา การใชคําที่มีความหมายตรงกันขาม การใชคําภาษา ตางประเทศ การใชภาษาพูด การใชคําไมสุภาพ และการละคําเชื่อม ดานการใชประโยคไดแก การสรางความ สมดุลทางโครงสรางของประโยค การใชประโยคขัดแยง ประโยคเนนความ ประโยคสรุปความ ประโยคคําถาม การ ใชสํานวนภาษาตางประเทศ การที่ประธานเปนผูถูกกระทํา และประโยคซํ้าความ ดานการใชสํานวนโวหารไดแก บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และสาธกโวหาร และ ดานการใชภาพพจนไดแก อุปมา อุปลักษณ บุคลาธิษฐาน สัทพจน และปฏิภาคพจน นับเปนสวนสําคัญยิ่งที่ทําให นวนิยายเรื่อง ชางสําราญ มีความโดดเดน แสดงถึงคุณภาพ ของผลงานจนทําใหนวนิยายเรื่องนี้ไดรับรางวัลซีไรต คําสําคัญ : ศิลปะการใชภาษา, ชางสําราญ, รางวัลซีไรต Abstract The study of “An Analysis of the Art of Language Usage in ‘Chang Sum Ran’” The S.E.A. Write-Award novel of the year 2003 aims at investigating four outstanding aspects of language usage including words, sentences, literary styles and gurative languages. The re- search methodology relies mainly on documentary research, and it is descriptively presented. It is found that the writing language of Duenwat Pimwana is exquisitely delicate with concise and compact words that enhance her work. Many aspects of word usage have been discovered: words of feeling, movement, light, color, sound, smell, taste and feeling; extraordinary words; rhyming; repetition; synonym; verse; word marker; antonym; foreign language; spoken language; impolite words; and connection omission. For sentences, a number of techniques have been used: sentence structure balancing, contrastive sentences, emphasizing sentences, concluding sentences, interrogative sentences, foreign expressions, passive sentences and repetition. For literary styles, three aspects are employed: descriptive, narrative and example illustration. For gurative languages, the use of metaphor, simile, personication, onomatopoeia and paradox. These aspects play an important role on the quality of this novel driving it to be the S.E.A. Write-Award novel. Key words : Art of Language Usage, Chang Sum Ran, S.E.A. Write Awards 1 บทความวิจัยนีไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณรายไดคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจําปงบประมาณ 2552 อรจิรา อัจฉริยไพบูลย Ornjira Atchariyaphaiboon

การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

39ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

การวิเคราะหศิลปะการใชภาษาในนวนิยายเรื่อง “ชางสําราญ” An Analysis of the Art of Language Usage in ‘Chang Sum Ran’

บทคัดยอ งานวิจยัเร่ือง การวิเคราะหศลิปะการใชภาษาในนวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ” นวนิยายรางวัลซไีรตประจําป พ.ศ. 2546 มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาลักษณะเดนดานศิลปะการใชภาษา ที่ปรากฏใน 4 ดาน ไดแก การใชคํา การใชประโยค การใชสํานวนโวหาร และการใชภาพพจน โดยการศึกษาวิจัยจากเอกสาร และนําเสนอผลงานการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห ผลการวิจัยพบวา เดือนวาด พิมวนาเปนนักเขียนท่ีสามารถใชภาษาไดอยางประณีตบรรจง พิถีพิถันเลือกสรรภาษาวรรณศิลปไดอยางสละสลวย ใชภาษาท่ีเรียบงาย ใชคาํ และความท่ีกระชับ ชดัเจน ลกัษณะเดนดานศิลปะการใชภาษาท่ีปรากฏมีดงัตอไปนี ้‘ดานการใชคาํ’ ไดแก การใชคาํแสดงอารมณความรูสกึ แสดงอาการเคล่ือนไหว บอกแสง สี เสียง กล่ิน รส แสดงการสัมผัส การใชคําท่ีตางไปจากปกติ การเลนสัมผัสเสียงของคํา การซํ้าคํา การหลากคํา การใชคํา แบบบันไดคํา การใชสรอยคํา การใชคําท่ีมีความหมายตรงกันขาม การใชคําภาษาตางประเทศ การใชภาษาพูด การใชคําไมสุภาพ และการละคําเช่ือม ‘ดานการใชประโยค’ ไดแก การสรางความสมดุลทางโครงสรางของประโยค การใชประโยคขัดแยง ประโยคเนนความ ประโยคสรุปความ ประโยคคําถาม การใชสํานวนภาษาตางประเทศ การท่ีประธานเปนผูถูกกระทํา และประโยคซ้ําความ ‘ดานการใชสํานวนโวหาร’ ไดแก บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และสาธกโวหาร และ ‘ดานการใชภาพพจน’ ไดแก อุปมา อุปลักษณ บุคลาธิษฐาน สทัพจน และปฏภิาคพจน นบัเปนสวนสาํคัญย่ิงทีท่าํให นวนิยายเร่ือง ชางสาํราญ มคีวามโดดเดน แสดงถงึคณุภาพของผลงานจนทําใหนวนิยายเร่ืองนี้ไดรับรางวัลซีไรต คําสําคัญ : ศิลปะการใชภาษา, ชางสําราญ, รางวัลซีไรต

Abstract The study of “An Analysis of the Art of Language Usage in ‘Chang Sum Ran’” The S.E.A. Write-Award novel of the year 2003 aims at investigating four outstanding aspects of language usage including words, sentences, literary styles and figurative languages. The re-search methodology relies mainly on documentary research, and it is descriptively presented. It is found that the writing language of Duenwat Pimwana is exquisitely delicate with concise and compact words that enhance her work. Many aspects of word usage have been discovered: words of feeling, movement, light, color, sound, smell, taste and feeling; extraordinary words; rhyming; repetition; synonym; verse; word marker; antonym; foreign language; spoken language; impolite words; and connection omission. For sentences, a number of techniques have been used: sentence structure balancing, contrastive sentences, emphasizing sentences, concluding sentences, interrogative sentences, foreign expressions, passive sentences and repetition. For literary styles, three aspects are employed: descriptive, narrative and example illustration. For figurative languages, the use of metaphor, simile, personification, onomatopoeia and paradox. These aspects play an important role on the quality of this novel driving it to be the S.E.A. Write-Award novel.Key words : Art of Language Usage, Chang Sum Ran, S.E.A. Write Awards

1บทความวิจยัน้ี ไดรบัทนุสนบัสนนุการวิจยัจากงบประมาณรายไดคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจาํปงบประมาณ 2552

อรจิรา อัจฉริยไพบูลย Ornjira Atchariyaphaiboon

Page 2: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

40 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

บทนํา

ศิลปะการใชภาษาวรรณศิลปเปนเคร่ืองมือสําคัญย่ิงในการสรางสรรคงานวรรณกรรม ภาษาเปน

องคประกอบสําคัญท่ีผูประพันธเลือกสรรถอยคํา ประโยค สํานวนโวหาร และภาพพจน ใชเพ่ือสื่อความคิด

มมุมองใหม นยัท่ีคมคายลึกซ้ึง ผานภาษาท่ีสวยงาม สรรคสรางเร่ืองราวใหขบัเคล่ือนดาํเนินไปตามทีป่ระสงค

ศลิปะการนําเสนอท่ีชวนติดตามดวยความเพลิดเพลิน อนัจะทําใหผูอานรับรู เกิดจนิตนาการ เขาใจ ยอมรับ

และประทับใจเมื่อไดอานงานวรรณกรรม ผูประพันธแตละทานยอมมีศิลปะการใชภาษาท่ีเปนเอกลักษณ

ความสามารถเฉพาะตัวในการทําใหองคประกอบตางๆ ของภาษาสอดรับกันไดอยางสอดคลองลงตัวพอดี

เพ่ือสรางใหงานเขียนมีความโดดเดน นาสนใจ และเกิดอรรถรสในการอาน

เดือนวาด พิมวนา เปนนักเขียนหญิงคณุภาพรุนใหมอกีคนหน่ึงของวงการวรรณกรรม ทีส่รางสรรค

งานประพันธผานศิลปะการใชภาษาไดอยางประณีตบรรจง พิถีพิถัน เลือกสรรภาษาวรรณศิลปไดอยางสละ

สลวย สมเหตุสมผล และสมจริง โดยมีผลงานอยางตอเน่ือง และไดรับความนิยมจากผูอานเปนจํานวนมาก

ไมวาจะเปนงานประพันธประเภท “เร่ืองสั้น” ไดแก รวมเรื่องสั้นคัดสรร ชุด ‘หนังสือเลมสอง’ ‘สัมพันธภาพ’

และ ‘ทุกขหฤหรรษ’ เร่ืองสั้นขนาดยาว เร่ือง ‘คุณสงคราม’ งานประพันธประเภท “เร่ืองเลาเชิงความเรียง”

ชื่อวา ‘แดดสิบแปดนาฬกา’ และงานประพันธประเภท “นวนิยาย” เร่ือง ‘ชางสําราญ’

เปนท่ีนาสังเกตวา เดือนวาด พิมวนา เปนหน่ึงในนักเขียนท่ีไดรบัรางวัลอยางสมํา่เสมอ งานประพันธ

ประเภท‘เร่ืองสั้น’ มักจะไดรับรางวัลสําคัญดานวรรณกรรม เชน “รางวัลชอการะเกด” ซึ่งเปนนักเขียนหญิง

คนแรกท่ีไดรับรางวัลชอการะเกดถึง 4 ครั้ง ดังน้ี ครั้งแรก พ.ศ. 2535 เร่ือง ‘รอยภาพ’ ครั้งท่ีสอง พ.ศ. 2536

เร่ือง ‘ผูบรรลุ’ ครั้งท่ีสาม พ.ศ. 2537 เร่ือง ‘กาละแหงการงาน’ และครั้งลาสุด พ.ศ. 2552 เร่ือง ‘ลารา’

การประกวดและมอบรางวลัแกผลงานวรรณกรรมเปนปจจยัสําคญัท่ีสรางแรงจงูใจตอนกัประพันธ

ทําใหเกิดการพัฒนาคุณภาพของงานเขียน โดยเฉพาะอยางย่ิง งานวรรณกรรมประเภท ‘นวนิยาย’ ถือไดวา

เดือนวาด ประสบความสําเร็จอยางดีเย่ียม นวนิยายเร่ืองแรกในชีวิต คือ เร่ือง “ชางสําราญ” ไดรับรางวัล

ซีไรต (The S.E.A. Write Awards) หรือรางวัลวรรณกรรมสรางสรรคยอดเย่ียมแหงอาเซียน (South East

Asian Writers Awards) ประจําปพุทธศักราช 2546 ถือไดวาเปนนักเขียนหญิงลําดับที่ 4 ที่ไดรับรางวัลอัน

ทรงคุณคาน้ี ในโอกาสครบรอบ 25 ปของการมอบรางวัลซีไรต

คณะกรรมการรอบตัดสนิมมีตเิปนเอกฉันท ประกาศใหนวนิยาย เร่ือง “ชางสําราญ” ไดรบัรางวัลซี

ไรตประจําป พุทธศักราช 2546 ดังมีคําประกาศรางวัลจากคณะกรรมการ ดังน้ี “...นี่คือนวนิยายท่ีเรียบงาย

และงดงามเปยมไปดวยความหวัง ความฝน และความเช่ือมั่นศรัทธาในดานดีของจิตใจของมนุษย...”

