15
»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 ÈÊÍ. Èٹ¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒ ¤Ø¡ѺºÃóҸԡÒà p.2 From the Editor p.3 CONTENT »¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ p.12-15 ¹Ò¹Ò§Ò¹ÇԨѠÊÒÃй‹ÒÃÙŒ Phone: 0-2218-3952-4 Fax: 0-2219-2251 E-mail: [email protected] ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§ÊÀÒ¾¡ÒáӨѴÁÙŽÍ·ÕèÁÕµ‹Í ¡ÒêÐÅÐÅÒÂÊÒÃÍÔ¹·ÃÕ¨ҡÁÙŽÍÂã¹¾×é¹·Õè ½˜§¡Åº¢Í§»ÃÐà·Èä·Â p.4 Influence of Solid Waste Dis- posal Conditions on Organic Pollutants Discharged from Tropical Landfill p.5 Èٹ¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒ (ÈÊÍ.) àÃÔèÁ´Óà¹Ô¹§Ò¹ã¹»ÅÒÂà´×͹ ¸Ñ¹ÇÒ¤Á ¾.È. 2542 ÀÒÂ㵌¡ÒáӡѺ´ÙáŢͧÊӹѡ¾Ñ²¹ÒºÑ³±ÔµÈÖ¡ÉÒ áÅÐÇԨѠ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵÃáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (ʺÇ.) Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ (Ê¡Í.) ã¹ÅѡɳÐÀÒ¤Õ¤ÇÒÁ ËÇÁÁ×ͧ͢ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃдѺá¹Ç˹ŒÒ 8 áË‹§ã¹»ÃÐà·Èä·Â ÁÕÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤áÅоѹ¸¡Ô¨ã¹¡ÒÃÊÌҧͧ¤¤ÇÒÁÃÙ Œ áÅмÅÔµ§Ò¹ÇԨѴŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ â´Â੾ÒÐã¹àÃ×èͧ¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ·ÕèÁդسÀÒ¾áÅеçµÒÁ⨷ ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ»ÃÐà·È áÅмÅÔµºÑ³±ÔµÃдѺÊÙ§à¾×èÍᡌ䢻˜ÞËÒ¤ÇÒÁ¢Ò´á¤Å¹¡ÓÅѧ¤¹´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡Òà ¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ ÃÇÁ·Ñ駡ÒÃãËŒºÃÔ¡Ò÷ҧÇÔªÒ¡Òà à¼Âá¾Ã‹Í§¤¤ÇÒÁÃÙŒ áÅÐ໚¹·Õè¾Ö觢ͧÊѧ¤Á º¹°Ò¹¢Í§ ¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡Ѻ·Ø¡ÀҤʋǹ·Ñé§ã¹áÅе‹Ò§»ÃÐà·È (´ÙÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè www.ehwm.chula.ac.th) ¢ÂÐ p.6-8 Informative Knowledge on Waste p.9-11

»ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2»ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸� 2554 ÈÊÍ.ÈÙ¹Â�¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒÂ

¤Ø¡ѺºÃóҸԡÒà p.2From the Editor p.3

C O N T E N T

»¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ p.12-15

¹Ò¹Ò§Ò¹ÇÔ¨ÑÂ

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ

P h o n e : 0 - 2 2 1 8 - 3 9 5 2 - 4 F a x : 0 - 2 2 1 9 - 2 2 5 1 E - m a i l : E H W M @ c h u l a . a c . t h

ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§ÊÀÒ¾¡ÒáӨѴÁÙŽÍ·ÕèÁÕµ‹Í¡ÒêÐÅÐÅÒÂÊÒÃÍÔ¹·ÃÕÂ�¨Ò¡ÁÙŽÍÂã¹¾×é¹·Õè

½˜§¡Åº¢Í§»ÃÐà·Èä·Â p.4Influence of Solid Waste Dis-posal Conditions on Organic Pollutants Discharged from

Tropical Landfill p.5

ÈÙ¹Â�¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒ (ÈÊÍ.) àÃÔèÁ´Óà¹Ô¹§Ò¹ã¹»ÅÒÂà´×͹ ̧ ѹÇÒ¤Á ¾.È. 2542 ÀÒÂ㵌¡ÒáӡѺ´ÙáŢͧÊӹѡ¾Ñ²¹ÒºÑ³±ÔµÈÖ¡ÉÒ áÅÐÇԨѠ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵÃ�áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (ʺÇ.) Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ (Ê¡Í.) ã¹ÅѡɳÐÀÒ¤Õ¤ÇÒÁ ËÇÁÁ×ͧ͢ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÐ Ñ́ºá¹Ç˹ŒÒ 8 áË‹§ã¹»ÃÐà·Èä·Â ÁÕÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤�áÅоѹ¸¡Ô̈ 㹡ÒÃÊÌҧͧ¤�¤ÇÒÁÃÙŒ áÅмÅÔµ§Ò¹ÇԨѴŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ â´Â੾ÒÐã¹àÃ×èͧ¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ·ÕèÁդسÀÒ¾áÅеçµÒÁ⨷Â� ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ»ÃÐà·È áÅмÅÔµºÑ³±ÔµÃдѺÊÙ§à¾×èÍᡌ䢻˜ÞËÒ¤ÇÒÁ¢Ò´á¤Å¹¡ÓÅѧ¤¹´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡Òà ¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ ÃÇÁ·Ñ駡ÒÃãËŒºÃÔ¡Ò÷ҧÇÔªÒ¡Òà à¼Âá¾Ã‹Í§¤�¤ÇÒÁÃÙŒ áÅÐ໚¹·Õè¾Ö觢ͧÊѧ¤Á º¹°Ò¹¢Í§ ¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡Ѻ·Ø¡ÀҤʋǹ·Ñé§ã¹áÅе‹Ò§»ÃÐà·È (´ÙÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè www.ehwm.chula.ac.th)

¢ÂÐ p.6-8Informative Knowledge on Waste

p.9-11

Page 2: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 2 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

ในปัจจุบัน ขยะเป็นปัญหาสำาคัญที่ได้รับความสนใจจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ขยะประเภทวัตถุหรือ

ของเสียอันตรายซึ่งยากแก่การกำาจัดหรือบำาบัดนั้น นับวันจะทวีจำานวนขึ้นอย่างมหาศาล โดยเฉพาะขยะ

อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ในขณะที่เทคโนโลยีในการบำาบัดหรือกำาจัดขยะเหล่านี้ ยังไม่มีวิธีการใดที่เหมาะสม

