4
สถานการณโรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A DEFICIENCY IN THAILAND รวบรวมและวิเคราะหโดย พญ.แสงโสม สีนะวัฒน ผูอํานวยการกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท/โทรสาร 5918162-63 โรคขาดวิตามินเอ คือ อะไร โรคขาดวิตามินเอเกิดจากรางกายไดรับวิตามินเอจากอาหารไมเพียงพอ โดยแหลงอาหารที่ใหวิตามินเอ มาจากสัตว และพืช เชน ตับ ไขแดง นม ผลไมสีเหลืองและ ผักสีเขียว วิตามินเอมีความสําคัญอยางมากตอรางกาย โดยชวยในการมองเห็น โดยเฉพาะในที่สลัว การบํารุงรักษาเยื่อบุผิวของอวัยวะตาง ๆ เชน ระบบทาง เดินหายใจและทางเดินอาหาร การขาดวิตามินเอ ทําใหเกิดอาการทางตา ที่เรียกวา ซีรอฟทาลเมีย (XEROPHTHALMIA) โดยในระยะแรกมีอาการตาบอดกลางคืน (NIGHT BLINDNESS) เยื่อบุตาขาวแหง (CONJUNCTIVAL XEROSIS) เกล็ดกระดี่ (BITOT'S SPOT) กระจกตาแหง (CORNEAL XEROSIS) กระจก ตาเปนแผล (CORNEAL ULCERATION) กระจกตาขุนเหลว (KERATOMALACIA) และตาบอดในที่สุด ถา การขาดวิตามินเอมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น และไมไดรับการ รักษาอยางรีบดวน สถานการณโรคขาดวิตามินเอที่ผานมาจนถึงปจจุบัน ป พ.ศ.2503 จากรายงานสํารวจภาวะโภชนาการในประเทศของ ICNND (INTER-DEPARTMENTAL COMMITTEE ON NUTRITION FOR NATIONAL DEFENSE) จากประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา รอยละ 25 ของผูปวยที่มี ปญหา การขาดโปรตีนและพลังงาน ซึ่งเขารักษาตัวในโรงพยาบาลศิริราชและเชียงใหม มีกระจก ตาเหลวเปนวุ(KERATOMALACIA) และกระจกตาเปนแผล (CORNEAL ULCERATION) และรายงานดังกลาวไดระบุวา ประชากร ไทยได รับวิตามินเอจากอาหารในปริมาณที่ ไมเพียงพอกับความตองการของรางกาย ป พ.ศ.2516-2521 1. การศึกษาของแพทยหญิงสาคร ธนมิตต และคณะ ในพื้นที่จังหวัด อุบลราชธานี พบวา เด็กวัยกอนเรียน บริโภคปริมาณวิตามินเอที่มีใน อาหารตอวันคิดเปนรอยละ 30-50 ของปริมาณที่รางกายควรไดรับ และกลุมเด็กดังกลาวมีวิตามินเอในเลือด ในระดับขาด คือนอยกวา 10 ไมโครกรัมตอ 100 มิลลิลิตร ถึง รอยละ 17 สําหรับเด็กวัยเรียนใน พื้นที่เดียวกันมีวิตามินเอในเลือดระดับขาดรอยละ 22 ซึ่งองคการ อนามัยโลกไดใหขอกําหนดวา ถาตรวจพบเด็กรอยละ 5 มีวิตามินเอ ในเลือดในระดับขาด ใหถือวาชุมชน ดังกลาวมีปญหาการขาดวิตามินเอ 2. การศึกษาในกลุมยอยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและอุบลราชธานี โดย แพทยหญิงสาคร ธนมิตต และคณะ ใน

สถานการณ โรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A …advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สถานการณ โรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A …advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf ·

สถานการณโรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A DEFICIENCY IN THAILAND

รวบรวมและวิเคราะหโดย พญ.แสงโสม สีนะวัฒน

ผูอํานวยการกองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท/โทรสาร 5918162-63