ประภัสสร เสวิกุล (2546, หนา 15) ซึ่งเปนหน่ึงในคณะกรรมการรอบตัดสินไดแสดงทัศนะเก่ียวกับ

นวนิยายรางวัล ซีไรต เร่ือง “ชางสําราญ” ไววา “เปนนวนิยายท่ีเล็กแตใหญ งายแตงาม เจ็บปวดแตไม

รวดราวและข่ืนขมแตไมขมขื่น”

จากทัศนะขางตนจะเห็นไดวา นวนิยายเร่ืองนี้มีวิธีการนําเสนอที่แยบยล สื่อแสดงเรื่องธรรมดา

ที่ ไมธรรมดา เร่ืองเศราโศกแตไมโศกเศรา ทําใหผูอานเกิดความรูสึกตรงกันขาม จะเห็นไดวาศิลปะการใช

1นักเขียนหญิงท่ีไดรับรางวัลซีไรตคนแรก กฤษณา อโศกสิน จากนวนิยายเร่ือง ปูนปดทอง พ.ศ. 2528 คนท่ีสอง จิระนันท พิตรปรีชา

จากกวีนิพนธ เร่ือง ใบไมที่หายไป พ.ศ. 2532 คนท่ีสาม อัญชัน จากรวมเร่ืองสั้นชุด อัญมณีแหงชีวิต พ.ศ. 2533 และลาสุดคนท่ีหา งาม

พรรณ เวชชาชีวะ จากนวนิยาย เร่ือง ความสุขของกะทิ พ.ศ. 2549

Page 3: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

41ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ภาษาเขามา มีบทบาทสําคัญในการถายทอดเร่ืองราวเหลาน้ีเปนอยางย่ิง ดวยคุณสมบัติดังกลาวขางตนน้ี

เร่ือง “ชางสําราญ” ของเดือนวาด พิมวนา จงึเปนวรรณกรรมประเภทนวนิยายท่ีมคีวามดีเดน สมควรแกการ

ยกยองใหเปนวรรณกรรมสรางสรรคยอดเย่ียมของประเทศไทย ประจําป 2546 จากรางวัลดังกลาวขางตน

ยอมแสดงถึงความสามารถใน การสรรคสรางวรรณกรรม ของเดือนวาด พิมวนา ถือไดวาเปนเคร่ืองยืนยัน

ถึงความเปนนักเขียนมืออาชีพไดเปนอยางดี

นวนิยายซีไรต เร่ือง “ชางสําราญ” เปนนวนิยายคุณภาพเร่ืองหน่ึงของเดือนวาด พิมวนา ซึ่งจัดได

วามีคุณคาท้ังเริงรมยและเริงปญญา สรางความประทับใจแกผูอานจํานวนมาก สังเกตไดจากจํานวนคร้ังท่ี

ตีพิมพจนถึงขณะน้ี (พ.ศ. 2554) พิมพเปนคร้ังท่ี 15 แลว

เวียง – วชิระ บวัสนธ (2546, หนา 1) บรรณาธิการของนวนิยายเร่ืองน้ีไดแสดงความคิดเห็นเปรียบ

เทียบ ระหวางผลงานเลมแรก คือ รวมเร่ืองสั้นคัดสรร ชุด ‘หนังสือเลมสอง’ และผลงานนวนิยาย เร่ือง ‘ชาง

สําราญ’ดานการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา ไววา “หากเปรียบเทียบกันระหวางผลงานเลมแรกกับ ‘ชาง

สําราญ’ เลมนี้ จะเห็นไดวาเดือนวาด มีพัฒนาการท้ังในแงวิธีเลาเร่ือง และการใชภาษาท่ีสอดรับกับตัวเน้ือ

ไดอยางนาสนใจย่ิง”

นอกจากน้ี เวียง – วชิระ บัวสนธ (2553, หนา 1) ยังไดกลาวถึง นวนิยาย เร่ือง “ชางสําราญ” ไววา

‘ชวิีตในโลกท่ีถูกละเลย’ อาจเปนถอยสรปุรวบรดัชดัเจนท่ีอธิบายถึงภาพรวมความหมายเชิงกวาง

ของ ‘ชางสาํราญ’ ...หาไดใหนํา้หนักกับการตีแผแงรายแหงชวิีตเปนสําคัญ ตรงกันขาม ผูเขียนกลับเลือกเสนอ

ใหเห็นระบบความสัมพนัธอนัสะทอนถึงเย่ือใยไมตรทีีน่บัเปนพลังเชงิบวกมากกวา ราวจะส่ือวาแทแลวการ

ดํารงอยูของผูคน ถึงแมจะมีอุปสรรคขวางก้ันแตมันก็จะสามารถดําเนินไปไดเสมอ หากมนุษยเราไมอัตคัด

นํ้าจิตน้ําใจแกเพ่ือนรวมสายพันธุ...

สิริวรรณ นันทจันทูล (2552, หนา 77) ไดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับศิลปะการใชภาษาใน

วรรณกรรม ไววา “นวนิยายเปนวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ถายทอดลีลาการใชภาษาของผูประพันธไดอยางดี

ย่ิง หากผูประพันธมีศิลปะการใชภาษาไดอยางยอดเยี่ยมก็จะแสดงลีลาภาษาท่ีโดดเดนทําใหผูอานไดรับ

อรรถรส และเกิดจินตภาพตามท่ีผูประพันธประสงค”

จากท่ีกลาวมาจะเห็นไดวาการใชภาษาในวรรณกรรม หากผูประพันธมีการเลือกใชภาษาท่ีนา

สนใจ จะมีพลังในการส่ือสารมาก สงผลใหเน้ือเรื่องสนุกสนาน ซึ่งจัดไดวาท้ังเริงรมยและเริงปญญา ผูวิจัยจึง

สนใจที่จะศึกษาหาคําตอบวา เดือนวาด พิมวนามีลักษณะเดนในการนําเสนอศิลปะการใชภาษาในนวนิยาย

เร่ือง‘ชางสําราญ’ เปนอยางไร จงึสงผลไดรบัรางวัลซไีรต และสรางความประทับใจแกผูอาน ประกอบกับยังไมมี

งานวิจัยใดท่ีศึกษาเก่ียวกับศิลปะการใชภาษาในนวนิยายเร่ืองน้ีมากอน การศึกษาศิลปะการใชภาษาจึงเปน

ที่มาของงานวิจัยน้ี โดยมุงศึกษาวิเคราะหการใชภาษา 4 ดาน ไดแก การใชคํา การใชประโยค การใชสํานวน

โวหาร และการใชภาพพจน เพ่ือใหเกิดความรู และความเขาใจเก่ียวกับแนวทางในการใชภาษาของนวนิยาย

เรือ่งนี ้อนัจะทําใหเห็นความสามารถเชงิวรรณศลิปของเดอืนวาด พิมวนาซึง่จะกอใหเกิดประโยชนแกผูทีส่นใจ

วรรณกรรม ทั้งยังใชเปนแนวทางในการศึกษาลักษณะภาษาวรรณกรรมในปจจุบันไดอยางดีอีกดวย

Page 4: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

42 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ความมุงหมายของการวิจัย

เพ่ือศกึษาลักษณะเดนของศิลปะการใชภาษา 4 ดาน ไดแก การใชคาํ การใชประโยค การใชสาํนวน

โวหาร และการใชภาพพจน ที่ปรากฏในนวนิยายรางวัลซีไรตประจําป 2546 เร่ือง “ชางสําราญ” ของเดือน

วาด พิมวนา

ขอบเขตของการวิจัย

การศึกษาคร้ังน้ี ผูวิจัยศึกษา ศิลปะการใชภาษาปรากฏในนวนิยาย เร่ือง ชางสําราญ ของเดือน

วาด พิมวนาฉบับพิมพครั้งแรก พ.ศ. 2546 ของสํานําพิมพ สามัญชน โดยใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซ่ึงศึกษา

จากเอกสารและนําเสนอผลการวิจัยในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห

สมมติฐานของการวิจัย

เดือนวาด พิมวนา เปนนักเขียนท่ีสามารถใชภาษาไดอยางประณีตบรรจง พิถีพิถัน เลือกสรรภาษา

วรรณศิลปไดอยางสละสลวย สมเหตุสมผล และสมจรงิ ใชคาํและความท่ีกระชับ ชดัเจน แตกินใจความกวาง

ใชภาษาท่ีเรียบงาย จริงใจ ชวยใหผูอานเขาใจงาย สามารถเขาถึงผูอานไดทุกเพศทุกวัย สรางการยอมรับ

และประทับใจในชะตากรรมของตัวละครสําคัญอยางเด็กชายกําพล ชางสําราญ และซาบซึ้งกับความเอ้ือ

อาทรของบรรดาชาวบานท่ีอาศัยอยูในชุมชนหองแถวคุณแมทองจันทร

ความสําคัญของการวิจัย

1. ผลของการวิจัยคร้ังน้ีทําใหเห็นลักษณะเดนของศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา

2. เปนแนวทางใหผูสนใจไดศึกษาศิลปะการใชภาษาในวรรณกรรมของนักเขียนคนอ่ืนตอไป

3. ทาํใหเห็นตวัอยางการใชภาษาในงานวรรณกรรม เพ่ือนาํไปปรบัใชในการเรยีนการสอนรายวิชา

ทักษะภาษาไทย การอานเชิงวิจารณ และวรรณกรรมกับสังคมตอไป

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจยัเร่ือง การวิเคราะหศลิปะการใชภาษาในนวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ” เปนงานวิจยั เชงิ

คุณภาพ ศึกษาวิจัยจากเอกสาร และนําเสนอผลงานการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห งานวิจัยน้ีจะวิเคราะห

ศิลปะการใชภาษา 4 ดาน ไดแก การใชคํา การใชประโยค การใชสํานวนโวหาร และการใชภาพพจน งาน

วิจัยน้ีมีแนวทางในการวิเคราะหศิลปะการใชภาษา โดยใชทฤษฎีวิเคราะหการใชภาษาในวรรณกรรม โดยใน