ประหยัด และปลอดภัยเพียงพอ

จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ (E-Newsletter) ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ จึงขอนำาเสนอสาระน่ารู้เกี่ยว

กับขยะ และวิธีการต่างๆ ในการกำาจัด รวมทั้งผลงานวิจัยของนักวิชาการในเครือข่ายเกี่ยวกับการกำาจัด

ขยะด้วยวิธีฝังกลบซึ่งเป็นวิธีที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจากต้นทุนต่ำากว่าวิธีอื่นๆ แต่การฝังกลบขยะ

นั้น หากทำาไม่ถูกวิธีอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ

มนุษย์ ผลงานวิจัยเรื่อง ”อิทธิพลการจัดการขยะมูลฝอยต่อการชะละลายของสารอินทรีย์จากขยะมูลฝอย

ในพื้นที่ฝังกลบของประเทศไทย” เป็นผลงานของ รศ.ดร. ชาติ เจียมไชยศรี ผู้ประสานงาน ศสอ. เครือ

ข่ายคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และคณะ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการออกแบบ

และดำาเนินการระบบฝังกลบในประเทศไทย โดยผลงานนี้ได้รับการเผยแพร่ใน Asian Journal of Water,

Environment and Pol lut ion ซึ่ ง เป็นวารสารด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์ทั่ วโลกของ

ประเทศเนเธอร์แลนด์

ทั้งนี้ ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็น ตลอดจนจัดส่งข่าวสาร บทความ และสาระความรู้ในด้านสิ่ง

แวดล้อมมาเผยแพร่ได้ที่ E-mail: [email protected] คำาติชมของทุกท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการ

ปรับปรุงรูปแบบและเนื้อหาของข่าวสารให้น่าติดตามมากยิ่งขึ้น

คณะที่ปรึกษารศ.ดร. เลอสรวง เมฆสุต • ผศ.ดร. สมพร กมลศิริพิชัยพร • ผศ.ดร. มนัสกร ราชากรกิจ• น.ส. วรรณี พฤฒิถาวร • รศ.ดร. ประเสริฐ ภวสันต์ • น.ส. นวลจันทร์ ธัญโชติกานต์

บรรณาธิการประจำาฉบับ น.ส. วิริยาภรณ์ ศิวิไล กองบรรณาธิการนาย รณรงค์ ศิริรัตนกูล • น.ส. กานดา อ้อนอุบล • นาย สุนทร พันธ์นก • นางศิริลักษณ์ โพธิ์เกตุ

• น.ส. เสาวรส หมอนสุภาพ • น.ส. ฉันทนา อินทิม • น.ส. ชญานุช รุ่งโอฬาร

บทความและข้อความที่ตีพิมพ์ใน E-Newsletter เป็นความคิดเห็นส่วนตัวและลิขสิทธิ์ของผู้เขียน ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการ

สิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย ไม่มีส่วนรับผิดชอบหรือผูกพันอย่างใด

ด้วยความเคารพอย่างยิ่ง น.ส. วิริยาภรณ์ ศิวิไล

บรรณาธิการ

คุยกับบรรณ�ธิก�ร

Page 3: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 3Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

At present, solid waste, especially hazardous waste, is a major problem of the world.

Electronic waste is increased rapidly and difficult to manage or dispose, since there is no

appropriate low-cost technology that is safe enough.

This issue of the February E-Newsletter thus presents a story about waste and meth-

ods of waste management, especially by landfill, the lowest cost method of waste man-

agement, nowadays. However, improper landfill management is able to cause pollution and

affect human health. A study by Assoc. Prof. Dr. Chart Chiemchaisri, head of the EHWM

satellite center at Kasetsart University, and his team, whose research has been published

in the Asian Journal of Water, Environment and Pollution, the world scientific and medical

journals of Netherlands, will serve as a guideline for designing appropriate landfill systems

in Thailand.

Finally, all suggestions and opinions as well as information and articles concerning

the environment, particularly hazardous substances and waste, from readers are welcomed

and highly valued.

คณะที่ปรึกษารศ.ดร. เลอสรวง เมฆสุต • ผศ.ดร. สมพร กมลศิริพิชัยพร • ผศ.ดร. มนัสกร ราชากรกิจ• น.ส. วรรณี พฤฒิถาวร • รศ.ดร. ประเสริฐ ภวสันต์ • น.ส. นวลจันทร์ ธัญโชติกานต์

บรรณาธิการประจำาฉบับ น.ส. วิริยาภรณ์ ศิวิไล กองบรรณาธิการนาย รณรงค์ ศิริรัตนกูล • น.ส. กานดา อ้อนอุบล • นาย สุนทร พันธ์นก • นางศิริลักษณ์ โพธิ์เกตุ

• น.ส. เสาวรส หมอนสุภาพ • น.ส. ฉันทนา อินทิม • น.ส. ชญานุช รุ่งโอฬาร

บทความและข้อความที่ตีพิมพ์ใน E-Newsletter เป็นความคิดเห็นส่วนตัวและลิขสิทธิ์ของผู้เขียน ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่ง

แวดล้อมและของเสียอันตราย ไม่มีส่วนรับผิดชอบหรือผูกพันอย่างใด

Best regardsViriyaporn Sivilai

Editor

From the Editor

Page 4: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 4 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

