4
ปฏิญญาสากล วาดวยชีวจริยศาสตรและสิทธิมนุษยชน Universal Declaration on Bioethics and Human Rights United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization ค ำ น ำ ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก เมื่อ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ไดมีมติเปนเอกฉันทใหการรับรองปฏิญญาสากลวาดวยชีวจริยศาสตร และสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรของวงการดาน ชีวจริยศาสตร ที่รัฐสมาชิกไดผูกมัดตัวเองกับประชาคมระหวางประเทศที่จะใหความเคารพและ นำหลักการที่ประกาศไวในปฏิญญาไปใช ประเด็น ดาน จริยธรรม ที่ มี ความ เกี่ยวของ กับ การ แพทย ศาสตร ที่ เกี่ยว กับ ชีวิต และ เทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ กับ มนุษย ได ถูก นำ มา รวบรวม ไว ใน ปฏิญญาฉบับนี้ เนื้อหาหลักที่ไดมีการรับรองคือแนวปฏิบัติของรัฐสมาชิกที่ตอง ให ความ เคารพ ใน ศักดิ์ศรี ของ ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ การกำหนดเรื่องชีวจริยศาสตรไวในเรื่องสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศก็เพื่อให เกิดความมั่นใจวามีการเคารพในชีวิตมนุษย ปฏิญญาดังกลาวจึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความสัมพันธระหวางจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะเรื่องชีวจริยศาสตร ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก ได ใหการ รับรอง ปริญญา ดัง กลาว และ เรียกรองใหรัฐสมาชิกพยายามที่จะนำหลักการที่ปรากฎในปฏิญญาไปใช และขอให ผูอำนวยการใหญยูเนสโกหามาตรการที่เหมาะสมในการติดตามการดำเนินงานตาม ปฎิญญาฯ โดยการเผยแพรปฏิญญาใหมากที่สุดเทาที่จะทำได แผน พับ ฉบับ นี้ ถือ ได วา เปน เครื่อง มือ ชิ้น แรก ใน การ เผย แพร ปฏิญญา ดังกลาว ซึ่งมีเปาหมายในการกระจายความรูที่สำคัญของปฏิญญาใหกวางขวาง ทั่ว โลก และ สราง ความ เขาใจ ใน เนื้อหา ที่ ปรากฏ เพื่อ ให ทุก คน ได รับ ประโยชน จากวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีภายใตกรอบการดำเนินงานของความเคารพใน สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ โคอิชิโร มัทสึอุระ United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization Division of Ethics of Science and Technology Social and Human Science Sector 1, rue Miollis - 75732 Paris Cedex 15 - France www.unesco.org/shs/ethics SHS/EST/BIO/06/1 © UNESCO, 2006 จัดแปลและพิมพขึ้นโดย สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) สำนักความสัมพันธตางประเทศ สป. กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนินนอก ดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2628 5646-8 โทรสาร 0 2281 0953 www.bic.moe.go.th เอกสารฉบับนี้สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษา วิทยาศาสตร และ วัฒนธรรม แหง สหประชาชาติ (ยู เนส โก) ได จัด แปล ขึ้น เพื่อ วัตถุประสงคในการเผยแพรปฏิญญาสากลวาดวยชีวจริยศาสตรและสิทธิมนุษยชน และ นำ ไป ใช ประโยชน ทาง วิชาการ ทั้งนี้ อาจ มี การ ใช ภาษา ไทย ที่ ไม สละ สลวย เนื่องจากตองการที่จะคงเนื้อหาทางวิชาการไวใหมากที่สุด ดังนั้น หากมีขอผิดพลาด ประการใด คณะผูจัดแปลขออภัย ไว ณ ที่นี้ดวย และหวังวาเอกสารแปลฉบับนีจะกอใหเกิดประโยชนทางวิชาการ โดยขอใหผูใชคำนึงถึงเนื้อหาเปนหลัก

ปฏิญญาสากล ว า ด วย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน ... fileจาก วิทยาศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ปฏิญญาสากล ว า ด วย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน ... fileจาก วิทยาศาสตร

ปฏิญญาสากลวา ดวย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน

Universal Declaration on Bioethics and Human Rights

United Nations

Educational, Scientifi c and

Cultural Organization

ค ำ น ำ

ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก เมื่อ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) ได มี มติ เปน เอกฉันท ใหการ รับรอง ปฏิญญา สากล วา ดวย ชีว จริยศาสตร และ สทิธ ิมนษุยชน ซึง่ นบั เปน ครัง้ แรก ใน ประวตัศิาสตร ของ วงการ ดาน ชวี จรยิศาสตร ที่ รัฐ สมาชิก ได ผูกมัด ตัว เอง กับ ประชาคม ระหวาง ประเทศ ที่ จะ ให ความ เคารพ และ นำ หลัก การ ที่ ประกาศ ไว ใน ปฏิญญา ไป ใช

ประเด็น ดาน จริยธรรม ที่ มี ความ เกี่ยวของ กับ การ แพทย ศาสตร ที่ เกี่ยวกับ ชีวิต และ เทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ กับ มนุษย ได ถูก นำ มา รวบรวม ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้ เนื้อหา หลัก ที่ ได มี การ รับรอง คือ แนว ปฏิบัติ ของ รัฐ สมาชิก ที่ ตอง ให ความ เคารพ ใน ศักดิ์ศรี ของ ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ การ กำหนด เรื่อง ชีว จริยศาสตร ไว ใน เรื่อง สิทธิ มนุษย ชน ระหวาง ประเทศ ก็เพื่อ ให เกิดความมั่นใจ วามีการ เคารพ ใน ชีวิต มนุษย ปฏิญญา ดัง กลาว จึง มี เนื้อหา เกี่ยว กับ ความ สัมพันธ ระหวาง จริยธรรม และ สิทธิ มนุษย ชน โดย เฉพาะ เรื่อง ชีว จริยศาสตร

ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก ได ใหการ รับรอง ปริญญา ดัง กลาว และ เรียก รอง ให รัฐ สมาชิก พยายาม ที่ จะ นำ หลัก การ ที่ ปราก ฎ ใน ปฏิญญา ไป ใช และ ขอ ให ผู อำนวย การ ใหญ ยู เนส โก หา มาตรการ ที่ เหมาะ สมใน การ ติดตาม การ ดำเนิน งาน ตาม ปฎิญญาฯ โดย การ เผย แพร ปฏิญญา ให มาก ที่สุด เทา ที่ จะ ทำได

แผน พับ ฉบับ นี้ ถือ ได วา เปน เครื่อง มือ ชิ้น แรก ใน การ เผย แพร ปฏิญญาดัง กลาว ซึ่ง มี เปา หมาย ใน การก ระ จาย ความ รู ที่ สำคัญ ของ ปฏิญญา ให กวาง ขวาง ทั่ว โลก และ สราง ความ เขาใจ ใน เนื้อหา ที่ ปรากฏ เพื่อ ให ทุก คน ได รับ ประโยชน จาก วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ภาย ใต กรอบ การ ดำเนิน งาน ของ ความ เคารพ ใน สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ

โค อิ ชิ โร มัทสึ อุระUnited Nations Educational, Scientifi c and Cultural Organization

Division of Ethics of Science and Technology

Social and Human Science Sector

1, rue Miollis - 75732 Paris Cedex 15 - France

www.unesco.org/shs/ethics

SHS/EST/BIO/06/1

© UNESCO, 2006

จัดแปลและพิมพขึ้นโดย

สำนักเลขาธิการคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก)

สำนักความสัมพันธตางประเทศ สป.กระทรวงศึกษาธิการ

ถนนราชดำเนินนอก ดุสิต กรุงเทพฯ 10300โทร. 0 2628 5646-8โทรสาร 0 2281 0953www.bic.moe.go.th

เอกสาร ฉบับ นี้ สำนัก เลขาธิการ คณะ กรรมการ แหง ชาติ วา ดวย การ ศึกษา วิทยาศาสตร และ วัฒนธรรม แหง สหประชาชาติ (ยู เนส โก) ได จัด แปล ขึ้น เพื่อ วัตถุประสงค ใน การ เผย แพร ปฏิญญา สากล วา ดวยชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชนและ นำ ไป ใช ประโยชน ทาง วิชาการ ทั้งนี้ อาจ มี การ ใช ภาษา ไทย ที่ ไม สละ สลวย เนือ่งจาก ตองการ ที ่จะ คง เนือ้หา ทาง วชิาการ ไว ให มาก ทีส่ดุ ดงั นัน้ หาก ม ีขอ ผดิ พลาด ประการ ใด คณะ ผู จัด แปล ขออภัย ไว ณ ที่ นี้ ดวย และ หวัง วา เอกสาร แปล ฉบับ นี้ จะ กอ ให เกิด ประโยชน ทาง วิชาการ โดย ขอ ให ผู ใช คำนึง ถึง เนื้อหา เปน หลัก

Page 2: ปฏิญญาสากล ว า ด วย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน ... fileจาก วิทยาศาสตร

รำลึก วา ความ สามารถ หนึ่ง เดียว ของ มนุษย ที่ จะ สะทอน ให เห็น จาก สิง่ ที ่ผาน เขา มา ใน ชวีติ และ สิง่ แวดลอม การ ได เหน็ ความ อ ยตุธิรรม การ หลกี หนจีากภยั อันตราย การ ทึกทัก เอา วา มี ความ รับ ผิด ชอบ การ แสวงหา ความ รวม มือ การแสดง ให เห็น ถึง ความ รูสึก ผิด ชอบ ลวน เปนการ แสดง ให เห็น ถึง หลักทาง จริยธรรม

คำนึง ถึง การ พัฒนา อยาง รวดเร็ว ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี อัน มี ผลกระ ทบ ตอ ความ เขาใจ เกี่ยว กับ ชีวิต และ การ ดำรง ชีวิต มี ผล ตอ การ พัฒนา ดาน จริยธรรม อัน เปน สวน หนึ่ง ของ ความ รับ ผิด ชอบ ตอ โลก

จดจำ ไว วา ประเด็น ดาน จริยธรรม ที่ ถูก หยิบยก ขึ้น มา อัน เนื่อง มา จาก การ ใช ประโยชน จาก ความ กาวหนา อยาง รวดเร็ว ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ควร จะ ตอง ม ีการ ตรวจ สอบ ถงึ การ ให ความ เคารพ ศกัดิศ์ร ีความ เปน มนษุย ทัง้ เฉพาะ ตวั บุคคล และ ที่ เปน สากล และ ได มี การ ปฏิบัติ ตาม สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ

ตั้งใจ วา ความ จำเปน และ ถึง เวลา แลว ที่ ประชาคม ระหวาง ประเทศรวม ไป ถึง รัฐ สมาชิก จะ ตอง วาง รากฐาน ความ รับ ผิด ชอบ ตอ มนุษยชาติ

ระลึก วา ปฏิญญา สากล วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน ที่ มี การ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) ปฏิญญา สากล วา ดวย พันธุกรรม มนุษย และ สิทธิ มนุษย ชน ที่ มี การ รับรอง จาก ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก เมื่อ วัน ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) และ ปฏิญญา ระหวาง ประเทศ วา ดวย ขอมูล พันธุกรรม มนุษย ที่ มี การ รับรอง จาก ที่ ประชุม สมัย สามัญ ของ ยู เนส โก เมื่อ วัน ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003)

แสดง ให เห็น ถึง กติกา ระหวาง ประเทศ ของ สหประชาชาติ วา ดวย สิทธิ ทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ กติกา ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ พลเมือง และ สิทธิ ทางการ เมือง รับรอง เมื่อ วัน ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2509 (ค.ศ. 1966) อนุสัญญา ระหวาง ประเทศ ของ สหประชาชาติ วา ดวย การ ขจัด การ เลือก ปฏิบัติ ทาง เชื้อ ชาติ ทุก รูป แบบ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) อนุสัญญา สหประชาชาติ วา ดวย การ ขจัด การ เลือก ปฎิบัติ ตอ สตรี ทุก รูป แบบ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1979) อนุสัญญา สห ประชา ติ วา ดวย สิทธิ เด็ก รับรอง เมื่อ วัน ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) อนุสัญญา สหประชาชาติ วา ดวย ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992 ) กฎ มาตรฐาน ของ สหประชาชาติ วาการ ให โอกาส เทา เทียม กัน แก ผู พิการ รับรอง โดยที่ ประชุม สมัชชา สห ประชา ชา ติ เมื่อ พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) ขอ เสนอ แนะ ของ ย ูเนส โก วา ดวย สถานภาพ ของ นกั วจิยั ทาง วทิยาศาสตร รับรอง เมื่อ วัน ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) ปฏิญญา ของ ยู เนส โก วา ดวย เชื้อ ชาติ และ อคติ ทาง เชื้อ ชาติ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2521 (ค.ศ. 1978) ปฏิญญา ยู เนส โก วา ดวย ความ รับ ผิด ชอบ ของ เผา พันธุ ปจจุบัน ที่ มี ตอ เผา พันธุ ใน อนาคต รับรองเมื่อ วัน ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977)

