50
รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิÍ มีนคร ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยงบบประมาณแผ่นดิน (แบบปกติ) ปี งบประมาณ 2554 http://www.ssru.ac.th

รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

  • Upload
    others

  • View
    13

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

รายงานวิจัย

เรือง

การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials

ผู ้ ช่วยศาสตราจารย์สมศักดิ มีนคร

ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยงบบประมาณแผ่นดิน (แบบปกต)ิ

ปีงบประมาณ 2554

http://www.ssru.ac.th

Page 2: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

บทที 1

บทนํา

1.1 ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา

การทีประเทศไทยมีพื นทีตั งอยู่ในภูมิศาสตร์ทีดีของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการเมืองและ

เศรษฐกิจทีมันคงการสาธารณูปโภคขั นพื นฐานรองรับ และอัตราค่าแรงงานขั นตําไม่สูงมากเมือเทียบกับ

ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ รวมทั งการทีภาครัฐดําเนินนโยบายเป็นศูนย์กลางในกลุ่มเอเซียนและ

นโยบายการค้าระหว่างประเทศเชิงรุก เช่น การตั งเขตการค้าเสรี AFTA และความร่วมมือจัดทําข้อตกลง

การค้า FTA จึงทําให้บริษัทนักลงทุนต่างชาติเล็งเห็นประโยชน์ในการให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตและ

ศูนย์กลางการส่งออกรถยนต์ของเอเชียซึงผลดีทีตามมาคือ การเกิดอุตสาหกรรมการผลิตชิ นส่วนอะไหล่

ยานยนต์และอุตสาหกรรมเชือมโยงต่างๆ

สําหรับแบตเตอรียานยนต์ เป็นสิงทีอยู่คู่กับอุตสาหกรรมยานยนต์ในโลกมาเป็นเวลาช้านาน นับ

แต่มีการพัฒนารถยนต์ทีสามารถติดเครืองยนต์โดยปราศจากการใช้แรงฉุดจากคนและมีอัตราความ

ต้องการสูงขึ นตามอัตราการเพิมจํานวนของรถยนต์

ในอดีตทีผ่านมาของไทย ในยุคก่อนการเริมต้นของอุตสาหกรรมยานยนต์ ประเทศไทยต้องนําเข้า

แบตเตอรียานยนต์จํานวนมาก เนืองจากเป็นสิงทีประกอบติดมากับยานยนต์ซึงส่วนใหญ่นําเข้าสําเร็จรูปทั ง

คันและยังไม่มีการผลิตภายในประเทศยังคงนําเข้าเรือยมาจนถึงในยุคเริมต้นของอุตสาหกรรมยานยนต์ของ

ประเทศ เนืองจากปริมาณความต้องการแบตเตอรียานยนต์ในประเทศยังไม่สูงพอและไม่คุ ้มค่าการลงทุน

โรงงานแบตเตอรีแห่งแรกของไทยได้ถือกําเนิดขึ นในปีพ.ศ. 2483 โดยกรมอู่ทหารเรือกองทัพเรือ โดยได้ทํา

การผลิตแบตเตอรีสําหรับใช้กับเรือดํานํ า จนถึงประมาณปี พ.ศ. 2497 อุตสาหกรรมแบตเตอรียานยนต์ของ

ไทยในเชิงพาณิชย์ได้ถือกําเนิดขึ นตามอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยประกอบกับ

แบตเตอรียานยนต์สามารถประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆได้มากมายโดยเฉพาะในพื นทีชนบททียังไม่มีไฟฟ้าใช้

จึงทําให้มีผู ้ผลิตแบตเตอรียานยนต์รายใหญ่จากต่างประเทศ ได้เข้ามาลงทุนเปิดโรงงานผลิตแบตเตอรี

ยานยนต์ เพือสนองต่อความต้องการของตลาดในประเทศและตลาดส่งออก โดยในปัจจุบันมีผู ้ ผลิต

แบตเตอรีรายใหญ่ภายในประเทศจํานวน 8 ราย (www.krc.co.th)

สําหรับในการผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้านั น ในประเทศไทยมีการผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้าน้อยมาก

ส่วนใหญ่เป็นการนําเข้าจากต่างประเทศ เพือนํามาใช้งานอุตสาหกรรมในด้านต่างๆ มีบริษัทเอกชนเพียง

บริษัทเดียว คือ บริษัท 3K ทีทําการผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้าจําหน่ายภายในประเทศและมีหน่วยงานองค์การ

แบตเตอรีสังกัดกระทรวงกลาโหม ซึงเป็นหน่วยงานของภาครัฐทีทําการผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้าด้วยเช่นกัน

เพือสนับสนุนให้กับหน่วยงานของภาครัฐ ตามหน่วยงานต่างๆ ซึงเป็นการประหยัดงบประมาณในการ

นําเข้าแบตเตอรีรถไฟฟ้า แบตเตอรีรถไฟฟ้ามีข้อด้อยทีต้องทําการแก้ไขในเรือง ความจุของพลังงานต่อ

http://www.ssru.ac.th

Page 3: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

2

ปริมาตรค่อนข้างน้อยและเวลาในการประจุแบตเตอรีแต่ละครั งใช้เวลามาก จึงทําให้แบตเตอรีรถไฟฟ้าไม่

เพียงพอต่อความต้องการในการใช้งาน อาจเนืองมาจากราคานํ ามันมีราคาการปรับตัวสูงขึ นและมีการ

รณรงค์เรืองเกียวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิงแวดล้อม จึงเป็นเหตุให้หันมาใช้พลังงานแบตเตอรีรถไฟฟ้า

แทนมากขึ น

ภาพที 1.1 อุตสาหกรรมแบตเตอรีรถไฟฟ้า

ทีมา : GS แบตเตอรี

แบตเตอรีรถไฟฟ้าเป็นแบตเตอรีทุติยภูมิ ซึงเมือผ่านการใช้งานแล้วสามารถนํากลับมาชาร์จประจุ

เพือกลับมาใช้ใหม่ได้ ซึงเป็นกําลังขับเคลือนรถไฟฟ้าทีใช้ในงานอุตสาหกรรมและงานอืนๆ การทํางานของ

แบตเตอรีรถไฟฟ้า เมือมีการจ่ายพลังงานออกมาเราเรียกว่า การดิสชาร์จ พลังงานจะถูกสร้างโดยกรด

กํามะถันในสารละลายนําไฟฟ้าทีค่อยๆรวมตัวกับวัสดุกระตุ ้นของแผ่นเพลท การรวมตัวกันนี ก่อให้เกิดสาร

ตะกัวซัลเฟตทั งแผ่นขั วบวกและขั วลบอย่างสมบูรณ์จนกลายเป็นซัลเฟตทั งหมดจะทําให้ความต่างศักดิ หมด

ไป เรียกว่าแบตเตอรีหมดแต่เมือต้องการใช้งานแบตเตอรีใหม่ควรนําแบตเตอรีไปประจุไฟฟ้าเราเรียกว่า

การชาร์จประจุไฟฟ้า เมือเซลล์ได้รับการชาร์จวัสดุกระตุ ้นของเพลทขั วบวกจะเป็นตะกัวไดออกไซด์และ

เพลทขั วลบจะเป็นโลหะตะกัว โดยค่าความถ่วงจําเพาะของสารละลายนําไฟฟ้าจะมีค่าสูงสุดปฏิกิริยา

ย้อนกลับต่อการดิสชาร์จจะทําให้แบตเตอรีเต็ม

http://www.ssru.ac.th

Page 4: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

3

อากาศ

สําหรับกรมการอุตสาหกรรมทหาร ศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร ได้

ดําเนินการพัฒนายานใต้นํ าขนาดเล็ก ความยาว 11 เมตร ใช้การขับเครืองด้วยพลังงานไฟฟ้า ขนาด 480

โวตล์ จํานวน 264 หม้อ ต้องใช้แบตเตอรีรถไฟฟ้าในการขับเคลือนทีให้ค่าความจุต่อหน่วยขนาดนํ าหนัก

และการใช้งานไม่น้อยกว่า 5 ชัวโมง ซึงใช้ในภารกิจวงการอุตสาหกรรมทหาร ซึงการทีจะได้มาของแบตเตอรี

รถไฟฟ้าทีมีคุณสมบัติดังกล่าวนั น จะต้องทําการวิจัยและพัฒนาแบตเตอรีรถไฟฟ้า ให้มีคุณสมบัติอายุการ

ใช้งานทีดีขึ นนั นได้ดําเนินการวิเคราะห์จากไดอะแกรมเหตุและผล โดยมีรายละเอียดดังนี

ภาพที 1.2 แสดงการพัฒนาแบตเตอรีรถไฟฟ้าทีมีสมบัติอายุการใช้งานทีดีขึ น

จากภาพที 1.2 การพัฒนาแบตเตอรีรถไฟฟ้าให้มีสมบัติอายุการใช้งานทีดีขึ นนั น จากการ

วิเคราะห์ไดอะแกรมเหตุและผล จะพบว่า อายุการใช้งานของแบตเตอรีรถไฟฟ้านั นขึ นอยู่กับองค์ประกอบ

ต่างๆ ดังนี การดูแลรักษา สภาพแวดล้อม แผ่นรองรับและอุณหภูมิขณะใช้งาน

จากการวิเคราะห์จะพบว่า การดูแลรักษาและสภาพแวดล้อมสามารถดําเนินการควบคุมได้ส่วน

แผ่นรองรับและความถีในการใช้งานนั น ไม่สามารถดําเนินการควบคุมได้ สําหรับการพัฒนาแบตเตอรี

รถไฟฟ้าทีมีสมบัติอายุการใช้งานทีดีขึ นนั น จากการวิเคราะห์ความถีในการใช้งานของแบตเตอรีรถไฟฟ้านัน

ส่งผลต่อความจุพลังงานสามารถดําเนินการวิเคราะห์จากไดอะแกรมเหตุผล โดยมีรายละเอียดดังนี

การดูแลรักษา อุณหภูมิขณะใช้งาน ประเภทวัสดุ ปริมาณส่วนผสม

ความสมําเสมอ

ปริมาณนํ า

การจ่ายกระแสไฟ

ความชืน สภาพแวดล้อม Grid

ขนาด ส่วนผสม

ความจุพลังงานต่อหน่วย Expande

Active materials ความถีในการใช้งาน

การจ่ายไฟไม่ควรเกิน 75% อายุการใช้งาน

http://www.ssru.ac.th

Page 5: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

4

ภาพที 1.3 แสดงความจุพลังงานต่อหน่วยมีผลมาจากวัสดุกระตุ ้น

จากภาพที 1.3 ในการวิเคราะห์ค่าความจุพลังงานต่อหน่วยมีผลมาจากองค์ประกอบของวัสดุ

กระตุ ้น ( Active Materials ) ซึงประกอบด้วย Expander เป็นองค์ประกอบในการผลิต แผ่นธาตุลบมี

สมบัติในการเพิมคุณภาพของแผ่นธาตุลบ โดยทําให้เกิดตะกัวพรุนมีผลให้สารละลายตัวนําไฟฟ้าไหลผ่าน

ได้ดี มีหน้าทีดังต่อไปนี Increase Capacity High Heat Resistant and Extend Negative Plate Life

สําหรับกระบวนการผลิต Expander materials นั น ในการผสม Expander materials โดยคลุก

Expander materials ให้เข้ากันนั น โดยใช้เครือง Bench top mini high speed mixers เป็นการผลิต

Expander materials ทีเหมาะสม สําหรับในการผลิตทีจะส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials

โดยผู ้ วิจัยจะทําการศึกษา อิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials

เพือเปรียบเทียบกับ Expander materials ทีใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

ในการศึกษาผลในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของExpander materials โดยผู ้ศึกษามี

วัตถุประสงค์ดังต่อไปนี

1. เพือศึกษาปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials

2. เพือทําการวิเคราะห์และทดสอบ Expander materials จากการผสมเปรียบเทียบกับ

Expander materials ทีใช้ในงานอุตสาหกรรมแบตเตอรี

3. เพือสร้าง Expander materials ต้นแบบ

Expander

Active Materials

ความจุพลังงานต่อหน่วย

ปริมาณส่วนผสม

Barium sulfites

ประเภทวัสดุ

Organic expander

Carbon black

http://www.ssru.ac.th

Page 6: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

5

1.3 ตัวแปรทีใช้ในการศึกษา

ในการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials

นั นตัวแปรทีใช้ในการศึกษาประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี

1. ตัวแปรต้น ได้แก่ ความเร็วรอบและเวลาในการผสม

1.1 ความเร็วรอบในการผสม ได้แก่ 500 1,000 และ 1,500

1.2 เวลาในการผสม ได้แก่ 2 และ 10 นาที

2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจขุอง Expander materials

1.4 แผนการดําเนินงานในการทําวิจัย

ตารางที 1.1 แผนการดําเนินงานในการทําวิจัย

แผนการดําเนินการวิจัยตลอดโครงการ ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย.

1.ทําการศึกษาแบตเตอรีรถไฟฟ้า

2.ทําการวิเคราะห์ชิ นส่วน

3.ทําการวิเคราะห์ส่วนผสม

4. ทําการผสมส่วนผสมตามสูตร

5. ทําการทดสอบหาค่าความจ ุ

6. ทําการปรับปรุงสูตรการผลิต

7. ทําการทดสอบหาค่าความจ ุ

8. ทําการวิเคราะห์ข้อมูล

9. ทําการสรุปผลการวิจัย

10.เขียนรายงานการวิจัยและจัดทํารูปเล่ม

1.5 นิยามศัพท์

1 ค่าความจ ุ หมายถึง ค่าความจทุางไฟฟ้าของแบตเตอรีรถไฟฟ้าจะแตกต่างกันตามกระแสไฟฟ้า

ทีถูกจ่ายจากแบตเตอรีรถไฟฟ้าออกไปใช้งาน

2 การผสม หมายถึง อัตราส่วนของวัตถุดิบในการผสมของ Expander materials

3 Expander materials หมายถึง องค์ประกอบในการผลิตแผ่นธาตุลบมีสมบัติในการเพิม

คุณภาพของแผ่นธาตุลบ โดยทําให้เกิดตะกัวพรุนมีผลทําให้สารละลายตัวนําไฟฟ้าไหลผ่านได้ด ี

1.6 ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ

สําหรับในการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจขุอง Expander materials

ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับมีรายละเอียดดังต่อไปนี

1. ได้ Expander materials ทีใช้กับแบตเตอรีรถไฟฟ้า

http://www.ssru.ac.th

Page 7: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

6

2. สามารถผลิต Expander materials ได้โดยการลดต้นทุนจากการนําเข้า

3. ได้ Expander materials ต้นแบบสู่สายการผลิต

http://www.ssru.ac.th

Page 8: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

บทที 2

วรรณกรรมและงานวิจัยทีเกียวข้อง

ในการวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาผลในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุและทําการวิเคราะห์

พร้อมทดสอบ Expander materials โดยผู ้ วิจัยได้ทําการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร ตํารา และงานวิจัย

ต่างๆทีเกียวข้อง โดยรวบรวมนําเสนอเอกสารทีเกียวข้องตามลําดับดังนี

1. แบตเตอรีตะกัว-กรด

2. แบตเตอรีรถไฟฟ้า

3. สารประกอบคาร์บอน

4. โวลแทมเมตรี

5. เอกสารงานวิจัยทีเกียวข้อง

2.1 แบตเตอรีตะกั ว-กรด ( Lead – Acid Battery )

แบตเตอรีชนิดตะกัว-กรด ถูกค้นพบมานานกว่า 100 ปี ปัจจุบันเป็นแบตเตอรีชนิดทีใช้กันมากทีสุด

ส่วนแบ่งทางการตลาดของแบตเตอรีชนิดนี มากกว่าครึงของตลาดแบตเตอรี ทั งแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ

รวมกัน แบตเตอรีชนิดนี ใช้สําหรับจุดระเบิดเครืองยนต์ใช้เป็นหน่วยจ่ายพลังงานฉุกเฉินในขณะทีไฟฟ้าดับ

หรือใช้ในรถขนส่งไฟฟ้าในโรงงานทีอากาศไม่ถ่ายเทเป็นแบตเตอรีทีมีราคาถูก เนืองจากใช้วัสดุทีหาได้ง่าย

และมีกระบวนการผลิตไม่ซับซ้อน อีกทั งยังมีอายุการใช้งานยาวนานแม้ว่าสารตะกัวจะเป็นพิษแต่ในขณะนี

ได้มีการรีไซเคิลแบตเตอรีชนิดนี อย่างจริงจัง โดย 95-98 เปอร์เซ็นต์ของตัวแบตเตอรีได้ถูกนํามาแปรรูปและ

ใช้ใหม ่

แบตเตอรีชนิดตะกัว-กรด มีขั วลบซึงทําจากตะกัวทีมีลักษณะพรุน ( Porous Pb ) ส่วนขั วบวกนั น

เป็นตะกัวออกไซด์ ( PbO2 ) ทีมีลักษณะพรุนเช่นกัน โดยมีกรดซัลฟูลิค ( H2 SO4 ) เข้มข้นเป็นอีเล็ก