น�น�ง�นวิจัย

ในปัจจุบันปัญหามลพิษจากมูลฝอยของชุมชนเมืองมีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้นจากการเพิ่มปริมาณมูลฝอยอย่างรวดเร็ว รวมทั้งองค์ประกอบของมูลฝอยที่มีความยุ่งยากในการกำาจัดเพิ่มมากขึ้น หากสถานการณ์ดังกล่าวยังคงถูกปล่อยปละละเลยโดยไม่ใส่ใจ อาจส่งผลให้เกิดความขัดแย้งทางสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างรุนแรงตามมาได้ ทั้งนี้ การฝังกลบมูลฝอยมีบทบาทสำาคัญในระบบการจัดการมูลฝอยแบบครบวงจรเพื่อการจัดการมูลฝอยอย่างยั่งยืน อย่างไรก็ดี การฝังกลบมูลฝอยอย่างไม่ถูกวิธีอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมทางอากาศ น้ำา และดิน รวมทั้งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ได้ ปัญหาหลักของการฝังกลบในปัจจุบันคือ การป้องกันผลกระทบจากกิจกรรมในพื้นที่ ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพภูมิอากาศ ภูมิศาสตร์ รวมทั้งลักษณะสมบัติของมูลฝอย ดังนั้น การนำารูปแบบและวิธีการฝังกลบมูลฝอยมาตรฐานของประเทศอื่นมาประยุกต์ใช้โดยตรง อาจไม่มีความเหมาะสมเนื่องจากปัจจัยต่างๆที่แตกต่างกันดังกล่าว เพื่อให้การออกแบบและดำาเนินการระบบฝังกลบมูลฝอยมีความเหมาะสมในการใช้งานกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย จำาเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐานที่สำาคัญ เช่น ปริมาณและลักษณะสมบัติของน้ำาชะมูลฝอย ปริมาณก๊าซที่แพร่ระบายจากพื้นที่ฝังกลบ เป็นต้น ข้อมูลดังกล่าวนี้ ยังไม่มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบ อีกทั้งการเก็บข้อมูลยังไม่มีความต่อเนื่อง ทำาให้ไม่สามารถคาดการณ์ปริมาณและลักษณะสมบัติของน้ำาชะมูลฝอยที่เหมาะสมได้ งานวิจัยที่ดำาเนินการในการศึกษานี้ จึงมุ่งเน้นการศึกษาอิทธิพลของสภาพการจัดการมูลฝอยต่อการชะละลายของสารอินทรีย์จากมูลฝอยในพื้นที่ฝังกลบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำาหรับประกอบการออกแบบ และดำาเนินการระบบฝังกลบต่อไปการทดลองดำาเนินการในระดับห้องปฏิบัติการ โดยนำามูลฝอยจากพื้นที่ฝังกลบมูลฝอยมาทำาทดสอบการชะละลายของสารอินทรีย์โดยบรรจุในคอลัมน์ทดลอง โดยศึกษาอิทธิพลของปริมาณน้ำาที่ซึมเข้าสู่ชั้นมูลฝอย การสูบหมุนเวียนน้ำาชะมูลฝอย และการบำาบัดขยะก่อนนำาเข้าสู่พื้นที่ฝังกลบ เป็นต้น ผลการทดลองสรุปได้ดังนี้

1. การออกแบบและการดำาเนินการระบบฝังกลบมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อปริมาณสารอินทรีย์ที่ชะละลายจากมูลฝอย โดยปริมาณฝนที่ซึมเข้าสู่พื้นที่ฝังกลบส่งผลกระทบต่อความเข้มข้นของสารอินทรีย์ในน้ำาชะมูลฝอย

2. การสูบหมุนเวียนน้ำาชะมูลฝอยในพื้นที่ฝังกลบช่วยเร่งการย่อยสลายของมูลฝอยในหลุมฝังกลบ ในขณะเดียวกันก็เร่งการชะละลายสารอินทรีย์จากมูลฝอย การลดการปล่อยสารอินทรีย์ออกจากพื้นที่ฝังกลบมูลฝอยทำาได้โดยการเก็บกักน้ำาชะมูลฝอยไว้ภายในพื้นที่ฝังกลบโดยควบคุมมิให้น้ำาชะมูลฝอยแพร่ระบายออกสู่ภายนอก และการลดปริมาตรน้ำาชะมูลฝอยโดยการระเหยในช่วงฤดูร้อน

3. การชะละลายของสารมลพิษจากพื้นที่ฝังกลบมูลฝอยแบบถูกสุขลักษณะเกิดขึ้นต่ำากว่าพื้นที่เทกองมูลฝอยกลางแจ้ง เนื่องจากมีปริมาณของน้ำาชะมูลฝอยน้อยกว่าจากการกลบทับมูลฝอยด้วยดินกลบทับ รวมทั้งความหนาแน่นของมูลฝอยที่สูงกว่า การบำาบัดมูลฝอยอินทรีย์ก่อนนำามาฝังกลบช่วยลดปริมาณสารอินทรีย์ที่ชะละลายจากมูลฝอยลงได้มาก รวมทั้งการแยกองค์ประกอบมูลฝอยจำาพวกพลาสติกออกจากมูลฝอย ซึ่งช่วยลดการชะละลายสารอินทรีย์ออกจากมูลฝอยได้เช่นกัน

ผู้เขียน : Ruwini Weerasekara, Chart Chiemchaisri*and Wilai Chiemchaisri

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย

คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เผยแพร่ : Asian Journal of Water, Environment and Pollution, VoI. 7, No. I, pp. 107-112.

ได้รับ : 25 ก.พ.52; ปรับปรุงและได้รับการยอมรับ 7 ธ.ค.52

สรุป : 28 ก.พ. 54

อิทธิพลของสภ�พก�รกำ�จัดมูลฝอยที่มีต่อก�รชะละล�ยส�รอินทรีย์จ�กมูลฝอย

ในพื้นที่ฝังกลบของประเทศไทย

Page 5: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 5Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

น�น�ง�นวิจัย

Landfill plays an important role in integrated solid waste management. The current landfilling situation in Asia constitutes various problems related to geographical and climatic differences, along with the waste composition and in proper waste management. The significant environmental impacts of landfill create detrimental effects to air, water, and soil environment. The generation tendency of MSW in Asian countries is also increasing with time .If such condition is recklessly unattended, it may lead to environmental conflicts. Nevertheless, when solid waste management conditions reach critical position, there is often a tendency to implement a typical western approach to overcome the existing problem in waste management. This approach is generally applied uncritically and rapidly resulting in the mal-functioning and inefficient management of waste treatment and disposal facilities.Importantly, geographic and climatic differences need to be considered in improving landfill design and operation. The urgent transition from traditional landfill (open dump approach) to engineered sanitary landfills has to be successfully managed in Asian context. Therefore, the design of an appropriate landfill technology demands for a comprehensive approach, followed by an optimized design and the adaptation of cost effective locally available technologies.From the experimental results obtained, the following conclusions can be drawn:1. Landfill design and operating conditions had significant influence on organic pollutant discharge through leachate. Rainfall intensity and leachate re-circulation rate did not significantly affect organic concentration in leachate but influenced leachate quantity and total pollutant loading from wastes.2. Leachate re-circulation practice can help enhancing the degree of waste degradation in landfills but also increasing pollutant load discharged from the waste cell. Internal storage condition yielded highest total pollutant load but it could be we)) retained within the waste cell.3. Pollutant leaching from sanitary landfill wastes was found less than open dump wastes due to less amount of Ieachate formed under high compaction density. Nevertheless, the pre-treated wastes with highest compaction density yielded lowest pollutant load as majority of organic substances in wastes has already been stabilized. The separation of plastic component from wastes prior to landfill also reduced total pollutant load from the waste cell. Authors : Ruwini Weerasekara, Chart Chiemchaisri*and Wilai Chiemchaisri

Department of Environmental Engineering

and National Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management,

Faculty of Engineering, Kasetsart University

Published : Asian Journal of Water, Environment and Pollution, VoI. 7, No. I, pp. 107-112.