โรคขาดวิตามินเอ คือ อะไร

โรคขาดวิตามินเอเกิดจากรางกายไดรับวิตามินเอจากอาหารไมเพียงพอ โดยแหลงอาหารที่ใหวิตามินเอ มาจากสัตว และพืช เชน ตับ ไขแดง นม ผลไมสีเหลืองและ ผักสีเขียว วิตามินเอมีความสําคัญอยางมากตอรางกาย โดยชวยในการมองเห็น โดยเฉพาะในที่สลัว การบํารุงรักษาเยื่อบุผิวของอวัยวะตาง ๆ เชน ระบบทาง เดินหายใจและทางเดินอาหาร การขาดวิตามินเอทําใหเกิดอาการทางตา ที่เรียกวา ซีรอฟทาลเมีย (XEROPHTHALMIA) โดยในระยะแรกมีอาการตาบอดกลางคืน (NIGHT BLINDNESS) เยื่อบุตาขาวแหง (CONJUNCTIVAL XEROSIS) เกล็ดกระดี่ (BITOT'S SPOT) กระจกตาแหง (CORNEAL XEROSIS) กระจก ตาเปนแผล (CORNEAL ULCERATION) กระจกตาขุนเหลว (KERATOMALACIA) และตาบอดในที่สุด ถาการขาดวิตามินเอมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น และไมไดรับการ รักษาอยางรีบดวน

สถานการณโรคขาดวิตามินเอที่ผานมาจนถึงปจจุบัน

ป พ.ศ.2503 จากรายงานสํารวจภาวะโภชนาการในประเทศของ ICNND (INTER-DEPARTMENTAL COMMITTEE ON NUTRITION FOR NATIONAL DEFENSE) จากประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา รอยละ 25 ของผูปวยที่มี ปญหาการขาดโปรตีนและพลังงาน ซ่ึงเขารักษาตัวในโรงพยาบาลศิริราชและเชียงใหม มีกระจก ตาเหลวเปนวุน (KERATOMALACIA) และกระจกตาเปนแผล (CORNEAL ULCERATION) และรายงานดังกลาวไดระบุวา ประชากรไทยได รับวิตามินเอจากอาหารในปริมาณที่ ไมเพียงพอกับความตองการของรางกาย

ป พ.ศ.2516-2521

1. การศึกษาของแพทยหญิงสาคร ธนมิตต และคณะ ในพื้นที่จังหวัด อุบลราชธานี พบวา เด็กวัยกอนเรียน บริโภคปริมาณวิตามินเอที่มีใน อาหารตอวันคิดเปนรอยละ 30-50 ของปริมาณที่รางกายควรไดรับ และกลุมเด็กดังกลาวมีวิตามินเอในเลือด ในระดับขาด คือนอยกวา 10 ไมโครกรัมตอ 100 มิลลิลิตร ถึงรอยละ 17 สําหรับเด็กวัยเรียนใน พื้นที่เดียวกันมีวิตามินเอในเลือดระดับขาดรอยละ 22 ซ่ึงองคการ อนามัยโลกไดใหขอกําหนดวา ถาตรวจพบเด็กรอยละ 5 มีวิตามินเอ ในเลือดในระดับขาด ใหถือวาชุมชนดังกลาวมีปญหาการขาดวิตามินเอ

2. การศึกษาในกลุมยอยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและอุบลราชธานี โดย แพทยหญิงสาคร ธนมิตต และคณะ ใน

Page 2: สถานการณ โรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A …advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf ·

ระหวางปพ.ศ.2519-2521 พบเด็กวัยกอนเรียนมีอาการตาบอด กลางคืน รอยละ 1-17 และ เกล็ดกระดี่รอยละ 0.3 พรอมทั้งพบเด็กวัยเรียนมีอาการ ตาบอด กลางคืน รอยละ 9-15

ป พ.ศ. 2530 การศึกษาของสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ในพื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ พบวา วิตามินเอในเลือดของเด็กวัยเรียน จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุบลราชธานี ในระดับขาด รอยละ 1.3 และวิตามินเอในเลือดของเด็ก วัยเรียน จังหวัดหนองคาย ในระดับขาด รอยละ 5.9

ป พ.ศ. 2531

1. การศึกษา โดย Bloem และคณะ ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร พบวา เด็กวัยกอนเรียนมีอาการตาบอดกลางคืน รอยละ 1.3 เยื่อยุตาขาวแหง รอยละ 16 และเกล็ดกระดี่ รอยละ 0.4

2. การศึกษาโดยกองโภชนาการ กรมอนามัย พบวา เด็กวัยกอนเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวิตามินเอในเลือดในระดับขาด รอยละ 3