โทรไลต์

http://www.ssru.ac.th

Page 9: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

8

ภาพที 2.1 องค์ประกอบของแบตเตอรี

ทีมา : www. Eurobat.org

องค์ประกอบของแบตเตอรีตะกัว - กรด ประกอบด้วย

1. แผ่นธาตุบวก (Positive Plate) หมายถึง สารทีทําให้เกิดปฏิกิริยาทําด้วยตะกัวไดออกไซต ์

( PbO2)

2. แผ่นธาตุลบ ( Negative Plate ) หมายถึง สารทีทําให้เกิดปฏิกิริยาทําด้วยตะกัวพรุน

(Spongy Lead )

3. แผ่นกั น ( Separator ) หมายถึง แผ่นทีอยู่ระหว่างแผ่นธาตุบวกกับแผ่นธาตุลบ เพือป้องกัน

ไม่ให้แผ่นธาตุทั งสองชนิดติดต่อถึงกันเกิดการลัดวงจร

4. ขั วแบตเตอรี ( Pole ) หมายถึง แท่งตะกัวยืนออกมาจากฝาครอบทั ง 2 ขั ว คือขั วบวกและขั ว

ลบมีสัญญ์ลักษณ์มองเห็นได้ทีฝาครอบหรือขั วอย่างชัดเจน

5. เปลือกหม้อ ( Container ) หมายถึง ภาชนะบรรจุส่วนต่างๆของเซลล์แบตเตอรี เช่น แผ่นธาตุ

บวกแผ่นธาตุลบ แผ่นกั นและนํ ากรดไว้ภายใน

6. ฝาครอบแบตเตอรี ( Cover ) หมายถึง ฝาครอบแบตเตอรีทําหน้าที ป้องกันมิให้นํ ากรดหก

ออกจากแบตเตอรีและป้องกันสิงแปลกปลอมต่างๆ จากภายนอกไม่ให้ตกลงไปในแบตเตอรี

7. จุก ( Plug ) หมายถึง ช่องในฝาครอบแบตเตอรีทีทําไว้เพือการเติมอิเล็กโตรไลต์ขณะปฏิบัติการ

บํารุงรักษาจุกนี จะต้องมีช่องสําหรับระบายแก๊สทีเกิดขึ นภายในแบตเตอรีให้ระเหยออกไปได้ด้วย

http://www.ssru.ac.th

Page 10: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

9

ขั นตอนการผลิตแบตเตอรีตะกั ว- กรด

โดยทัวไปโรงงานทําแบตเตอรีตะกัว-กรด จะมีขั นตอนการผลิตทีสําคัญ ดังนี

1.การผลิตเปลือกหม้อ(Container) เปลือกหม้อทีทําด้วยยางหรือเปลือกดําผลิตขึ นโดยใช้ยางพารา

คาร์บอน กํามะถัน ยางสังเคราะห์ และสารเคมีอืนๆ อีกหลายชนิดนํามาผสมกันในเครืองผสมยาง แล้วรีด

ออกมาเป็นแผ่นยาง นําไปใส่แม่พิมพ์ของเครืองอัดเปลือกหม้อ ยางทีอยู่ในแบบแม่พิมพ์จะถูกอัดตัวด้วย

ระบบไฮโดรลิคส์ และใช้ความร้อนในการทํายางแผ่นประสานตัวเปลือกหม้อตามแบบพิมพ์ นํามาตกแต่งให้

เรียบร้อย และทดสอบความแข็งแรงของเนื อยางและความเป็นฉนวนไฟฟ้า

2. การหล่อชิ นส่วนต่างๆ ภายในแบตเตอรีทีเป็นตะกัวชิ นส่วนต่างๆ ภายในแบตเตอรีทีเป็นตะกัว

ได้แก่ แผ่นโครงกริด ขั วสะพาน และอืนๆ การหล่อแผ่นโครงตะกัว (Grid) โดยนําแผ่นตะกัวผสมมาหลอม

ละลายแล้วเทตะกัวเหลวลงในแบบหล่อกริด นําแผ่นกริดออกจากแบบหล่อตกแต่งชิ นงานให้เรียบร้อย การ

หล่อขั วสะพานตะกัวและส่วนอืนๆ นั นอาจใช้เศษชิ นส่วนตะกัวทีตัดทิ งมาจากแผ่นกริดหรือใช้โลหะตะกัว

ผสมมาหลอมละลายเทลงในแบบของชิ นส่วนทีต้องการหล่อ จากนั นนํามาตัดและตกแต่งเช่นเดียวกับการ

หล่อแผ่นกริด

3. การทําแผ่นบวกและลบ โดยการนําผงตะกัวออกไซด์มาผสมกันกรดซัลฟูลิคเจือจาง ซึงจะได้

สารผสมทีมีลักษณะคล้ายแป้งข้นๆ เรียกว่า เพสท์ (Paste ) ซึงมี 2 ชนิด คือ เพสท์บวกและเพสท์ลบ

ซึงแตกต่างกันคือ เพสท์บวกมีส่วนผสมของคาร์บอนแบล็ค ส่วนเพสท์ลบจะมีส่วนผสมของแบเรียมซัลเฟต

สารลิกนิน และสารเคมีอืนๆ หลังจากผสมเพสท์แล้วจะละเลงเพสท์ลงบนแผ่นโครงกริดแล้วอบด้วยความ

ร้อนเพือให้แห้ง

4. การทําให้เกิดความต่างศักย์ทางไฟฟ้าแก่แผ่นบวกและแผ่นลบ โดยการนําแผ่นกริดทีผ่านการ

อบแล้วทั ง 2 ชนิด นํามาเรียงสลับในถังซึงบรรจุกรดกํามะถันเจือจาง แล้วปล่อยกระแสไฟตรงไหลผ่านใช้

เวลาประมาณ 20 ชัวโมง แผ่นบวกจะได้รับการเติมออกซิเจนกลายเป็น “ ตะกัวออกไซด์ ” มีสีนํ าตาลไหม้

ส่วนแผ่นลบจะเกิดการลดออกซิเจนกลายเป็น “ตะกัวพรุน” มีสีเทา ล้างแผ่นบวกและแผ่นลบให้หมดกรด

แล้วอบให้แห้ง

5. การประกอบหม้อแบตเตอรี โดยการนําเอาแผ่นบวกและแผ่นลบมาเรียงสลับกันและสอดแผ่น

ฉนวนกั นระหว่างแผ่นทั งสองชนิด จํานวนแผ่นบวกและแผ่นลบขึ นอยู่กับขนาดความจุทีต้องการ แผ่นลบ

จะอยู่ทีปลายทั งสองเซลล์ แล้วประกอบลงในเปลือกหม้อ ประสานสะพานระหว่างเซลล์ให้ขั วบวกของเซลล์

หนึงต่อเข้าขั วลบของอีกเซลล์หนึง และทําขั วใช้งานขั วบวก ขั วลบเป็นแบตเตอรีสําเร็จรูป

http://www.ssru.ac.th

Page 11: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

10

2.2 แบตเตอรีรถไฟฟ้า ( Traction Batteries )

แบตเตอรีชนิด Valve-regulated Lead-acid สามารถนํามาใช้งานเป็นส่วนหรือบริเวณได้ โดยมี

การออกแบบบนพื นฐานของการออกแบบแบตเตอรีทัวไปทีใช้งานเป็นบริเวณ ยกเว้น มีการใช้สารอีเล็ก

โตรไลต์แบบเคลือนทีไม่ได้ (Immobilized Electrolyte) และใช้แผ่นตะแกรงอัลลอย ซึงมีพลวง (Antimony)

น้อย หรือไม่มีเลย

ในแบตเตอรีขนาดใหญ่ จะประกอบด้วยเซลล์เดียวขนาดเล็กวางในถาดโลหะ ในรูปแบบเดียวกับ

แบตเตอรีแบบ Traction ทัวไป สามารถใช้งานทีลดลงเนืองจากการใช้ Immobilized Electrolyte ชดเชยได้

โดย การเพิมขนาดของแผ่นเพลท ดังนั น ความจุของแบตเตอรี จะขึ นอยู่กับขนาดของแบตเตอรี และทําให้

แบตเตอรีชนิด Valve-regulated Lead-acid มีนํ าหนักมากกว่าแบตเตอรีทัวไปเล็กน้อย

แบตเตอรีใช้งานเป็นบริเวณ ชนิด Valve-regulated Lead-acid นี มักจะเป็นแบตเตอรีแบบบล็อก

ขนาด 6-12 V (เช่นเดียวกับแบตเตอรีแบบตะกัว-กรด ทัวไป) และมีรายละเอียดในภาพที 2.2

แบตเตอรีแบบบล็อก ดังภาพที 2.2 นิยมใช้ในยานพาหนะขนาดเล็ก เช่น รถเข็นคนพิการ (วีลแชร์)

เนืองจากข้อพิเศษของแบตเตอรีชนิดนี ซึงจะไม่มีกรดไหลหกออกมา ทําให้เหมาะทีจะใช้ในทีอยู่อาศัยซึง

ปูพื นด้วยพรม

ภาพที 2.2 การติดตั งแบตเตอรีแบบบล็อก

ทีมา : D. Berndt..p200

การผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้า

แบตเตอรีรถไฟฟ้า (Traction หรือ Motive Power Battery) ใช้เป็นกําลังขับเคลือนรถไฟฟ้าที

ใช้ในงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ผลิตตามมาตรฐานอังกฤษ มาตรฐานเยอรมนี มาตรฐานญีปุ ่ นและ

มาตรฐานสากลอืนๆ สําหรับการผลิตแบตเตอรีรถไฟฟ้าประกอบด้วย

http://www.ssru.ac.th

Page 12: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

11

การผลิตแผ่นธาตุบวก

1. การ Filling ประกอบด้วย

1.1 Spine Grid หมายถึง โครง Grid ซึงเป็นการเตรียมโครง Grid ให้ได้ขนาดตามที

เราต้องการ

1.2 Gauntlets หมายถึง หลอดหรือเสื อสวมใน Spine Grid เพือห่อหุ ้มผงตะกัวทีใส่

เข้าไปใน Gauntlets

1.3 ผงตะกัว หมายถึง ผงตะกัวผสมประกอบด้วยผงตะกัวซับออกไซด์ 70 % และ ผงเสน

30 %

1.4 Closing Strap หมายถึง จุกทีใช้ปิดด้านล่างของหลอดเมือบรรจุผงตะกัวลงใน

Gauntlets

2. Sulfatation หมายถึง การนําแผ่นที Filling แล้วไปแช่กรดกํามะถันเจือจางเพือต้องการเปลียน

ผงตะกัวออกไซด์เป็นตะกัวซัลเฟตท์ ใช้เวลาประมาณ 12 – 16 ชม.

3. Blashing หมายถึงการล้างนํ าเพือทําความสะอาดสิงสกปรกออกจากแผ่น Sulfatation สําหรับ

นํ าทีใช้ในการล้างมีอุณหภูมิไม่ควรเกิน 35 องศาเซลเซียส ค่า pH ควรอยู่ระหว่างช่วง 5-7 และเมือทําการ

Sulfatation เสร็จเรียบร้อยแล้วนํ าทีหยดจากแผ่นภาพควรมีค่า pH อยู่ระหว่าง 4-5

4. การอบแห้ง หมายถึง การอบแผ่นธาตุบวกแบบหลอดให้แห้ง เมือนําแผ่นธาตุบวกแบบหลอด

ไปล้างนํ า หลังจากแช่กรดเสร็จสิ นแล้วโดยนําแผ่นธาตุบวกแบบหลอดไปทําการอบในตู ้อบทันที สําหรับ

อุณหภูมิในตู ้อบควรมีอุณหภูมิระหว่าง 70-80 องศาเซลเซียส ซึงในการอบให้แห้งนั น ควรอบแผ่นธาตุให้มี

ความชื นได้ไม่เกิน 1% สําหรับเตาอบแผ่นธาตุบวกแบบหลอดควรมีระบบระบายอากาศด้วยในระหว่างการ

ทํางาน

การผลิตแผ่นธาตุลบ

1. โครงกริด (grid) หมายถึงแผ่นรองรับในแบตเตอรีตะกัว - กรด สําหรับใช้ทําแผ่นธาตุ ซึงมี

ส่วนประกอบของโลหะผสมตะกัวกับแอนติโมนี3.7 % ในการทําการหล่อกริดหรือแผ่นรองรับ สําหรับในการ

หล่อแผ่นกริดต้องทําการหลอ่ในแบบหล่อกริดตามรูปร่างทีออกแบบไว้ โดยต้องทําการตรวจสอบนํ าหนัก

และความหนาของแผ่นรองรับตามมาตรฐานทีกําหนด

2. การฉาบ หมายถึง การนําเนื อเพลททีผสมเสร็จเรียบร้อยแล้วมาฉาบลงบนโครงกริด (grid) โดยที

เนื อเพลทจะประกอบด้วยผงตะกัวซัลออกไซด์ กรดกํามะถัน นํ ากลนั วาสลินและสารเคมีอืนๆ ตามมาตรฐาน

ในการออกแบบไว้สําหรับแผ่นรองรับได้ตามมาตรฐานส่วนการฉาบเนื อเพลทนั นต้องฉาบให้เต็มทั งสองด้าน

และความชื นของเนื อเพลทควรมีค่าไม่น้อยกว่า 9% เมือทําการฉาบเนื อเพลทเสร็จสิ นลงแล้วควรทําการ

Curing ทันทีโดยทีนํ าหนักของแต่ละแผน่ควรเป็นไปตามมาตรฐานในการออกแบบไว้

http://www.ssru.ac.th

Page 13: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

12

3. การอบบ่ม หมายถึง การนําแผ่นทีฉาบเนื อเพลทเสร็จเรียบร้อยแล้วมาทําการอบบ่มหรืออบแห้งให้

แผ่นธาตุแห้ง สําหรับในการอบบ่มจะใช้ผ้ากระสอบชุบนํ าให้เปียกหมาดๆ คลุมแผ่นธาตุเป็นระยะเวลา 48

ชัวโมง และเมือแผ่นธาตุแห้งแล้วให้นําผ้าคลุมออกแล้ววางทิ งไว้ ใช้ระยะเวลาอย่างน้อย 72 ชัวโมง เมือ

สิ นสุดการอบบ่มแผ่นธาตุควรมีปริมาณตะกัวไม่เกิน 2% และความชื นในแผ่นธาตุไม่ควรเกิน 1%

การประกอบแบตเตอรีรถไฟฟ้า

1. การประกอบเซลล์แบตเตอรีรถไฟฟ้า

1.1 แผ่นธาตุบวกต้องผ่านการแช่กรดล้างนํ าและอบแห้งเรียบร้อยแล้ว

1.2 ต้องขัดแผ่นธาตุให้สะอาดก่อนนํามาวางเรียงเป็นกลุ่มเซลล์

1.3 สันแผ่นกั นต้องอยู่ติดกับแผ่นธาตุบวก

1.4 แผ่นธาตุลบต้องผ่านการ Curing และอบแห้งเรียบร้อยแล้ว

2. กระบวนการการผลิตเซลล์แบตเตอรีรถไฟฟ้า

2.1 ในการผลิตเซลล์แบตเตอรีจะประกอบการแผ่นธาตุทีผ่านการแช่กรดกํามะถันเจือจาง

ถ.พ. 1.10

2.2 อุณหภูมิในการแช่กรดกํามะถันไม่ควรเก็บ 55 C หล่อจากการเติมกรดแล้ว 3 ชัวโมง

3. การประกอบเซลล์แบตเตอรี

3.1 เซลล์แบตเตอรีทีจะนํามาประกอบต้องผ่านกระบวนการแช่กรดกํามะถันเรียบร้อยแล้ว

ถ้าลูกค้าต้องการแบตเตอรีรถไฟฟ้าทีพร้อมใช้งาน (Wet charged)

3.2 ต้องทราบรายละเอียดของแบตเตอรีรถไฟฟ้าทีจะประกอบ เช่น ขนาดแรงดันไฟฟ้า

ความจุ ทิศทางการวางเซลล์ ตําแหน่ง ชนิดของปลัก ขนาดและความยาวสายไฟ

3.3 เมือประกอบเสร็จและพร้อมจะนําส่งลูกค้า ต้องมีการตรวจสอบ เช่น แรงดันไฟฟ้า

ถ.พ. กรด และรายละเอียดอืนๆ ตรงตามความต้องการของลูกค้า

3.3.1 แรงดันไฟฟ้าต่อเซลล์ ไม่ควรน้อยกว่า 2.10 โวลต ์

3.3.2 ถ.พ. กรด แต่ละเซลล์ ควรมีค่า 1.270 ± 0.005

4. การประจุไฟแบตเตอรีรถไฟฟ้า ( Dry Charges)

4.1 แบตเตอรีทีจะบรรจุไฟฟ้าต้องเป็นเซลล์ทีประกอบจากแผ่นธาตุทีผ่านกระบวนการแล้ว

4.2 ใช้กรดกํามะถันเจือจาง ถ.พ. 1.270 เติม

4.3 ให้แผน่ธาตุดูดซับนํ ากรดอย่างน้อย 3 ชัวโมง และอุณหภูมิกรดไม่สูงกว่า 35 C° จึง