Received : February 25,2009; revised and accepted December 7,2009

Summarized : February 28,2011

Influence of Solid Waste Disposal Conditions on Organic Pollutants

Discharged from Tropical Landfill

Page 6: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 6 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

ขยะ

ส�ระน่�รู้

สถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั้งประเทศในป 2551 ขยะมูลฝอยในประเทศไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2551 มีจำานวน 15.03 ล้านตัน หรือ 41,064 ตันต่อวัน ในขณะที่สามารถจัดเก็บได้โดยเฉลี่ยเพียง 80% ของขยะมูลฝอยทั้งหมด โดยขยะเหล่านี้แบ่งออกเป็นขยะอินทรีย์และขยะอื่นๆ รวม 11.9 ล้านตัน (79%) และขยะอันตรายจำานวน 3.13 ล้านตัน หรือ 21% ของขยะมูลฝอยทั้งหมด (เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ถึง 70%) ในจำานวนนี้เป็นขยะอันตรายจากชุมชน 0.68 ล้านตัน (22%) และขยะอันตรายจากอุตสาหกรรม 2.45 ล้านตัน (78%) และจากจำานวนขยะทั้งหมด มีเพียง 40% โดยเฉลี่ยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกวิธี ส่วนที่เหลือจะถูกเทกองรวมกันบนพื้นหรือเผากลางแจ้ง โดยขยะนอกเขตเทศบาลที่ได้รับการจัดการอย่างถูกวิธีมีไม่ถึง 10% ของขยะทั้งหมด สำาหรับขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพสามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งมีจำานวน 12.0 ล้านตัน หรือ 80% นั้น มีการนำากลับมาใช้ประโยชน์เพียง 3.45 ล้านตัน หรือ 23% เท่านั้น

ปริมาณของเสียอันตราย ปี 2550-2551 (แบ่งตามแหล่งกำาเนิดและภูมิภาค)

วิธีการกำาจัดขยะมูลฝอยในปัจจุบัน

ในปัจจุบัน การกำาจัดขยะมูลฝอยมีหลายวิธี เช่น การเผากลางแจ้ง การเทกองบนพื้นดิน การนำาไปทิ้งทะเล แต่วิธีการเหล่านี้ไม่ถูกต้อง เพราะทำาให้เกิดมลพิษต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพอนามัย วิธีกำาจัดที่ถูกต้อง คือ การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบ การหมักทำาปุ๋ย และการแปรสภาพเป็นพลังงาน

วิธีการกำาจัดขยะมูลฝอยในปัจจุบัน

เตาเผาขยะมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะของขยะมูลฝอย การเผาในเตา เป็นการเผาส่วนที่เป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ซึ่งต้องใช้ความร้อนระหว่าง 1,300-1,800 องศาฟาเรนไฮต์ จึงจะทำาให้การเผาไหม้สมบูรณ์ ข้อดี คือ เหมาะกับสถานที่ที่มีพื้นที่จำากัด เนื่องจากสามารถลดน้ำาหนักและปริมาตรขยะได้มาก ขี้เถ้าที่ได้จะถูกฝังกลบอย่างถูกวิธีหรือใช้ผลิตเป็นวัสดุก่อสร้างต่อไป และหากปริมาณขยะมาก สามารถนำาพลังงานความร้อนที่ได้จากการเผามาใช้ในการผลิตไอน้ำาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายการดำาเนินงานค่อนข้างสูง ใช้บุคลากรที่มีความชำานาญในการเดินระบบ และ

Page 7: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 7Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

ส�ระน่�รู้หากสร้างเตาเผาไม่ได้มาตรฐานจะก่อให้เกิดปัญหามลภาวะด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังมีข้อควรระวังคือ ต้องไม่มีสารหรือวัตถุที่ระเบิดได้เข้าไปในเตาเผาอย่างเด็ดขาด เช่น กระป๋องสเปรย์

การฝังกลบ

การกำาจัดขยะโดยการขุดหลุมและฝังกลบเป็นวิธีที่ใช้กันมานับร้อยปี เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายถูกที่สุด และเชื่อกันว่าไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่นการไหลซึมน้ำาชะจากขยะ (Leachate) เพราะถูกกรองโดยชั้นดินก่อน แต่จากการศึกษาตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา (ค.ศ. 1950) พบว่าน้ำาชะขยะ มีผลเสียต่อคุณภาพน้ำาใต้ดิน จึงทำาให้มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการฝังกลบ โดยแบ่งขยะออกเป็น 2 ประเภทคือ ขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะอันตราย โดยขยะมูลฝอยทั่วไปจะถูกฝังกลบโดยการขุดหลุมที่มีการบดอัดพื้นอย่างแน่นหนา พบว่า ไม่สามารถป้องกันการรั่วไหลของน้ำาชะขยะได้ไม่ว่าจะเพิ่มความหนาของพื้นบดอัดเท่าไรก็ตาม จึงถูกห้ามใช้ในบางประเทศ ส่วนขยะอันตรายต้องมีการปูผ้ายางรองพื้นในหลุมก่อนการฝังกลบ ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน เช่น หลุมฝังกลบขยะของกรุงเทพมหานคร ข้อดีคือ ค่าใช้จ่ายถูกที่สุดเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีอื่น และได้ก๊าซชีวภาพหลุมขยะ (Landfill Gas) เป็นผลพลอยได้ในรูปพลังงานทดแทน

การฝังกลบ

การกำาจัดขยะด้วยวิธีการหมักทำาปุ๋ย เป็นวิธีที่นิยมอย่างแพร่หลาย ผลผลิตที่ได้มีลักษณะเป็นผงหรือก้อนเล็กๆ สีน้ำาตาล นำาไปใช้เป็นสารปรับปรุงคุณภาพดิน การหมักขยะมูลฝอยเพื่อทำาปุ๋ย แบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่ การหมักแบบใช้อากาศ (Aerobic Decomposition) เป็นการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ที่ต้องการออกซิเจน (Aerobic Bacteria) ไม่ก่อปัญหาเรื่องกลิ่น จะได้ปุ๋ยคุณภาพดีและมีองค์ประกอบของไนโตรเจนและซัลเฟต และการหมักแบบไม่ใช้อากาศ (Anaerobic Decomposition) เป็นการหมักที่ใช้จุลินทรีย์ซึ่งไม่ต้องการออกซิเจน (Anaerobic Bacteria) มักเกิดก๊าซที่มีกลิ่นเหม็น คุณภาพปุ๋ยค่อนข้างต่ำา ทั้งยังใช้เวลานานกว่าระบบแบบใช้ออกซิเจน จึงนิยมหมักทำาปุ๋ยแบบใช้อากาศกัน นอกจากนี้ยังมีวิธีการทำาปุ๋ยหมักด้วยไส้เดือน โดยใช้ไส้เดือนพันธุ์เฉพาะซึ่งทำางานร่วมกับขยะอินทรีย์ในการย่อยสลายเป็นปุ๋ยหมัก ของเสียที่ไส้เดือนขับออกมาเรียกว่า คาสติ้งมีลักษณะเหมือนจุดเล็กๆ ในดินเหนียว ซึ่งเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อดินและพืช เนื่องจากมันมีส่วนผสมของสารอาหารที่พืชนำาไปใช้ได้ง่าย และมีจุลินทรีย์ที่ป้องกันโรคพืช มูลไส้เดือนมีค่า pH เป็นกลางจะไม่ทำาให้พืชเหี่ยวเฉา แม้แต่พืชที่ยังเป็นต้นอ่อน ข้อดีคือ ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านแรงงานและเครื่องจักรในการจัดการปุ๋ยหมัก แต่อย่างไรก็ดีไส้เดือนอาจมีมูลค่าค่อนข้างสูง อีกทั้งเทคนิคการทำาปุ๋ยต้องมีการเรียนรู้ให้ดีจึงจะใช้งานได้

การแปรสภาพขยะมูลฝอยเป็นพลังงาน

เราอาจแปรสภาพขยะมูลฝอยเป็นพลังงานในรูปต่างได้ เช่น พลังงานความร้อนซึ่งได้จากการนำาเอาขยะมูลฝอยส่วนที่เผาไหม้ได้มาเป็นเชื้อเพลิงสำาหรับทำาไอน้ำาร้อน แล้วส่งไปให้ความอบอุ่นตามอาคารบ้านเรือน ดังตัวอย่างในประเทศญี่ปุ่น หรือแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยการนำาขยะมูลฝอยไปเป็นเชื้อเพลิงสำาหรับผลิตไอน้ำา หมุนเครื่องกำาเนิดไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 8: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 8 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

ส�ระน่�รู้

แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยในทศวรรษหน้า

1. ลดการเกิดของเสียให้น้อยที่สุด (Zero Waste) โดยใช้หลัก 3Rs (Reduce, Reuse, Recycle) ผ่านกระบวนการคัดแยกขยะ

2. ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ประเภท Green Product3. บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน โดยใช้ระบบ Zero Landfill คือ ขบวนการลดปริมาณขยะโดย

การนำาขยะมูลฝอยที่ผ่านการบำาบัดแล้วออกจากพื้นที่ให้ได้ถึง 90% ซึ่งส่วนที่เหลือจะอยู่ในระบบบำาบัด และขยะมูลฝอยที่นำาออกไปนั้นสามารถพัฒนาให้เกิดมูลค่าและนำาไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆดังนี ้ - CDM (นำาไปชดเชยการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) - CPR (วัตถุดิบที่สามารถนำามาผลิตเป็นเม็ดพลาสติก) - RDF (ขยะที่สามารถนำาไปเป็นเชื้อเพลิงพลังงานทดแทน) - Compost (ขยะมูลฝอยที่สามารถย่อยสลายได้ สามารถนำาไปทำาเป็นปุ๋ยใช้ในภาคเกษตรกรรม) ที่เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน

4. รวมกลุ่ม อปท.(องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) บริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยเชิญชวนภาคเอกชนร่วมลงทุน5. สร้างระบบ/เครื่องมือบริหารจัดการของเสียอันตรายชุมชน โดยเน้นการเรียกคืนซากของเสียอันตรายจาก

ผลิตภัณฑ์ใช้แล้ว

บทบาทของ ศสอ. ในการจัดการขยะและของเสียอันตราย

ศสอ. มีบทบาทในการจัดการขยะและของเสียอันตรายทั้งในด้านการพัฒนางานวิจัยร่วมกับภาคการผลิตและภาครัฐ การรณรงค์และบริการสังคมในรูปแบบต่างๆ ตัวอย่างกิจกรรมที่ดำาเนินการในปัจจุบัน อาทิ ความร่วมมือกับสำานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ ในการแก้ไขปัญหาของเสียอันตรายของประเทศ ให้ความร่วมมือกับบริษัท SCG Cement ในการวิจัยขยะชุมชนเพื่อนำาไปเป็นเชื้อเพลิงทดแทน (RDF) ร่วมกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการศึกษาหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และการกำาหนดอัตราจัดเก็บค่าธรรมเนียมการจัดการของเสียอุตสาหกรรม ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในการออกแบบระบบบำาบัดเพื่อลดการปนเปื้อนสารอินทรีย์ระเหยในดิน โดยระบบ Soil Vapor Extraction (SVE) เป็นต้น สำาหรับงานด้านรณรงค์และบริการวิชาการ ตัวอย่างเช่น ความร่วมมือกับบริษัท โนเกีย ในการรณรงค์และรวบรวมซากขยะมือถือและอุปกรณ์ประกอบเพื่อการกำาจัดอย่างถูกวิธี การจัดอบรมความรู้ในเเรื่องที่เกี่ยวข้อง เช่น ของเสียอันตรายและการนำาไปใช้ประโยชน์ การจัดการสารเคมี การประเมินวัฎจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ (LCA/LCI), ก๊าซเรือนกระจก คาร์บอนฟุตพริ้นท์ เป็นต้น

ที่มา : สารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 15

http://www.school.net.th/library/snet6/envi3/garbet/garbetn.htm

มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม : www.efe.or.th

การจัดการขยะมูลฝอยในทศวรรษหน้า โดย กุลชา ธนะขว้าง, สำานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย พ.ศ. 2551, กรมควบคุมมลพิษ

Page 9: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 9Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

ส�ระน่�รู้

The Situation of Waste in Thailand Waste production in Thailand continues to increase each year. In 2008, the amount of waste around

the country was measured at approximately 15.03 million tons or 41,064 tons per day, while the collection ca-

pacity of the country could cope with only 80% of that amount. About 11.9 million tons or 79% of the waste

was made of solid and other organic wastes, the remaining 3.13 million tons or 21% was hazardous, which

had increased 70% from the year 2000. The portion of hazardous waste from households was measured at

0.68 million tons or 22%, and the remaining 2.45 million tons or 78% of hazardous waste was from industry.

Only 40% of the country’s total waste was disposed of sanitarily, while the remaining 60% was dumped into

an exposed pile or inappropriately burned. In addition, only 10% of waste from sub-district areas was disposed

of sanitarily. Regarding waste utilization, only 3.45 million tons or 23% of waste that had the potential to be

utilized, was recycled.

Amount of Hazardous Waste in 2007 and 2008 (Classified by Place of Origin and Region)

Waste Disposal Methods

At present, there are several waste disposal methods, such as outdoor burning or dumping in an ex-

posed pile or in the sea. However, these methods are not sanitary since they can pollute the environment and

affect the health of people. Proper methods for waste disposal include, for example, incineration, sanitary landfill,

and waste utilization, such as fermented fertilizer production and energy recovery (waste to energy).

Incineration

There are various types of incinerators that can take care of a variety of wastes. An incinerator can

be used on waste of all forms (solids, liquids, or gases) that require a constant temperature of 1300-1800ฐ F

Informative Knowledge on Waste

Page 10: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 0 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

ส�ระน่�รู้

for complete combustion. The advantages of this method are as follows: It is suitable for a small area since

space for landfills is limited; the ashes can be disposed of by sanitary landfill or used to produce construction

materials; and if the pile of waste is big enough, the heat from incineration can be used to produce electricity.

The disadvantage of this method is its high cost of operation. Furthermore, an incinerator has to be designed

in a standardized form to prevent the release of pollution to the surrounding environment from the operation

process; meanwhile, special experts are needed to control the system. In addition, the separation of waste must

be done carefully to make sure that no explosive substances or materials, such as spray cans, are placed in

the incinerator.

Landfill

Waste disposal by landfill has been commonly used for hundreds of years due to its low cost. It was

originally believed that there were no impacts from leakage on the environment because the soil was seen as

a natural yet effective filter. However, this was a misleading belief. The results of a study performed in the year

1950 found that landfill leakage affected groundwater quality. Consequently, the landfill process was changed to

reduce the impacts. Landfill wastes were then separated into two categories, general solid waste and hazardous

waste. The general waste was buried in tightly compacted ground. However, this method was not permitted in

some countries, since the leakage of waste leachate still could not be completely prevented, as it depends on

the thickness of the compacted soil. A landfill of hazardous waste should be lined with a layer of protective

plastic or resin materials to prevent the waste and leachate from leaking into the ground or groundwater. This

is a method that has been applied widely, such as in the landfills of the Bangkok Metropolitan Administration.

The main advantage of a landfill is its low cost in comparison to other technologies. In addition, landfills often

provide by-products to the community, such as methane gas, that can be used as an alternative energy source.

Fermented Fertilizer

Waste disposal by fermentation is a popular method. The output of fermentation is powdery or small

brown pellet fertilizer for soil improvement. There are two paths for waste fermentation, aerobic decomposition

and anaerobic decomposition. Aerobic decomposition makes use of bacteria that requires oxygen (aerobic bac-

teria). Fertilizer from aerobic decomposition has no odor and offers the added bonuses of nitrogen and sulfate.

Meanwhile, anaerobic decomposition is fermentation using bacteria that does not need oxygen for survival (an-

aerobic bacteria). Fertilizer from anaerobic decomposition tends to have a foul smell from the gas, be relatively

low in quality, and take longer to make. Therefore, fermentation by aerobic bacteria is more popular.

Another method of making fertilizer utilizes earthworms. Earthworms for this purpose must be a specific species

that can work in association with organic waste for the decomposition process. Waste excreted by the worms

is called “casting.” These castings contain tiny dots, which are filled with microorganisms that are beneficial to

soil and plants because they contains a mixture of nutrients that plants can easily apply. Moreover, there are

some bacteria that can prevent plants from catching some diseases. Earthworms’ excretion also has a neutral

pH that does not make plants wither, even young plants. Its cost savings in fertilizer production, both for labor

and operational equipment, are a major advantage. However, the value price of earthworms is rather high, and

well-learned techniques for fertilizer production are needed for quality outputs.

Page 11: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 1Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

ส�ระน่�รู้

Waste to Energy

Waste can be converted into thermal energy to generate steam that can drive turbines for electricity

generators. The heat can be used to produce hot water or steam to heat local houses, offices, and factories.

This type of technology is used in Japan and the U.S, for example

Solid Waste Management for the Next Decade:

1. Minimization of waste (zero waste) under the 3Rs concept (reduce, reuse, recycle) through the waste

separation process.

2. Promotion of green products for a better environment.

3. Employment of the Zero Landfill concept for integrated solid waste management. According to this

concept, only 10% of waste should be left in the treatment system, while 90% will be treated before

removing them from the landfill. Value will be added to waste from the landfill through their reuse by

different mechanisms, for example, the Clean Development Mechanism (CDM), CPR technology, Refuse-

Derived Fuel (RDF), and compost to energy technology.

4. Establishment of collaborations between local administrative organizations and private enterprises as

clusters for setting up solid waste management systems in communities.

5. Establishment of systems and tools for hazardous waste management in communities, concentrating on

the collection of hazardous used products.

Roles of the EHWM in Solid and Hazardous Waste Management

The EHWM has played its academic role in solid and hazardous waste management, through its re-

search, technology development, and academic services. Examples of on-going activities include its collabora-

tions with the Waste and Hazardous Substance Management Bureau and Pollution Control Department to solve

hazardous waste problems, collaboration with SCG Cement on the refuse-derived fuel (RDF) project for com-

munities, study of the criteria and rate of industrial waste management fee for the Department of Industry Work,

and project on soil vapor extraction (SVE) for the Department of Environmental Quality Promotion. Regarding

its academic services and environmental campaigns, the EHWM has, for example, collaborated with NOKIA

to conduct a campaign to collect used mobiles and accessories for sanitary disposal. In addition, the Center

has established its training unit to provide knowledge on various topics related to the environment and waste

management, through trainings and seminars for those from the industrial and government sectors.

Sources: Thai Junior Encyclopedia, the Intention of the King, volume 15

http://www.school.net.th/library/snet6/envi3/garbet/garbetn.htm

Energy for Environment Foundation: www.efe.or.th

Solid Waste Management for the Next Decade, Pollution Control Department

Thailand State of Pollution Report 2008, Pollution Control Department

Page 12: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 2 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

การประชุม “เรียนรู้ SEA/SEF และหารือแนวทางการจัดทำา SEA พื้นที่มาบตาพุด”

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (ศสอ.) ได้จัดการประชุมเรื่อง “เรียนรู้ SEA/SEF และ

หารือแนวทางการจัดทำา SEA พื้นที่มาบตาพุด” ณ ห้องประชุม 209 อาคารบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการประชุมดังกล่าวเป็นกิจกรรมหนึ่งใน

โครงการการจัดทำากรอบการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) สู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-

Industrial Town) : กรณีศึกษาพื้นที่มาบตาพุด จ.ระยอง ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากแผนงานเสริมสร้างการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อพัฒนานโยบาย

สาธารณะที่ดี (นสธ.) และสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

การจัดประชุมครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำาโครงการฯ นำาเสนอแนวคิดและแผนงานของโครงการฯ ในการจัดทำากรอบการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ

ยุทธศาสตร์ (SEF) และสร้างกระบวนการเรียนรู้ SEA ร่วมกันระหว่างผู้แทนจากภาครัฐและเอกชนร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ รวมทั้งรายงานผลการดำาเนินงานที่ผ่าน

มาแก่ผู้เข้าร่วมประชุมกว่า 40 คน โดย ดร. สุจิตรา วาสนาดำารงดี นักวิจัยของ ศสอ. ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการฯ และในโอกาสนี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.มิ่ง

สรรพ์ ขาวสอาด ผู้อำานวยการ นสธ. ได้ให้เกียรติแนะนำาความเป็นมาของโครงการฯ ร่วมกับศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของโค

รงการฯ จากนั้น คุณกฤตยาพร ทัพภะทัต ผู้อำานวยการฝ่ายวิชาการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ได้นำาเสนอแนวคิดและแผนงานของ กนอ.ที่

มุ่งสู่ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ (Eco Industrial Town) ให้ที่ประชุมทราบ ก่อนจะมีการหารือและอภิปรายอย่างกว้างขวางในเรื่องแนวทางการผลักดัน

เชิงนโยบาย ขอบเขตของนโยบายและแผนการประเมิน แนวทางและกติกาการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อกระบวนการ SEF/SEA การตั้งโจทย์เพื่อกำาหนดประเด็น

สำาคัญที่จะประเมิน รวมทั้งข้อเสนอแนะในเรื่องการรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในมิติต่างๆ ทั้งนี้ โครงการฯ จะนำาผลจากการประชุมไปประกอบการยกร่าง

SEF และจัดเตรียมการประชุมจัดทำาร่าง SEF ต่อไป

ปฏิทินกิจกรรม

Meeting on “Learning and Preparing SEA/SEF: Map Ta Phut Case Study”

On February 8, 2011, the Centre of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management (EHWM), organized

a meeting on “Learning and Preparing SEA/SEF: Map Ta Phut Case Study,” at meeting room 209 of the Graduate School

Building, Chulalongkorn University. The meeting was held under the project entitled “Strategic Environmental Assessment Frame-

work (SEA/SEF) Preparing for Eco-Industrial Town: a case study of Map Ta Phut, Rayong,” which is supported by the Public

Policy Studies Institute (PPSI) and Thai Health Promotion Fund.

The objectives of this meeting were to publicize the project, introduce the framework, and create the learning process

of SEA between representatives from the public and private sectors and the experts. On this occasion, Professor Dr. Mingsarn

Kaosa-ard, director of the PPSI, together with Professor Dr. Thongchai Pansawat, the project advisor, provided background on

the project. In addition, Dr. Sujitra Vassanadumrongdee, a researcher of the EHWM and project leader, also provided a progress

report of the project that took into account its past six months of operation. After that, Ms. Krittayaporn Tappatat, director of

Academic Affairs of the Industrial Estate Authority of Thailand, presented the concept and plan of the IEAT’s eco industrial town.

The approximately 40 attendants at the meeting participated in extensive discussions and debates on the policy-driven approach;

the scope of the policy and evaluation plan; guidelines and rules of public participation in the SEF/SEA process; and the prob-

lem set to determine the key issues to be evaluated, including recommendations on the collection and synthesis of background

information from various dimensions. The results of the meeting will be used to prepare the draft SEF.

Page 13: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 3Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

ปฏิทินกิจกรรม

การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการเพิ่มขีดความสามารถอุตสาหกรรมไทยในการแข่งขันภายใต้กฎระเบียบของประเทศคู่ค้า

เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 รศ. ดร. วราพรรณ ด่านอุตรา ที่ปรึกษาอาวุโส และน.ส. ขวัญนภัส สรโชติ นักวิชาการของศูนย์ความเป็นเลิศด้าน

การจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (ศสอ.) ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการเพิ่มขีดความสามารถอุตสาหกรรมไทยในการแข่งขันภายใต้กฎระเบียบ

ของประเทศคู่ค้า ประจำาปีงบประมาณ 2553 ซึ่งจัดโดยสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียม

ความพร้อมและรองรับกฎระเบียบของประเทศคู่ค้า ประกอบด้วย 3 มาตรการ คือ สร้างองค์ความรู้และฐานข้อมูลกฎระเบียบของสหภาพยุโรปและข้อมูลด้านสิ่ง

แวดล้อม พัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบและยกระดับขีดความสามารถของผู้ประกอบการ รวมทั้งจัดระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและกำาหนดแนวทางการรีไซเคิล

และจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเลกทรอนิกส์ เป็นการประชุมร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม ณ ห้องกษัตริย์ศึก 1 โรงแรม

เดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ โดยนายหทัย อู่ไทย รองเลขาธิการสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นประธานการประชุม มีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเสนอผล

การประเมินและรับฟังความคิดเห็น ทั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับความต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐเพื่อเพิ่มขีดความ

สามารถอุตสาหกรรมไทย จำานวนทั้งสิ้น 70 คน

Workshop on “Capacity Enhancement for Thai Industries in Competition under the Countries’ Trade Rules Project”

On February 23, 2011, Assoc. Prof. Dr. Varapan Danoudtra, a senior advisor, and Ms. Kwannapat Sorachoti, a researcher and

REACH expert of the Centre of Excellence for Environmental and Hazardous Waste management (EHWM), attended a workshop on “Capac-

ity Enhancement for Thai Industries in Competition under the Countries’ Trade Rules - Year 2011,” which was organized by the Thai In-

dustrial Standards Institute, under the Ministry of Industry. The objectives of the workshop were to prepare the readiness of the country

for the Countries’ Trade Rules. The measurements took into account the country’s 1) knowledge and database on the environment and

REACH (Registration Evaluation and Authorization of Chemicals), 2) research laboratory development and capability-building of entrepreneurs,

and 3) organization of related environmental rules and regulations, including guidelines for recycling and electronic waste management. The

workshop was carried out as a part of a collaboration between the public sector, private sector, and industrial sector, at the Kasatsuk 1

Room, of the Twin Tower Hotel, Bangkok. The workshop was chaired by Mr. Hathai Authai, vice secretary of the Thai Industrial Standards

Institute, who presented the assessment results and listened to the public’s opinions. There were 70 participants and they shared their

comments and discussed the Thai industry’s needs for government support to increase its competitiveness worldwide.

Page 14: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 4 ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกุมภ�พันธ์ 2554Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

ปฏิทินกิจกรรม

การพัฒนาโครงการวิจัยร่วมกับนักวิชาการจาก Chinese Academy of Sciences

เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ผ่านมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทรา ทองคำาเภา รองผู้อำานวยการสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม / ผู้อำานวยการ

หลักสูตรการจัดการสิ่งแวดล้อม ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (ศสอ.) และประธานกลุ่มงานวิจัย Knowledge Development

for Environment and Hazardous Waste Management of Mining Activities (KDEM) และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธวัศ สัมพันธ์พานิช นักวิจัยของ

สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ได้ให้การต้อนรับคณะนักวิจัยจาก The Institute of Soil Science, Chinese Academy of Sciences (ISSCAS) ประเทศสาธารณรัฐ

ประชาชนจีน เพื่อหารือความร่วมมือด้านงานวิจัยเรื่อง “Phytoremediation and Bioremediation Technologies for Heavy Metal Detoxification in Soil”

พร้อมทั้งเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการของสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ที่อาคารสถาบัน 2 และห้องปฏิบัติการของ ศสอ. ที่อาคารวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ชั้น 11

จฬุาลงกรณม์หาวทิยาลยั นอกจากนี ้ในวนัที ่ 25 กมุภาพนัธ ์2554 ไดป้ระชมุรว่มกบัศนูยพ์นัธวุศิวกรรมและเทคโนโลยชีวีภาพแหง่ชาต ิสำานกังานพฒันาวทิยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เพื่อปรึกษาหารือในเรื่องการพัฒนาโครงการวิจัยร่วมกัน

Academic Visitors from the Chinese Academy of Science

On February 23, 2011, Assist. Prof. Dr. Chantra Tongcumpou, deputy director of the Environmental Research Institute

(ERIC), director of the EHWM’s International Postgraduate Programs in Environmental Management (Hazardous Waste), and head

of the Research Group on Knowledge Development for Environment and Hazardous Waste Management of Mining Activities

(KDEM), and Prof. Dr. Pantawat Sampanpanid, a researcher of ERIC, welcomed the research team from the Institute of Soil

Science, the Chinese Academy of Sciences (ISSCAS), People’s Republic of China. The purpose of their visit was to discuss

a collaborative research on the topic of “Phytoremediation and Bioremediation Technologies for Heavy Metal Detoxification in

Soil.” The visitors also took this opportunity to visit the research laboratory of ERIC at the 2nd floor of Institute Building II and

the laboratory of the Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management (EHWM) at the 11th floor of

Petroleum and Petrochemical Building, Chulalongkorn University. In addition, on February 25, the KDEM research team joined a

meeting of the National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (BIOTEC), and the National Science and Technology

Development Agency (NSTDA), to develop collaborative research projects.

Page 15: »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 2 ÈÊÍ. - HSM · 2012. 8. 14. · »ÃШÓà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ 2554»‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè

P A G E 1 5Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management

จดหม�ยข่�ว

ปฏิทินกิจกรรม

บรรยายการใช้โปรแกรม Chemtrack / Wastetrack ในงานปฐมนิเทศผู้รับทุน “90 ป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 รศ.ดร.เลอสรวง เมฆสุต ผู้อำานวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย (ศสอ.) ได้

เป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง “ระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ณ ห้อง 402 อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย ในงานปฐมนิเทศผู้รับทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุ่นที่ 14 (1/2554) จำานวน 315 คน โดยภายหลังจาก

รศ.ดร.พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวเปิดการปฐมนิเทศและบรรยายรายละเอียดการรับทุนฯ แล้ว ผู้อำานวยการ ศสอ. ได้เริ่มการบรรยายโดย

กล่าวถึงการพัฒนาโปรแกรม Chemtrack และ Wastetrack การอบรมเผยแพร่การใช้งานโปรแกรม รวมทั้งการติดตามการใช้โปรแกรมบันทึกสารเคมีและของเสีย

อันตราย เนื่องจากเงื่อนไขการรับทุนฯ ได้กำาหนดให้ผู้ขอรับทุนที่ใช้สารเคมีในการวิจัยต้องบันทึกข้อมูลการใช้สารเคมีลงในฐานข้อมูล Chemtrack/Wastetrack ของ

มหาวิทยาลัย โดย รศ.ดร.พรพจน์ เปี่ยมสมบูรณ์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กล่าวเปิดการปฐมนิเทศและบรรยายหลักการรับทุนฯ ณ ห้อง 402 อาคารมหิตลาธิเบศร

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้เข้าการปฐมนิเทศ 315 คน

Lecture on the “Application of Chemtrack/Wastetrack” for the recipients of the 90th Anniversary of Chulalongkorn Univer-

sity Fund

On February 28, 2011, Assoc. Prof. Dr. Lursuang Mekasut, Director of the Center of Excellence for Environmental and Hazardous

Waste Management (EHWM), was invited to give a lecture on the “Application of Chemtrack/Wastetrack” in the orientation ceremony for

the 315 recipients of the 90th Anniversary of Chulalongkorn University Fund (Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund) Class 14 (1/2011)

at room 402 of the Mahidtratibate Building, Chulalongkorn University. After the opening ceremony by Assoc. Prof. Dr. Pornpote Piumsomboon,

dean of the Graduate School, Chulalongkorn University, the director of the EHWM gave his lecture on the management system of chemi-

cal and hazardous wastes in Chulalongkorn University, the development of the Chemtrack and Wastetrack programs, the program applica-

tion training course, as well as the monitoring and follow-up system. These topics were of interest to students, as a scholarship criterion

compelled the recipients to record the use of chemicals in the Chemtrak and Wastetrack database.