ป พ.ศ. 2533 การศึกษาโดยกองโภชนาการ กรมอนามัย ในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบวา การขาดวิตามินเอในเด็กวัยกอนเรียน อยูในชนิดที่ไมแสดงอาการทางคลินิก โดยประมาณรอยละ 20 มีวิตามินเอสะสมในตับไมเพียงพอ จากการตรวจทางชีวเคมีดวย RELATIVE DOSE RESPONSE และมีความผิดปกติของเซลลเยื่อบุตาขาวจากการตรวจทางเซลลวิทยา ดวยCONJUNCTIVAL IMPRESSION CYTOLOGY (CIC)

ป พ.ศ. 2534 จากรายงานของโรงพยาบาลยะลา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ตรวจพบเด็กอายุระหวาง 3-15 เดือน มีการผิดปกติของกระจกตา ซ่ึงเกิดจากการขาดวิตามินเอ จํานวน 34 ราย โดยเด็กดังกลาว ไมไดกินนมแม แตไดรับการ เล้ียงดูดวยนมขนหวาน ซ่ึงขณะน้ันไมไดเติมวิตามินเอ รวมทั้งไมไดรับอาหารตามวัยที่เหมาะสม

ป พ.ศ. 2535 การศึกษาโดยกองโภชนาการ กรมอนามัย พบวา เด็กวัยกอนเรียน ใน 5 จังหวัดภาคใตตอนลาง มีการขาดวิตามินเอในระดับแสดงอาการทางคลินิก คือ มีกระจกตาเปนแผล และกระจกตาขุนเหลว รอยละ 0.87 และ 0.43 ตามลําดับ ซ่ึงเกณฑขององคการอนามัยโลก ไดกําหนดอุบัติการของแผล เปนที่กระจกตา และกระจกตาดําขุนเหลว มากกวารอยละ 0.05 และ 0.01 ตามลําดับ ใหจัดวา ชุมชนน้ันมีปญหาโรคขาดสารวิตามินเอเปนปญหาสาธารณสุข

อน่ึง การเฝาระวังโรคขาดวิตามินเอในป 2536-ปจจุบัน ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใตตอนลางดังกลาว ขณะน้ีไมมีเด็กรายใหมที่ขาดวิตามินเอในระดับแสดงอาการทางตาอยางไรก็ตาม ขณะน้ีองคการอนามัยโลกไดจัดใหประเทศไทย เปนกลุมประเทศของ โรคขาดวิตามินเอ ชนิดไมแสดงอาการทางคลินิกขั้นปานกลาง (MODERATE SUBCLINICAL VITAMIN A DEFICIENCY)

Page 3: สถานการณ โรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A …advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf ·

ภาพแสดงการเปรียบเทียบรอยละของการกระจายของระดับเรตินอลในเลือดของเด็กวัยกอนเรียน ในภาคใต ป พ.ศ. 2535 กับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในป พ.ศ. 2533

แหลงที่มา : กองโภชนาการ กรมอนามัย

การดําเนินงานควบคุมและปองกันโรคขาดวิตามินเอ

1. จากขอตกลงระหวางองคการยูนิเซฟและรัฐบาลไทยเรื่อง "เปาหมายก่ึงทศวรรษ (MID DECADE GOALS) กรมอนามัย ไดกําหนดเปาหมายการดําเนินงานควบคุม และปองกันโรคขาดวิตามินเอ คือ "ขจัดโรคขาดวิตามินเอชนิดที่แสดงอาการทางตา ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใตตอนลางใหหมดไป ในป 2538" จากเปาหมายดังกลาวได กําหนดมาตรการหลักไว 3 แนวทาง ตามลําดับ ความเรงดวน คือ

แจกจายยาเม็ดวิตามินเอ (VITAMIN A SUPPLEMENTATION) ตามขนาด ที่องคการอนามัยโลกเสนอแนะแกเด็ก 0 - 5 ป ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใตตอนลาง โดยมีแผนดําเนินการ ตั้งแตป พ.ศ.2535

2. การเติมวิตามินเอในนมขนหวาน (VITAMIN A FORTIFICATION) โดยประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 149 ลงวันที่ 11 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2526 ใหนม ขนหวานทุกยี่หอเติมวิตามินเอขนาด 1100 หนวยสากล (330 retinol equivalents ; RE) ตอนมขนหวาน 100 กรัม

3. การสงเสริมการบริโภคอาหารที่มีวิตามินเอ (DIETARY MODIFICATION) ได ทําโครงการสงเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมดวยวิตามินเอ โดยกลวิธีการส่ือสาร โภชนาการ ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใตตอนลาง ซ่ึงเริ่มดําเนินการโครงการตั้งแตป พ.ศ. 2536 โดยในระยะแรกไดศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อคนหาส่ือและวิธีการ ประชาสัมพันธ ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับชุมชน และขณะน้ีกําลังดําเนินการ ระยะตอไป คือ การสรางความตระหนักในชุมชน และสงเสริมการบริโภคอาหารที่ อุดมดวยวิตามินเอ ซ่ึงไดผลิตส่ือตางๆ เชน สปอตวิทยุ สปอตโทรทัศน ชุดนิทรรศการ โปสเตอร พัฒนาตํารับอาหารซ่ึงมีระดับวิตามินเอสูงโดยสวนประกอบของเครื่องปรุง สามารถหาไดใน พื้นที่เปนตน

การดําเนินงานที่ไดกลาวมาน้ัน กระทําอยางตอเน่ืองมาจนถึงปจจุบันและนอกจาก มาตรการดังกลาวขางตนแลว ขณะน้ีกองโภชนาการ กรมอนามัย ไดดําเนินการพัฒนา แบบประเมินภาวะวิตามินเอของชุมชน โดยตัวชี้วัดการบริโภคอาหารวิตามินเอ (MODIFIED

Page 4: สถานการณ โรคขาดวิตามินเอในประเทศไทย VITAMIN A …advisor.anamai.moph.go.th/download/Factsheet/FS_Vol1No3.pdf ·

SIMPLIPIED DIETARY ASSESSMENT; MSDA) หากแบบประเมินน้ีไดพัฒนาจนมี ความเชื่อถือ และสามารถใชในการจําแนกพื้นที่และประชากรกลุมเส่ียงไดดี จะถูกนํา มาใชในการเฝาระวังการเกิดโรคขาดวิตามินเอ ในอนาคตจะไดพัฒนาเปนระบบการเฝา ระวังระดับชาติตอไป

บทเรียนที่ไดจากการดําเนินงานควบคุมและปองกันโรคขาดวิตามินเอการดําเนินงานควบคุมและปองกัน

โรคขาดวิตามินเอ จําเปนตองผสมผสานกับการดําเนินงาน สงเสริมสุขภาพดานอ่ืนๆรวมดวย เชน การสรางเสริมภูมิคุมกันโรคอนามัยแมและเด็ก นอก จากน้ัน ความรวมมือระหวางหนวยงานทั้งในดานวิชาการและงบประมาณ รวมทั้งการระดม ทรัพยากร ภายในชุมชนมาใช จะทําใหงานไดรับการพัฒนาและดําเนินการสําเร็จลุลวงไดดวยดี และที่สําคัญอยางยิ่ง คือ การดําเนินงานตองมีเปาหมายที่ชัดเจน และจําเปนตองไดรับการ สนองตอบจากระดับนโยบาย

ดังน้ัน การดําเนินงานควบคุมและปองกันโรคขาดวิตามินเอที่ผานมา และกิจกรรมที่กําลัง ดําเนินตอไป นาจะสงผลใหโรคขาดวิตามินเอทุกชนิดหมดไปจากประเทศไทย ในอนาคตอันใกลน้ี

ที่ปรึกษา : นพ.ปรากรม วุฒิพงศ นพ.ธวัช สุนทราจารย นพ.ณรงค ฉายากุล นพ.ปราชญ บุณยวงศวิโรจน นพ.ลือชา วนรัตน นายเชษฐพันธุ กาฬแกว ดร.ทวีสุข พันธุเพ็ง นายทรวง เหล่ียมรังสี บรรณาธิการบริหาร : นพ.วีระ นิยมวัน บรรณาธิการวิชาการ : นพ.ชูชัย ศุภวงศ จัดพิมพโดย : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ที่ติดตอ : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานวิชาการ อาคาร 1 ชั้น 3 ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท 5918149, 5904145