ปฏิญญาสากล

วาดวยชีวจริยศาสตร

และสิทธิมนุษยชน

ที่ประชุมสมัยสามัญ

ปฏญิญา สากล วา ดวย ความ หลาก หลาย ทาง วฒันธรรม รบัรองเมือ่ วนั ที ่2 พฤศจกิายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) อนุสัญญา องคกร แรงงาน ระหวาง ประเทศ มาตรา ที่ 169 เกี่ยว กับ ชน พื้น เมือง ดั้งเดิม และ ชน เผา ใน รัฐ อิสระ รับรองเมื่อ วัน ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) สนธิ สัญญา ระหวาง ประเทศ วา ดวย แหลง พันธุกรรม พืช สำหรบั ใช เปน อาหาร และ การเกษตร รบัรอง จาก ที ่ประชมุ องคการ อาหาร และ เกษตร แหง สหประชาชาติ เมื่อ วัน ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) และ มี ผล บังคับ ใช ทาง กฎหมาย เมื่อ วัน ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ขอ ตกลง วา ดวย สิทธิ ทาง ทรัพยสิน ทาง ปญญา ภาค ผนวก ที่ เกี่ยว กับ ความ ตกลงมาราเคช ซึ่งเปน เอกสาร แนบ ทาย ขอ ตกลง การ กอ ตั้ง องคการ การ คา โลก ซึ่ง มี ผล บังคับ ใช เมื่อวันที่ 1มกราคม พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) ปฏิญญา โด ฮา วา ดวย ขอ ตกลง วา ดวย สิทธิ ทาง ทรัพยสิน ทาง ปญญา และ สาธารณสุข เมื่อ วัน ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) และ ตราสาร ระหวาง ประเทศ อื่น ที่ ได รับ การ รับรอง จาก องคการ สหประชาชาติ และ องค กร อื่นๆ ใน ระบบ สหประชาชาติ ทั้ง องคการ อาหาร และ เกษตร แหง สหประชาชาติ และ องคการ อนามัย โลก

แสดง ให เห็น ถึง ตราสาร ระหวาง ประเทศ และ ระหวาง ภูมิภาค ที่ เกี่ยวของ กับ งาน ดาน ชีว จริยศาสตร ไม วา จะ เปน อนุสัญญา วา ดวย การ ปกปอง สิทธิ มนุษย ชน และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย ทั้ง ใน เรื่อง ของ ชีววิทยา และ การ แพทย เชน อนสุญัญา วา ดวย สทิธ ิมนษุย ชน และ ชวี เวชกรรม ของ สภา ยโุรป ซึง่ ได รบั การ รบัรอง เมื่อ ปพ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) และ มี ผล บังคับ ใช เมื่อ ป พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) รวม ไป ถึง พิธี สา รอื่นๆ และ กฎหมาย ของ ชา ติ และ กฏขอ บังคับ ตางๆ ที่ เกี่ยวของ กับ ชีว จริยศาสตร และ จรรยา บรรณ และ แนวทาง หรือ เอก สา รอื่นๆ ทั้ง ใน ระดับ ภูมิภาค และ นานาชาติ ที่ เกี่ยวของ เชน ปฏิญญา เฮลซิงกิ วา ดวย สมาคม การ แพทย โลก วา ดวย หลกั จรยิธรรม ใน การ ใช มนษุย เพือ่การ วจิยั ทางการ แพทย ซึง่ ได รบั การ รบัรอง เมื่อ ป พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) และ มี การ แกไข เมื่อ ป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) และ พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) รวม ถึง แนว ปฏิบัติ เกี่ยว กับ จริยธรรม ระหวาง ประเทศ วา ดวย การ ใช มนุษย เปน สัตว ทดลอง ใน การ วิจัย ทาง ชีว เวช ของ องคการ สภา ระหวาง ประเทศ วา ดวย วิทยาศาสตร การ แพทย ซึ่ง ได มี การ รับรอง เมื่อ ป พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) และ ได มี การ แกไข เมื่อ ป พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) และ พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002)

ตระหนัก วา ปฏิญญา ดัง กลาว ตอง ได รับ ความ เขาใจ อยาง ถูก ตอง สอดคลอง กัน ทั้ง กฎหมาย ภายใน ประเทศ และ ระหวาง ประเทศ รวม ทั้ง ตอง สอดคลอง กับ กฎหมาย วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

ระลึก ถึง ธรรมนูญ ของ ยู เนส โก ซึ่ ง ได รับ การ รับรอง เมื่อ วัน ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488

พิจารณา บทบาท ของ ยู เนส โก ที่ แสดง ให เห็น ถึง หลัก สากล ที่ อยู บน พื้น ฐาน ของ การ แบง ปน คุณคา ทาง จริยธรรม เปน แนวทาง ใน การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี และ การ เปลี่ยนแปลง ทาง สังคม อัน เปนการ แสดง ให เหน็ ถงึ โอกาส ใหม ๆ ดาน วทิยาศาสตร และ เทคโนโลย ีที ่นำ ไป สู ความ รบั ผดิ ชอบของ เผา พันธุ ปจจุบัน ที่ มี ตอ เผา พันธุ ใน อนาคต และ นั่น คือ คำถาม ของ ชีว จริยศาสตร ซึง่ จำเปน ตอง ม ีมติ ิระหวาง ประเทศ ที ่ควร ม ีการ ปฏบิตั ิที ่เหมอืน กนั ทัง้หมด โดย อาศยั หลกั การ ที ่กำหนด ไว แลว ใน ปฏญิญา สากล วา ดวย พนัธกุรรม มนษุย และสทิธ ิมนษุยชน ปฏิญญา ระหวาง ประเทศ วา ดวย ขอมูล พันธุ ศาสตร ซึ่ง ไม เพียง แต จะ มี เนื้อหา เกี่ยว กับ งาน ดาน วิทยาศาสตร ใน ปจจุบัน เทานั้น แต ยัง ครอบคลุม ถึง การพัฒนา ใน อนาคต ขาง หนา ตอ ไป ดวย

รับ ทราบ วา มนุษย เปน สวน หนึ่ง ของ ชีว มณฑล ซึ่ง มี บทบาท สำคัญ ใน การ ปกปอง ชีวิต รวม ถึง ชีวิต สัตว อื่น ๆ

ระลึก วา อิสรภาพ ใน ดาน วิทยาศาสตร และ การ วิจัย การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี สามารถ ทำให เกิด ประโยชน อยาง มาก ตอ มนุษย กอ ให เกิด ความ คาด หวัง ใน การ ดำรง ชีวิต และ การ พัฒนา คุณภาพ ของ ชีวิต จึง เนน วาการ พฒันา แตละ ดาน ควร จะ ตอง แสวงหา แนวทาง ที ่จะ สง เสรมิ สวสัดภิาพ ของ บคุคล ครอบครัว กลุม หรือ ชุมชน ของ มนุษย ทั้ง มวล โดย จะ ตอง ระลึก ถึง ศักดิ์ศรี ของ มนุษย ทุก คน เคารพ หลัก สากล ที่ เกี่ยว กับ สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ

ระลกึ วา สขุภาพ นัน้ ไม ได ขึน้ อยู กบั การ พฒันาการ วจิยั ดาน วทิยาศาสตร และ เทคโนโลย ีแต เพยีง อยาง เดยีว แต ยงั รวม ถงึ ดาน จติวทิยา สงัคม และ องค ประกอบ ดาน วัฒนธรรม อีก ดวย