การเก็บรวบรวมขอมูลแลววิเคราะห ‘ดานใชคํา’ จะพิจารณาจากกระบวนการจินตภาพในคําท่ี ยุวพาส ชัย

ศิลปวัฒนา ไดนําเสนอไวเพ่ือวิเคราะห และพิจารณาการใชคําลักษณะอ่ืนๆตามท่ีเปลื้อง ณ นครเสนอไวเปน

สาํคัญ สวนแนวทางในการวิเคราะห ‘ดานการใชประโยค’ จะพิจารณาตามแนวทางการเรียบเรียงประโยคอยาง

มีศิลปะของ ธนรัชฎ ศิริสวัสดิ์ สําหรับแนวทางการพิจารณา ‘ดานการใชสํานวนโวหาร’ ผูวิจัยเลือกใชแนวคิด

ของ บุปผา บุญทิพย มาประกอบการพิจารณา สวนประเด็นการพิจาณา ‘ดานการใชภาพพจน’ จะพิจารณา

ตามแนวทางของวิภา กงกะนันทน เปนสําคัญ ซึ่งจะทําใหประจักษถึงความสามารถในการใชภาษาของเดือน

วาดพิมวนา ที่สงผลให นวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ” ไดรับรางวัลซีไรต มีคุณคาเหมาะสมกับรางวัลท่ีไดรับ

Page 5: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

43ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ผลการวิจัย

ผลของการวิจยั ศลิปะการใชภาษาในนวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ” แบงออกไดเปน 4 ประเด็นหลัก

ไดแก การใชคํา การใชประโยค การใชสํานวนโวหาร และการใชภาพพจน ตามลําดับ ดังตอไปนี้

1. การใชคํา

ศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา ดานการใชคํา ที่ปรากฏใน นวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ”

มี 19 ลักษณะ ไดแก การใชคําแสดงอารมณความรูสึก แสดงอาการเคล่ือนไหว บอกแสง สี เสียง กล่ิน รส

แสดงการสัมผัส การใชคําท่ีตางไปจากปกติ การเลนสัมผัสเสียงของคํา การซ้ําคํา การหลากคํา การใชคํา

แบบ บันไดคํา การใชสรอยคํา การใชคําท่ีมีความหมายตรงกันขาม การใชคําภาษาตางประเทศ การใช

ภาษาพูด การใชคําไมสุภาพ และการละคําเช่ือม ดังน้ี

1.1 การใชคําแสดงอารมณความรูสกึ เปนการเลือกคําเพ่ือแสดงใหผูอานเขาใจถึงอารมณ ความ

รูสกึของตัวละครอยางลึกซ้ึง และมีอารมณรวมไปกับตัวละครดวย ไมวาจะเปนความสุขหรือความทุกขก็ตาม

ดังตัวอยางตอไปนี้

กําพลถือขนมคางอยูในมือ ตาลอยฟงคนน้ันพูดที คนน้ีพูดที เขาเบื่อ คอตก คิดถึงพอ และฝนถึง

บานใหม ทั้งเหน่ือยและงวงนอน...เขาเร่ิมหงุดหงิด และโกรธเม่ือผูใหญบางคนบอกวา พออาจทิ้งเขาไว

ที่นี่ พานองไปอยูที่อื่น...กําพลใจเสีย แตไมเชื่อ เร่ิมเกลียดหนาผูใหญ เขาเลิกสนใจฟง ชะเงอมองตนทาง

ไมวางตา (หนา17)

กําพลรูสกึหมดแรง เขาหิวแตไมรูจกัความหิว คดิวาตัวเองไมสบาย และไมอยากลุก ไปไหน (หนา 41)

กําพลหัวเราะ แตไมบอก เขามีที่ซอนลับที่ดีที่สุด ตองยอนเวลากลับไปจึงจะพบ เขาว่ิงไปกระโดด

ไปดวยความยินดี แตความหงอยเหงามีมากกวา จึงหยุดว่ิง กาวไปชาๆ อยางไมรูจุดหมาย (หนา 52)

1.2 การใชคําแสดงอาการเคลือ่นไหว เปนคาํบอกกิรยิาอาการ และการเคล่ือนไหวของสิง่ตางๆ

ทําใหผูอานเกิดภาพในจินตนาการณอยางชัดเจน ไมวาจะเปนการเคล่ือนไหวไปขางหนา การเคล่ือนไหว

อยางรวดเร็ว การเคล่ือนไหวอยูไมนิ่ง และการแสดงอาการไมปรกติ ดังตัวอยาง

แมเหวี่ยงพัดลมคอหัก พอโยนกระติกน้ํารอนขามหัวแมออกไปนอกบาน (หนา 15)

ไอหนูผวาจากท่ีนอน คลําอยูในความมืด พอคนในบานลุกข้ึนเปดไฟ เด็กถลาไปที่ประตู

เปดและวิ่งออกไป รองเรียกหาพอดังกองไปตามถนน (หนา 20)

พวกแมคาพอคาท่ีดานนอกขายของมือเปนระวิง (หนา 94)

เด็กยานหองแถวคุณแมทองจันทรลุกข้ึนเดอดา เทาของแตละคนเขลอะไปดวยฝุน

เกกังอยูครูหน่ึงก็หลบไปดานขาง ครั้นแลวเขาจับจองบันไดทางข้ึนโรงครัว (หนา 74)

1.3 การใชคําบอกแสง เปนการเลือกคําท่ีแสดงแสงเงา ความสวางของฉาก และบรรยากาศท่ีผู

เขียนตองการนําเสนอ ทําใหงานเขียนน้ันนําเสนอสารท่ีเห็นภาพชัดเจน คําบอกแสงท่ีเดือนวาด พิมวนานํา

มาใช เปนการใชคําบอกแสงท่ีออนลง หมนมัว และมืด การใชคําบอกแสงท่ีกระพริบ สองประกาย และการ

ใชคําบอกแสงท่ีสองสวางเจิดจา เชน

Page 6: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

44 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ปายช่ือและลูกศรช้ีอันสลัวรางไมสวางโร เทาปายใหญหนาปากซอย (หนา 12)

เขาพลิกมือ หุนยนตสีนํ้าเงินแวววาวอยูในแสงสลัว (หนา 66)

ตอนเย็นวันเสาร แดดออนแสง โมงยามแหงการละเลนใกลสิ้นสุด (หนา 89)

วันอาทิตย กําพลต่ืนสายโดง แดดจาเขามาทางหนาตาง (หนา 165)

1.4 การใชคําบอกส ีเปนการใหรายละเอียดของสีเพ่ือใหผูอานไดสมัผสัความสวยงามของถอยคํา

เพ่ิมมากขึน้ การพรรณนาสีของผูเขียนมักปรากฏการการใชคาํวิเศษณขยายคําบอกส ีหรอืในบางครัง้ผูเขียน

ไมไดระบุสีใหชัดเจนวาเปนสีอะไร แตใชคําขยายทําใหเกิดภาพ ผูอานสามารถคาดเดา หรือจินตนาการได

วานาจะเปน สีอะไร ปรากฏกลาวไวอยางเดนชัด เชน

ลูกโปงสีหวาน (หนา 53)

ใบหนาดําคลํ้านากลัวนัก (หนา 73)

ทั้งสองคลี่กระดาษแกวข้ึนแปะตา พลางหัวเราะกันคิกคัก พวกเขาเปล่ียนโลกใหกลายเปน

สีทองเหลืองอราม (หนา 76)

เลือดฉีดจนแกมแดงระเรื่อ อมย้ิมปริ่มสุข (หนา 91)

ทะเลสีคลํ้าและหาดเปนสีดําดูหนาเกลียด ทองฟาสีหลัวๆ เห็นตะวันเจือจางอยูในกลุมเมฆ

(หนา 125 - 126)

1.5 การใชคําบอกเสียง เปนคําท่ีทําใหผูอานรับรสจินตภาพของเสียง โดยสัมผัสกับเสียงของคํา

ที่ปรากฏออกมาโดยไดยินเสียงของคําในการเลียนเสียงแบบตาง ๆ และยังหมายถึง คําบอกเสียงและน้ํา

เสียงของ ตัวละครท่ีเปลงออกมาโดยมีโทนเสียงสามารถบอกระดับความเขมและออนของอารมณตัวละคร

ในขณะน้ันไดซึ่งจะทําชวยใหผูอานไดรับสารที่ชัดเจนเพ่ิมขึ้น เชน

หลายวันกอนบานของกําพลเกิดเร่ือง พอกับแมทะเลาะตบตีกันเสียงดังไปถึงไหน ตอไหน...

นองชายวัยอีกสองเดือนจะครบขวบของกําพลรองไหจาอยูในบาน (หนา 15)

ทุกคร้ังท่ีมีการรวมตัวกันเพ่ือเลนซอนแอบ นับจํานนแลวสิบหาคนพอดี

เร่ิมตนจะสงเสียงโหวกเหวกเจ๊ียวจาวจนผูใหญบางคนทนไมไหว (หนา 49)

แตเสียงกรีดกราดอึกทึกของเด็ก ๆ มิไดสรางซา (หนา 89)

เสียงเล็กๆ ของกําพลเบาหวิว (หนา 109)

เสียงเหรียญกระทบกนขันดงักราว (หนา199)

พอเห็นหนา โมโมทักทายดวยเสียงคํารามตํ่า ๆ (หนา 217)

1.6 การใชคําบอกกลิน่ เปนการเลือกคําเพ่ือแสดงลักษณะของกล่ินตางๆ ทาํใหผูอานสามารถรับ

รูถึงกล่ินน้ันๆ ได คําบอกกล่ินท่ี เดือนวาด พิมวนานํามาใช มีทั้งคําบอกกล่ินท่ีมีคําขยาย และคําบอกกล่ืนท่ี

ไมมีคําขยายดังตัวอยางตอไปนี้

กําพลซ่ึงน่ังละหอยอยูกับกองกระเปา ถูกเพ่ือนบานใจดีอีกรายหน่ึงพาเขาบานย่ืนจานขาวโปะไข

เจียวหอมฉุยใหตรงหนา (หนา 18)

Page 7: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

45ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

เส้ือผาท่ีรีดแลวแขวนอยูเต็มราว กล่ินหอมฟุงไปทั้งหอง กําพลสูดดมอยางชื่นอกชื่นใจ (หนา 65)

กําพลมองพอเดินหายลับ รสชาติของไขพะโลเลือนไป กล่ินหอมของนํ้ายาซักรีด แผวจาง (หนา 66)