สามารถเริมประจุไฟได้

4.4 ประจุไฟด้วยอัตรากระแสไฟฟ้า 4 % ของค่าความจุแบตเตอรี เช่น แบตเตอรีมีค่า

ความจุ 400 Ah หมายความว่า ประจุไฟด้วยกระแส 16 แอมแปร์

4.5 ก่อนเริมประจุไฟควรตรวจแรงดันไฟฟ้าและ ถ.พ. กรดแต่ละเซลล์ของแบตเตอรี

4.6 อุณหภูมิกรดระหว่างการประจุไฟไม่ควรเกิน 55 C°

http://www.ssru.ac.th

Page 14: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

13

4.7 ถ.พ. กรดแต่ละเซลล์ทีชัวโมงสุดท้ายควรมีค่า 1.270 ± 0.005

4.8 แรงดันไฟฟ้าแต่ละเซลล์ทีชัวโมงสุดท้ายไม่ควรน้อยกว่า 2.5 โวลต์

4.9 แคดเมียมบวกแต่ละเซลล์ทีชัวโมงสุดท้ายไม่ควรน้อยกว่า 2.4 โวลต์

4.10 แคดเมียมลบแต่ละเซลล์ทีชัวโมงสุดท้ายไมค่วรน้อยกว่า - 0.1 โวลต์

เซลล์ตะกั ว - กรด

แบตเตอรีทีใช้สําหรับให้กําลังในการเคลือนที โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นชนิดตะกัว–กรด เราจะมาทํา

ความเข้าใจในรายละเอียดกันว่า แบตเตอรีประเภทนี ทํางานอย่างไร รวมถึงหลักการพื นฐานของเซลล์

ทุติยภูมิทั งหมด

แผ่นเพลท

เพลทหรือแผ่นโลหะตัวนําทีเป็นขั วลบ จะใช้แผ่นละอองตะกัวทําหน้าทีเป็นตัวกระตุ ้น ขณะทีเพลท

ขั วบวกจะใช้ Brown Lead Dioxide ซึงแผ่นเพลททั งสองขั วนี จะแช่อยู่ในสารละลายนําไฟฟ้ากรดซัลฟูลิค

เจือจาง ประวัติการพัฒนาแบตเตอรีทีใช้สําหรับการเคลือนทีทัวโลกแตกต่างกันออกไป ในยุโรปเราใช้เพลท

ขั วบวกเป็นท่อกลมขณะทีในสหรัฐอเมริกาจะใช้แผ่นเพลทแบบแบน เพลทขั วบวกแบบท่อกลมประกอบด้วย

ท่อหลอดเล็กๆ ของตะกัวพลวง ซึงถูกล้อมรอบโดยกระบอกสวมเป็นวัสดุทีไม่ทําปฏิกิริยาและเต็มด้วยรูพรุน

เช่น terylene ทีวา่งโดยรอบระหว่างท่อหลอดเล็กๆและกระบอกสวมจะเต็มไปด้วยวัสดุกระตุ ้นเป็นตะกัว

ไดออกไซด์

ในกรณีทีเป็นแผ่นเพลทแบบแบน แผ่นเพลทจะทํามาจากแผ่นตะกัวอัลลอยด์เรียงซ้อนกันให้มี

ช่องว่างเล็กน้อย ( grids ) เป็นโครงตาข่าย ซึงบรรจุตะกัวออกไซด์เอาไว้ภายใน ส่วนเพลทขั วลบของเซลล์

แบบท่อ ซึงต้องเข้ากับความบรรจุไฟฟ้าของเพลทขั วบวกเพือให้เกิดปฏิกิริยาเคมีทีมีประสิทธิภาพขึ น จะได้รับ

การออกแบบมาเหมือนกับแผ่นเพลทขั วบวก แต่ภายในโครงตาข่ายจะบรรจุละอองตะกัวบริสุทธิ

โครงสร้างของเซลล์

เพลทขั วบวกและขั วลบจะอยู่ในกล่องบรรจุ ซึงปกติจะเรียกว่า กล่องเซลล์ ( Cell Box ) ขั วบวก

วางอยู่และถัดไปจะเป็นขั วลบ ในเซลล์ตะกัวกรดจะมีแผ่นเพลทเป็นจํานวนคีอยู่เสมอทีเกินมาหนึงจะเป็น

ขั วลบอย่างเช่น มีแผ่นเพลท 13 แผ่น จะเป็นขั วลบ 7 แผ่น ขั วบวก 6 แผ่น เป็นต้น

พลังงานถูกสร้างขึ นจากการเรียงเพลทขั วบวกและขั วลบสลับกันและวางเพลทขั วลบในกระบอก

แยกสัญญาณไฟฟ้าในขณะเดียวกัน เพลทขั วบวกถูกเชือมต่อระหว่างกัน ส่วนเพลทขั วลบถูกเชือมต่อกับ

เซลล์ทําให้สมบูรณ์ โดยการให้ความร้อนปิดผนึกจากด้านบนกล่องเซลล์ เซลล์ทีขั วบวกของเซลล์หนึง

เชือมต่อกับขวัลบของเซลล์ทีอยู่ติดกันจะเรียกว่าเป็นการเรียงตัวกันแบบอนุกรมการเรียงตัวแบบต่อเนืองกัน

แบบอนุกรมจะทําให้มีความต่างศักย์เพิมมากขึ น แต่อย่างไรก็ตามความจุกระแสไฟฟ้าใน 1 ชัวโมงของ

แบตเตอรีจะยังคงเท่าเดิมของเซลล์เดียวๆ หนึงเซลล์ ส่วนเซลล์ทีจัดเรียงในแบบคูข่นาน จะมีลักษณะ

ขั วบวกทั งหมดถูกรวมเข้าด้วยกัน และขั วลบทั งหมดเชือมต่อกัน แล้วการเรียงตัวแบบนี จะมีความต่างศักย์

เท่ากับเซลล์เดียว แต่ความจุกระแสไฟฟ้าจะเป็นผลรวมของความจุไฟฟ้าของเซลล์แต่ละตัว

http://www.ssru.ac.th

Page 15: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

14

สารละลายนําไฟฟ้า

สารละลายทีเน้นสือนําไฟฟ้า จะใช้ได้เมือทําการประจุไฟฟ้าลงไปผ่านทางขั วบวกและขั วลบ กรด

กํามะถันในนํ ากลันบริสุทธิ จะมีประสิทธิภาพสูงมากในขณะอัดกระแสไฟสารทีมีความเข้มข้นสูงจะ

เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ น การให้ประสิทธิภาพสูงสุด (เมืออัดกระแสไฟฟ้าเต็ม) ขึ นอยู่กับความหนาแน่นและ

ชนิดของสารละลายหรือชนิดของแบตเตอรี การออกแบบแบตเตอรีจะต้องให้เหมาะสมกับความเข้มข้นของ

สารละลายทีใช้และกระแสไฟทีสูง สารละลายจะแข็งตัวในสภาพอากาศเย็นในขณะทีอุณหภูมิสูง

ความหนาแน่นจะตําและเมือนําไปใช้งานควรสังเกตการกัดกร่อนของตะแกรงทีอยู่ภายในเมืออุณหภูมิสูง

การทํางานของแบตเตอรี

รายละเอียดการเกิดปฏิกิริยาเคมีทีเกิดขึ นขณะทีแบตเตอรีกําลังอยู่ในวงจรการทํางานโดยที

แบตเตอรีจะเปลียนสถานะในขั นตอนการชาร์จและการดิสชาร์จ

เพลทขั วบวก เพลทขั วลบ สารละลายนําไฟฟ้า

PbO2 +Pb +2H2SO4

ตะกัวไดออกไซด ์ตะกัว กรดซัลฟูริก การชาร์จ

เพลทขั วบวก เพลทขั วลบ สารละลายนําไฟฟ้า

PbSO4 +PbSO4 +2H2O

ตะกัวซัลเฟต ตะกัวซัลเฟต นํ า การดิสชาร์จ

ภาพที 2.3 การทํางานของแบตเตอรี

ทีมา : Understanding Motive Power Batteries and Chargers P. 17

http://www.ssru.ac.th

Page 16: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

15

หลักการทํางานของแบตเตอรี

เมือแบตเตอรีมีการจ่ายพลังงานออกมาเราเรียกว่า การดิสชาร์จ พลังงานจะถูกสร้างโดยกรด

กํามะถันในสารละลายนําไฟฟ้าทีค่อยๆ รวมตัวกับวัสดุกระตุ ้นของแผ่นเพลท สําหรับการรวมตัวกันนี

ก่อให้เกิดสารตะกัวซัลเฟตทั งในเพลทขั วบวกและขั วลบอย่างสมบูรณ์จนกลายเป็นซัลเฟตทั งหมด จะทําให้

ความต่างศักย์ก็จะหมดไปหรือเรียกว่า แบตเตอรีหมด แต่เมือต้องการใช้งานแบตเตอรีใหม่ควรนําแบตเตอรี

ไปประจุไฟฟ้า เราเรียกว่า การชาร์จประจุไฟฟ้า เมือเซลล์ได้รับการชาร์จ วัสดุกระตุ ้นของเพลทขั วบวกจะ

เป็นตะกัว ไดออกไซด์และเพลทขั วลบจะเป็นโลหะตะกัว โดยทีค่าความถ่วงจําเพาะของสารละลายนําไฟฟ้า

จะมีค่าสูงสุดปฏิกิริยาย้อนกลับต่อการดิสชาร์จนี จะทําให้แบตเตอรีเต็ม สามารถใช้งานได้ตามเป้าหมายที

ต้องการ

การอัดแรงดันไฟฟ้า

เมือทําการอัดกระแสไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าในแบตเตอรีจะเพิมขึ นในทันทีทนัใด ความหนาแน่นอะตอม

ในสารละลายภายในของวัสดุทีใช้ทําให้เกิดปฏิกิริยา จากนั นแรงดันไฟฟ้าทีเพิมขึ นจะถูกควบคุมโดยอัตรา

การเกิดกรด ซึงถูกผลิตขึ นโดยแผ่นตะกัว และอัตราการแพร่ของอะตอมอิสระภายในเซลล์ไฟฟ้าเคมี เมือ

แรงดันไฟฟ้าขณะอัดไฟถึง 2.4 โวลต์ โดยประมาณการเพิมขึ นของแรงดันไฟฟ้าจะหยุดลง ในช่วงนี

สารละลายจะมีการเปลียนเป็นตะกัวซัลเฟตเกือบทั งหมดส่วนมากการอัดกระแสไฟฟ้าเป็นการใช้แยก

สารละลายกรดซัลฟูลิคในไฮโดรเจน ออกซิเจนและเซลล์เริมต้นของก๊าซอิสระเมือแรงดันไฟฟ้าเพิมขึ นจนได้

ระดับแรงดันไฟฟ้าก็จะไม่เพิมขึ นอีก

การจ่ายแรงดันไฟฟ้า

ผลกระทบของการจ่ายแรงดันไฟฟ้าจะตรงข้ามกับการอัดแรงดันไฟฟ้าภายในตัวต้านทานของ

เซลล์ไฟฟ้า จะเกิดแรงดันไฟฟ้าตกลงเมือกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเป็นเหตุให้แรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายไฟน้อยลง มัน

จึงเป็นการเปิดวงจรไฟฟ้า ดังแสดงไว้ในสมการ

แรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายไฟ = แรงดันไฟฟ้าในการเปิดวงจร – ( ค่าของตัวต้านทานภายใน)

เส้นโค้งในภาพประกอบด้านล่างแสดงผลกระทบของแรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายกระแสไฟฟ้า

ภายในเวลา 5 ชัวโมง ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีชนิดตะกัว

http://www.ssru.ac.th

Page 17: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

16

ภาพที 2.4 การจ่ายแรงดันไฟฟ้า

ทีมา :Understanding Motive Power Batteries and Chargers P. 18

ความจุไฟฟ้า

ความจุไฟฟ้าของแบตเตอรีจะแตกต่างกันตามกระแสไฟทีถูกจ่ายออกไป ถ้ากระแสไฟทีแบตเตอรี

จ่ายออกไปสูง ความจุไฟฟ้าทีแบตเตอรีบรรจุได้จะตํา ตัวอย่างเช่น ถ้าแบตเตอรีมีความจุไฟฟ้า 500

แอมแปร์–ชัวโมง จ่ายไฟได้ 5 ชัวโมง จะให้กระแสไฟ 100 แอมป์ สําหรับ 5 ชัวโมง อย่างไรก็ตามถ้า

ใช้แบตเตอรีชนิดเดียวกันนี โดยจ่ายไฟ 200 แอมป์ จะให้กระแสไฟได้ 2 ชัวโมงเท่านั น ด้วยเหตุนี ถ้า

หากใช้ความจุไฟฟ้าที 400 แอมป์ สามารถจ่ายไฟได้ 2 ชัวโมง ประสิทธิภาพทีได้จะสูงกว่าแรงดันไฟฟ้าที

ตกลงอย่างรวดเร็ว

ภาพที 2.5 ความจุไฟฟ้า

ทีมา : Understanding Motive Power Batteries and Chargers P. 18

http://www.ssru.ac.th

Page 18: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

17

ความจุไฟฟ้าทีเปลียนแปลงทีอัตราการจ่ายกระแสไฟฟ้าทีแตกต่างกัน แสดงไว้ในภาพประกอบ

ด้านบน ความจุไฟฟ้าแสดงไว้เป็นเปอร์เซ็นต์ของความจุไฟฟ้าปกติทีอัตราการจ่ายไฟ 5 ชัวโมง ความจุ

ไฟฟ้าปกติของ Motive Power แบตเตอรีให้อัตราการจ่ายไฟที 5-6 ชัวโมง อัตราการจ่ายไฟทีสมมติขึ นนี มี

ความใกล้เคียงกับค่าการปฏิบัติงานจริงของรถบรรทุกในงานอุตสาหกรรมทีทํางานเกินกว่า 8 ชัวโมง

อุณหภูมิโดยรอบกจ็ะมีผลกระทบต่อความจุไฟฟ้าของแบตเตอรีด้วยกันเช่น ทีอุณหภูมิตําค่าความจุไฟฟ้า

ของแบตเตอรีจะลดลงอย่างมาก

ความถ่วงจําเพาะ

ในการอ่านค่าความถ่วงจําเพาะของอีเล็กโทรไลต์สิงทีจะบอกการจ่ายกระแสไฟฟ้าของแบตเตอรีได้ดี

ทีสุดคือสภาวะการเป็นกรด ตามวัฏจักรของปฏิกิริยาเคมีขณะจ่ายไฟ เมือเซลล์ไฟฟ้าเคมีกําลังอัดกระแสไฟ

กรดทีเกิดจากแผ่นตะกัวจะถูกทําให้แตกตัวภายในอีเล็คโทรไลต์ ทําให้เกิดกรดทีแก่กว่าค่าความถ่วงจําเพาะ

เพิมขึ น เมือเซลล์ไฟฟ้าเคมีกําลังจ่ายไฟกรดในอิเล็คโตไลท์จะรวมตัวเข้ากับวัสดุทีทําให้เกิดปฏิกิริยาเกิด

ตะกัวซัลเฟตและนํ าเป็นเหตุให้ค่าความถ่วงจําเพาะลดลง เพราะฉะนั นเมือแบตเตอรีถูกอัดกระแสไฟจน

เต็ม ค่าความถ่วงจําเพาะทีอ่านได้จะเป็นค่าทีสูงทีสุด และเมือจ่ายกระแสไฟจนหมด ค่าความถ่วงจําเพาะ

ทีอ่านได้จะตําทีสุด ช่วงระหว่างการอัดกระแสไฟจนเต็มกับการจ่ายกระแสไฟจนหมดจะแตกต่างกันตามขนาด

และการออกแบบเซลล์ไฟฟ้าเคมี เพราะปริมาณของกรดทีแตกต่างกันเมือเทียบกับความจุไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้า

เคมีชนิดตะกัวของ Motive power แบตเตอรีจะมีค่าความถ่วงจําเพาะ 1.280 เมืออัดกระแสไฟฟ้าจนเต็ม

ค่าความถ่วงจําเพาะนี จะลดลง 0.140 ขณะทีเซลล์ไฟฟ้าเคมีกําลังจ่ายไฟ เพราะฉะนั นถ้าเซลล์ไฟฟ้าเคมี

จ่ายกระแสไฟฟ้าได้ในอัตรา 5 ชัวโมง ค่าความถ่วงจําเพาะจะลดลง 0.140 ทําให้อ่านค่าได้ 1.140 (

1.280 – 0.140 = 1.140)

ประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพของเซลล์ไฟฟ้าเคมีคือ สัดส่วนของกระแสไฟขาออกกับกระแสไฟขาเข้าค่าประสิทธิภาพ

นี จะถูกแสดงเป็นเปอร์เซ็นต์ และสามารถทําให้อยู่ในรูปของแอมป์ - ชัวโมงหรือวัตต์ - ชัวโมง

1. การวัดประสิทธิภาพโดยใช้แอมป์ - ชัวโมง

การวัดประสิทธิภาพโดยการใช้แอมป์ - ชัวโมง คือ การวัดจํานวนของกระแสไฟทีจ่ายออกไปจาก

เซลล์ไฟฟ้าเคมีกับจํานวนทีต้องอัดกระแสไฟกลับคืนเข้าไปจนเซลล์ไฟฟ้าเคมีอยู่ในสภาวะเดิมค่า