ระลึก วา การ ตัดสิน ใจ ที่ เกี่ยว กับ จริยธรรม ทางการ แพทย วิทยาศาสตร เกี่ยว กับ ชีวิต และ เทคโนโลยี อื่น ๆ ที่ เกี่ยวของ อาจ สง ผลก ระ ทบ ตอ บุคคล ครอบครัว กลุม หรือ ชุมชน ของ มนุษย ทั้ง มวล

ตระหนัก ว า ความ หลาก หลาย ทาง วัฒนธรรม เปน ที่ มา ของ ความ เปลีย่นแปลง นวตักรรม และ การ ประดษิฐ คดิคน อนั เปน สิง่ จำเปน สำหรบั มนษุย ซึ่ง ความ รูสึก เชน นี้ เปน เหมือน มรดก รวม กัน ของ มนุษยชาติ แต เนน วา สิ่ง นี้ อาจ สราง ปญหา เกี่ยว กับ สิ ทธิ มนุ ษ ชน และ เสรีภาพ

ตระหนัก วา สิ่ง ที่ บง ชี้ ลักษณะ ของ บุคคล ประกอบ ดวย ลักษณะ ทาง ชีววิทยา จิต ศาสตร สังคม วัฒนธรรม และ มิติ ทาง วิญญาณ

ระลึก วา ผลิตภัณฑ ที่ ได จาก วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ที่ ปราศจาก จริยธรรม มี ผลก ระ ทบ ตอ ชุมชน พื้น เมือง และ ชุมชน ดั้งเดิม

เชื่อ มั่น วา ความ ออน ไหว ทาง ศีล ธรรม และ ผลก ระ ทบ ทาง จริยธรรม ควรถอืเปนเรือ่งเดยีวกนักบักระบวนการในการพฒันาดานวทิยาศาสตรและเทคโนย ี เรื่อง ชีว จริยศาสตร จึง ควร มี บทบาท เหนือ การ ตัดสิน ใจ ใน การ พัฒนา

พิจารณา วา ความ ตองการ ที่ จะ พัฒนา สิ่ง ใหมๆ มี สวน เกี่ยวของ กับ หนาที่ ความ รับ ผิด ชอบ ที่ มี ตอ สังคม เพื่อ ให มั่นใจ วา กระบวนการ ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี มี สวน ใน การ สง เสริม ให เกิด ความ ยุติธรรม ความ เทา เทียม กัน และ เอาใจ ใส ตอ มนุษย

ระลึก วา วิธี การ ที่ สำคัญ ที่ จะ ประเมิน ผล ความ เปน จริง ทาง สังคม เพื่อ ให เขา ถึง ความ เทา เทียม กัน คือ การ ให ความ สำคัญ ตอ ฐานะ ของ สตรี

เนน ย้ำ วา ความ ตองการ สราง ความ เขม แข็ง ดาน ความ รวม มือ ระหวาง ประเทศ ใน เรื่อง ชีว จริยศาสตร จะ ตอง คำนึง ถึง ความ ตองการ ของ ประเทศ กำลัง พัฒนา โดย เฉพาะ กลุม ชน พื้น เมือง ดั้งเดิม และ ประชาชน ที่ ออนแอ

พิจารณา วา มนุษย ทุก คน โดย ปราศจาก การ แบง แยก ควร ได รับ ประโยชน จาก มาตรฐาน ทาง ดาน จริยธรรม การ แพทย และ การ วิจัย ดาน วิทยาศาสตร เกี่ยว กับ ชีวิต โดย เทา เทียม กัน

ประกาศ หลัก การ ตอ ไป นี้ และ รับ จะ ดำเนิน การ และ ติดตาม ปฏิญญา ฉบับ ปจจุบัน

Page 3: ปฏิญญาสากล ว า ด วย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน ... fileจาก วิทยาศาสตร

มาตรา 8 ความ เคารพ ตอ คน ที่ ออนแอ และ การ เคารพ ความ เปน หนึ่ง เดียวกัน ของ บุคคล

การ ใช ความ รู ดาน วิทยาศาสตร การ ปฏิบัติ ทางการ แพทย และ เทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ ควร นับ รวม ไป ถึง คน ที่ ออนแอ ดวย บุคคล ใด บุคคล หนึ่ง หรือ กลุม ใด กลุม หนึ่ง ที่ ออนแอ เปน พิเศษ ควร ได รับ การ คุมครอง และ ควร ได รับ ความ เคารพ

มาตรา 9 ความ ลับ และ ความ เปน สวน ตัว

ควร ให ความ เคารพ ตอ ความ ลับ และ ขอมูล สวน ตัว ของ บุคคล ขอมูล แตละ อยาง ไม ควร ถูก นำ มา ใช หรือ เปด เผย เพื่อ วัตถุประสงค อยาง อื่น นอกจาก เพื่อ เปน ขอมูล และ ตอง ได รับ ความ ยินยอม ซึ่ง ตอง เปน ไป ตาม กฎหมาย ระหวาง ประเทศ โดย เฉพาะ กฎหมาย ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

มาตรา 10 ความ เทา เทียม กัน ความ ยุติธรรม และ ดุลยพินิจ

มนุษย ทุก คน มี สิทธิ และ ศักดิ์ศรี ที่ เทา เทียม กัน อัน ควร ได รับ ความ เคารพ เพื่อ ที่ พวก เขา จะ ได รับ การ ปฏิบัติ ที่ ยุติธรรม และ เสมอ ภาค กัน

มาตรา 11 การ ไม เลือก ปฏิบัติ และ การ ไมมี มลทิน

ไมมี บุคคล ใด หรือ กลุม ใด ที่ ถูก เลือก ปฏิบัติ หรือ ทำให มี มลทิน หรือ มี การ ละเมิด ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน หรือ เสรีภาพ

มาตรา 12 ความ เคารพ ตอ ความ หลาก หลาย ทาง วัฒนธรรม และ พหุ นิยม

ควร คำนึง ถึง ความ สำคัญ ของ ความ หลาก หลาย ทาง วัฒนธรรม และ พหุ นิยม อยางไร ก็ตาม ควร พิจารณา วา สิ่ง เหลา นี้ ไม ควร นำ มา เปน ขอ อาง ใน การ ละเมิด ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ รวม ถึง หลัก การ ที่ ได ประกาศ ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้ และ การ จำกัด ขอบเขต เหลา นั้น

มาตรา 13 ความ เปน ปก แผน และ ความ รวม มือ

ความ เปน ปก แผน ของ มนุษย และ ความ รวม มือ ระหวาง นานาชาติ จนถึง ที่สุด เปน สิ่ง ที่ ควร ใหการ สนับสนุน