1.7 การใชคําบอกรส เปนการนําคําบอกรสมากลาวถึงรสชาติของอาหาร ทําใหผูอานเกิดความ

รูสึกเหมือนไดลิ้มรสชาติดวยตนเอง คําบอกรสท่ี เดือนวาด พิมวนานํามาใช มีคําท่ีไมไดระบุวาเปนรสชนิด

ใด แตผูอานสามารคาดเดาไดวาเปนรสชาติอรอย และคําบอกรสท่ีไมมีคําขยาย ดังตัวอยาง

ความหิวกําเนิดขึ้นกอนความอิ่ม ในเวลาซ่ึงพอเหมาะ มันทําใหอาหารทุกชนิดเลิศรสกวาปกติ (หนา 39)

ตนแรกคือพุทรา ผลดกเต็มตนแตรสฝาดและเปรี้ยว เด็กๆ เก็บผลสีแดงซึ่งสุกจนแหงและหลน

อยูเกล่ือนพ้ืน (หนา 203)

1.8 การใชคําแสดงการสมัผัส เปนคําแสดงการสัมผสัเพ่ือเนนย้ําอารมณความรูสกึของตัวละคร

ทําใหผูอานมีอารมณรวมไปกับตัวละคร เดือนวาด พิมวนาเลือกใชทั้งคําแสดงการสัมผัสท่ีมีคําขยาย ดังน้ี

ดวยเหตุนี้ กําพลซ่ึงยังครึ่งหลับครึ่งตื่นออกมาน่ังตัวงอตาปรือรับอากาศเชาท่ีเย็นและชื้น (หนา 40)

ทวาเขาคงน่ังน่ิงๆ ตอไปจนเย็นย่ํา บางครั้งมีลมพัดผานทําใหแผนหลังเย็นวาบ (หนา 106)

กําพลตัวรอนผาว เรียกอยางไรก็ไมรูสึก (หนา 230)

1.9 การใชคําที่ตางไปจากปกติ พบ 5 ลักษณะ ไดแก การดัดแปลงจากคําโดยการเติม โดยการ

ตัด โดยการเปล่ียน โดยการเช่ือม และดัดแปลงความหมายของคํา ดังรายละเอียดตอไปนี้

1.9.1 การดัดแปลงจากคําโดยการเติม เชน

กําพละกําลังกินขนม ในกระเปาเกลี้ยงเกลา เขาเค้ียวชา ๆ ดวยอารมณหมนหมอง (หนา 37-38)

มาจากคําวา กระเปาที่ไมมีสตางค

1.9.2 การดัดแปลงจากคําโดยการตัด เชน

พอของกําพลเพ่ิงเห็นประสิทธ์ิ “เอ็งชื่อไร ลูกใคร” (หนา 23) มาจากคําวา อะไร

กะขาวม้ือเดียวไมเห็นจะตองพูดแดกคนอ่ืน (หนา 25) มาจากคําวา แดกดัน

“ไมตองหลับตองนอนกันเลย” เสียงปาอวนดังกอง “เจี๊ยวไปหมด เลิกกันที ตอไปนี้

กูนวดเอง” (หนา 38) มาจากคําวา เจี๊ยวจาว

1.9.3 การดัดแปลงจากคําโดยการเปลี่ยน เชน

ตกกลางคืนแมพารถกระบะมาจอดหนาบาน ขนขาวของข้ึนรถจนบานโลง (หนา 15) มาจากคําวา นํา

ผูคนใตรมไมเตรียมตัวแยกยายเม่ือพูดคุยกันเสียจนอ่ิมเอียน (หนา 17) มาจากคําวา พอใจ

ครั้นแลวทุกคนเงียบ ไมมีใครคิดถึงการกระทําเย่ียงน้ีมากอน คล่ืนแหงความอาทรน้ีกอลมบางชนิดทําให

หลายคนปนปวน (หนา 18) มาจากคําวา อยางนี้ หรือ เชนน้ี

เม่ือขาวผัดถูกยกออกมาสมทบ นมยังไมแหวง (หนา 43) มาจากคําวา นมยังไมพรอง

บางคนข้ึนน่ังคูกับลูกดวงหนามากมายเคล่ือนผานไป (หนา 54 - 55) มาจากคําวา ใบ

Page 8: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

46 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

1.9.4 การดัดแปลงจากคําโดยการเชื่อม เชน

พวกเขาถามกําพล “พอยังไมมาหรอื” เด็กไมตอบ แตผูใหญไมเซาซี ้เร่ืองของกําพลเร่ิมเปนท่ีชาชนิ

และหมดสนุก (หนา 21) มาจากคําวา และชอนคันเดียวผลัดกันตักคนละคํา พวกเขาสนุกแตคิดวาอรอย

หมดแลวกลับไปตักเพ่ิมอีกจาน (หนา 22) มาจากคําวา และ

1.9.5 การดัดแปลงความหมายของคํา เชน

ในชวงเวลาน้ันนายชงเร่ิมถูกจับตามองอยางไวเน้ือเชื่อใจ (หนา 118) คําวา “จับตามอง” มักมี

ความหมายเปนในทางลบ คอืไมเชือ่ใจจงึสงัเกตหรือพิจารณาเปนพิเศษแตในท่ีนีใ้ชในความหมายตรงกันขาม

1.10 การเลนสัมผัสเสียงของคํา พบ 2 ประเภท ไดแก การเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ และการ

เลนเสียงสัมผัสสระ ดังตอไปนี้

1.10.1 การเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ หรือ เรียกอีกอยางวาสัมผัสอักษร คือใชเสียง

ตัวอักษรพยัญชนะพองกันการเลนเสียงพยัญชนะท่ีปรากฏในนวนิยาย เร่ือง ชางสําราญ สามารถแบงออก

ไดเปน 4 ลักษณะ ไดแก สัมผัสพยัญชนะชิด 2 คํา 3 คํา 2 คู และโดยมีคําหรือวลีอื่นมาค่ัน ดังตอไปนี้

1.10.1.1 สัมผัสพยัญชนะชิด 2 คํา เชน

เขาโผเผลุกข้ึน คราบน้ําตายังเปอนแกม (หนา 41)

กําพลเหมอไปไกลโพน นํ้าตาพร่ังพรู (หนา 44)

ไปถึงทุงรางท่ีรกดวยพงออสูงทวมหัว ทั้งหมดว่ิงลุยแหวกพงออ คุดคูลงซอนตัว (หนา 50)

1.10.1.2 สัมผัสพยัญชนะชิดกัน 3 คํา เชน

หญิงผูนั้นอยูไกลเกินกวาใครจะคาดเดาไดวาหลอนตายเพราะเหตุใด (หนา 14)

1.10.1.3 สัมผัสพยัญชนะชิดกัน 2 คู เชน

หลายคนยอมหยุดและเขาไปแยกพรรคพวกของตนออกมา ท้ังท่ีเหน็ดเหน่ือยแตยังมีแรงดาทอ

กันอีกเน่ินนานกวาจะแยกยายบานใครบานมัน (หนา 26)

นายชงปลุกปลอบอยูเน่ินนานแตไมเปนผล (หนา 42)

เร่ิมตนจะสงเสียงโหวกเหวกเจ๊ียวจาวจนผูใหญบางคนทนไมไหว (หนา 49)

นายชงชื่นชมสนสูงเหลาน้ีย่ิงนัก (หนา 77)

1.10.1.4 สัมผัสพยัญชนะโดยมีคําหรือวลีอ่ืนมาค่ัน เชน

บางคร้ังหนทางวางเปลาท่ัวไปยังชวนใหผูคนคิดสงสัยไดวาทางน้ันทอดไปสูสถานท่ีใด (หนา 11)

นายชงชืน่ชมสนสงูเหลาน้ีย่ิงนกั เขาวาเปนสนทีอ่ายุเกาแก รปูทรง สมบรูณสวยงามและสงูทีส่ดุ

เทาท่ีเขาเคยเห็นมา (หนา 77)

ทั้งสองบริษัทไมใชคูแขงทางการคา ทวาตกอยูในสภาพคลายคลึงกัน กําลังอยูใน หวงแหง

การด้ินรนเฮือกสุดทาย... ผูสนใจเชิญจับจองพื้นท่ีจําหนายสินคา มันไดผล ผูคนเหอและแหกัน

มา สินคาเต็มลาน (หนา 83)

Page 9: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

47ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

1.10.2 การเลนเสยีงสมัผัสสระ คอื คาํคลองจองทีเ่กิดจาการใชคาํท่ีมเีสยีงสระเดยีวกัน

ถามีตัวสะกดอยูในมาตราเดียวกันแตพยัญชนะตนตางกัน ที่ปรากฏในนวนิยาย เร่ือง ชางสําราญ สามารถ

แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ ไดแก สัมผัสสระในวรรคแบบชิดกัน 2 คํา และสัมผัสสระในวรรคโดยมีคําอื่น

มาคั่นกลางคํา ดังตอนี้

1.10.2.1 สัมผัสสระในวรรคแบบชิดกัน 2 คํา เชน

อวดความนาสนใจในตัวเองใหไดแลเห็นกันอยางถนัดถน่ี (หนา 11)

กําพลเหมอไปไกลโพน (หนา 44)

อมย้ิมปริ่มสุข (หนา 91)

แสงจันทรนวลชวนใหเด็กท้ังสามเคล้ิมฝน (หนา 99)

1.10.2.2 สัมผัสสระในวรรคโดยมีคําอื่นมาค่ันกลางคํา เชน

สิ่งอันสามัญปกติโดยท่ัวไป นั้นยากเหลือเกินท่ีจะอวดความนาสนใจในตัวเองใหไดแล

เห็นกันอยางถนัดถน่ี (หนา 11)

1.11 การซ้ําคํา คือ การกลาวคําเดียวกันซํ้าเปนจํานวน 2 ครั้งข้ึนไป อาจจะกลาวซํ้าโดย

ตอเน่ืองกัน ในภาษาเขียนจะปรากฏการใสเคร่ืองหมายไมยมก ( ๆ ) หรือมีคําหรือวลีมาคั่น เชน

ทางเขาหมูบานอันเปนทางเขาบังกะโลดวยน้ัน ใชจะมีแตกําแพงร้ัวของบังกะโลท่ีสูงจนเอ้ือมไม

ถึงขอบดานบน ทางฝงขวายังมีรั้วสูงย่ิงกวา เพราะต้ังอยูบนเนินดินสูงอีกทีหน่ึง นอกจากยอดไมที่โผลพน

กําแพงแลว คนเดินถนนไมอาจรูเลยวากําแพงสูงน้ีโอบลอมหรือกักกันส่ิงใดไวภายใน (หนา 13)

ไอหนูฝนหวานเขากําลังจะรวย บางวันสิบ บางวันย่ีสิบ หากเปนเชนน้ีทุกวันตลอดไป เขาจะเก็บ