ประสิทธิภาพโดยใช้แอมป์ - ชัวโมงของเซลล์ไฟฟ้าเคมีชนิดตะกัวของ Motive Power มีค่าประมาณ 90

เปอร์เซ็นต์ ทั งนี ขึ นอยู่กับสภาพการใช้งาน ดังนั น 100 แอมป์ - ชัวโมง ต้องอัดกระแสไฟกลับคืนเข้าไป

ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีทุกๆ 90 แอมป์ - ชัวโมง ทีจ่ายกระแสออกไป

2. การวัดประสิทธิภาพโดยใช้วัตต์ - ชัวโมง

การวัดประสิทธิภาพโดยใช้วัตต์ - ชัวโมง ของเซลล์ไฟฟ้ามีสําคัญว่าการวัดประสิทธิภาพโดยใช้

แอมแปร์-ชัวโมง ในการพิจารณาในแง่ประสิทธิภาพของพลังงานวัตต์ - ชัวโมงเป็นผลผลิตแอมแปร์-ชัวโมง

และแรงดันไฟฟ้าเฉลียในการคํานวณวัตต–์ชัวโมงให้ใช้ค่าการจ่ายกระแสไฟของเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือ ค่าการ

http://www.ssru.ac.th

Page 19: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

18

อัดกระแสไฟของเซลล์ไฟฟ้าเคมี คูณด้วยเวลา ( ชัวโมง ) แอมแปร์และแรงดันไฟฟ้าเฉลีย ด้วยเหตุนี ถ้า

ให้ค่าประสิทธิภาพเป็นแบบแอมแปร์-ชัวโมง เราสามารถหาค่าประสิทธิภาพเป็นแบบวัตต์ -ชัวโมงได้โดย

คูณด้วยสัดส่วนของแรงดันไฟฟ้าเฉลียขณะจ่ายกระแสไฟกับแรงดันไฟฟ้าเฉลียขณะอัดกระแสไฟฟ้า ดังนั น

ถ้าให้ค่าประสิทธิภาพแอมแปร์- ชัวโมงมา 90 เปอร์เซ็นต์ แรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายไฟเฉลีย 1.9 และ

แรงดันไฟฟ้าขณะอัดกระแสไฟเฉลีย 2.4 ค่าประสิทธิภาพแบบวัตต์ - ชัวโมง ควรจะเป็น : (90 x 1.9) / 2.4

= 71.3 %

ภายใต้สภาวะปกติในการทํางานค่าประสิทธิภาพแบบ วัตต–์ ชัวโมงเฉลียของ MotivePower

แบตเตอรีอยู่ระหว่าง 70-75% หากลดแรงดันไฟฟ้าขณะจ่ายไฟหรือเพิมแรงดันไฟฟ้า ขณะอัดไฟจะทําให้ค่า

ประสิทธิภาพลดลงอัตราการอัดและการจ่ายกระแสไฟจะสูง ดังนั นการหาค่าประสิทธิภาพแบบวัตต์ -ชัวโมง

ทีดีทีสุดควรหาทีกระแสตํา แต่ต้องจําไว้ว่าการอัดกระแสไฟควรอยู่ในช่วงทีจํากัดทีแนะนําไว้โดยผู ้สร้าง

แบตเตอรี

เลือกแบตเตอรี

ในกรณีของการนําไฟฟ้าหรืออุตสาหกรรมรถบรรทุก ขนาดของแบตเตอรีจะขึ นอยู่กับเบอร์และชนิด

ของการนําไฟฟ้าการทํางานของมันจะทําหน้าทีอยู่ตลอดเวลาและขึ นอยู่กับความต้องการนําไปใช้ ถ้าคิด

ค่าเฉลียระยะทางการใช้งานแล้วรถบรรทุกทีใช้ในการขนส่งจะใช้มากกว่าและลิฟท์ทีมีนํ าหนักมากก็ต้องการ

ใช้พลังงานความจุจากแบตเตอรีสูงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตาม ถึงอย่างไรก็ไม่ใช่เรืองง่ายจํานวนความจุ

ของแบตเตอรีมีผลอย่างมาก ทั งนี ขึ นอยู่กับหมายเลขทีบ่งบอกค่าแบตเตอรีและขนาดของแผ่นเซลล์ จะเห็น

ได้ว่าผู ้ผลิตแบตเตอรีไม่สามารถทีจะออกแบบได้ตามทีผูซื้ อต้องการ ตามปกติผู ้ ทีผลิตแบตเตอรีต้องเว้น

ช่องว่างให้พอดีกับการบรรจุแบตเตอรี ต้องมีการตกลงกันระหว่างผู ้ออกแบบและผู ้ซื อทั งหมด ขนาดของ

แบตเตอรีนั นต้องมีขนาดทีเหมาะสมทีจะนําไปใช้ในทฤษฎีของเรืองไฟฟ้า ในทางปฏิบัติ เพราะฉะนั น โดย

ปกติความจุของแบตเตอรีจะต้องมีการคํานวณเพือจะนําไปใช้กับรถบรรทุกทีต้องการความมันคง ซึง

รถบรรทุกมีนํ าหนักมากทีสุดและต้องมีมาตรฐานทีจะใช้กับรถบรรทุก โดยปกติก็จะมีข้อกําจัดเกียวกับ

ความจุสูงสุด ซึงเป็นคุณสมบัติทีเหมาะสมกับแบตเตอรี ความต้องการพาหนะมีมากมาย ความแตกตา่ง

ของหน้าทีตามต้นกําเนิด และช่วงเวลาของแบตเตอรี ดังนั นพาหนะทีมีการขนส่งมากจะต้องใช้ขนาด

พลังงานทีเพียงพอกับหน้าทีทําให้ค่าพลังงานเพียงพอกับการนําไปใช้ในการปฏิบัติงาน การคํานวณการใช้

งานรวมถึงแบตเตอรีขนาดใหญ่ ซึงสามารถปรับให้มีความเหมาะสมกับหน้าทีระหว่างราคาตามความเป็น

จริง จากการคํานวณความต้องการความจุของแบตเตอรี

การคํานวณความต้องการพลังงาน

เครืองจักรต่างๆทีอยู่บนถนนหรือในวงการอุตสาหกรรมต้องมีรูปแบบการใช้ต้องครอบคลุมเส้นทาง

ทีแน่นอน ซึงจากการคํานวณจํานวนครั งทีหยุดระยะทางการเดินรอบและลักษณะของภูมิประเทศ (มี

ความสําคัญมากต่อการเดินทางบนเนินเขาและปีนบนทีสูง)เหล่านี เป็นตัวอย่างทีต้องใช้พลังงานจาก

http://www.ssru.ac.th

Page 20: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

19

แบตเตอรีทีมีความจุมากๆ รถบรรทุกเช่นเดียวกันก็ต้องมีการคํานวณพลังงาน สิงทีต้องการความเร็วมากๆ

รถบรรทุกทีรับนํ าหนักมากๆ และการเดินทางไกลทีมีระดับพื นผิวทีไม่เรียบ

ภาพที 2.6 ความหลากหลายด้วยค่าของความจุของกระแสไฟทีปลดปล่อย

ทีมา : Understanding Motive Power Batteries and Chargers P. 22

จํานวนการปลดปล่อยกระแสไฟฟ้าของแบตเตอรีแต่ละครั งนั นจําเป็นต้องมีความรู ้ ในทุกด้าน

เกียวกับการคํานวณขั นพื นฐาน การปลดปล่อยกระแสไฟฟ้าทีรับจากแบตเตอรี ค่าของมันขึ นอยู่กับเวลา

(1 นาที) โดยจะต้องมีการนําไปทดลองปฏิบัติเป็นขั นตอนดูจากสถิติ ค่า แอมแปร์ / นาที ซึงในภาพจะ

บอกถึงค่าของกระแสไฟฟ้าใน 1 นาที ด้วยการทํางานอย่างสมบูรณ์ สําหรับตัวอย่าง เช่น ลิฟท์ทีขนาด

2 ตัน ต้องการประสิทธิภาพในการปลดปล่อยพลังงานอยู่ที 200 แอมแปร์ ต่อ 1/4 นาที หรือ 50

แอมแปร์ ต่อนาที (1/4 นาที = 200 แอมแปร์ ) รถบรรทุกทีใช้ในการเดินทาง 6 เมตร ที 1 เมตร/2 ครั ง

ซึงมีการปลดปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมา 80 แอมแปร์ หรือ 480 แอมแปร์ในครั งที 2 ซึงการคํานวณใน

รูปของหน่วย แอมแปร์ / นาที แล้วแปลงมาเป็น แอมแปร์ / ชัวโมง ตัวเลขทั งหมดเป็นค่ากระแสแอมแปร์ /

ชัวโมง จะนําไปใช้กับมอเตอร์ของรถบรรทุก ถ้าจะใช้ในโรงงานต้องพิจารณาความจุของแบตเตอรี หรือการ

เลือกใช้แบตเตอรีทีมีหน่วยเป็น แอมแปร์ / ชั วโมง การเลือกแบตเตอรีไปใช้กับรถบรรทุกนั นต้องทําการ

กําหนดขนาดของแบตเตอรีให้เหมาะสมกับการนําไปใช้งาน การทําระบบกราฟของแบตเตอรีทีใช้ในการ

ทํางานจนถึงการใช้พาหนะในการขนส่งจะลดจํานวนลง พาหนะทีใช้แบตเตอรีในการทํางาน เริมมีการใช้

คนน้อยลงการดูแบตเตอรีต้องดูให้แน่ใจว่าหน้าทีของมันมีความต้องการและเหมาะสมกับงานทีนําไปใช้

หรือไม่ มีราคาทีเปลียนแปลงจากเดิมหรือไม่ดูในแงข่องความมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติและการเพิม

พลังงานต้องรู ้หลักทางเศรษฐศาสตร์ ซึงการเผชิญหน้ากับราคาแบตเตอรีในสถานการณ์ปัจจุบัน

http://www.ssru.ac.th

Page 21: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

20

2.3 สารประกอบคาร์บอน

2.3.1 คาร์บอนแบลค (Carbon Black)

คุณสมบัติของ คาร์บอนแบลค เป็นการจับตัวของวัสดุทีทําปฏิกิริยาช่วยในการชาร์จไฟฟ้าและ

ดิสชาร์จของแบตเตอรีและหน้าทีของ คาร์บอนแบลค ทําหน้าทีเป็นตัวนําไฟฟ้าหรือสะพานไฟ

Specification

Carbon Black Type N 220

Carbon Black Type Printex XE2b

คาร์บอนแบลค (Carbon Black)เป็นส่วนประกอบของ Expander ทีมีหน้าทีเป็นตัวนําไฟฟ้าหรือ

สะพานไฟ Carbon Black สามารถนําไฟฟ้าได้ด ีมีผลมาจากสมบัติในการจับกลุ่มของอนุภาคจํานวนมาก

ในลักษณะเป็นกิงก้านหรือสายโซ่มีความเป็นรูพรุนสูงและคุณภาพในการเกาะกลุ่ม (Aggregate) ส่งผล

ต่อการนําไฟฟ้า โดยต้องเลือกเกรดของชนิด Carbon Black ให้เหมาะสมกับการใช้งานและมีผลต่อต้นทุน

ในการผลิต

โครงสร้างของ Carbon blackประกอบด้วยส่วนต่างๆทีมีความสําคัญซึงมีลักษณะเป็นรูปแบบและ

โครงสร้างโดยทีจํานวนของอนุภาคเล็กๆ ในการรวมตัวจะเป็นลักษณะการเกาะกลุ่ม (Aggregate) เข้า

ด้วยกัน

ภาพที 2.7 Structure of Carbon Black

แสดงให้เห็นว่า High Structure Carbon Black มีลักษณะเฉพาะของการจับกลุ่มกัน ค่อนข้าง

ใหญ่ ทําให้มีรูปแบบเป็นกิงก้านและสายโซ่ยาว ส่วน Low Structure Carbon Black นั น ในการรวมตัวการ

จับกลุ่มของอนุภาคน้อยจึงจับกลุ่มกันแน่นและแออัด

http://www.ssru.ac.th

Page 22: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

21

2.3.2 วัสดุขยาย ( Expander materials )

ตัวขยายในสารประกอบในแผ่นโลหะลบของทีสะสมแบตเตอรี แม้ว่าตัวนําฟองนํ ามีเพียง 1% ของ

ตัวขยายนั น ตัวขยายเพิมความจุไฟฟ้าประมาณ 300% เมือแบตเตอรีถูกทดสอบในสภาพเย็นนันคือ เมือ

เย็นจนถึง 0 องศาฟาเรนไฮต์ และถูกดิสชาร์จ (สภาวะทีแบตเตอรีต่อกับวงจรภายนอก) ที 300 แอมแปร์

การเพิมขึ นของความจุไฟฟ้าทีถูกดิสชาร์จเป็นผลมาจากการมีอยู่ของตัวขยาย ซึงเป็นความสําคัญอย่างมาก

จากมุมมองของผู ้ใช้ มันมีความสําคัญมากจากมุมมองของผู ้ผลิตเช่นกัน เพราะการเตรียมของตัวขยายคือ

ปัญหาทางเทคนิคของการพิจารณาความสําคัญ

ความก้าวหน้าในการพัฒนาตัวขยายทีดีขึ นได้มีอุปสรรคเนืองจากไม่มีทฤษฎีทีน่าพอใจสําหรับการ

ทํางานของตัวขยายได้ถูกเสนอและทดสอบ ความพยายามในการแก้ไขสถานการณ์การศึกษาทีครอบคลุม

ของกิจกรรมของตัวขยายได้เริมทํามาหลายปีแล้ว งานวิจัยก่อนหน้าอธิบายงานชิ นนี ด้วยผลกระทบของตัว

ขยายทีมีต่อคุณสมบัติของแบตเตอรี และคุณสมบัติของการทดสอบพิเศษทีอุณหภูมิห้อง งานวิจัยใน

ปัจจุบันได้ทําเรืองผลของการทํางานของตัวขยายก่อนหน้านี และแสดงการอธิบายไปพร้อมกับผลสรุปของ

การทดลอง

ในงานวิจัยชิ นแรกของชุดนี บ่งชี ไปทีตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนได้ทําให้ความจุไฟฟ้าดีขึ น

หากเพิมแผ่นโลหะขั วลบก่อนการดิสชาร์จ สิงนี ชี ให้เห็นว่าตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน มีผลกระทบ

ต่อกระบวนการดิสชาร์จโดยตรง กระบวนการดิสชาร์จได้ถูกศึกษาโดยทุกวิธีอย่างต่อเนือง เริมแรกกล้องไม

โครสโคบถูกใช้ในการทดสอบโครงสร้างของแผ่นโลหะลบ มันถูกสังเกตว่าแผ่นชาร์จขั วลบบรรจุแท่งตัวนํา

โลหะ เมือตัวขยายได้ถูกนํามาแสดง แท่งเหล่านี กลายเป็นถูกเคลือบด้วยรูพรุนหยาบของตัวนําซัลเฟตในระ

หว่างการดิสชาร์จ ความจุไฟฟ้าของโวลเทจและการดิสชาร์จถูกจํากัดเพราะกรดภายในของรูพรุนของแผ่น

ซัลเฟตเหล่านี ทําให้สิ นสภาพ มันเกิดขึ นก็ต่อเมือแผ่นบรรจุตัวขยายถูกดิสชาร์จทีอัตราสูง

เมือไม่มีตัวขยาย ก็ปรากฏว่าการดิสชาร์จนั นแตกต่างออกไป ไม่พบแผ่นฟิล์มซัลเฟตในระหว่างการ

ดิสชาร์จ อย่างไรก็ตามการวัดอิเล็คทรอนิกส์บ่งชี ว่า แผ่นฟิล์มได้ถูกแสดงในช่วงท้ายของการดิสชาร์จและ

ความจุไฟฟ้าถูกจํากัดเนืองจากความบางของมัน ชั นทีไม่เป็นรูพรุนของตัวนําซัลเฟตได้ต้านการทําปฏิกิริยา

ของพื นผิวของชั นนําโลหะ การดิสชาร์จสิ นสุดเมือตัวนําซัลเฟตทีเหลืออยู่นั นเล็กเกินกว่าทีจะรักษา

ระดับการดิสชาร์จ เนืองด้วยตัวขยายทําให้ความจุไฟฟ้ามีมากขึ น มันจึงป้องกันการก่อรูปของชั นรูพรุนของ

ตัวนําซัลเฟต ปฏิกิริยาของตัวขยายทีมีนัยสําคัญนี คือการสร้างฟิล์มเคลือบรุพรุนของตัวนําซัลเฟตนันเอง

งานวิจัยชิ นนี ได้อภิปรายวิธีโดยถูกทําให้สําเร็จ

ตัวขยายมักจะประกอบด้วยส่วนประกอบเล็กๆของเขม่า (lamp black), แบเรียม ซัลเฟต และ

ลิกนินทีได้รับการพัฒนามาจากตัวประกอบอืนๆ ได้ถูกเสนอให้เป็นตัวขยายแทนลิกนิน แต่มันถูก

ตั งสมมติฐานว่ามีคุณลักษณะเหมือนลิกนินทุกประการ พฤติกรรมของเซลล์ทีทดสอบทีประกอบตัวขยาย

เหล่านี ได้นํามาสรุปไว้ในภาพที 2.8

http://www.ssru.ac.th

Page 23: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

22

ภาพที 2.8 แสดงผลกระทบของตัวขยายทีมีต่อความจุไฟฟ้าและชีวิตของแผ่นโลหะลบ

http://www.ssru.ac.th

Page 24: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

23

ภาพนี แสดงผลกระทบของวงจรบนความจุไฟฟ้าของเซลล์ทดสอบประเภทต่างๆ มันเป็นหลักฐาน

ทีว่า ส่วนประกอบและแบเรียม ซัลเฟตนั นทําให้ความจุไฟฟ้ามีมากขึ น และเมือนํามันมาใช้ร่วมกัน มัน

ส่งเสริมซึงกันและกัน อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติสําหรับเขม่าไม่มีผลกระทบทางตรงต่อความจุไฟฟ้า หน้าที

ทีแท้จริงของเขม่าก็คือ ไม่ได้เกียวข้องในการอภิปรายผลกระทบของตัวขยายทีมีต่อความจุไฟฟ้า การ

อภิปรายครอบคลุมเพียง (1) พฤติกรรมของแผ่นบรรจุทีไม่มีตัวขยาย (2) ผลกระทบของแบเรียม ซัลเฟต ทีมี

ต่อแผ่น (3) ผลของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนทีใช้ร่วมกันบนแผ่น ปัญหาของการทํางานของตัว

ขยายคือ การแก้ไขปัญหาข้างต้นทั ง 4 ประการ

การศึกษาความเสือมของความจุไฟฟ้าของแผ่นโลหะลบทีไม่มีตัวขยายนั นมีหลักฐานในจุดเริมต้น

ของทฤษฏีตัวขยาย

2.3.2.1 ผลกระทบเมือไม่มีตัวขยาย

วัตถุประสงค์ในการศึกษาแผ่นบรรจุทีไม่มีตัวขยาย แผ่นถูกสร้างด้วย litharge บริสุทธิ, นํ า กรด

ซัลฟิวริก, ไม่มีเขม่า, แบเรียม ซัลเฟต หรือตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนประกอบอยู่ในแผ่นนั น ไม่ได้

มีการอธิบายสารทีมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบจากตัวแยกโดยการรวมเซลล์ทดสอบในเหยือก เมือแผ่นถูก

วาง, ก่อรูป และอยู่ภายใต้เงือนไขตามวิธีปกติ ดังนั นพวกมันจึงได้รับชุดของการดิสชาร์จทีอุณหภูมิห้อง

ประมาณ 3 นาที ภายหลังทีเซลล์เหล่านี ได้ดิสชาร์จก็ถูกชาร์จใหม่ข้ามคืน

ในระหว่างการดิสชาร์จของตัวต่อต้านและโวลเทจของแผ่นโลหะลบแต่ละอันถูกทําการวัด การทํา

ให้เป็นแม่เหล็ก (polarization) ถูกคํานวณตามวิธีทีได้กล่าวข้างต้น การทําให้เป็นแม่เหล็ก นี มีความสําคัญ

เนืองจากมันเป็นปัจจัยในการจํากัดความจุไฟฟ้าของแผ่นโลหะลบประเภทนี การทําให้เป็นแม่เหล็กของแต่

ละดิสชาร์จ 5 อันแรกได้แสดงในภาพที 2.9 ซึงให้ภาพทีสมบูรณ์ของผลกระทบของวงจรบนการทําให้เป็น

แม่เหล็กในระหว่างการดิสชาร์จ

ความผันแปรของเส้นโค้งสามารถถูกตีความอย่างมีเหตุผล โดยสมมติฐานภายใต้เงือนไขการ

ทดสอบจํานวนของการทําให้เป็นแม่เหล็กทีได้ให้มาทันที ซึงขึ นอยู่กับปริมาณพื นผิวของตัวนําโลหะในทันที

ทฤษฏีนี ถูกใช้ครั งแรกในการอธิบายการทําให้เป็นแม่เหล็กในช่วงท้ายของการดิสชาร์จเบอร์ 3 ซึงถูกทําให้

แน่ชัดโดยผลของการทดลองประเภทตา่งๆ และสามารถนํามาขยายไปสู่การอธิบายชุดของเส้นโค้งการทํา

ให้เป็นแม่เหล็กทั งชุดทีแสดงไว้ในภาพที 2.9 คําอธิบายทีได้มานั นสอดคล้องกับข้อมูลการทดลองทีมีอยู่ใน

ขณะนี

ในช่วงการเริมต้นของเส้นโค้งแต่ละเส้นนั น การทําให้เป็นแม่เหล็กถูกแสดงประมาณ 0.05 โวลต์

ตามทฤษฏีทีนํามาพิจารณานั น มันหมายถึงขอบเขตของพื นผิวตัวนําฟองนํ าทีมีอยู่ในช่วงต้นของการ

ดิสชาร์จไม่ได้ถูกเปลียนแปลงโดยวงจร ความแตกต่างทีตามมาท่ามกลางเส้นโค้งของการทําให้เป็นแม่เหล็ก

สูงชี ว่า พื นผิวของตัวนําส่วนน้อยเท่านั นทีมีการดิสชาร์จ ผลสรุปได้ถูกแสดงไว้แล้ว และการทดลองในงาน

ตีพิมพ์ก่อนหน้านี

http://www.ssru.ac.th

Page 25: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

24

ภาพที 2.9 แสดงการทําให้เป็นแม่เหล็กในช่วงการดิสชาร์จทีสําเร็จของแผ่นโลหะลบ

โดยปราศจากตัวขยาย

ข้อมูลทีเหมือนกันได้ถูกนํามาสําหรับการทดสอบการดิสชาร์จ ทุกข้อมูลบ่งชี ว่า ในช่วงท้ายของการ

ดิสชาร์จสาเหตุหลักของการทําให้เป็นแม่เหล็กทีจํากัดความจุไฟฟ้า เมือไม่มีตัวขยายคือ การสูญเสียพื นผิว

ของตัวนํา

ในช่วงต้นและช่วงท้ายของเส้นโค้งการทําให้เป็นแม่เหล็กได้ถูกอธิบายในระหว่างการดิสชาร์จทียัง

เหลืออยู่นั น รูปร่างต่างๆของเส้นโค้งชี ว่าได้มีการสร้างแผ่นฟิล์มซัลเฟตเร็วขึ นเมือแผ่นวงจรถูกดิสชาร์จ

มากกว่ากรณีทีเป็นแผ่นใหม่ถูกดิสชาร์จ สิงนี ชี ให้เห็นว่าวงจรเป็นสาเหตุของการเปลียนแปลง คุณลักษณะ

ของพื นผิวตัวนํา การเปลียนแปลงทีสร้างการรับมากกว่าไปเป็นการฝังหรือยึดของพื นผิวตัวนํา การสูญเสีย

ความจุไฟฟ้าทีวงจรทีถูกค้นพบในการทดลองนี คือผลของการเปลียนแปลงบางประการในคุณลักษณะของ

พื นผิวตัวนําทีมีวงจร

การทดลองหลายๆครั งได้มีความพยายามในการเรียนรู ้ เกียวกับการเปลียนแปลงคุณลักษณะของ

พื นผิวให้มากขึ น การสังเกตด้วยกล้องไมโครสโคบได้ชี ให้เห็นถึงธรรมชาติการเปลียนแปลงวิธีอืนๆของ

การศึกษาทีอธิบายได้อย่างดี งานค่อยๆมีการพัฒนา และมีการคาดการณ์ว่าข้อมูลทีเพิมขึ นสามรถนํามา

http://www.ssru.ac.th

Page 26: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

25

แสดงได้ในอนาคตอย่างต่อเนือง อย่างไรก็ตามมันได้เป็นหลักฐานทีว่า วงจรเปลียนแปลงคุณลักษณะของ

พื นผิวของตัวนําในวิธีการเดียวกัน

2.3.2.2 ผลกระทบของแบเรียม ซัลเฟต

ขั นต่อไปของการทดลองภายใต้การอภิปรายคือ การศึกษาผลกระทบของแบเรียม ซัลเฟตทีใช้ใน

การวางโดยไม่มีตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน ข้อมูลถูกแสดงในภาพที 2.8 ชี ว่าแบเรียม ซัลเฟตนั นมี

ประสิทธิภาพเมือใช้โดยทีไม่มีตัวขยาย ดังเช่น เขม่า หรือวัตถุดิบทีเป็นสารประกอบคาร์บอน

ภาพที 2.10 แสดงแบเรียม ซัลเฟตทีใช้บ่อยในแบตเตอรีขยาย 1000 เท่า

การทดลองถูกออกแบบเพือแสดงว่าความจุไฟฟ้าทีดีขึ น เป็นผลมาจากกิจกรรมของแบเรียม

ซัลเฟตในระหว่างกระบวนการดิสชาร์จ เซลล์ทั ง 4 ถูกเตรียมโดยไม่มีตัวขยาย และถูกวงจรจนกระทังความจุ

ได้ถูกทําให้เสือมลง ความจุไฟฟ้าของแต่ละตัวถูกวัดอย่างระมัดระวัง จากนั นเซลล์ถูกชาร์จใหม่และแบเรียม

ซัลเฟตถูกเร่งในรูพรุนของแผ่นโลหะลบของเซลล์ทั ง 2 มันถูกทําให้สําเร็จโดยการล้างกรดออกจากแผ่นโลหะ

ลบทีถูกชาร์จ จากนั นรินแบเรียม ไฮดร็อกไซด์ ลงใน 2 แผ่นนั น และสุดท้ายนําแผ่นนนัไปคืนไว้ทีกรด

แบตเตอรี แผ่นคู่ที 2 ทีถูกควบคุมแบบเดียวกันกับ 2 คู่แรก ยกเว้นมีการใช้โซเดียม ไฮดร็อกไซด์จะไม่ได้มี

การเปลียนแปลงใดๆในแผ่นต่างๆเพียงแค่มีการเปลียนแปลงอย่างมีนัยสําคัญด้วยแบเรียม ซัลเฟตเท่านั น

เซลล์ทดสอบทั ง 4 ตัวถูกนํามารวมใหม่และถูกดิสชาร์จโดยไม่มีการรบกวน ผลทีได้แสดงในตารางที 1

ความจุไฟฟ้าทีสูงในระหว่างการดิสชาร์จเซลล์ครั งสุดท้ายทีได้รับแบเรียม ซัลเฟตไม่ได้แสดงในช่วงการก่อ

รูป, การชาร์จเซลล์ แต่แสดงในระหว่างการดิสชาร์จเท่านั น ความจุไฟฟ้าทีตําของเซลล์ทีถูกควบคุมใน

ระหว่างการดิสชาร์จภายหลังการปฏิบัติแสดงให้เห็นว่าเงือนไขอืนๆของการทดสอบถูกทําให้คงที และไม่มี

ผลต่อการเพิมความจุไฟฟ้าของเซลล์ทีใช้แบเรียม เป็นผลจากการเพิมแบเรียม ซัลเฟตลงไปในแผ่น ไมได้

http://www.ssru.ac.th

Page 27: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

26

เป็นผลจากการเปลียนแปลงของเงือนไขการชาร์จหรือดิสชาร์จ หรือเป็นผลของภาวะทีเป็นด่างของแบเรียม

ไฮดร็อกไซด์ทีถูกใช้ในเซลล์

ตารางที 2.1 ผลกระทบของแบเรียม ซัลเฟตในระหว่างการดิสชาร์จของแผ่นโลหะลบ

ตัวบ่งชี อืนๆในธรรมชาติของการเปลียนแปลงการทํางานของแบเรียม ซัลเฟต กลายเป็นหลักฐานใน

การพิจารณาข้อมูลทีแสดงในภาพที 2.10 รูปนี แสดงถึงผลกระทบทีเกิดจากจํานวนแบเรียม ซัลเฟตทีต่าง

ออกไป เป็นทีทราบกันดีว่า แบเรียม ซัลเฟตไม่ละลายในกรดแบตเตอรี ดังนั นในทางปฏิบัติการเติมแบเรียม

ซัลเฟตได้แสดงแบบทียกวัตถุดิบแข็ง การเปลียนแปลงผลกระทบของความจุไฟฟ้า ดังนั นการทีความจุไฟฟ้า

ถูกทําให้ดีขนึจะต้องเกิดจากการกระทําบางอย่างของแบเรียมซัลเฟตแข็ง มันเป็นความจริงทีว่า จํานวนของ

แบเรียม ซัลเฟตทีน้อยมากนั นได้ละลายในกรดแบตเตอรี อย่างไรก็ตามจํานวนทีละลายถูกจํากัดโดย

ความสามารถในการละลาย และไม่เปลียนแปลงเมือมีการนําวัตถุดิบแข็งมาใช้มากขึ น เนืองจากจํานวน

ของแบเรียม ซัลเฟตเป็นจํานวนทีเท่ากันในแต่ละเซลล์ ส่วนทีละลายได้ไม่สามารถนับรวมในความแตกต่าง

ของความจุไฟฟ้าในเซลล์ได้

ข้อสรุปนั นถูกยืนยันโดยการทดลองอืนทีออกแบบให้แสดงวงจรกลางๆ เนืองจากไม่มีการ

เปลียนแปลงของอนุภาคของแบเรียม ซัลเฟต แบเรียม ซัลเฟตดั งเดิมทีถูกใช้สําหรับการทดลองเป็นการ

เตรียมพิเศษจากห้องแล็บทีซึงอนุภาคแต่ละอันถูกแยกแยะโดย potassium permanganate ทีอยู่ในผลึก

เนืองจาก potassium permanganate ละลายได้ในกรดแบตเตอรี มันยังคงสามารถอยู่ในแผ่นลบตราบ

เท่าทีมันถูกจับอยู่ภายในผลึกของแบเรียม ซัลเฟต หากผลึกแบเรียมซัลเฟตละลาย permanganate ถูก

ปลดปล่อยและ manganese dioxide ได้ถูกฝังในแผ่นบวกโดยทันที

http://www.ssru.ac.th

Page 28: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

27

ภาพที 2.11 แสดง ผลกระทบของความจุของแผ่นลบของความเข้มข้นแบเรียม ซัลเฟตทีแตกต่างกัน

โดยปราศจากตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน

แบเรียม ซัลเฟตพิเศษนีถูกเตียมได้โดยการเติมสารละลายแบเรียม ไฮดรอกไซด์ไปเป็นสารละลาย

ของโซเดียม ซัลเฟตทีบรรจุจํานวนของ potassium permanganate แบเรียม ซัลเฟตทีถูกเร่งบรรจุแมงกานีส

22% และค่อนไปทางสีม่วงนํ าตาล ส่วนของแมงกานีสถูกจับไว้ในผลึกแบเรียม ซัลเฟต มันไม่สามารถขจัด

ออกโดยการล้างด้วยนํ าหรือกรดแบตเตอรี

http://www.ssru.ac.th

Page 29: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

28

สําหรับการทดสอบแบตเตอรีมีการเตรียมเซลล์ 2 อัน อันหนึงถูกสร้างโดยใช้แบเรียม ซัลเฟต แบบ

พิเศษ 0.5% พร้อมด้วยตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนอันที 2 ถูกสร้างให้เหมือนกัน เว้นเพียงแต่ใช้

แบเรียมซัลเฟตแบบธรรมดา กับทีเติม potassium permanganate เล็กน้อยลงในแผ่นโลหะลบ

เซลล์เหล่านี ถูกก่อรูปด้วยเงือนไขอย่างทีเคยทํามา จากนั นให้วงจรทั ง 5 ของการชาร์จและดิสชาร์จ

ตามด้วยขั นตอนของแผ่นโลหะลบทีถูกนํามาวิเคราะห์สําหรับแมงกานีส ผลแสดงไว้ในตารางที 2 .2

ตารางที2.2 ผลกระทบของวงจรทีมีต่อแผ่นโลหะลบทีบรรจุแมงกานีส

ข้อมูลในตารางชี ให้เห็นว่า potassium permanganate ทีถูกเติมลงไปในแผ่นโลหะลบแมงกานีส

ถูกกรองออกอย่างรวดเร็วจากแผ่นโลหะลบในระหว่างการก่อรูปและวงจร อย่างไรก็ตาม หากแมงกานีส

ยังคงติดอยู่ภายในแผ่นโลหะลบ ซึงชี ให้เห็นว่า อนุภาคของแบเรียม ซัลเฟตไม่ได้ละลายในกรดแบตเตอรี

มันเป็นความจริงทีว่า แมงกานีสบางอันถูกละลาย แต่มันอาจเป็นเพียงตัวแทนแมงกานีสบนพื นผิวของ

อนุภาคของแบเรียม ซัลเฟต ความจริงทีว่าจํานวนของแมงกานีสทีหลงเหลืออยู่เป็นข้อพิสูจน์ว่า อนุภาคของ

แบเรียม ซัลเฟต ไม่ผ่านไปสู่สารละลายในช่วงวงจรของแบตเตอรี เมือมันไม่ผ่านลงไปในสารละลาย ความมี

ประสิทธิภาพของมันจะเกิดเนืองจากคุณสมบัติบางประการของแบเรียมซัลเฟตแข็ง แม้เมือมีตัวขยายทีเป็น