มาตรา 14 ความ รับ ผิด ชอบ ตอ สังคม และ สุขภาพ

1. การ สง เสริม การ พัฒนา ดาน สังคม และ สุขภาพ ของ บุคคล เหลา นั้น เปน เปา หมาย หลัก ของ ภาค รัฐ ที่ ทุก ภาค สวน ของ สังคม ตอง แบง ปน กัน รับ ผิด ชอบ

2. การ คำนึง ถึง ความ สุข จาก ความ สำเร็จ ของ มาตรฐาน อัน สูงสุด ดาน สุขภาพ เปน สิทธิ ขั้น พื้น ฐาน ที่ มนุษย ทุก คน ควร ได รับ โดย ปราศจาก การ แบง แยก ทาง เชื้อ ชาติ ศาสนา ความเชื่อ ทางการ เมือง สภาพ ทาง เศรษฐกิจ และ สังคม ความ เจริญ ทาง ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ไดแก

(ก) การ เขา ถึง การ ดูแล สุขภาพ ที่ มี คุณภาพ และ การ แพทย ที่ จำเปน โดย เฉพาะ สุขภาพ ของ เด็ก และ สตรี เนื่องจาก สุขภาพ เปน สิ่ง จำเปน ตอ ชีวิต และ ตอง คำนึง ถึง สังคม ดวย

(ข) การ เขา ถึง น้ำ และ อาหาร ที่ พอ เพียง

(ค) การ พัฒนา สภาพ ความ เปน อยู และ สิ่ง แวดลอม

(ง) การ จำกัด และ การ กีดกัน บุคคล ออก จาก การ วาง รากฐาน ขั้น พื้น ฐาน ทุก รูป แบบ

(จ) การ ขจัด ความ ยากจน และ ความ ไมรู หนังสือ

มาตรา 4 ผล ประโยชน และ อันตราย

การ ประยุกต หรือ การ ใช ความ รู ดาน วิทยาศาสตร และ การ ปฏิบัติ ทางการ แพทย และ เทคโนโลยี ตางๆ ที่ เกี่ยวของ มี ประโยชน มาก ที่สุด ทั้ง ทาง ตรง และ ทาง ออม ตอ คนไข ผู มี สวน รวม ใน การ วิจัย และ คน แตละ คน ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ สวน อันตราย ที่ จะ เกิด กับ คน เหลา นี้ ควร มี นอย ที่สุด

มาตรา 5 ความ รับ ผิด ชอบ และ อิสรภาพ ของ คน แตละ คน

ความ มี อิสระ ใน การ ตัดสิน ใจ ของ บุคคล ใน ขณะ ที่ ตอง รับ ผิด ชอบ ตอ การ ตัดสิน ใจ และ เคารพ ตอ อิสรภาพ ของ บุคคล อื่น นั้น ควร ได รับ ความ เคารพ สำหรับ คน ที่ ไม สามารถ มี อิสระ ใน การ ตัดสิน ใจ นั้น ควร มี มาตรการ บาง อยาง เพื่อ ปกปอง สิทธิ และ ผล ประโยชน ของ คน เหลา นั้น

มาตรา 6 ความ ยินยอม

1. การ ปองกัน การ วินิจฉัย และ การ รักษา ทางการ แพทย จะ ตอง อยู ใน อำนาจ ความ ยินยอม ของ บุคคล นั้น กอน และ มี อิสระ ใน การ ตัดสิน ใจ โดย ตอง มี ขอมูล ที่ เพียง พอ และ ความ ยินยอม นั้น ๆ จะ ตอง สามารถ แสดงออก และ เพิก ถอน ได โดย ผู ที่ เกี่ยวของ ตลอด เวลา โดย จะ ตอง ปราศจาก การ เสีย ประโยชน ใด ๆ หรือ จะ ตอง ไม ทำให เกิด อคติ ใดๆ ทั้ง สิ้น

2. การ วิจัย วิทยาศาสตร ควร ได รับ ความ ยินยอม จาก บุคคล คน นั้น กอน โดย มี อิสระ ใน การ ตัดสิน ใจ และ แสดงออก มา ให เห็น อยาง ชัดเจน โดย มี ขอมูล ที่ เพียง พอ มี แบบ ฟอรม ที่ เขาใจ ได และ มี แบบ สำหรับ เพิก ถอน คำ ยินยอม นั้น ความ ยินยอม สามารถ ที่ จะ เพิก ถอน ได ตลอด เวลา ถา บุคคล นั้น พบ วา ได รับ การ สูญ เสีย ประโยชน หรือ เปน ผล ราย นอก เหนือ จาก หลัก การ ที่ ได จัด ทำ ขึ้น แลว ยัง ตอง อาศัย หลัก จริยธรรม และ มาตรฐาน ทาง กฎหมาย ที่ รัฐ สมาชิก ได ใหการ รับรอง แลว ประกอบ กับ หลัก การ และ บทบัญญัติ ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้ โดย เฉพาะ ใน มาตรา 27 และ กฎหมาย ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

3. ใน กรณี ที่ เกิด การ วิจัย โดย กลุม บุคคล หรือ ชุมชน ควร หา ขอ ตกลง ทาง กฎหมาย เพิ่ม เติม สำหรับ กลุม บุคคล หรือ ชุมชน นั้น และ หาก ไมมี การ วิจัย ก็ ควร มี การ จัด เก็บ ขอ ตกลง หรือ ความ ยินยอม ของ ผูนำ ชุมชน หรือ สถาบัน ที่ มี อำนาจ เพื่อ แสดง ความ ยินยอม เปนการ เฉพาะ

มาตรา 7 บุคคล ที่ ไม อยู ใน ฐานะ ที่ จะ แสดง ความ ยินยอม

ภาย ใต กฎหมาย ภายใน ประเทศ บุคคล ที่ ไม อยู ใน ฐานะ ที่ จะ แสดง ความ ยินยอม จะ ได รับ การ ปกปอง เปน พิเศษ

(ก) การ อนุญาต ให ทำการ วิจัย และ การ ดำเนิน การ ทางการ แพทย ควร ให ประโยชน แก บุคคล ที่ เกี่ยวของ ให มาก ที่สุด และ คำนึง ถึง กฎหมาย ภายใน ประเทศ อยางไรก็ตาม บุคคล นั้น จะ ตอง เขาไป เกี่ยวของ กับ กระบวนการ ใน การ ตัดสิน ใจ ยินยอม เปน อยาง มาก รวม ถึง การ เพิก ถอน ความ ยินยอม นั้น