เงินซื้อบานใหม (หนา 36)

“มาอีกแลวเรอะ” แมครัวตวาดอยูบนหัวของเด็ก ๆ “ไลไปแหม็บ ๆ มาสงเสียงอีกแลว ไปใหพน

ไมมีที่จะเลนกันแลวรึไง” (หนา 74)

กําพลยืนขางนายชง แหงนมองอยูจนกระท่ังฟาวางเปลา ความคิดคํานึงถึงแมก็ วางเปลา (หนา 81)

1.12 การหลากคํา คือ การใชคําศัพทที่มีความหมายเหมือนกันมาประกอบประโยคเพ่ือสราง

ความหลากหลายของการใชคํา ชวยใหขอความนาสนใจมากข้ึน เชน

สามวันติดตอกันท่ีหลอนปนข้ึนบนหลังคาเฝาดูชุมชนเล็ก ๆ นี้ในสีแสงสนธยา เด็ก ๆ โบกมือ

ทกัทายหลอนทุกวัน หลอนก็โบกมอืรบัทกุคร้ัง นัน่เองท่ีกลาวไดวาอยางนอยก็มคีนใหความสนใจเฝาดูชมุชน

แหงนีอ้ยู แมจะเปนการมองดใูนระยะไกลก็ตาม หญิงผูนัน้น่ังบนหลงัคา ภายใตสแีสงแหงยามเย็น ไมเคย

มีใครเห็นตอนท่ีหลอนลุกข้ึน เพราะหลอนนั่งอยูเชนนั้น กระท่ังกลืนหายไปในความมืด... เปนไปไดมากที

เดียววาในแสงแหงยามเย็นผืนพิภพท่ีแสนธรรมดาสามัญเบ้ืองลางชางเราใจหลอนย่ิงนัก (หนา 13 - 14)

1.13 การใชคําแบบบันไดคํา คือ การใชคําเปนไปตามลําดับขั้น จัดความคิดเปนข้ัน ๆ การจัด

ความคิดน้ี อาจเรียงจากต่ําไปหาสูง หรือจากนอยไปหามาก หรืออาจเรียงจากสูงลงมาตํ่า จากมากไปหา

Page 10: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

48 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

นอยก็ได เชน

เสียงไพเราะเปลงคําขอบคุณอยูไมขาด ทั้งเมื่อผานหนาคนหนุมหรือคนเฒา นางเอกหยุดโอภา

ปราศรัยอยางไมถือตัว คนหนุมควักแบงกรอย คนเฒาควักแบงกย่ีสิบ (หนา 199)

จอมโจรจอมใจประคองขันไวในมือย้ิมกรายเขาหาผูชมประสานนัยนตาคมซึ้งกับ สาวนอย สาวใหญ

สาวแก แมมาย สาวนอยควักแบงกย่ีสิบ สาวใหญ สาวแก แมมายควักแบงกรอย (หนา 199 - 200)

1.14 การใชสรอยคํา เพ่ือชวยใหเกิดความสมดุลของเสียง เชน

เพ่ือนๆ ไดแตตั้งตารอ แตแมจิ้งหรีดโตข้ึนกําพลยังคงบอกปดทานั้นทานี้ มีไอจั๊ว คนเดียวไดลูก

จิ้งหรีดไปหนึ่งคู (หนา 131)

เย็นน้ันกําพลว่ิงกลับบาน มาถึงก็ตรงแนวเขาหลังรานแลวยกกลองอันเงียบเชียบออกมาอยาง

ตะลึงพรงึเพริด นายชงหันมาเห็นพอดี (หนา 133)

ลุงเต้ียตายอยางปจจุบันทันดวน เด็กๆ ตางเศราสรอยเสียดาย (หนา 73)

1.15 การใชคําที่มีความหมายตรงกันขาม คือ คําท่ีมีความหมายในลักษณะท่ีแตกตางกันโดย

สิ้นเชิงในลักษณะตรงกันขามกัน เชน

นี่อาจเปนความบกพรองของคนยามเฝาประตูหรือเปนเพราะปายช่ือและลูกศรช้ีอันสลัวราง

ไมสวางโรเทาปายใหญหนาปากซอย (หนา 12)

บานหลังน้ีมีเพียงหญิงกลางคนขี้ริ้วกับหมาใหญตัวงาม (หนา 173 – 174)

1.16 การใชคําภาษาตางประเทศ ที่ปรากฏจะพบคําท่ีมาจากภาษาอังกฤษ เปนการใชใน

ลักษณะทับศัพทภาษาโดยใชตัวอักษรภาษาไทยแทนการออกเสียงของคํา เชน

ยังมีเกมสําหรับเด็กเล็กแจกรางวัลเปนของเลนกับขนม มีไอศกรีมกินฟรี (หนา 21)

นายชงเจาของรานคาหากระดาษกอบปใหสองแผน (หนา 46)

ตอนหน่ึงทุมมีเสียงโหรองของชายคนหน่ึง นัยวาถูกลอตเตอรี่รางวัลท่ีหา (หนา 48)

1.17 การใชภาษาพูด ภาษาพูดท่ีใชในชีวิตประจําวัน มักใชกับคนท่ีมีความสนิทสนมคุนเคยกัน

เปนพิเศษ ใชกับบุคคลในครอบครัว หรือใชกับกลุมเพ่ือน ตัวอยางเชน

“เห็นม้ัยละ ไมทันไรก็แจวอาว ดูนํ้าหนาซิใครจะมีนํ้าใจใหที่อยูที่กิน” (หนา 25)

“ชะ ถาไมมีใครใหกิน” ใครคนหน่ึงฉุนเฉียว “กะขาวม้ือเดียวไมเห็นจะตองพูดแดก

คนอื่น” (หนา 25)

1.18 การใชคําไมสุภาพ คือ คําท่ีอยูในระดับภาษาปาก อาจใชกับผูที่มีความสนิทสนมคุนเคยกัน

หรือใชตําหนิติเตียนฝายตรงกันขามดวยความไมใหเกียรติ เชน

“ไปเถอะวะ มายืนดูเขากิน ทุเรศวะ” (หนา 136)

“แลวมึงไมตัดเคกแจกใหคนท่ีเขาเอาของขวัญมาใหมึงบางหรือไง” พลอยพูด (หนา 136 – 137)

Page 11: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

49ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

1.19 การละคําเชื่อม คําเชื่อม คือ คําท่ีทําหนาท่ีเชื่อมความคําหรือประโยคเขาไวดวยกัน บางครั้ง

ปรากฏการละคําเช่ือม อาจมาจากคําหรือความท่ีเปนท่ีเขาใจกันอยูแลวจึงไมกลาวแตสามารถเขาใจได เชน

ผละจากรานคานางหมอนพาเด็กไปที่โรงงิ้วแตงิ้วยังไมออกโรง ครั้นผานไปดานหลัง

งิ้วชายหญิง กําลังน่ังแตงหนา (หนา 54) ละคําเช่ือมคําวา และ คือ งิ้วชายและหญิง

2. การใชประโยค

ศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา ดานการใชประโยค ที่ปรากฏใน นวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ”

มี 8 ลักษณะ ไดแก การสรางความสมดุลทางโครงสรางของประโยค การใชประโยคขัดแยง ประโยคเนน

ความ ประโยคสรุปความ ประโยคคําถาม การใชสํานวนภาษาตางประเทศ การท่ีประธานเปนผูถูกกระทํา

และประโยคซ้ําความ

2.1 การสรางความสมดลุทางโครงสรางของประโยค คอื การกลาวซ้ําคํา แตไมซํา้ความท้ังหมด

เพ่ือชวยในการสรางสมดุลทางเสียงของประโยค เชน

พอตัวเหม็น ลูกก็ตัวเหม็น เส้ือผายังเปนชุดเดิมที่จากกันไปตางโผเขาหากัน (หนา 22)

กําพลผานยามเชาโดยม้ือเชาไมไดผานมาสูเขา (หนา 40)

นางหมอนจูงไออนทางขวา จูงไอหนูทางซาย สองขางทางละลานตาชวนใหนํ้าลายหก (หนา 53)

ขากลบัถกูแตนตอยคนละท ีไอนอยโดนท่ีเปลอืกตาซาย ไออนโดนท่ีใตตาขวา ครูเดียวพวกเขาก็เหมอืน

ฝาแฝดที่มีดวงตาเบ้ียวไปคนละขาง (หนา 84)

ดังน้ันหนังสือการตูนเอามาแบงกันอาน มะขามเทศเอาแบงกันกินดีกวา (หนา 87)

เพราะกายเหน่ือยลาและใจก็เห่ียวแหง พอข้ึนข่ีหลังก็ฟุบหลับไปทันที (หนา 97)

คนหนุมควักแบงกรอย คนเฒาควักแบงกย่ีสิบ (หนา 199)

2.2 การใชประโยคขัดแยง เปนประโยคท่ีมีเน้ือความขัดแยงกัน โดยอาจจะเปนประโยคท่ี

ประกอบดวยขอความ 2 ขอความท่ีมีเน้ือความขัดแยงกัน และมีการใชคําสันธาน ที่แสดงความขัดแยงเปน

บทเช่ือม หรืออาจจะอยูในลักษณะของการเรียบเรียงประโยคโดยนําเน้ือความท่ีกลาวถึงในตอนแรกมากลาว

ยอนใหตรงกันขามกับเน้ือความเดิม ดังตัวอยางตอไปนี้

เมือ่ขาวผัดถูกยกออกมาสมทบ นมยังไมแหวง ขนมปงทาแยมอวดความนากินอยางไรความหมาย

นายชงเทาสะเอวน่ิงคดิ ดเูขาเสียมัง่ ทัง้ท่ีหวิแสนหิว ตามธรรมดาควรตระกราม กินเสียจนติดคอ นีค่งเสียใจ

จนความหิวก็เปนเร่ืองรอง แมรางกายกําลังทุกขทรมาน อํานาจของจิตใจก็ยังเหนือกวา...แหม แคหา

ขวบยังขนาดน้ี (หนา 43)

กําพลไมรูเลยวาแมอยากเจอเขาเหลือใจ แตไมอยากพบพอจึงหลบไปเสียพอก็คิดถึงเขา

เต็มแก แตไมอยากเจอแมจึงหลบไปเชนกัน (หนา 96)

ใครอยากไดมันตองอดทน ขารูจักมันดี “ไอเสือคิดวา ปาจุกเปนแมมันเหรอ” “เออ แตปาจุกคิดวา

ไอเสือก็แคหมาตัวหน่ึง ถาเขาคิดวามันเปนลูกเขาคงไมทิ้งไปหรอก” กําพลค้ิวตก นั่งฟงตาปริบๆ (หนา 175)

Page 12: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

50 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

2.3 การใชประโยคเนนความ เปนประโยคท่ีเรียบเรียงข้ึนเพ่ือวัตถุประสงคจะเนนความท่ีตองการ

จะกลาวถึง โดยอาจใชวิธีเปรียบเทียบดวยการกลาวใหเห็นความสําคัญซึ่งบอกระดับเหนือขึ้นไป ตัวอยางเชน

ความหิวกําเนิดขึ้นกอนความอ่ิม ในเวลาซ่ึงพอเหมาะ มันทําใหอาหารทุกชนิดเลิศรสกวาปกติ

สําหรับเวลาซึ่งยาวนานกวานั้น คนหิวอาจกลายเปนขโมย เปนฆาตกรหรืออาจกอวินาศกรรมใหญ

หลวงเพือ่นองไกสกัชิน้ คนจรรูจักความหิวด ีเริม่แรกคือทุกขอันไมจบสิน้ ตอมากลายเปนเพือ่น ซึง่

สนิทสนมคุนเคยและแยกจากกันประเดี๋ยวประดาวเทานั้น (หนา 39)

ลกูหลานของคุณแมทองจนัทรมองขามพะเนินอาหารไปยงักลุมเดก็ตัวดํามอมแมมดวยกิรยิาฉงน

ขางกําพล ไออน ไอจั๊ว ไอนอย ไอระ ไอชัย ไอออด ก็มองขามพะเนินอาหารไปยัง กลุมคนท่ีแตงตัวสวยงาม

นั้นเชนกัน ทวาดวยการยอมรับโดยดุษฎีวา พวกเขาตองถอยใหแก ความสะอาดและสวยงาม ถอยให

แกความเอร็ดอรอย และถอยใหแกโอกาสและโชค ซึ่งนาสงสัยวาสักวันหน่ึงจะตกมาถึงพวกเขา

บางไหม (หนา 136)

2.4 การใชประโยคสรุปความ เปนการเรียบเรียงประโยคท่ีมปีระเด็นความยอยๆ หลายประเด็น

โดยใชคําท่ีเปนคํารวมชวยสรุปใหความกระชับ เชน

ทวา เด็กๆ ไดแตงวยงง ไมมีตลาดนัด ทูแวร ทู ไมมีตลาดนัด โมเดียม อันเปนเสมือนเพ่ือนบาน

หนาปากซอยอีกตอไป มแีตตลาดนัดจตจุกัร คนอืน่คนไกลซ่ึงไมเคยคุน ดงันัน้ หนังสอืการตนูเอามาแบง

กันอาน มะขามเทศเอามาแบงกันกินดีกวา (หนา 86 - 87)

กําพลคิดหนักเร่ืองผูปกครอง เร่ืองการดูแลตัวเองเสียงใครตอใครยํ้ากันวาเขาไมมีผูปกครอง ไมมี

คนดูแล ดังน้ัน ครูสัญญา ครูอังคณา นายชง และนางหมอน จึงตองเปนผูปกครองใหเขาแทนพอ

กับแม กําพลรํ่ารองอยูในอกแทจริงเขามีผูปกครองถึงสี่คน มากกวาใครอื่นท้ังหมด ทั้งที่โรงเรียนและท่ีบาน

ไมวาจะอยูตรงไหน เขาหลบหนาผูปกครองไมพน (หนา 193)

2.5 การใชประโยคคําถาม คือ ประโยคท่ีผูสงสารแสดงความตองการท่ีจะทราบเร่ืองใดเรื่อง

หน่ึงประเด็นใดประเด็นหน่ึงหรือหลายประเด็นก็ไดจากผูรบัสาร เชน

แลวแมละไปไหน ทะเลาะกันเร่ืองอะไรรูม้ัย แมบอกหรือเปลาจะไปอยูกับใคร ตีกัน ก่ีครั้งแลว

นองกินนมแมหรือเปลา ทําไมเราไมไปกับแม นาสงสารจริงมีพอแมอยางน้ี (หนา 16)

2.6 การใชสํานวนภาษาตางประเทศ ปรากฏการใชสํานวนภาษาอังกฤษท่ีเขามามีอิทธิพลตอ

ภาษาไทย เชน

กําพลผานยามเชาโดยมื้อเชาไมไดผานมาสูเขา (หนา 40)

เด็ก ๆ ชวยกันอยางแข็งขัน พาเธอวิ่งในความมืดแอบแสงไฟจนไปถึงรานคา (หนา 80)

นายชงมาพรอมกับนมกลองครึ่งโหลและขนมอีกหลายอยาง (หนา 91)

ประสิทธ์ิคุยกับกําพลในความมืดบนท่ีนอน (หนา 121)

2.7 การท่ีประธานเปนผูถูกกระทํา (ประโยคกรรมวาจก) เปนการไดรับอิทธิพลมาจากภาษาตาง

ประเทศ ที่เรียกวา (Passive Voices) คําท่ีทําหนาท่ีเปนประธานไมไดแสดงกริยา แตเปนผูถูกกระทํา เชน

Page 13: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

51ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ฟามดืลงทุกที กําพลถกูพามาท่ีรานคา ขนมถูกย่ืนมาตรงหนาเพ่ือใหเขาหยุดรองไห กระเปาถกู

ยกมาวางขางๆ กําพลสะอ้ืนหนัก ผูโอบออมอารียืนออกันจนเต็มหนารานคา ทํานองวาเปนปญหาท่ีตนตอง

รวมแกไข (หนา 19)

แตละคนตางก็คิดวาวันน้ีเด็กคงถูกเรียกโดยเพ่ือนบานรายอื่น (หนา 39)

วันท่ีไอหนูถูกความหิวกระหน่ํานั้นเขาถูกปลุกแตเชาในบานของสาวโรงงานช่ือออย (หนา 40)

นมอุน ๆ กับขนมปงทาแยมถูกยกมาวางอยางรวดเร็ว (หนา 42)

2.8 การใชประโยคซ้ําความ คือ การกลาวขอความหน่ึงแลวกลาวอีกขอความท่ีมีใจความเหมือนกัน เชน

ไอจอนถึงมือพอกอนจะลม หรืออีกนัยหน่ึง มือพอย่ืนมาถึงกอนจะลม (หนา 64)

3. การใชสํานวนโวหาร

การใชสํานวนโวหาร คือ การใชถอยคําอยางมีชั้นเชิง ใหไดเน้ือความใจความที่ดี ความหมายแจม

แจงชดัเจนตรงตามท่ีผูเขียนตองการถายทอดความรู ความคิด ประสบการณ จนิตนาการ หรืออืน่ ๆ ใหผูอาน

ทราบ ศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา ดานการใชสํานวนโวหาร ที่ปรากฏใน นวนิยายเร่ือง “ชาง

สําราญ” มี 3 ประเภท ไดแก บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร และสาธกโวหาร ดังตอไปนี้

3.1 บรรยายโวหาร คอื กระบวนความทีใ่ชเลาเร่ือง บรรยายเหตกุารณตาง ๆ อยางละเอยีดถ่ีถวน

ตรงตามขอเท็จจริง การอธิบายกระบวนการ การวิเคราะหเร่ืองราวตาง ๆ รวมทั้งการนิยามหรือการอธิบาย

ความหมายของคํา ดังตัวอยางตอไปนี้

กําพล ชางสาํราญ ตวัดํา และนยันตาโศกสลด ตหุรดัตเุหรกินนอนไมเปนท่ีเปนทาง ครอบครวัของ

เขาเคยเชาหองแถวอยูกันพรอมหนาพอแมลกู หลายเดือนท่ีแลวแมมชีู ตอมาแม หนีไปและพอบอกคืนหอง

เชาเพราะไมมเีงินจาย นองชายอายุหน่ึงขวบพอพาไปฝากไวกับยา สวนกําพลพอกลับมาหาอาทิตยละคร้ัง

พรอมคําสัญญาจะพาไปอยูบานใหม แตลงทายพอ ฝากฝงเขาไวกับเพ่ือนบาน คนน้ันบางคนน้ีบาง สภาพ

คลายเด็กจรจัดเขาทุกที (หนา 35)

กําพลหลบอยูในหองวาง หรือตามความรูสึกคือบานของเขา ครั้งหน่ึงเต็มไปดวยขาวของ รกจน

ไมมีที่จะเดิน เตียง ตูเส้ือผา ชั้นวางรองเทา โตะสําหรับวางขวดนม และของใชของนอง ผาปูเตียงลาย

ดอกแดง ชมพู เขียว ผาหมลายสกอตสีแดงน้ําเงิน ที่นอนเล็ก ๆ ของนองวางอยูบนเตียง นองรอง มือและ

เทาด้ินรน แมกระโจมอกเดินไปมา พอโกนหนวดอยูหนากระจก (หนา 51)

3.2 พรรณนาโวหาร คอื กระบวนความหรือชัน้เชงิในทํานองราํพึงราํพัน อาจเปนการรําพึงราํพัน

ถึงอารมณความรูสกึนึกคิดของตนหรอืของผูอืน่ หรอือาจเปนการรําพึงราํพันถึงสิง่ตางๆ อยางพิสดารโดยการ

สอดแทรกอารมณ ความรูสกึนึกคิดของผูเขียนลงไปเพ่ือโนมนาวผูอานใหเกิดอารมณคลอยตาม ดงัตวัอยาง

ตอไปนี้

ในหวงคาํนึงยามสนธยา หลอนคงเหน็วาบนผวิภาพสามญัอนัปกตทิีป่รากฏแกสายตาน้ัน มสีิง่นาสนใจ

หลบซอนอยูภายใน หลอนจึงใครไดเห็นไดสัมผัส ใครย่ืนมือออกลูบคลําแนบหูและหัวใจสดับฟง (หนา 14)

Page 14: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

52 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ลุงเต้ียตายอยางปจจุบันทันดวน เด็ก ๆ ตางเศราสรอยเสียดาย นับแตนี้ไมมีใครเลานิทานสนุก ๆ

ตามคุงน้ํา หนองบึง หรือทางน้ําไหลจะไมมีชายเต้ียกับเครื่องมือหาปลาของแก อีกแลว (หนา 73)

พระจนัทรดวงโตลอยขึน้เหนือหลงัคารานนายชง ฉบัพลนัสถานท่ีอนัเคยคุนกลับเปลีย่นไป ตนไม ลาน

ดิน ถนน เสาไฟฟา หลังคาหองแถว เปนเชนเดิม ทวาไมเหมือนเดิม ดวยอิทธิพลแหงแสงจันทร (หนา 99)

3.3 สาธกโวหาร คือ กระบวนความท่ีมุงใหความชัดเจน โดยการยกตัวอยางหรือเรื่องราวเพ่ือ

ประกอบขอความ ประกอบการอธิบาย หรือเพ่ือสนับสนุนความคิดเห็นตาง ๆ ใหชัดเจนหนักแนนนาเช่ือถือ

ย่ิงข้ึน ดังตัวอยางตอไปนี้

ความหิวกําเนิดข้ึนกอนความอ่ิม ในเวลาซ่ึงพอเหมาะ มันทําใหอาหารทุกชนิดเลิศรสกวาปกติ

สําหรับเวลาซ่ึงยาวนานกวาน้ัน คนหิวอาจกลายเปนขโมย เปนฆาตกรหรืออาจกอวินาศกรรมใหญหลวง

เพ่ือนองไกสักช้ิน คนจรรูจักความหิวดี เร่ิมแรกคือทุกขอันไมจบสิ้น ตอมากลายเปนเพ่ือน ซึ่งสนิทสนมคุน

เคยและแยกจากกันประเด๋ียวประดาวเทาน้ัน (หนา 39)

4. การใชภาพพจน

การใชภาพพจน (Figures of Speech) คือ วิธีการสรางมโนภาพใหเกิดขึ้นโดยอาศัยถอยคําสํานวนแบบ

ตางๆ เกิดไดจากการเลือกใชถอยคําอยางมศีลิปะโดยการเปรียบเทียบในลักษณะตางๆ ศลิปะการใชภาษา

ของเดือนวาด พิมวนา ดานการใชภาพพจน ที่ปรากฏใน นวนิยายเร่ือง “ชางสําราญ” มี 5 ประเภทไดแก

อุปมาอุปลักษณ บุคลาธิษฐาน สัทพจน และปฏิภาคพจน ดังตอไปนี้

4.1 อุปมา (Simile) คอื โวหารเปรยีบเทียบส่ิงหนึง่วาเหมอืนกบัอกีส่ิงหนึง่ โดยมคีาํเชือ่มโยง เชน

เหมือน คลาย ราวกับ ดูราว ดัง ดุจ กล เพียง ประหน่ึง เทียบ และปาน เปนตน ดังตัวอยางตอไปนี้

สิบเอ็ดโมงกลุมคนใตรมไมพากันรองเรียก พอของกําพลกลับมาแลว เด็กกระโจนออกไปที่ถนน

เรียกพอเสียงหลง และว่ิงเขาหาราวกับฉากใหญในภาพยนตร ผูคนมองกันเปนตาเดียว (หนา 22)

กําพลนอนขดบนแคร แลเหน็เปนเงาดําๆ คลายผากองหนึง่ นาแปลกเหลอืเกิน วันน้ีไมมใีครคดิถึง

กําพล แมแตเพ่ือนซึ่งเคยเลนดวยกันก็เงียบหาย (หนา 42)

ทวา เมือ่ผูคนเขามาจนหมดและประตถููกปด ไมมทีีว่างอกีตอไป แมเพียงขยับตวัก็ทาํไดยาก แดด

รอนเปร้ียง ทุกคนเหง่ือโซม ตางเผยกล่ินและสูดกล่ินของกันและกันไมตางกับเขื่อนซ่ึงนํ้าเต็มปรี่ และ

ประตูใกลจะปริทลายผูคนกําลังถูกบมจนสุดกลั้นพรอมจะพุงไปขางหนาเมื่อถึงเวลา (หนา 94)

กําพลวางจานบนตัก เลือกกุนเชยีงขึน้วางเรยีงไวรอบขอบจานราวกบักลบีดอกไมสแีดง เพราะ

เปนของโปรดเขาจึงเก็บไวกินทีหลัง (หนา 107)

นายชงมองจากระยะไกล เห็นเด็ก ๆ รวมกลุมกันตรงบริเวณหลุมทราย ประเด๋ียวเฮ ประเด๋ียวเฮ

เพ็ญพรเบือนหนาจากจอทีวีหันไปมองบาง และแลวราวกับมีแรงดึงดูดนัยนตา นิ่งมองยังจุดหมายแนวแน

รางกายขยับลกุและกาวเดินคลายไมอาจตานพลงับางอยาง ฟงจากเสียงเฮฮาดูเหมือนเกมท่ีเลนกันน้ันสนุก

มาก ครูใหญเพ็ญพรเดินกลับมา เธอซ้ือขนมกินและน่ังดูทีวีตอโดยไมสนใจอื่นใดในโลกเชนเดิม (หนา 113)

4.2 อุปลักษณ (Metaphor) คือ โวหารเปรียบสิ่งหน่ึงเปนอีกส่ิงหน่ึง มักใชคําวา เปน คือ เทา

ในการเปรียบนวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” ปรากฏภาพพจน อุปลักษณ ดังตอไปนี้

Page 15: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

53ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ชุมชนหองแถวคุณแมทองจันทรก็เชนเดียวกับชุมชนเล็ก ๆ อีกมากมายเปนเพียงทางผานของ

ยุคสมัยท่ีรอเวลาเลือนหายไรการจดจํารําลึก (หนา 11)

เปนอันชัดเจน เขาใจกันแลวอยางถวนท่ัว กําพลไมใชกําพลอีกตอไป กลับกลาย เปนกอนแหง

ภาระของทุกคน (หนา 24)

คนจรรูจักความหิวดี เร่ิมแรกคือทุกขอันไมจบสิ้น ตอมากลายเปนเพื่อน ซึ่งสนิทสนมคุนเคย

และแยกจากกันประเดี่ยวประดาวเทานั้น (หนา 39)

4.3 บคุลาธษิฐาน ( Personification ) คอื โวหารท่ีมวิีธีการใชภาษาในลกัษณะท่ีทาํใหดเูหมอืน

วาสรรพสิง่ทัง้หลายท่ีไมใชมนษุยใหเปนมนษุย โดยใหสรรพสิง่เหลาน้ันแสดงกรยิาอาการตลอดจนพฤติกรรม

ตางๆ ราวกับเปนมนุษย นวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” ปรากฏภาพพจน บุคลาธิษฐาน ดังตัวอยางตอไปนี้

กําพลถูกพามาน่ัง ความวาเหวท้ังมวลรุมกระหน่ําใสอยางไมปรานี เขารํ่าไห อยางหนัก

โดยไมรูแนชัดวาความเสียใจนี้มาจากอะไร (หนา 42)

กําพลย่ืนหุนยนตตัวเล็กใหดู และกอนความเกลียดชังจะแลนขึ้นสูนัยนตา เขาถูกกระชากออก

จากบานไป (หนา 66)

ทวาค่ําคืนคงมืดสนิท กับเสียงพูด เสียงสะอ้ืน แลวความงวงงนุก็คลานเขามาเงยีบๆ ไมใหใครรู

แมกระทัง่กําพล ความงวงงนุคลานขึน้บนท่ีนอน กกกอดกําพลไวกลอมเขาดวยทํานองอันเงยีบเชยีบ

ทําใหไมไดยินเสียงใด ๆ ในโลกกําพลหลับ ทั้งท่ีคิดวากําลังเฝารอแสงเชา (หนา 164)

พวกเขาเคยไดชมิมะขวดิเพียงครัง้เดยีวเทาน้ัน ลาํตนท่ีชะลดูขึน้ไปเปลาเปลอืยทาํใหหมดสิทธ์ิ

ปนปาย ผลมะขวดิแอบอยูในพุมใบซึง่มเีพียงสองกระจุกบนยอดสูง ไดแตหวังใหผลทีส่กุแลวรวงหลนคราว

นี้โชคชวยมะขวิดผลหน่ึงนอนรออยางสงบที่โคนตน (หนา 204)

4.4 สัทพจน (Onomatopoeia) คือ ภาพพจนเปรียบเทียบดวยวิธีการเลียนเสียงธรรมชาติ หรือบงให

เห็นสี แสง ทาทางจากเสียงของคํา นวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” ปรากฏภาพพจน สัทพจน ดังตัวอยางตอไปนี้

นางทองใบกลับเขาบาน ปดประตูเสียงดังปงใหญ (หนา 19)

ฝจักรว่ิงดังครืนๆ เร่ือยไป (หนา 27)

แลวกําพลก็ย้ิมออก รถบรรทุกน้ําของพอแลนครืนคร่ันเขามาในหมูบาน (หนา 168)

โมโมหูตั้ง ฟงอยางต้ังใจและครางอ๋ิงๆ ตลอดเวลา (หนา 216)

4.5 ปฏิภาคพจน (Paradox) คือ วิธีการกลาวขอความท่ีมีความหมายตรงกันขามมาอยูดวยกัน

เพ่ือใหเปนเคร่ืองดึงความสนใจของผูอานอีกวิธีหน่ึง เพราะความตรงกันขามดังกลาวน้ี อาจจะดูเหมือนวาไม

นาเปนไปไดแตก็เปนไปแลวนวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” ปรากฏภาพพจน ปฏิภาคพจน ดังตัวอยางตอไปนี้

แสงแหงยามเย็น ผืนพิภพท่ีแสนธรรมดาสามัญเบ้ืองลางชางเราใจหลอนย่ิงนัก (หนา 14)

ในชวงเวลาเหลาน้ันนายชงเร่ิมถูกจับตามองอยางไวเนื้อเชื่อใจ (หนา 118)

ไอเสือขยับลุก ประสิทธ์ิผวาบอกใหเพ่ือนระวัง กําพลตัวสั่นแตใจยังกลา (หนา 177)

Page 16: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

54 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

การอภิปรายผล

จากผลการวิเคราะหศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนาท่ีปรากฏในนวนิยายรางวัลซีไรต

“เรื่อง ชางสําราญ” ทําใหมองเห็นถึงลักษณะเฉพาะในดานการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนาวาเปนนัก

เขียนท่ีสามารถใชภาษาไดอยางประณตีบรรจง พิถีพิถัน เลอืกสรรภาษาวรรณศลิปไดอยางสละสลวย สมเหตุ

สมผล และสมจริง ใชคําและความท่ีกระชับ ชัดเจน แตกินใจความกวางใชภาษาท่ีเรียบงาย จริงใจ ชวยให

ผูอานเขาใจงาย สามารถเขาถึงผูอานไดทุกเพศทุกวัยสรางการยอมรับและประทับใจในผลงานวรรณกรรม

ไดเปนอยางดี

เมื่อกลาวถึงนวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” ซึ่งเปนเร่ืองราวของเด็กชายกําพล ชางสําราญ วัย 5

ขวบ ซึ่งประสบปญหาครอบครัวแตกแยก สาเหตุมาจากมารดา คือนางน้ําฝน ชางสําราญมีชู สวนบิดา คือ