สารประกอบคาร์บอน

เหตุผลนี ชี ว่า คุณสมบัติทางกายภาพบางประการของแบเรียม ซัลเฟตแข็งนั นมีส่วนสําหรับ

ผลกระทบทีเป็นประโยชน์ต่อความจุไฟฟ้า ความเป็นไปได้หลายประการนั นมีเพียง 1 อย่างทีมีเหตุผล

ทฤษฏีทีอยู่บนฐานของโครงสร้างผลึกทีเป็นทีรู ้ จักกันดีระหว่างแบเรียม ซัลเฟตและตัวนําซัลเฟตทีเป็นผลกึ

ในตระกูลเดียวกันคือ Orthorhombic และมีขนาดเซลล์ผลึกทีเท่ากัน มันเป็นสิงทีรู ้ จักกันดีอยู่แล้ว ซึง

หมายความว่า แบเรียม ซัลเฟตแข็งนั นเปรียบเสมือนเป็นนิวเคลียสสําหรับการเติบโตของผลึกของตัวนํา

ซัลเฟต

ตารางที2.3 โครงสร้างผลึกของกลุ่มแบเรียม ซัลเฟต

http://www.ssru.ac.th

Page 30: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

29

หรือกล่าวได้ว่า ตัวนําซัลเฟตละลายในระหว่างการดิสชาร์จนั นมีแนวโน้มทีจะก่อผลึกบนอนุภาค

ของแบเรียม ซัลเฟต ดังนั นตัวนําซัลเฟตจะแสดงแนวโน้มการเคลือบอนุภาคตัวนําฟองนํ าน้อยกว่า ทีเห็นได้

ชัดคือ พื นผิวตัวนําโลหะจะถูกปล่อยให้เป็นอิสระสําหรับการดิสชาร์จเพิมเติม ความจุไฟฟ้าของการดิสชาร์จ

จะเพิมขึ นอย่างหลีกเลียงไม่ได้ การยืนยันทฤษฏีนั นคือ strontium sulfate ซึงมีโครงสร้างผลึกเหมือนกับ

แบเรียม ซัลเฟตนั นไม่ละลายในกรดแบตเตอรีเช่นกัน ไม่ได้มีการค้นพบตัวแทนทีไม่ละลายทีมีโครงสร้าง

ผลึกเหมือนกัน ตัวแทนอืนๆทีมีโครงสร้างผลึกต่างกัน แม้ว่ามันไม่สามารถละลายได้ ไม่ได้แสดงคุณลักษณะ

เดียวกัน ดังนั นสามารถสรุปได้ว่า แบเรียม ซัลเฟตได้ทําให้ความจุของแผ่นโลหะลบของตัวสะสมแบตเตอรีดี

ขึ น เพราว่ามันได้มีการก่อผลึกสําหรับตัวนําซัลเฟตทีก่อรูปในระหว่างการดิสชาร์จ ดังนั น ตัวนําซัลเฟตที

แสดงนั นได้จากการเคลือบพื นผิวตัวนําโลหะด้วยปลอกทีนํามาคอรบไว้ทีสามารถกันไม่ให้มีการดิสชาร์จอีก

ได้

2.3.2.3 ผลกระทบของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน (Organic Expander)

เมือแผ่นโลหะขั วลบถูกเตรียมด้วย ตะกัวเหลือง (litharge), นํ า และกรดซัลฟิวริก จํานวนตัวขยายที

เป็นสารประกอบคาร์บอนได้เพิมขึ นเล็กน้อย เป็นผลมาจากการทีความจุไฟฟ้าถูกทําให้ดขีึ น แม้ว่าจะไม่มี

แบเรียม ซัลเฟต เห็นได้จากเส้นโค้ง D ในภาพที 2.8 ตามผลทีแสดงในภาพนี การดีขึ นของประจุไฟฟ้าทีผลิต

จากวัตถุดิบทีเป็นส่วนประกอบของคาร์บอนนั นคงอยู่ขณะทีผลกระทบของแบเรียม ซัลเฟตนั นไม่ยังยืน

เนืองจากความแตกต่างในการทํางาน มันจึงสรุปได้ว่าตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนและแบเรียม

ซัลเฟตไม่มีผลต่อความจุไฟฟ้าโดยกระบวนการเดียวกัน ดังนั นการทํางานของตัวขยายทีเป็นสารประกอบ

คาร์บอนจากทีแสดงในก่อนหน้านี เชือมโยงกับแบเรียม ซัลเฟต

ขั นแรกในการพัฒนาเพือการอธิบายคือพิจารณาว่าตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนมีผลต่อ

กระบวนการชาร์จหรือดิสชาร์จ การทดลองถูกทําเช่นเดียวกับทีเคยทําในตอนของแบเรียม ซัลเฟต แผ่นถูก

เตรียมโดยปราศจากตัวขยายถูกหมุนรอบ และตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนถูกเร่งให้เกิดเร็วขึ นในรู

เปิดของแผ่นชาร์จ การดิสชาร์จทีตามมาให้ความจุไฟฟ้าทีดีขนึ ข้อมูลแสดงในตารางที 4 การทําให้ความจุ

ไฟฟ้าดีขึ นจะต้องเป็นผลจากผลกระทบของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนทีมีต่อกระบวนการดิสชาร์จ

เพราะว่าตัวขยายถูกแสดงในระหว่างการดิสชาร์จเท่านั น

ตารางที 2.4 ผลกระทบของการเติมตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน

ในแผ่นโลหะลบก่อนการดิสชาร์จ

http://www.ssru.ac.th

Page 31: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

30

ขั นต่อไปในการพัฒนาทฤษฏีของการทํางานของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนขึ นอยู่กับ

ข้อสังเกตเหล่านี: เมือตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนถูกแสดง, “การสิ นสุดการชาร์จ” ของแรงดันไฟฟ้า

ถูกพิจารณาว่าสูงกว่าเมือไม่มีตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน เมือตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน

ไม่มี ช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จมีจํานวนประมาณ 2.45 โวลต์ เมือตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนถูก

นํามาใช้ ช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จมีจํานวนประมาณ 2.65 – 2.80 โวลต์ เป็นทีทราบกันดีว่าช่วงสุดท้าย

ของการดิสชาร์จขึ นอยู่กับปฏิกิริยาเคมีในระหว่างพื นผิวของตัวนําฟองนํ า เมือมีการเปลียนแปลง

แรงดันไฟฟ้า มันบ่งชี ว่ามีบางอย่างทีพื นผิวของตัวนําไปถูกเปลียนไป ดังนั นเมือช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จ

มีจํานวนประมาณ 2.45 โวลต์ถูกเติมและวัตถุดิบเพิมแรงดันไฟฟ้าในช่วงท้ายการชาร์จ มันจึงเป็นหลักฐาน

ทีว่าช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จมีจํานวนประมาณ 2.45 โวลต์ได้แนบอยู่กับตัวนําพื นผิวในบางลักษณะ

การฝากของช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จมีจํานวนประมาณ 2.45 โวลต์บนพื นผิวของตัวนํานั นถูก

ทําไปพร้อมกับการเพิมความจุไฟฟ้าในการดิสชาร์จ เมือช่วงสุดท้ายของการดิสชาร์จมีจํานวนประมาณ

2.45 โวลต์ไม่ได้ถูกแสดง ความจุไฟฟ้าของการดิสชาร์จถูกจํากัดโดยชั นของตัวนําซัลเฟตทีสร้างในระหว่าง

การดิสชาร์จ การเพิมความจุไฟฟ้าสามารถเกิดขึ นเมือหากตัวนําซัลเฟตไม่ได้ถูกติดกับพื นผิวของตัวนํา

metallic โดยตรง ตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนป้องกันตัวนําซัลเฟตจากการฝากบนพื นผิวของตัวนํา

metallic ยังมีอีกหลายกรณีเป็นทีทราบโดยทัวกัน ทีซึงวัตถุดิบสารประกอบคาร์บอนแนบตัวมันเองกับพื นผิว

เหล็กและดัดแปลงพฤติกรรมทางกายภาพและเคมีของพื นผิว ตัวอย่างเช่น การใช้ตัวแทนเพิมใน

electroplating ยังมีอีกหลายกรณีทีซึงวตัถุดิบสารประกอบคาร์บอนจํานวนน้อยมากอาจเกียวข้องกับการ

กัดกร่อน กรณีอืนๆทีถูกสังเกตการณ์ทีซึงวัตถุดิบสารประกอบคาร์บอนจํานวนไม่มากได้เร่งการกัดกร่อน มี

สสารทีมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบนั นมีความสําคัญต่อแรงดันของนํ ามันหล่อลืนแบบธรรมดา เนืองจาก

พวกมันติดแน่นกบัพื นผิวเหล็ก ในคุณสมบัติของแต่ละกรณีของพื นผิวเหล็กถูกปรับเปลียนโดยวัตถุดิบทีมี

คาร์บอนเป็นส่วนประกอบจํานวนเล็กน้อย การเคลือบผิวของวัตถุดิบทีมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบอาจจะ

เป็น1 หรือ 2 โมเลกุลทีมีความหนา แต่มันสามารถเปลียนคุณลักษณะของพื นผิวได้เพียงพอต่อการสร้าง

ผลกระทบทีน่าพึงพอใจ

ผลกระทบทีซึงถูกนํามาพิจารณานั น เรียกว่าการเพิมขึ นอย่างมากของความจุไฟฟ้าโดยตัวขยายที

เป็นสารประกอบคาร์บอนในแบตเตอรีสํารองนั นเป็นผลโดยตรงมาจากการทับถมของตัวขยายทีเป็น

สารประกอบคาร์บอนบนพื นผิวของตัวนําโลหะ ในมุมมองของการอภิปรายข้างต้นทฤษฎีทีตามมาดูเป็นไป

ได้ว่า: แผ่นโลหะลบของทีสะสมแบตเตอรีส่วนหนึงถูกดูดซึมโดยพื นผิวตัวนําฟองนํ า เมือมันป้องกันตัวนํา

ซัลเฟตแข็งจากการทับถมในระหว่างการดิสชาร์จ พื นผิวของตัวนําโลหะคือส่วนทีเหลือสําหรับการดิสชาร์จ

เพิม

http://www.ssru.ac.th

Page 32: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

31

2.3.2.4 การทํางานรวมของทั งแบเรียม ซัลเฟตและวัตถุดิบทีมีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ

ในตัวขยาย

เนืองจากวัตถุดิบของตัวขยายทั ง 2 ตัวมีผลต่อความจุไฟฟ้าโดยวิธีทีแตกต่างกัน พวกมันสามารถ

ถูกสร้างในการเป็นส่วนสนับสนุนซึงกันและกันเมือพวกมันถูกใช้ด้วยกันในสัดส่วนทีเหมาะสม ความ

แตกต่างในการทํางานของตัวขยายแต่ละตัวอธิบายได้ว่าเหตุใดส่วนผสมนั นมีผลกระทบมากกว่าการใช้ตัว

ขยายตัวเดียว อย่างไรก็ตาม ยังคงมีความเป็นไปได้ทีส่วนของความจุทีเพิมขึ นนั นเกิดจากกระบวนการทีซึง

ไม่ได้ถูกพิจารณา

ท่ามกลางความเป็นไปได้ทั งหลาย ความสําคัญคือ ส่วนของกิจกรรมของตัวขยายอาจเกิดจากการ

เปลียนแปลงในแผ่นโลหะลบทีซึงเกิดระหว่างกระบวนการชาร์จ ในรายงานชิ นนี ข้อมูลการทดลองได้ถูก

แสดงว่าตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนและแบเรียม ซัลเฟต นั นมีผลกระทบในระหว่างการดิสชาร์จ

อย่างเป็นอิสระจากกัน อย่างไรก็ตาม ข้อมูลไม่ได้แสดงว่ากิจกรรมการรวมทั งหมดนั นเกิดจากผลกระทบทีมี

ต่อการดิสชาร์จ

ดังนั น ได้มีการทดลองซํ าโดยใช้ทั งตัวขยายร่วมด้วย แต่ได้สร้างการเปรียบเทียบในระหว่างแผ่นที

บรรจุตัวขยายในระหว่างการก่อตัวและวงจร และตัวทีบรรจุตัวขยายในระหว่างการดิสชาร์จเท่านั น ข้อมูล

แสดงในตารางที 5 เซลล์แรกถูกเตรียมโดยใช้ตัวขยายในแผ่นโลหะลบ แผ่นโลหะลบของเซลล์ที 2 และ 3 ถูก

เตรียมโดยใช้ litharge, กรด และนํ า ยกเว้นตัวขยาย ความจุไฟฟ้าถูกวัดภายหลัง 5 วงจรของของการชาร์จ

และดิสชาร์จ ผลทีพิสูจน์ได้เป็นประเภทของของความแตกต่างทีค่อนข้างมากในความจุไฟฟ้าทีซึงเป็นผลมา

จากการมีอยู่ของตัวขยาย ภายหลังการดิสชาร์จ เซลล์ถูกชาร์จเต็มและตัวขยายถูกรวมเข้าในรูของแผ่น

โลหะลบของหนึงในเซลล์ทีไม่ได้บรรจุตัวขยายก่อนหน้านี มันถูกทําโดยการล้างกรดแบตเตอรีออก รินด้วย

แผ่นในสารละลายแบเรียม ไฮร์รอกไซด์ และรินด้วยแผ่นในกรดแบตเตอรีเพือเร่งแบเรียม ซัลเฟต ความ

เข้มข้นถูกเลือกดังนั นแผ่นบรรจุด้วยแบเรียม ซัลเฟตประมาณ 0.5% ขั นต่อไป กรดถูกล้างออกจากแผ่นอีก

ครั ง และแผ่นโลหะถูกแช่ในสารละลายของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน จากนั นแผ่นโลหะถูกแช่ใน

กรดแบตเตอรี เพือเร่งตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน เซลล์ถูกนํามาประกอบอีกครั งและให้การ

ดิสชาร์จโดยปราศจากการรบกวนในระหว่างการชาร์จ ความจุไฟฟ้าบนการดิสชาร์จในทางปฏิบัตินั นเป็น

เช่นเดียวกับความจุไฟฟ้าในเซลล์ควบคุมอันแรกทีซึงตัวขยายได้แสดงในระหว่างกระบวนการวาง, การก่อ

รูป และวงจร ในทางปฏิบัติกิจกรรมตัวขยายทั งหมดตามทีได้ทดสอบนั นเกิดจากผลกระทบของตัวขยายใน

ระหว่างการดิสชาร์จ ดังนั นการทํางานของตัวขยายในระหว่างกระบวนการชาร์จไม่ได้ให้ความจุไฟฟ้า

เพียงแต่ทําให้กระบวนการดิสชาร์จเท่านั น

http://www.ssru.ac.th

Page 33: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

32

ตารางที2.5 ผลกระทบของตัวขยายทั งคู่ทีมีต่อความจุของการดิสชาร์จของแผ่นโลหะลบ

ปฏิกิริยาทีเป็นไปได้ระหว่างตัวขยาย 2 ตัวในระหว่างการดิสชาร์จเป็นเพียงสมมติฐานทีว่า ตัวขยาย

ทีเป็นสารประกอบคาร์บอนมีผลกระทบบางอย่างต่อแบเรียม ซัลเฟต ในการรักษาให้มันกระจัดกระจาย

ต่อไป ผลกระทบสามารถเกิดขึ นเพียงแค่หากวัตถุดิบสารประกอบคาร์บอนทีแนบกับตัวมันเองบนพื นผิวของ

ผลึกของแบเรียม ซัลเฟต ตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนอาจจะมีผลกระทบทีคล้ายกันบนตัวนํา

ซัลเฟตอีกด้วย แต่ไม่สามารถยืนยันความเป็นไปได้การทดลองถูกออกแบบให้เปิดเผยให้เห็นไม่ว่าจะ

เกิดปฏิกิริยาหรือไม่ก็ตามนั นเป็นตัวเร่งทางเคมี ได้มีการเตรียมกรดแบตเตอรี 2 ชุด อันหนึงมีการละลายตัว

ขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอน ขณะทีอีกอันหนึงไม่มี ตัวนําสารละลายอะซีเตตถูกเติมในชุดของกรด

เหล่านี คนอย่างต่อเนือง และเร่งเพือให้เสร็จ การมีอยู่ของตัวขยายทีเป็นสารประกอบคาร์บอนไม่ได้มี

ผลกระทบต่ออัตราการสําเร็จและมันไม่มีผลต่อขนาดของการเร่งหรือระดับความเข้มข้นของการรวมตัวกัน

การทดลองถูกทําซํ าโดยใช้แบเรียม ไฮร์เดรตในการเร่งแบเรียม ซัลเฟต หากมันไม่แนบกับตัวมันเองลงบน

พื นผิวใต้เงือนไขของการทดสอบนี ดุเหมือนว่ามันจะมีผลกระทบเหมือนกันในระหว่างการดิสชาร์จ ดังนั น

สมมติฐานอีกแบบของการทํางานของตัวขยายนี จะไม่ยังยืน

การมีอยู่ของตัวขยายในแผ่นโลหะลบมีผลในความแตกต่างมากมายซึง่ไม่ได้ถูกนํามาอภิปราย

ตัวอย่างเช่น เป็นทีทราบกันดีว่าวงจรมีสาเหตุมาจากการเปลียนแปลงในโครงสร้างของแผ่นโลหะลบ และ

ตัวขยายมีผลกระทบต่อการเปลียนแปลง ความแตกต่างของระบบได้ถูกสังเกตในโครงสร้างของแผ่นทีก่อรูป

ขึ นใหม่ และได้มีการบันทึกความแตกต่างหลายอย่างในเรืองของขนาดอนุภาคของตัวนําซัลเฟตทีก่อรูปใน

ระหว่างการดิสชาร์จ ยังมีข้อสังเกตในเรืองความแตกต่างของความพรุนเป็นรูของแผ่นโลหะลบ ความ

แตกต่างแต่ละอยา่งนี เป็นผลของการมีอยู่ของตัวขยาย แต่ในมุมมองของงานทดลองพวกมันเป็นผลกระทบ

ขั นทีสอง พวกมันปรากฏเมือตัวขยายถูกเติมลงในแผ่นโลหะลบและอาจจะทนต่อความสัมพันธ์ในการ

เปลียนการผลิตโดยวงจร แต่พวกมันไม่ได้เป็นเหตุผลทันทีและโดยตรงทีว่าตัวขยายทําให้ความจุไฟฟ้าดีขึ น

ดงันั นพวกมันอยู่นอกเหนือขอบเขตของงานวิจัยครั งนี แต่อาจจะมีการศึกษาในอนาคต ผลโดยตรงของตัว

ขยายคือกลไกทีพวกมันปรับปรุงความจุไฟฟ้าให้ดีขึ น ดังนี:

ในระหว่างการดิสชาร์จทีอัตราสูงในการไม่มีตัวขยาย ตัวนําซัลเฟตถูกยึดไว้ทีแผ่นฟิล์มทีซึงเคลือบ

ผิวของชั นฟองนํ าและทําไม่ให้เกิดการดิสชาร์จอีก ตัวขยายทําให้ความจุไฟฟ้าดีขึ นเพราะว่ามันป้องกันการร

http://www.ssru.ac.th

Page 34: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

33

ก่อรูปของแผ่นฟิล์ม องค์ประกอบทีมีสารประกอบคาร์บอนของตัวขยาย ทีแนบตัวมันเองกับพื นผิวของตัวนํา

แทรกแซงด้วยการยึดของตัวนําซัลเฟต แบเรียมซัลเฟตในตัวขยายจัดหาพื นผิวทีซึงตัวนําซัลเฟตสามารถยึด

ไว้ได้ แทนทีจะเป็นการยึดบนตัวนําโลหะ ผลกระทบเหล่านี ขององค์ประกอบทั ง 2 ของตัวขยายรักษาพื นผิว

ของตัวนําโลหะให้ว่างต่อการดิสชาร์จเพิมและปรับปรุงความจุไฟฟ้าให้ดีขึ น

2.4 โวลแทมเมตรี ( Voitammetry)

โวลแทมเมตรี (Voltammetry) เป็นชือรวมของกลุ่มวิธีการวิเคราะห์ทางเคมีไฟฟ้า ทีข้อมูลของการ

วิเคราะห์ได้จากความสัมพันธ์ของการเกิดกระแส กับการให้พลังงานศักย์แก่วงจร ภายใต้สภาวะการ

ทดลองทีเกิดกระบวนการนอนฟาราเดอิก หรือเกิดโพลาไรเซชันขึ นทีขั วไฟฟ้าใช้งาน โดยทําให้ขั วไฟฟ้าใช้

งานมีขนาดเล็กมีพื นทีผิวน้อย (เพียงไม่กีตารางเมตร) ทําให้การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารตัวอย่าง

จําเป็นต้องอาศัยพลังงานศักย์จากภายนอก ด้วยขนาดทีเล็กของขั วไฟฟ้าใช้งานจึงเรียกขั วไฟฟ้าใช้งานใน

เทคนิคโวลแทมเมตรีว่า “ ขั วไฟฟ้าจุลภาค (microelectrode)”

โวลแทมเมตรีมีความแตกต่างจากวิธีโพเทนชิออเมตรี โดยสิ นเชิง กล่าวคือ การทําโวลแทมเมตรี

เป็นการให้พลังงานไฟฟ้าในรูปศักย์แก่วงจร เพือให้เกิดปฏิกิริยาเคมีของสารตัวอย่าง ดังนั น การจัดเซลล์

ของวงจรเป็นแบบอิเล็กโทรไลต์ และการไหลของกระแสอยู่ภายใต้สภาวะการเกิดโพลาไรเซชันเนืองจาก

ความเข้มข้น ทีขั วไฟฟ้าจุลภาค

เทคนิควิธีวิเคราะห์โวลแทมเมตรี

ลักษณะสําคัญของการวิเคราะห์ด้วยหลักการโวลแทมเมตรี คือต้องจัดเซลล์แบบอิเล็กโทรไลต์

ขั วไฟฟ้าใช้งานต้องเป็นขั วไฟฟ้าจุลภาค และต้องมีการบันทึกกระแสตามศักย์ทีให้กับวงจรหรือขั วไฟฟ้า

ดังได้กล่าวแล้วว่า พัฒนาการของเทคนิคการวิเคราะห์จากโพลาโรกราฟีย์ซึงเป็นแบบคลาสสิก เกิดจาก

การพัฒนาดัดแปลงวิธีการในการบันทึกศักย์และกระแสทีต่างๆ กันไป ถ้าถือว่าศักย์ทีให้กับวงจรในช่วง

ระยะเวลาหนึงเป็นเสมือนสัญญาณกระตุ ้นให้เกิดปฏิกิริยาเคมี และเกิดการไหลของกระแส สัญญาณ

กระตุ ้นทีแตกต่างกันไป ย่อมทําให้เกิดการตอบสนองของกระแสทีต่างกัน เกิดเป็นเทคนิควิธีการวิเคราะห์

แบบต่างๆ ขึ น

อุปกรณ์และเครืองมือการทําโวลแทมเมตรี

การวิเคราะห์ด้วยหลักการโวลแทมเมตรี ไม่ว่าเป็นเทคนิควิธีการวิเคราะห์แบบใด ย่อม

ประกอบด้วยส่วนสําคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนของเซลล์เคมีไฟฟ้า และส่วนของเครืองมือในการควบคุม

สัญญาณไฟฟ้า เซลล์เคมีไฟฟ้าในการทําโวลแทมเมตรี มักเรียกเป็น เซลล์โวลแทมเมตรี เพราะมีความ

แตกต่างไปจากเซลล์เคมีไฟฟ้าธรรมดาอยู่บ้าง สําหรับเครืองมือในการควบคุมสัญญาณไฟฟ้า มัก

ประกอบด้วยอุปกรณ์ในการควบคุมศักย์ทีให้แก่ขั วไฟฟ้า เรียกโพเทนชิออสแตท (potentiostat) และ

อุปกรณ์ในการอ่านค่ากระแสของวงจร อาจเรียกส่วนของการควบคุมสัญญาณไฟฟ้านี ว่า โวลแทมเมตริก

http://www.ssru.ac.th

Page 35: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

34

อะนาไลเซอร์ (voltammetric analyzer) ในเครืองมือของการทําโวลแทมเมตรีทีใช้ในงานวิเคราะห์ต่างๆ

ยังมักประกอบด้วยอุปกรณ์บันทึกแปลผลข้อมูล และอาจสร้างเส้นกราฟได้ด้วย

ภาพที 2.12 แสดงเครืองทีใช้ในการทดสอบ Cyclic Voltammetry

เซลล์โวลแทมเมตรี

เซลล์โวลแทมเมตรี มักใช้เรียกเซลล์เคมีไฟฟ้าในกลุ่มการวิเคราะห์โวลเทมเมตรี ประกอบด้วย

ขั วไฟฟ้า และสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ทีแตกต่างไปจากการทําโพเทนชิออเมตรี ตรงทีว่าขั วไฟฟ้าในการทํา

โวลแทมเมตรี มักประกอบด้วยขั วไฟฟ้าอ้างอิง ขั วไฟฟ้าใช้งานและขั วไฟฟ้าช่วยหรือขั วไฟฟ้าร่วม จุ่มอยู่

ในสารละลายทีมีสารตัวอย่างทีต้องการวิเคราะห์และสารอิเล็กโทรไลต์ทีไม่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยามักเรียก

เป็นสารอิเล็กโทรไลต์ช่วย หรือเกื อหนุน (supporting electrolyte) โดยสารอิเล็กโทรไลต์ช่วยมักใช้ใน

ปริมาณทีมากเกินพอ

ขั วไฟฟ้าอ้างอิง

ขั วไฟฟ้าอ้างอิง ต้องมีค่าศักย์ขั วไฟฟ้าคงทีตลอดการทดลอง และควบคุมค่าศักย์ของขั วไฟฟ้าใช้

งานด้วย แม้ขั วไฟฟ้าคาโลเมล จะเคยถูกจัดเป็นขั วไฟฟ้าอ้างอิงทีใช้ได้ทัวไป แต่ด้วยเหตุผลด้านความเป็น

พิษ และผลต่อมลพิษของปรอท ทําให้ขั วไฟฟ้าซิลเวอร์-ซิลเวอร์คลอไรด์ เป็นทียอมรับในการเป็นขั วไฟฟ้า

อ้างอิงแทน

ขั วไฟฟ้าร่วม หรือขั วไฟฟ้าช่วย

จัดเป็นขั วไฟฟ้าทีสามของวงจรโวลแทมเมตรีทีมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ ทําหน้าทีเป็นตัวนําไฟฟ้า

ทีดี เป็นขั วทีรับพลังงานไฟฟ้าจากขั วไฟฟ้าอ้างอิง ส่งต่อผ่านสารละลายไปยังขั วไฟฟ้าใช้งาน เพือให้

เกิดปฏิกิริยาเคมีของสารตัวอย่างทีขั วไฟฟ้าจุ่มอยู่โดยขั วไฟฟ้าร่วมนี ไม่มีส่วนเกียวข้องหรือไม่มีการ

เปลียนแปลงใดๆ เกิดขึ น ในขณะเกิดปฏิกิริยาของสารตัวอย่างระหว่างการวิเคราะห์

http://www.ssru.ac.th

Page 36: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

35

ขั วไฟฟ้าใช้งาน

ในกลุ่มการวิเคราะห์โวลแทมเมตรี ขั วไฟฟ้าใช้งานจะแตกต่างจากการวิเคราะห์อืนๆ ทีว่าขนาด

ของขั วไฟฟ้าต้องเล็ก ซึงมักเรียกเป็นขั วไฟฟ้าจุลภาค ทั งนี เพือให้พื นทีผิวของขั วไฟฟ้าในการสัมผัสกับ

สารตัวอย่างมีน้อย เกิดสภาวะของโพลาไรเซชันตลอดการวิเคราะห์

การเลือกใช้ขั วไฟฟ้าจุลภาค

ขั วไฟฟ้าใช้งานในกลุ่มการวิเคราะห์โวลแทมเมตรี ซึงเป็นขั วไฟฟ้าจุลภาคมักนิยมใช้ขั วไฟฟ้า

จุลภาคจากแพลทินัม (Pt) หรือ คาร์บอน (C) หรือปรอท (Hg) ในการวิเคราะห์สารตัวอย่างเมือต่อ

ขั วไฟฟ้าเหล่านี เข้ากับวงจรของเซลล์เคมีไฟฟ้า จะให้ช่วงของศักย์ทีสัมพันธ์กับกระแสได้ไม่เหมือนกัน

ดังนั น ในการวิเคราะห์สารตัวอย่างจึงจําเป็นต้องเลือกใช้ขั วไฟฟ้าจุลภาคให้เหมาะสมด้วย โดยสาร

ตัวอย่างทีต้องการวิเคราะห์ต้องสามารถเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ในช่วงศักย์ของขั วไฟฟ้าทีเลือกใช้นั น จึงจะ

วิเคราะห์สารนั นได้

อิเลก็โทรไลต์เกื อหนุน

คือสารประกอบอิเล็กโทรไลต์ทีใช้เติมลงไปในสารละลายตัวอย่างในการวิเคราะห์ทางโวลแทมเมตรี

โดยเติมในปริมาณทีมากกว่าสารตัวอย่างประมาณ 50 – 100 เท่า ทั งนี สารอิเล็กโทรไลต์เกื อหนุนนี ต้อง

ไม่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาของสารตัวอย่าง แต่ทําหน้าทีเป็นตัวกลางในการทําให้ไอออนของสารตัวอย่าง

มีการเคลือนทีในสารละลายแบบการแพร่ ไม่ใช่แบบไมเกรชันและยังช่วยลดผลของความต้านทานของ

เซลล์ด้วย นอกจากนี การเลือกชนิดของอิเล็กโทรไลต์เกื อหนุนทีเหมาะสม ยังช่วยทําหน้าทีเป็นบัฟเฟอร์

หรือช่วยขจัดโลหะแทรกซ้อนทีปนมาในสารตัวอย่าง โดยการเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนด้วย

สารประกอบอิเล็กโทรไลต์ทัวไปทีมีคุณสมบัติเป็นกรดแก่ (เช่น กรดไฮโดรคลอริก กรดซัลฟูริก)

ด่างแก่ (เช่น โซเดียม หรือ ลิเซียม ไฮดรอกไซด์) หรือ เกลือ (เช่น คลอไรด์เปอร์คลอเรท หรือซัลเฟตของ

โลหะอัลคาไล หรือไอออนเตตราอัลคิลแอมโมเนียม) หรือสารก่อสารเชิงซ้อน (เช่น ทาร์เทรท , ซิเตรท ,

ไซยาไนด์ , ฟลูออไรด์ หรือเอมีน รวมทั งแอมโมเนีย และ EDTA) ล้วนแต่นํามาใช้เป็นอิเล็กโทรไลต์

เกื อหนุนได้ทั งสิ น

โวลแทมเมตรี อะนาไลเซอร์

โวลแทมเมตรี อะนาไลเซอร์ เป็นส่วนของเครืองมือการวิเคราะห์ทางโวลแทมเมตรี ทีต่อเข้ากับ

เซลล์โวลแทมเมตรี เดิมทีมีเพียงการทําโพลาโรกราฟีย์เครืองมือนี ถูกเรียกเป็นโพลาโรกราฟซึงอาจเขียน

แทนเป็นวงจรไฟฟ้าง่ายๆ ทีมีการควบคุมค่าศักย์ขั วไฟฟ้าด้วยการปรับเลือนเข็มไปบนลวดความต้านทาน

ของวงจรทีมีขั วไฟฟ้า 2 หรือ 3 ขั ว ต่อเชือมอยู่ ปัจจุบันโวลแทมเมตรี อะนาไลเซอร์ มีวิวัฒนาการที

แตกต่างไปจากเดิมมาก โดยมีการนําเอาโอเปอร์เรชันแนล แอมฟิโฟเออร์ (Op amp) มาใช้ในการ

ควบคุมค่าศักย์ขั วไฟฟ้า เช่นเดียวกับในเครืองโพเทนชิออมิเตอร์ เพียงแต่ในวงจรการทําโวลแทมเมตรีต้อง

ใช้ Op amp ถึง 3 วงจรต่อเชือมกันและใช้ขั วไฟฟ้า 3 ขั ว

http://www.ssru.ac.th

Page 37: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

36

โวลแทมโมแกรม (Voltammogram)

ในเทคนิควิธีการวิเคราะห์ใดๆ ในโวลแทมเมตรี เส้นกราฟทีได้จากการพลอตระหว่างกระแสทีวัดได้

กับศักย์ทีให้กับขั วไฟฟ้าจุลภาค เรียกว่า โวลแทมโมแกรม ยกเว้นสําหรับวิธีโพลาโรกราฟีย์ ทีเรียก

เป็นโพลาโรแกรม โวลแทมโมแกรมทีได้จากสัญญาณกระตุ ้นทีต่างกันจะไม่เหมือนกัน

2.5 เอกสารงานวิจัยที เกียวข้อง

Yamada และคณะ (2005) ได้ทําการวิจัยเรือง การหาค่าการกระจายตัวศักย์ไฟฟ้าของแผน่

รองรับโดยการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบของแบตเตอรีตะกัวกรดกําลังไฟสูง จากการศึกษาแผ่นรองรับ 3

แบบ ซึงใช้ในการเปรียบเทียบดังต่อไปนี แผ่นรองรับแบบเดิม แผ่นรองรับแบบมีติงและแผ่นรองรับแบบรัศมี

ทีมีติงพบว่า แผ่นรองรับแบบมีติงและแผ่นรองรับแบบรัศมีทีมีติงนนั มีประสิทธิภาพในการลดความ

ต้านทานไฟฟ้า

Hilger (1994)ได้ทําการวิจัยเรือง การศึกษากระบวนการผลิตแผ่นรองรับของแบตเตอรี โดยโลหะ

ผสมตะกัว พลวงและดีบุกซึงส่งผลต่อความแข็งแรง งานวิจัยนี ต้องการศึกษา รูปแบบของการตกตะกอน

และระดับของการแข็งตัว โดยใช้โลหะผสมพลวง 0 -2.5 % และดีบุก 0 -2.5% โดยนํ าหนัก พบว่า โลหะผสม

ตะกัว พลวงและดีบุกสามารถตกตะกอนด้วยกันได้นั น ต้องมีสัดส่วนโลหะผสม พลวง 1% และดีบุก 1%