(ข) การ ดำเนิน การ วิจัย ควร กระทำ เพื่อ ประโยชน ทั้ง ทาง ตรง และ ทาง ออม ตอ สุขภาพ ของ บุคคล ซึ่ง ควร ตอง คำนึง ถึง สภาพ การ ได รับ อนุญาต และ การ ปกปอง ภาย ใต กฎหมาย หาก ไมมี ทาง เลือก ใน การ วิจัย ที่ ให ผลลัพธ ที่ เทียบ เคียง กัน ได ผู มี สวน รวม ใน การ วิจัย สามารถ ให ความ ยินยอม ได การ วิจัย ที่ ไม ได ให ผล ประโยชน โดยตรง ดาน สุขภาพ จะ ได รับ เพียง การ ยอมรับ เทานั้น และ จะ ได รับ การ กีดกัน อยาง ที่สุด อัน จะ ทำให บุคคล นั้น เสี่ยง และ มี ภาระ เล็ก นอย และ หาก การ วิจัย นั้น มี สวน สนับสนุน หรือ ให ประโยชน ดาน สขุภาพ ของ บคุคล อืน่ ๆ ใน กลุม เดยีวกนั ผู ที ่ถกู วจิยั ตาม กฎหมาย จะ ได รบั คุมครอง ตาม หลัก สิทธิ มนุษย ชน การ ปฏิเสธ ของ บุคคล นั้น ที่ จะ เปน สวน หนึ่ง ของ การ วิจัย ก็ จะ ได รับ ความ เคารพ ดวย

มาตรา 2 จุดมุงหมาย

1. ปฏิญญา ฉบับ นี้ ได กลาว ถึง ประเด็น ดาน จริยธรรม ที่ เกี่ยวของ กับ การ แพทย วิ ทยา ศสตร เกี่ยว กับ ชีวิต และ เทคโนโลยี ตางๆ ที่ เกี่ยวของ กับ มนุษย โดย คำนึง ถึง สังคม กฎหมาย และ มิติ ดาน สิ่ง แวดลอม

2. ปฏิญญา ฉบับ นี้ ได กลาว ถึง รัฐ สมาชิก ที่ จะ ได รับ แนว ปฏิบัติ ใน การ ตัดสิน ใจ และ การ ปฏิบัติ ของ แตละ คน กลุม ชุมชน สถาบัน และ สาธารณะ

มาตรา 1 ขอบเขตเนื้อหา

บทบัญญัติทั่วไป

จุด มุง หมาย ของ ปฏิญญา มี ดังนี้

(ก) เพื่อ วาง กรอบ การ ดำเนิน งาน และ คำ แนะนำ ของ หลัก การ ที่ เปน สากล ให แก รัฐ ตาง ๆ เพื่อ ให สามารถ ออก กฎหมาย กำหนด นโยบาย และ ตราสาร อื่น ๆ ที่ เกี่ยว กับ งาน ดาน ชีว จริยศาสตร

(ข) เพื่อ เปน แนวทาง ใน การ ปฏิบัติ ให สำหรับ แตละ คน กลุม บุคคล ชุมชน สถาบัน หรือ สมาคม ภาค สาธารณชน และ เอกชน

(ค) เพื่อ สง เสริม ความ เคารพ ใน ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย และ ปกปอง สิทธิ มนุษย ชน โดย เคารพ ตอ ชีวิต มนุษย เสรีภาพ และ เปน ไป ตาม กฎหมาย ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

(ง) เพื่อ ระลึก ถึง ความ สำคัญ ของ เสรีภาพ ใน การ วิจัย ดาน วิทยาศาสตร และ ประโยชน ที่ ได รับ จาก การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ใน ขณะ เดียวกัน ก็ เนน วาการ พฒันา แตละ อยาง จะ ตอง อยู ภาย ใต กรอบ การ ดำเนนิ งาน ดาน จรยิธรรม ที ่กำหนด ไว ใน ปฏิญญา และ จะ ตอง เคารพ ใน ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ

(จ) เพื่อ สนับสนุน การ เจรจา ใน ระดับ พหุภาคี เกี่ยว กับ ประเด็น ดาน ชีว จริยศาสตร ระหวาง ผู มี สวน ได เสีย และ คน ภายใน สังคม ทั้งหมด

(ฉ) เพื่อ สง เสริม ความ เทา เทียม กัน ใน การ เขา ถึง การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ การ แพทย รวม ถึง การ ถายทอด และ การ แบง ปน ความ รู ที่ เกี่ยวของ กับ การ พัฒนา และ การ แบง ปนผล ประโยชน โดย เฉพาะ ตอง คำ ถึง ถึง ความ ตองการ ของ ประเทศ กำลัง พัฒนา

(ช) เพื่อ ปกปอง และ สง เสริม ผล ประโยชน แก คน รุน ปจจุบัน และ รุน ตอ ไป

(ซ) เพื่อ เนน ถึง ความ สำคัญ ของ ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ และ การ อนุรักษ เหมือน เปน ขอ กังวล รวม กัน ขั้น พื้น ฐาน ของ มนุษย

หลัก การ

การ ตัดสิน ใจ หรือ การ ปฏิบัติ ของ บุคคล ที่ ถูก กลาว ถึง ใน ขอบเขต ของ ปฏิญญา ฉบับ นี้

ควร ให ความ สนใจ ตอ หลัก การ ตอ ไป นี้

มาตรา 3 ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย และ สิทธิ มนุษย ชน

1. ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย สิทธิ มนุษย ชน และ เสรีภาพ เปน สิ่ง ที่ ตอง ได รับ ความ เคารพ อยาง ยิ่ง

2. ผล ประโยชน และ สวัสดิภาพ ของ แต ละ บุ ค คล ควร ได รับ การ คำนึง เปน อันดับ แรก มากกวา ผล ประโยชน ดาน วิทยาศาสตร หรือ สังคม แต เพียง ดาน เดียว

Page 4: ปฏิญญาสากล ว า ด วย ชีว จริยศาสตร และ สิทธิ มนุษย ชน ... fileจาก วิทยาศาสตร

มาตรา 15 การ แบง ปนผล ประโยชน

1. ผล ประโยชน ที่ ได จาก การ วิจัย ดาน วิทยาศาสตร และ การ ใช ประโยชน จาก การ วิจัย ควร มี การ แบง ปน ให สังคม โดย รวม และ ภายใน ชุมชน ระหวาง ชาติ โดย เฉพาะ ประเทศ กำลัง พัฒนา ผล ประโยชน ดัง กลาว ไดแก

(ก) การ ให ความ ชวย เหลือ เปน พิเศษ และ ยั่งยืน การ รับ รู ตอ บุคคล หรือ กลุม บุคคล ที่ เปน สวน หนึ่ง ของ การ วิจัย

(ข) การ เขา ถึง การ ดูแล สุขภาพ ที่ มี คุณภาพ

(ค) การ กำหนด รูป แบบ การ วินิจฉัย และ การ รักษา แบบ ใหม หรือ ผลิตภัณฑ ที่ เกิด มา จาก การ วิจัย

(ง) การ สง เสริม การ บริการ ดาน สุขภาพ

(จ) การ เขา ถึง ความ รู ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี

(ฉ) สิ่ง อำนวย ความ สะดวก เพื่อ เสริม สราง ศักยภาพ ดาน การ วิจัย

(ช) ประโยชน ใน ลักษณะ อื่นๆ ที่ อยู ใน หลัก การ ที่ ประกาศ ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้