นายวสุ ชางสําราญ ไดนาํนองชายของเด็กชายกําพล คอื เด็กชายกําจร ชางสําราญไปอยูดวยกับภรรยาใหม

คอื นางล้ิม สวนเด็กชายกําพลถูกทอดท้ิงไวในชมุชนหองแถวคุณแมทองจนัทร เขาไดรบัความชวยเหลือจาก

บรรดาชาวบานท่ีอาศัยอยูในชุมชนหองแถวแหงน้ี จากเน้ือเรื่องยอขางตนจะเห็นไดวา ตัวละครเด็กซึ่งเปน

ตัวละครสําคัญของเร่ืองน้ีประสบชะตากรรมท่ีดูเหมือนวา เด็กอายุเพียง 5 ขวบไมนาจะทนรับสภาพเชนนี้

ได แตทวาผูเขียนเลือกใช ลักษณะเดนของศิลปะการใชภาษาเขามานําเสนอเร่ืองราว เมื่อจะส่ือถึงความ

ทุกขยากลําบากของตัวละคร เดือนวาด พิมวนามักจะเลือกใชภาษาที่สื่อความโดยการเสนอแนะผานการ

ใชสํานวนโวหาร และการใชภาพพจน สวนเร่ืองราวเก่ียวกับความสุขสําราญของตัวละคร เดือนวาด พิมวน

ามักจะเลือกใชภาษาท่ีสื่อความโดยตรง ผานการใชคํา และการใชประโยค

สิ่งท่ีนาสนใจซ่ึงเห็นไดชัดเจน คือ เดือนวาด พิมวนาเลือกใชภาษาส่ือความโดยการเสนอแนะ

มากกวา การส่ือความโดยตรง โดยเฉพาะอยางย่ิง การใชภาพพจน ประเภทอุปมา และบุคลาธิษฐาน มัก

จะปรากฏในเน้ือหา อาจเปนเพราะวาภาพรวมของเร่ืองราวในนวนิยายเร่ืองนี้ เปนเร่ืองของปญหาสังคม ที่

ตัวละครอยาง เด็กชายกําพล ชางสําราญ อายุเพียง 5 ขวบ ตองประสบชะตากรรม การใชภาพพจนจะชวย

ใหปญหาตางๆ ที่ตัวละครเด็ก ตองเผชิญน้ันดูไมหนักหนาสาหัสจนเกินไป ผูอานเกิดจินตภาพ เห็นภาพท่ี

ชัดเจน ดวยพลังของภาษาจึงเปนการส่ืออารมณขัน ย่ัวลอชะตากรรมของเด็กชายกําพล ชางสําราญ ได

อยางนาสนใจและชวนติดตามอานตลอดท้ังเร่ือง

ผูวิจัยพบวา การใชภาษานําเสนอเร่ืองราวในแตละตอนน้ัน เดือนวาด พิมวนา มักจะเร่ิมเรื่องโดย

การใชภาษาที่สื่อถึงความสนุกสนานราเริง ความสดชื่นแจมใส แลวดําเนินเรื่องไปตามวิถีทางของการวาง

โครงเร่ือง แลวจึงนําเสนอการใชภาษาท่ีสื่อถึงเร่ืองราวเก่ียวกับความทุกขโศกของตัวละครเด็กชายกําพล

ชางสําราญ จากกลวิธีการนําเสนอเชนน้ี เปนการชวยปลอบประโลมตัวละคร และผูอานไปในเวลาเดียวกัน

ดังท่ีเวียง – วชิระ บัวสนธ ไดกลาวถึงศิลปะการใชภาษาของเดือนวาดไววา “มกีารใชภาษาท่ีสอดรับกับตัว

เน้ือไดอยางนาสนใจย่ิง”

นอกจากน้ีผูเขียนยังสรางตัวละครอ่ืนใหมาเปนคูเปรียบกับเด็กชายกําพล ชางสําราญ เชน ชาย

หนุมสต ิไมสมประกอบผูหวิโหย และเด็กหญิงนัดดา ซึง่เปนเด็กกําพราฐานะยากจนอาศัยอยูกับคณุตาฉอย

ผูมีขาซายพิการ และคุณยายเจือซึ่งปวยเปนโรคเบาหวานผูซึ่งกําลังจะสูญเสียขาซายเพราะโรคเบาหวาน

เปนตน ทําใหผูอานรูสึกวา ปญหาตางๆ ที่ผานเขามาในชีวิตของเด็กชายกําพล ชางสําราญ นั้นไมใชเร่ืองที่

เลวรายจนเกินไป เพราะเขาสามารถดูแลตัวเองได ดังท่ีเขาไดกลาวกับนายชงไววา “ผมเปนกําพล กับเปน

Page 17: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

55ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

ผูปกครองของกําพลดวย” และเขายังไดรบัความชวยเหลือจากบรรดาชาวบาน ซึง่ตางกับชายหนุมสตไิมสม

ประกอบผูหวิโหยท่ีไมใครดูแล นอกจากน้ีเขายังไดรบัทนุการศึกษาอีกดวย และเขาไมไดมภีาระหนาท่ีทีต่อง

ดูแลใครเหมือนเด็กหญิงนัดดา เด็กชายกําพล ชางสําราญ จึงไมไดมีชีวิตท่ีลําบากจนเกินไปหากเปรียบกับ

ตัวละครท่ีกลาวมาขางตน ซึ่งสอดคลองกับคํากลาว ของประภัสสร เสวิกุลท่ีวา นวนิยายเร่ือง ชางสําราญ

“เปนนวนิยายท่ีเล็กแตใหญ งายแตงาม เจ็บปวดแตไมรวดราว และข่ืนขมแตไมขมขื่น”

อกีส่ิงหน่ึงท่ีสาํคัญ จะเห็นไดวาเดือนวาด พิมวนาสามารถเลือกนําพลังทางวรรณศิลปเขามาสราง

งานประพันธซึง่เปนสวนชวยใหผูอานเขาใจเน้ือหาสาระไดงายย่ิงข้ึน สงผลใหเน้ือหาท่ีดเูหมือนจะเปนเร่ืองท่ี

พูดถึงความเศราโศก จงึไมโศกเศรา เพราะศิลปะการใชภาษาของเดอืนวาด พิมวนาท่ีสือ่แสดงเรือ่งธรรมดา

ที่ไมธรรมดา ทําใหอานเกิดความรูสึกตรงกันขาม จะเห็นไดวาศิลปะการใชภาษาเขามามีบทบาทสําคัญใน

การถายทอดเร่ืองราวเหลาน้ีเปนอยางย่ิง ดงัแนวคดิของสริวิรรณ นนัทจนัทูล ไดแสดงความคดิเห็นเก่ียวกับ

ศลิปะการใชภาษาในวรรณกรรมไววา “นวนิยายเปนวรรณกรรมบันเทิงคดีทีถ่ายทอดลีลาการใชภาษาของผู

ประพันธไดอยางดีย่ิง หากผูประพันธมีศิลปะการใชภาษาไดอยางยอดเย่ียมก็จะแสดงลีลาภาษาท่ีโดดเดน

ทําใหผูอานไดรับอรรถรส และเกิดจินตภาพตามท่ีผูประพันธประสงค”

ศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนาท่ีปรากฏในนวนิยายรางวัลซีไรต เร่ือง ชางสําราญ

สรางสรรคใหชวิีตของตัวละครสําคัญอยางเด็กชายกําพล ชางสําราญเปนชวิีตท่ีนาอานนาติดตาม และซาบซ้ึง

กับความเอือ้อาทรของบรรดาชาวบานท่ีอาศยัอยูในชมุชนหองแถวคณุแมทองจนัทร นบัเปนสวนสําคญัย่ิงที่

ทําใหนวนิยาย “เร่ือง ชางสําราญ” มีความโดดเดน แสดงถึงคุณภาพของผลงานจนทําใหนวนิยายเร่ืองนี้ได

รับรางวัลซีไรต และประทับใจผูอานเสมอมา

ขอเสนอแนะ

1. ควรศึกษาศิลปะการใชภาษาในงานวรรณกรรมเร่ืองอื่นๆ ของเดือนวาด พิมวนา เพื่อแสดงให

เห็นเอกลักษณเฉพาะตัวของเดือนวาด พิมวนา และพัฒนาการของการใชภาษา

2. ควรศึกษาศิลปะการใชภาษาของเดือนวาด พิมวนา กับนักเขียนคนอ่ืนๆ เพ่ือแสดงใหเห็น

ลักษณะรวม และลักษณะตางของการใชภาษาในงานวรรณกรรม เชน ก.สุรางคนางค ดอกไมสด และ

ปยะพร ศักด์ิเกษม เปนตน

Page 18: การวิเคราะห ... - human.nu.ac.th · ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊ μà ÁËÒÇÔ·ÂÒŠѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©º Ѻ· Õè 2 »ÃШ íÒà´

56 ÇÒÃÊÒÃÁ¹ØÉÂÈÒÊμÃ� ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШíÒà ×́͹ ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÊÔ§ËÒ¤Á 2554

เอกสารอางอิง

เดือนวาด พิมวนา. (2546). ชางสําราญ. กรุงเทพ ฯ : สามัญชน.

ธนรัชฏ ศิริสวัสดิ์. (2529). การใชประโยค. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๖ (การเขียน

สําหรับครู) หนวยท่ี 1– 8. หนา 179 – 203. นนทบุรี: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

บุปผา บุญทิพย. (2547). การเขียน. พิมพครั้งท่ี 9. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ประภัสสร เสวิกุล. (2546). อางถึงใน สัจภูมิ ละออ. จุดประกายวรรณกรรม. กรุงเทพธุรกิจ. ปที่ 16

ฉบับที่ 5371 (สิงหาคม). หนา 15.

เปล้ือง ณ นคร. (2542). ศิลปะแหงการประพันธ. กรุงเทพฯ : ขาวฟาง.

ยุวพาส (ประทีปะเสน) ชัยศิลปวัฒนา. (2542). ความรูเบื้องตนเก่ียวกับวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

วิภา กงกะนันทน. (2533). วรรณคดีศึกษา. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

เวียง –วชิระ บัวสนธ. (2546). บทความแสดงความคิดเห็นใน ชางสําราญ. กรุงเทพ ฯ : สามัญชน.

สิริวรรณ นันทจันทูล. (2552). บทพรรณนาโวหารในวรรณกรรมบันเทิงคดี : กรณีศึกษานวนิยาย

ของทมยันตี. วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปที่ 16 ฉบับที่ 1

(มกราคม – มิถุนายน). หนา 76 – 88.

อรจิรา อัจฉริยไพบูลย. (2550). กลวิธีสรางภาพลักษณตัวละครชายในผูชนะสิบทิศ. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, กรุงเทพฯ.