โดยนํ าหนักจะส่งผลต่อความแข็งแรงทีดีทีสุด

Lam และคณะ (1994) ได้ทําการวิจัยเรือง อิทธิพลของธาตุบิสมัสต่อความแข็งและคณุลักษณะ

การกัดกร่อนของโลหะผสมพลวงตําในแบตเตอรีตะกัวกรด งานวิจัยนี ต้องการศึกษาผลกระทบของการเพิม

ธาตุบิสมัส พฤติกรรมการคายประจุของแบตเตอรี โดยการเพิมธาตุบิสมัสในช่วงระหว่าง 0.006 – 0.086 %

โดยนํ าหนัก พบว่า ไม่ส่งผลต่อค่าความแข็งแรง ไม่ส่งผลต่อการคายประจุไฟฟ้าและส่งผลต่อการยับยั งการ

กัดกร่อนของแผ่นรองรับ

Prengaman (2006) ได้ทําการวิจัยเรือง โลหะผสมปริมาณพลวงตําสําหรับเหล็กคาดรัดและรอบ

ของการใช้งานของแบตเตอรีตะกัวกรด งานวิจัยนี ต้องการศึกษา โลหะผสมทีมีปริมาณพลวงตํา โลหะผสมที

มีปริมาณดีบุกสูงโดยทีโลหะผสมมีปริมาณพลวง 3.50 % และดีบุก 1.06% โดยนํ าหนัก พบว่า ลดอัตราการ

กัดกร่อน เพิมพันธะในการจับยึด เพิมรอบในการใช้งาน ลดอัตราการปล่อยแก๊สทีตําลงและเพิมอายุการใช้

งาน

Prengaman (1996) ได้ทําการวิจัยเรือง การปรับปรุงวัสดุของแผ่นรองรับในแบตเตอรีตะกัวกรด

งานวิจัยนี ต้องการศึกษา โลหะผสมพลวง สมบัติกลไกในการทํางานซึงมีโลหะผสมพลวง 6 -10 % โดย

นํ าหนัก พบว่า อายุในการใช้งานยาวนาน สมบัติทางกลง่ายในการทํางานและมีความสัมพันธ์ในการ

ประจุไฟฟ้ากับเวลา

http://www.ssru.ac.th

Page 38: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

37

D.Marin และคณะ (2001) ได้ทําการศึกษาเกียวกับอิทธิพลของตัวแผ่ขยายในแผ่นธาตุลบต่อ

ประสิทธิภาพของแบตเตอรีตะกัวกรดงานวิจัยนี ต้องการศึกษา สร้างสูตรในการผลิตตัวแผ่ขยายในแผ่น

ธาตุลบ คัดเลือกตัวแผ่ขยายทีมีประสิทธิภาพมากทีสุด โดยพิจารณาค่าทางเคมีไฟฟ้าของตัวแผ่ขยาย

ต่างๆ จากทั งหมด 19 ชนิด คัดเลือกสารประกอบคาร์บอนทีมีประสิทธิภาพมากทีสุด 7 ชนิด เพือทําการ

ทดสอบ พบว่า ประสิทธิภาพในแต่ละสูตรทีมีอัตราส่วนผสมแตกต่างกันให้ความแตกต่างกัน

ประมาณ 10 – 13 % อายุการใช้งานขึ นอยู่กับชนิดของสารประกอบคาร์บอน (Organic expander)

Tim Mcnally และคณะ (2003) ได้ทําการศึกษาเกียวกับผลจากการเพิมสารประกอบคาร์บอนใน

แผ่นธาตุลบของแบตเตอรีส่งผลต่ออุณหภูมิและประสิทธิภาพทีสูงขึ นงานวิจัยนี ต้องการศึกษา สารประกอบ

คาร์บอนทีเพิมในแผ่นธาตุลบ สมบัติของสารประกอบคาร์บอน โดยการปรับสารประกอบคาร์บอน

(Organic expander ) ประเภท Vanisperse A จาก 0.25 % เป็น 0.5 % โดยนํ าหนัก พบว่า การยืดอายุ

การใช้งานของแผ่นธาตุลบโดยการเพิมสารประกอบคาร์บอน (Organic expander) ประเภท Vanisperse A

การเพิมสารประกอบคาร์บอน ( Organic expander ) ประเภท Vanisperse A ทําให้เพิมความจุพลังงาน

D.P. Boden ( 1998) ได้ทําการศึกษาเกียวกับ การเลือกตัวแผ่ขยายทีผสมแล้วเหมาะสมทีสุด

ในการใช้งานแบตเตอรีตะกัวกรดงานวิจัยนี ต้องการศึกษา ความสําคัญของตัวแผ่ขยายในแผ่นธาตุลบ

การเลือกใช้สารประกอบคาร์บอน ( Organic expander ) องค์ประกอบของตัวแผ่ขยายประกอบด้วย

Barium sulfate Organic expander และ Carbon black พบว่า Expander มีความสําคัญอย่างมากใน

การผลิตแบตเตอรี Lead/ acid battery โดยจะต้องเลือกใช้ Lignosulfonate ให้ถูกต้อง ส่วนผสมของ

Expander ทีถูกต้องของ Lignosulfonate Barium sulfate and Carbon black มีความสําคัญอย่างมาก

ต่อประสิทธิภาพในการใช้งานของแบตเตอรีและส่งผลต่ออายุการใช้งาน

http://www.ssru.ac.th

Page 39: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

38

http://www.ssru.ac.th

Page 40: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

บทที 3

วิธีการดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั งนีดําเนินการในเรืองการกําหนดประชากร เครืองมือทีใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวม

ข้อมูล การจัดทําข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี

- ประชากร

- เครืองมือทีใช้ในการวิจัย

- วิธีการสร้างเครืองมือในการวิจัย

- การเก็บรวบรวมข้อมูล

- การวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 การกําหนดประชากร

3.1.1 ประชากร ได้แก่ Expander materials

ตารางที 3.1 แสดงอัตราส่วนผสมในการทดสอบ Expander materials

สูตรผสม Control สูตร 1 สูตร 2 สูตร 3 สูตร 4 สูตร 5

Barium Sulfate < 90 % 85 86 87 88 89

Lignin < 10 % 10 9 9 9 9

Carbon Black < 5 % 5 5 4 3 2

หมายเหต ุ Control คือส่วนผสมในการตลาด ( Commercial Specification )

BaSO4 85 % Lignin 10 % ไม่ได้เพราะ Spec กําหนด < 10 %

BaSO4 86 % Carbon Black 5 % ไม่ได้เพราะ Spec กําหนด < 5 %

เหลือ BaSO4 87 % จนถึง BaSo4 89%

http://www.ssru.ac.th

Page 41: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

39

ตารางที 3.2 แสดงอัตราส่วนผสมของ Expander materials ของสูตรการผลิตที 3.

วัตถุดิบ Expander (สูตรการผลิตที 3) Expander (HE115)

Barium Sulfate 87 < 90 %

Lignin 9 < 10 %

Carbon black 4 < 5 %

ตารางที 3.3 แสดงความเร็วรอบและระยะเวลาในการผสม Expander materials

Expander Speed (RPM) Time (minute) XE2B 500 2 500 10 1,000 2 1,000 10 1,500 2 1,500 10 HE 115 N/A N/A

3.2 เครืองมือทีใช้ในการทําวิจัย

เครืองมือทีใช้ในการทดสอบ

1. Bench top mini speed mixers

ภาพที 3.1 Bench top mini speed mixers

http://www.ssru.ac.th

Page 42: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

40

2. เครืองชังดิจิตรอน

ภาพที 3.2 เครืองชังดิจิตรอน

3. Cyclic Voltammetry

ภาพที 3.3 Cyclic Voltammetry

3.3 วิธีการสร้างเครืองมือในการทดสอบ Expander materials

การสร้างเครืองมือทีใช้ในการทดสอบในการวิจัยครั งนี

1. ศึกษาเอกสาร บทความและรายงานการวิจัยทีเกียวข้องกับทฤษฎีแนวความคิด

2. กําหนดกรอบแนวความคิดและขอบเขตในการสร้างเครืองมือกับวัตถุประสงค ์

3. สร้างตัวอย่างในการทดสอบจํานวน 6 ตัวอย่าง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี

http://www.ssru.ac.th

Page 43: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

41

3.1 ชังนํ าหนัก Barium sulfate Lignosulfonate และ Carbon black

3.2 ตั งเครือง Bench top mini speed mixers

3.3 ตั งความเร็วรอบและระยะเวลาในการผสมแต่ละสูตรการผลิต

3.4 ตรวจสอบส่วนผสม Expander materials สําเร็จรูป

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั งนี ได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังต่อไปนี

1.วิเคราะห์สารเคมีตามสูตรการผลิต จํานวน 7 ตัวอย่าง

2.วิเคราะห์และทดสอบหาค่า CV จํานวน 7 ตัวอย่าง

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู ้ วิจัยทําการวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการทดสอบ ดังต่อไปนี

1.นําผลการวิเคราะห์สารเคมีตามสูตรการผลิต มาทําการแปรค่า

2.นําผลจากการทดสอบค่า CV มาทําการแปรค่า

http://www.ssru.ac.th

Page 44: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

บทที 4

การวิเคราะห์ข้อมูล

สําหรับการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีส่งผลต่อค่าความจุของ Expander materials นั น

ซึง Expander materials เป็นองค์ประกอบในการผลิตแผ่นธาตุลบ มีสมบัตใินการเพิมคุณภาพของแผ่น

ธาตุลบโดยทําให้เกิดตะกัวพรุนมีผลให้สารละลายตัวนําไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี โดยมีหน้าที เพิมค่าความจุ มี

ความต้านทานต่อความร้อนสูงและเพิมอายุการใช้งานของแผ่นธาตุลบ.

4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล

สําหรับการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram ของ Expander materials นั น ได้ทํา

การทดสอบจากการเตรียมตัวอย่างของ Expander materials จํานวน 6 ตัวอย่างดังต่อไปนี

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.1 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of HE115

จากภาพที4.1 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander materials

ชนิด HE115 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 200 ซึงมีค่าความจุที 9.034E-02

รองลงมาอยู่ในรอบที 100 ซึงมีค่าความจุที 8.353E-02

http://www.ssru.ac.th

Page 45: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

43

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl)

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.2 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE500-02

จากภาพที4.2 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE500-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุ

ที 1.012E-01 รองลงมาอยู่ในรอบที 300 ซึงมีค่าความจุที 9.673E-02

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.3 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE500-10

จากภาพที4.3 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE500-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 500 ซึงมีค่าความจุ

ที 6.924E-02 รองลงมาอยู่ในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุที 6.573E-02

http://www.ssru.ac.th

Page 46: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

44

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.4 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE1000-02

จากภาพที4.4 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE1000-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 400 ซึงมีค่าความ

จุที 7.521E-02 รองลงมาอยู่ในรอบที 500 ซึงมีค่าความจุที 7.283E-02

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.5 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE1000-10

จากภาพที4.5 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE1000-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 300 ซึงมีค่าความ

จุที 8.284E-02 รองลงมาอยู่ในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุที 6.061E-02

http://www.ssru.ac.th

Page 47: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

45

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.6 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE1500-02

จากภาพที4.6 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE1500-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 600 ซึงมีค่าความ

จุที 6.693E-02 รองลงมาอยู่ในรอบที 500 ซึงมีค่าความจุที 6.623E-02

-0.01

0.00

0.01

0.02

0.03

-0.90 -0.80 -0.70 -0.60 -0.50 -0.40 -0.30

Potential ( V / V Agcl )

Cur

rent

(A)Cycle1

Cycle200Cycle400Cycle600

ภาพที4.7 แสดง Cyclic Voltammogram of a pure lead electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid

containing 20 ppm of XE1500-10

จากภาพที4.7 การวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram พบว่า Expander

materials ชนิด XE1500-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 300 ซึงมีค่าความ

จุที 6.542E-02 รองลงมาอยู่ในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุที 6.533E-02

http://www.ssru.ac.th

Page 48: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

46

ตารางที 4.1 แสดงผลการทดสอบ Cyclic Voltammogram ของ Expander materials

ผลิตภัณฑ์

จํานวนรอบ

HE115 XE500-02 XE500-10 XE1000-02 XE1000-10 XE1500-02 XE1500-10

1 4.30E-02 5.60E-02 3.94E-02 5.00E-02 4.91E-02 5.93E-02 5.18E-02

100 8.34E-02 8.14E-02 4.71E-02 6.30E-02 7.43E-02 5.63E-02 6.25E-02

200 9.03E-02 8.91E-02 5.11E-02 6.61E-02 8.04E-02 6.18E-02 6.27E-02

300 7.35E-02 9.67E-02 5.85E-02 7.02E-02 8.28E-02 6.48E-02 6.54E-02

400 6.11E-02 1.01E-01 6.57E-02 7.52E-02 8.06E-02 6.53E-02 6.53E-02

500 6.18E-02 9.53E-02 6.92E-02 7.28E-02 7.61E-02 6.62E-02 6.35E-02

600 6.58E-02 9.03E-02 6.49E-02 7.06E-02 7.19E-02 6.69E-02 6.16E-02

0

0.02

0.04

0.06

0.08

0.1

0.12

0.14

0 100 200 300 400 500 600

Cycle Number

Am

ount

of c

harg

e (C

)

HE115XE500-02XE500-10XE1000-02XE1000-10XE1500-02XE1500-10

ภาพที4.8 แสดง Amount of Charge of the anodic peak and number of cycles for a pure lead

electrode in 1.25 g cm density sulfuric acid containing 20 ppm of HE115, XE500-02, XE500-10,

XE1000-02, XE1000-10, XE1500-02และ XE1500-10

จากภาพที4.8 การวิเคราะห์ Amount of Charge of the anodic peak and number of

cycles พบว่า Expander materials แต่ละชนิดให้ค่าความจุทีแตกต่างกัน เมือเทียบกับจํานวนรอบในการ

ทดสอบแต่ละครั ง

http://www.ssru.ac.th

Page 49: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

47

Expander materials ชนิด HE115 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic Voltammogram

พบว่า Expander materials ชนิด HE115 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความจุสูงสุดในรอบที 200

ซึงมีค่าความจุที 9.034E-02 แล้วจะลดตําลงมาอยู่ในรอบที 300และ400 ซึงมีค่าความจุที 7.354E-02และ

6.113E-02 แล้วจะคอ่ยๆลาดเอียงขึ นในรอบที500และ600 ซึงมีค่าความจุที 6.182E-02 และ 6.582E-02

ตามลําดับ

Expander materials ชนิด XE500-02 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE500-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความ

จุสูงสุดในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุที 1.012E-01แล้วจะค่อยๆลดตําลงมาอยู่ในรอบที 500และ600 ซึงมีค่า

ความจุที 9.533E-02 และ 9.034E-02 ตามลําดับ

Expander materials ชนิด XE500-10 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE500-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่าความ

จุสูงสุดในรอบที 500 ซึงมีค่าความจุที 6.924E-02 แล้วจะค่อยๆลดตําลงมาอยู่ในรอบที 600 ซึงมีค่าความจุ

ที 6.493E-02

Expander materials ชนิด XE1000-02 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE1000-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่า

ความจุสูงสุดในรอบที 400 ซึงมีค่าความจุที 7.521E-02 แล้วจะค่อยๆลดตําลงมาอยู่ในรอบที 500 และ 600

ซึงมีค่าความจุที 7.283E-02 และ 7.064E-02 ตามลําดับ

Expander materials ชนิด XE1000-10 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE1000-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่า

ความจุสูงสุดในรอบที 300 ซึงมีค่าความจุที 8.284E-02 แล้วจะค่อยๆลดตําลงมาอยู่ในรอบที 400,500 และ

600 ซึงมีค่าความจุที 8.061E-02, 7.612E-02 และ 7.191E-02 ตามลําดับ

Expander materials ชนิด XE1500-02 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE1500-02 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่า

ความจุสูงสุดในรอบที 600 ซึงมีค่าความจุที 6.693E-02

Expander materials ชนิด XE1500-10 จากการวิเคราะห์และการทดสอบ Cyclic

Voltammogram พบว่า Expander materials ชนิด XE1500-10 นั น ในการทดสอบทางไฟฟ้าเคมีให้ค่า

ความจุสูงสุดในรอบที 300 ซึงมีค่าความจุที 6.542E-02 แล้วจะค่อยๆลดตําลงมาอยู่ในรอบที 400,500 และ

600 ซึงมีค่าความจุที 6.533E-02, 6.351E-02 และ 6.162E-02 ตามลําดับ

จากการวิเคราะห์ Amount of Charge of the anodic peak and number of cycles ของ

Expander materials แต่ละชนิดให้ค่าความจุทีแตกตา่งกัน เมือเทียบกับจํานวนรอบในการทดสอบแต่ละ

ครั ง พบว่า Expander materials ชนิด XE500-02 เมือเปรียบเทียบกับ Expander materials ชนิด HE115

แล้วให้ค่าความจุทีสูงกว่าในรอบที200ขึ นไป.

http://www.ssru.ac.th

Page 50: รายงานวิจัย เรืÉอง การศึกษาอิทธิพลของปัจจัยในการผสมทีÉ ... · ตารางที

48

http://www.ssru.ac.th