2. การ มี สวน รวม ใน การ วิจัย ไม ควร มา จาก เหตุ จูงใจ ดาน ผล ประโยชน

มาตรา 16 การ ปกปอง เผา พันธุ ยุค ตอ ไป

ผลก ระ ทบ ดาน วทิยาศาสตร เกีย่ว กบั ชวีติ ที ่ม ีตอ เผา พนัธุ ยคุ ตอ ไป ไดแก องค ประกอบ ทาง พันธุ ศาสตร ที่ ควร ให ความ เอาใจ ใส

มาตรา 17 การ ปกปอง สิ่ง แวดลอม ชีว มณฑล และ ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ

ความ เกี่ยว พัน กัน ระหวาง มนุษย และ สิ่ง มี ชี วิ ตอื่นๆ ควร ได รับ การ ดูแล รวม ถึง ความ สำคัญ ของ การ เขา ถึง และ การ ใช ประโยชน จาก แหลง ชีวภาพ และ พันธุ ศาสตร การ ใหความ เคารพ ตอ ความ รู ดั้งเดิม และ บทบาท มนุษย ใน การ ปกปอง สิ่ง แวดลอม ชีว มณฑล และความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ

การ ให ประโยชน จาก หลัก การ

มาตรา 18 การ ตัดสิน ใจ และ การเต รี ยม ประเด็น ดาน ชีว จริยศาสตร

1. ควร มี การ สง เสริม ให มี การ ตัดสิน ใจ ที่ โปรงใส เปน สวน ตัว ซื่อสัตย และความเปน วิชาชีพ โดย เฉพาะ ประเด็น ที่ เกี่ยวของ กับ ความ ขัดแยง ใน ทุก กรณี และ การแบง ปน ความ รู ที่ เกี่ยว ของ ความ รู ดาน วทิยาศาสตร และ ระเบยีบ วธิ ีที ่ได ม ีการ กลาว ถงึ ควร มคีวาม พยายาม ใน การนำ มา ใช และ มี การ ทบทวน เปน ระยะ

2. บุคคล หรือ ผู เชี่ยวชาญ ที่ เกี่ยวของ รวม ถึง สังคม โดย รวม ควร สนับสนุน ให มี การ เจรจา อยาง สม่ำเสมอ

3. ควร สง เสริม การ เปด โอกาส ให มี การ ถก เถียง ใน ลักษณะ พหุภาคี และ การ แสดง ความ คิด เห็น ใน ทุก รูป แบบ

มาตรา 19 คณะ กรรมการ ดาน จริยศาสตร

ควร มี การ จัด ตั้ง คณะ กรรมการ ดาน จริยศาสตร ที่ มี ลักษณะ เปน พหุภาคี มี อิสระ และ ประกอบ ดวย บุคคล ที่หลาก หลาย เพื่อ สง เสริม และ สนับสนุน การ ดำเนิน งาน ใน ระดับ ตาง ๆ โดย มีหนา ที่ ดังนี้

(ก) กำหนด ประเด็น ดาน จริยศาสตร กฎหมาย รวม ถึง ดาน วิทยาศาสตร และ สังคม ที่ เกี่ยวของ กับ โครงการ วิจัย มนุษย

(ข) ให คำ ปรึกษา เกี่ยว กับ ประเด็น ปญหา ดาน จริยธรรม ทางการ แพทย

(ค) กำหนด แนวทาง ใน การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี การ ให คำ แนะนำ และ ความ ชวย เหลือ ใน การ จัด เตรียม แนวทาง การ ดำเนิน งาน ที่ เกี่ยวของ กับ ขอบขาย ของ ปฏิญญา

(ง) การ สนับสนุน ให มี การ ปรึกษา การ ศึกษา และ การ ยอมรับ ของ สาธารณชน และ การ สง เสริม ดาน ชีว จริยศาสตร

มาตรา 20 การ ประเมิน และ การ จัดการ ความ เสี่ยง

ควร สง เสริม ให มี การ ประเมิน และ การ จัดการ ความ เสี่ยง ที่ เกี่ยวของ กับ การ แพทย วิทยาศาสตร สิ่ง มี ชีวิต และ เทคโนโลยี ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ

มาตรา 21 การ ปฏิบัติ ขาม ชาติ

1. รัฐ สมาชิก สถาบัน สาธารณะ และ เอกชน ผู เชี่ยวชาญ ที่ เกี่ยวของ กับ กิจกรรม ขาม ชาติ ควร พยายาม กำหนด กิจกรรม ให ครอบคลุม ขอบขาย ของ ปฏิญญา ฉบับ นี้ ควร มี การ ใหการ รับรอง เงิน ทุน เพื่อ ใหเกิดการ ดำเนิน งาน ทั้งหมด หรือ เปน บาง สวน อัน เปน สิ่ง ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้

2. หาก การ วิจัย ได รับ การ รับรอง หรือ มี การ ดำเนิน การ โดย รัฐ ใด รัฐ หนึ่ง หรือ มากกวา (มี รัฐ เจา ภาพ) และ ได รับ ทุน สนับสนุน จาก รัฐ อื่นๆ การ วิจัย นั้น ควร มี เปา หมาย เพื่อ ทบทวน ประเด็น ดาน จริยธรรม ใน ระดับ ตาง ๆ ของ รัฐ เจา ภาพ หรือ ของ รัฐ ที่ เปน ผู ให ทุน สนับสนุน ตั้ง อยู และ การ ทบทวน ดัง กลาว ตอง อยู บน พื้น ฐาน ของ จริยธรรม และ มาตรฐาน ทาง กฎหมาย ที่ สอดคลอง กับ หลัก การ ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้

3. การ วิจัย ดาน สุขภาพ ขาม ชาติ ควร สอดคลอง กับ ความ ตองการ ของ ประเทศ เจา ภาพ รวม ทั้ง ความ สำคัญ ของ การ ให ความ ชวย เหลือ การ วิจัย ดัง กลาว ที่ เปน ไป ควร แบง เบา ปญหา ดาน สุขภาพ ที่ โลก กำลัง เผชิญ อยู อยาง เรง ดวน

4. เมื่อ มี การ เจรจา ทำความ ตกลง ใน การ วิจัย รูป แบบ ของ ความ รวม มือ และ ขอ ตกลง เกี่ยว กับ ผล ประโยชน ที่ ได จาก การ วิจัย ควร ตั้ง อยู บน หลัก ของ การ มี สวน รวม อยาง เทา เทียม กัน ของ สมาชิก ที่ รวม เจรจา

5. รัฐ สมาชิก ควร มี มาตรการ ที่ เหมาะ สม ทั้ง ใน ระดับ ชาติ และ นานาชาติ เพื่อ ตอสู กับ การ กอการ ราย ทาง ชีวภาพ และ การ ขน ถาย อวัยวะ ที่ ผิด กฎหมาย รวม ถึง เนื้อเยื่อ ตัวอยาง แหลง พันธุ ศาสตร และ วัตถุ ที่ เกี่ยวของ กับ พันธุ ศาสตร

การ สง เสริม ปฏิญญา

มาตรา 22 บทบาท ของ รัฐ สมาชิก

1. รัฐ สมาชิก ควร มี มาตรการ ตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ ไม วา จะ เปน กฎหมาย การ บริหาร จัดการ หรือ มาตรการ อื่น ๆ เพื่อ ให หลัก การ ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา มี ผล ใน ทาง ปฏิบัติ ซึ่ง รวม ถึง กฎหมาย ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน โดย มาตรการ ที่ กำหนด แตละ ประการ ควร ได รับ การ สนับสนุน ให มี การนำ ไป ปฏิบัติ ใน ลักษณะ ของ การ จัดการ ศึกษา การ ฝก อบรม และ การ เผย แพร ขอมูล ตอ สาธารณชน

2. รัฐ สมาชิก ควร สนับสนุน ให มี การ จัด ตั้ง คณะ กรรมการ ที่ ประกอบ ดวย ผู แทน ดาน จริยธรรม ที่ มี ความ เปน อิสระ และ มา จาก หลาก หลาย สาขา ตาม ที่ กำหนด ไว ใน มาตรา 19

มาตรา 23 ขอมูล การ ฝก อบรม และ การ จัดการ ศึกษา ดาน ชีว จริยศาสตร

1. เพื่อ สง เสริม หลัก การ ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา และ เพื่อ ให เกิด ความ เขาใจ ที่ ดี ขึ้น ใน เรื่อง

จริยธรรม ใน ดาน การ พัฒนา ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี โดย เฉพาะ ใน กลุม เยาวชน รัฐ ควร ใหการ สง เสริม ดาน การ ศึกษา และ ฝก อบรม ใน เรื่อง ของ ชีว จริยศาสตร ใน ทุก ระดับ รวม ถึง การ เผย แพร ขอมูล ความ รู ดาน ชีว จริยศาสตร

2. รัฐ สมาชิก ควร สนับสนุน การ มี สวน รวม ของ องคกร ใน ระดับ ภูมิภาค นานาชาติ ระหวาง รัฐบาล และ องคกร ที่ มิใช รัฐ รวม ถึง องคกร ระดับ ชาติ และ ภูมิภาค

มาตรา 24 ความ รวม มือ ระหวาง ประเทศ

1. รัฐ สมาชิก ควร สนับสนุน ให มี การ เผย แพร ขอมูล ดาน วิทยาศาสตร ระหวาง ประเทศ ตางๆ และ สนับสนุน ให มี การ แบง ปน ความ รู ดาน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี อยาง เสรี

2. ภาย ใต กรอบ การ ดำเนิน งาน ของ ความ รวม มือ ระหวาง ประเทศ รัฐ สมาชิก ควร สง เสริม ความ รวม มือ ดาน วิทยาศาสตร และ วัฒนธรรม อัน นำ ไป สู การ จัด ทำความ ตกลง แบบ ทวิภาคี และ พหุภาคี เพื่อ ให ประเทศ กำลัง พัฒนา สามารถ เสริม สราง ศักยภาพ ของ ตนเอง ใน การ มี สวน รวม แบง ปน ความ รู ดาน วิทยาศาสตร รวม ไป ถึง ผล ประโยชน และ วิธี ปฏิบัติ ที่ เกี่ยวของ

3. รัฐ สมาชิก ควร ใหการ สง เสริม และ เคารพ ความ เปน ปก แผน ระหวาง รัฐ รวม ถึง ความ เปน ปจเจก ชน ครอบครัว กลุม หรือ ชุมชน โดย เฉพาะ คน ที่ ออนแอ จาก โรค หรือ ทุพพลภาพ และ ให ความ เคารพ ตอ สภาวะ ดาน สิ่ง แวดลอม และ สังคม กลุม ใหญ ซึ่ง มี อยู อยาง จำกัด

มาตรา 25 การ ติดตาม การ ดำเนิน งาน โดย ยู เนส โก

1. ยู เนส โก ควร สง เสริม และ เผย แพร หลัก การ ที่ กำหนด ไว ใน ปฏิญญา โดย การ ชวย เหลือแกคณะ กรรมการ ระหวาง รัฐบาล วา ดวย ชีว จริยศาสตร และ คณะ กรรมการ ระหวาง ประเทศ วา ดวย ชีว จริยศาสตร

2. ยู เนส โก ควร ยืนยัน ถึง ขอ ผูกมัด ที่ เกี่ยวของ กับ ชีว จริยศาสตร และ สง เสริม ความ รวม มือ ระหวาง คณะ กรรมการ ระหวาง รัฐบาล วา ดวย ชีว จริยศาสตร และ คณะ กรรมการ ระหวาง ประเทศ วา ดวย ชีว จริยศาสตร

บทเฉพาะกาล

มาตรา 26 องค ประกอบ และ ความ สัมพันธ ซึ่ง กัน และ กัน ของ หลัก การ

ความ เขาใจ และ หลกั การ โดย รวม ของ ปฏญิญา ฉบบั นี ้ม ีองค ประกอบ และความสมัพนัธ ซึ่ง กัน และ กัน ซึ่ง หลัก การ แตละ ขอ ได ผาน การ พิจารณา เนื้อหา มา จาก หลัก การอื่นๆ รวม ถึง ราย ละเอียด ตางๆ ที่ เกี่ยวของ

มาตรา 27 ขอ จำกัด ของ การ ใช หลัก การ

หาก มี การ จำกัด การ ใช หลัก การ ของ ปฏิญญา ฉบับ นี้ ควร เปน ไป ตาม กฎหมาย ที่ เกี่ยวของ กับ ความ ปลอดภัย ตอ สาธารณะ เพื่อ การ สืบสวน การ ตรวจ หา หรือ การ ฟองรอง ทาง คดี อาญา ใน กรณี ที่ มี การ ทำ ผิด ทาง กฎหมาย เพื่อ คุมครอง สุขภาพ สาธารณชน หรือ ปกปอง สิทธิ มนุษย ชน และ เสรี ภา พอื่นๆ กฎหมาย แตละ อยาง นั้น ตอง สอดคลอง กับ กฎหมาย ระหวาง ประเทศ วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

มาตรา 28 การ ปฏิเสธ การ ดำเนิน การ ที่ ขัด กับ สิทธิ มนุษย ชน เสรีภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย

ไมมี ขอความ ใด ใน ปฏิญญา ฉบับ นี้ ที่ ระบุ ให รัฐ สมาชิก กลุม บุคคล หรือ บุคคล นำ มา อาง เพื่อ ดำเนิน การ ที่ ขัด กับ สิทธิ มนุษย ชน เสรีภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย