14
1. ภภภภ Java Java เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเ (Sun Microsystems Inc.) เเเเ เ.เ. 1991 เเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเ เเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเ (Platform) เเเเเเเเเเเเ Java เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ (OOP : Object-Oriented Programming) เเเ เเเเเเ เเเเเเเเเเเ เ เเเเเเเเเเเเเเเเเ (Class) เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ Method เเเเ Behavior เเเเเเเเเเเเเเเเเเเ Class เเเ Object เเเเเเเเ Object เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ object เเเเ เเเเ Class เเเเเเเเ เเเเเเเเ Class เเเเ Method เเเเ Behavior เเเเเเเเเเเเ 2. ภภภภภภภภภภภภ Java 2.1 เเเเ Java เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเ เเเเ Java เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเ เเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ (Platforms) เเเเเ เเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ OOP (Object-Oriented Programming) เเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ Java

หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

1. ภาษา JavaJava เป็นภาษาโปรแกรมที่ใชใ้นการเขยีนคำาสัง่สัง่งาน

คอมพวิเตอร ์ซึ่งพฒันาขึ้นโดยบรษัิท ซนัไมโครซสิเต็มส ์จำากัด (Sun Microsystems Inc.) ในปี ค.ศ. 1991 เป็นสว่นหน่ึงของโครงการวจิยัเพื่อพฒันาซอฟต์แวรส์ำาหรบัอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ต่างๆ เชน่โทรทัศน์ โทรศัพท์มอืถือ โดยมเีป้าหมายการทำางานเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ฮารด์แวรต่์างๆได้อยา่งกวา้งขวาง และมปีระสทิธภิาพ ใชเ้วลาน้อย รวดเรว็ในการพฒันาโปรแกรม และสามารถเชื่อมต่อไปยงัแพล็ตฟอรม์ (Platform) อ่ืนๆได้ง่าย Java เป็นภาษาสำาหรบัเขยีนโปรแกรมภาษาหน่ึงท่ีมลัีกษณะสนับสนุนการเขยีนโปรแกรมเชงิวตัถ ุ(OOP : Object-Oriented Programming) ท่ีชดัเจน โปรแกรมต่าง ๆ ถกูสรา้งภายในคลาส (Class) โปรแกรมเหล่านัน้เรยีกวา่ Method หรอื Behavior โดยปกติจะเรยีกแต่ละ Class วา่ Object โดยแต่ละ Object มพีฤติกรรมมากมาย โปรแกรมที่สมบูรณ์จะเกิดจากหลาย object หรอืหลาย Class มารวมกัน โดยแต่ละ Class จะม ีMethod หรอื Behavior แตกต่างกันไป

2. ขอ้ดีของภาษา Java2.1 ภาษา Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ง่ายในการเรยีนรู้

ภาษา Java มคีณุลักษณะต่างๆ ดังน้ี เชน่ เชื่อมต่อขา้มแพล็ตฟอรม์ (Platforms) ต่างๆ ได้ สามารถเขยีนโปรแกรมแบบ OOP (Object-Oriented Programming) ได้งายมาก โปรแกรมมขีนาดเล็กและมวีธิกีารเขยีนไมยุ่งยากซบัซอ้น ดังนัน้โปรแกรมที่เขยีนด้วยภาษา Java จงึคอมไพล์ได้ง่ายตลอดจนตรวจสอบหาขอ้ผิดพลาดโปรแกรมได้ง่ายด้วย ภาษา java เป็นภาษาท่ีทำาความเขา้ใจได้ง่ายมาก มขีนาดเล็กและยากท่ีจะเกิดขอ้ผิดพลาด เขยีนคำาสัง่ได้ง่าย มปีระสทิธภิาพในการทำางานและมคีวามยดืหยุน่สงู

2.2 ภาษา Java เป็นการเขยีนโปรแกรมเชงิวตัถ ุOOP (Object-Oriented Programming)

Page 2: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

การเขยีนโปรแกรมเชงิวตัถ ุเป็นเทคนิคการเขยีนโปรแกรมใหม้ลัีกษณะเป็นโมดลู (Module) แบง่โปรแกรมเป็นสว่นๆ ตามสภาวะแวดล้อมการทำางานของโปรแกรมซึ่งเรยีกวา่ Method โดยทกุ Method ก็คือ ระเบยีบวธิหีรอืการทำางานอยา่งใดอยา่งหนึ่ง โดยจะถกูรวบรวมอยูใ่นคลาส ซึ่งหลักการเขยีนโปรแกรมเชงิวตัถจุะมององค์ประกอบของโปรแกรมต่างๆเป็นคลาสหรอืวตัถ ุเรยีกวา่ Object ตัวอยา่งเชน่ วตัถท่ีุมองเหน็ได้ เชน่ รถ สนิค้า หรอื วตัถท่ีุไมส่ามารถมองเหน็ได้ เชน่ เหตกุารณ์ต่างๆ ขอ้มูลต่างๆของ Object จะถกูซอ่นไวค้ลาสเรยีกวา่ Data Encapsulation ซึ่งมีประโยชน์ในการแก้ไขขอ้มูลหรอื Method ใดๆ ที่อยูใ่นคลาส โยไม่สง่ผลกระทบต่อการทำางานหรอืเรยีกใชง้านของ Object นัน้ นอกจากนัน้ Java ยงัมคีณุสมบติัการสบืทอด (Inheritance) เพื่อสง่ผ่านและถ่ายทอดลักษณะต่างๆของคลาสแมไ่ปยงัคลาสลกู ทำาใหเ้ขยีนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น และมโีครงสรา้งการทำางานท่ีเขา้ใจง่ายและมคีวามสมัพนัธก์ัน

2.3 ภาษา Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอรม์ (Java is Platform-Independent)

Java เป็นอิสระต่อแพล็ตฟอรม์ ทัง้ระดับซอรซ์โค้ด (Source Code) และไบนารโีค้ด (Binary Code) ชว่ยใหส้ามารถเคล่ือนยา้ยโปรแกรมจากระบบคอมพวิเตอรห์นึ่งไปยงัระบบคอมพวิเตอรอ่ื์นได้อยา่งง่ายดาย เพราะวา่โปรแกรมท่ีเขยีนด้วยภาษา Java ได้รวบรวมคำาสัง่ต่างๆไวใ้นไลบรารคีลาสพื้นฐานต่างๆ เป็น Java Packages ชว่ยอำานวยความสะดวกในการเขยีนคำาสัง่ เมื่อยา้ยโปรแกรมไปยงัแพล็ตฟอรม์อ่ืน โดยไมต้่องเขยีนซอรซ์โค้ด (Source Code) ขึ้นใหมท่ำาใหป้ระหยดัเวลามาก เมื่อคอมไพล์ซอรซ์โค้ด จะได้ไฟล์ไบนารโีค้ด ที่เรยีกวา่ Bytecode การรนัโปรแกรมของ Java จะทำางานในลักษณะอินเทอรพ์รเีตอร ์(Interpreter) ของไฟล์ Bytecode ซึ่งสามารถรนับนแพล็ตฟอรม์ใดๆก็ได้ รวมทัง้ระบบปฏิบติัการต่างๆ เชน่ ระบบ Windows, Solaris, Linux

Page 3: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

หรอื MacOS โดยการแปลคำาสัง่ทีละคำาสัง่ แพล็ตฟอรม์ท่ี Java ทำางานได้จะต้องประกอบด้วย 2 สว่น คือ Java Virtual Machine (JVM) และ Java Application Programming Interface (Java API) โดย Java Virtual Machine คือเครื่องมอืที่รวบรวมคำาสัง่คอมไฟล์และรนัโปรแกรม Java สว่น Java API เป็นกลุ่มของคลาสและอินเตอรเ์ฟส (Interface) ท่ีรวมอยูใ่นไลบรารท่ีีเรยีกวา่ Java Package เชน่ java.awt, java.util หรอื java.io เป็นต้น ลักษณะการทำางานของ Java ท่ีเป็นอิสระต่อแพล็ตฟอรม์โดยการเขยีนโปรแกรมเพยีงครัง้เดียวแต่สามารถนำาไปใชท้ำางานยงัเครื่องอ่ืนๆได้ นัน้เรยีกวา่ Write once, Run anywhere นัน้เอง

2.4 ภาษา Java มรีะบบการทำางานและมรีะบบความปลอดภัยท่ีดี

Java จะคำาสัง่ต่างๆที่เป็นสว่นประกอบของ Java API โดยมกีารรวบรวมเป็นคลาสต่างๆไวม้ากมาย ชว่ยอำานวยความสะดวกในการเขยีนโปรแกรม นอกจากนัน้ยงัม ีGarbage Collector โดยมีระบบจดัการหน่วยความจำาเพื่อเก็บขยะของโปรแกรมและคืนหน่วยความจำาใหก้ับระบบ โปรแกรมที่เขยีนด้วยภาษา Java มรีะบบจดัการขอ้ผิดพลาดที่เกิดจากการทำางานของโปรแกรมท่ีเรยีกวา่ Exception Handling ด้วยทำาใหส้ามารถตรวจสอบโปรแกรม (Debug) โปรแกรมได้ง่ายขึ้น

Java มรีะบบความปลอดภัยท่ีดี เชน่ โปรแกรม Java ท่ีทำางานบนเวบ็บราวเซอร ์(Web Browser) ท่ีเรยีกวา่ Java Applet นัน้จะทำางานเฉพาะบนเครื่องแมข่า่ย (Server) โดยไม่สามารถเขา้ถึงเครื่องลกูขา่ย (Client) ไปทำาลายไฟล์ หรอืไฟล์ระบบ (System file) ได้ ทำาใหม้รีะบบความปลอดภัยที่ดี ป้องกันขอ้มูลจากไวรสั และโปรแกรมที่เขยีนด้วย Java ไมม่พีฤติกรรมเป็นไวรสั ได้

Page 4: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

3. เครื่องมอืท่ีใชใ้นการพฒันาโปรแกรมเครื่องคอมพวิเตอรท์ี่ใชใ้นการเขยีนโปรแกรมด้วยภาษา Java

จะต้องมโีปรแกรมที่รวมคำาสัง่ต่างๆใหส้ามารถคอมไฟล์และรนัโปรแกรมได้ที่เรยีกวา่ Java Virtual Machine ซึ่งเป็นเครื่องมอืที่ชว่ยในการเขยีนและพฒันาโปรแกรม Java Virtual Machine จะอยูใ่นโปรแกรมชุดพฒันาจาวาท่ีเรยีกวา่ JDK (Java Development Kit) เป็นลิขสทิธิข์องบรษัิท Sun Microsystems ท่ีใชบ้รกิารฟรบีนอินเตอรเ์น็ตซึ่งประกอบด้วยคำาสัง่ต่างๆ และเครื่องมอืที่ใชใ้นการคอมไพล์และรนัโปรแกรมท่ีเขยีนด้วยภาษา Java โดยการดาวน์โหลด (Download) โปรแกรมชุดพฒันาจาวา JDK ได้ท่ีเวบ็ไซต์ www.java.sun.com ซึ่งจะมีโปรแกรม JDK เวอรช์นัใหมต่ลอดเวลาและเลือกระบบปฏิบติัการท่ีต้องการใช้

หลังจากนัน้ได้ทำาการติดตัง้และลงโปรแกรมใหเ้รยีบรอ้ย เครื่องมอืและคำาสัง่ที่ใชใ้นการสรา้งโปรแกรม Java จะถกูเก็บไวใ้นโฟลเดอรข์อง Java ท่ีชื่อ bin เชน่ C:\java\bin เป็นต้น ประกอบด้วยคำาสัง่ท่ีสำาคัญดังน้ี

ไฟล์ คำาอธบิายjavac.exe

คอมไพล์เลอร ์(Compiler) ของ Java เป็นคำาสัง่ท่ีใช้คอมไฟล์ ตรวจสอบไวยากรณ์ของโปรแกรมโดยการแปลงไฟล์ซอรส์โค้ดใหเ้ป็นไฟล์ไบต์โค้ดท่ีเป็นคลาสของโปรแกรม

java.exe อินเตอรพ์รเีตอร ์(Interpreter) ของ Java เป็นคำาสัง่ที่ใชใ้นการรนัไฟล์ไบต์โค้ดท่ีคอมไพล์แล้วใหท้ำางานตามคำาสัง่ของโปรแกรม

appletviewer.ex

Applet Viewer เป็นคำาสัง่ท่ีใชท้ดสอบและรนัโปรแกรมแอปเพล็ต

Page 5: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

ejavadoc.exe

ผลิตเอกสารของคำาสัง่ API ใชส้รา้งเอกสารของ Java API ในรูปแบบของ HTML จาก ซอรส์โค้ดของ Java

javap.exe

การแยกและถอดไฟล์ของ Java และพมิพอ์อกมาเป็นตัวแทนของไบต์โค้ด (Bytecode)

jdb.exe ดีบกัเกอร(์Debugger) ของ Java ใชใ้นการตรวจสอบขอ้ผิดพลาดในโปรแกรมพรอ้มรายงานขอ้ผิดพลาดท่ีเกิดขึ้น

4. ขัน้ตอนการเขยีนโปรแกรม ด้วย Javaการเขยีนโปรแกรมด้วยภาษา Java ประกอบด้วยขัน้ตอนการ

ทำางานทัง้หมด 3 ขัน้ตอน ดังน้ีขัน้ตอนท่ี 1 สรา้งโปรแกรมซอรส์โค้ด โดยการพมิพค์ำาสัง่

ต่างๆ ตามหลักการเขยีนโปรแกรมด้วยภาษา Java โดยใชเ้อดิเตอร ์(Editor) หรอืโปรแกรมท่ีสามารถพมิพข์อ้ความ (Text Editor) และสามารถบนัทึกไฟล์เป็นรหสัแอสกี (ASCII) ได้ เชน่ โปรแกรม Notepad หรอื โปรแกรม Editplus เป็นต้น หลังจากเขยีนโปรแกรมเสรจ็เรยีบรอ้ยแล้วต้องทำาการบนัทึกขอ้มูลเป็นไฟล์ที่มชีื่อเดียวกันกับชื่อคลาสของ Java และใชน้ามสกลุไฟล์เป็น java ตัวอยา่งเชน่ TestJava.java

Page 6: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

ขัน้ตอนท่ี 2 คอมไพล์โปรแกรมซอรส์โค้ด โดยการใชค้ำาสัง่ javac.exe ท่ีมากับการติดตัง้ JDK แล้ว มรูีปแบบคำาสัง่คือ javac FileName.java เมื่อ FileName.java คือ ชื่อไฟล์ใดๆ ท่ีมีนามสกลุ java ถ้าไมม่ขีอ้ผิดพลาดใดๆ ผลลัพธท่ี์ได้จากการคอมไพล์จะได้ไฟล์ไบต์โค้ดท่ีชื่อเดียวกับชื่อคลาส ตัวอยา่งเชน่ javac TestJava.java หลังจากการคอมไพล์จะได้ไฟล์ TestJava.class ขอ้สำาคัญในการคอมไพล์ไฟล์ซอรส์โค้ดคือต้องพมิพช์ื่อไฟล์พรอ้มนามสกลุเป็น java เสมอ และต้องพมิพช์ื่อไฟล์ด้วยตัวอักษรตัวใหญ่หรตัืวเล็กใหถ้กูต้องตามการตัง้ชื่อคลาส

ขัน้ตอนท่ี 3 ทำาการรนัโปรแกรม เพื่อดผูลลัพธท์างจอภาพโดยการรนัไฟล์ไบต์โค้ด โดยการใชค้ำาสัง่ javac.exe ท่ีมากับการติดตัง้ JDK แล้วซึ่งมรูีปแบบคำาสัง่คือ java FileName เมื่อ FileName คือ ชื่อไฟล์ใดๆไมต้่องมนีามสกลุ ดังนัน้การรนัโปรแกรมเพยีงแค่พมิพช์ื่อไฟล์ไมต้่องพมิพน์ามสกลุของไฟล์ และต้องพมิพช์ื่อไฟล์ด้วยตัวอักษรตัวใหญ่หรตัืวเล็กใหถ้กูต้องตามชื่อคลาส ตัวอยา่งเชน่ java TestJava เมื่อ TestJava คือชื่อไฟล์ TeatJava.class

ดังนัน้สิง่ท่ีต้องคำานึงก่อนเขยีนโปรแกรมด้วยภาษา Java จะต้องทำาขัน้ตอนดังน้ี

1. ต้องตรวจสอบวา่ในเครื่องคอมพวิเตอรม์ ีJDK (Java Development Kit) และโปรแกรมท่ีใชเ้ขยีนซอรส์โค้ด (SourceCode) เชน่ โปรแกรม Notepad, โปรแกรม Editplus หรอืไม ่ถ้าไมม่โีปรแกรมขา้งต้น ต้องทำาการติดตัง้และลงโปรแกรมดังกล่าวใหเ้รยีบรอ้ยก่อน

Page 7: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

2. ตรวจสอบโฟลเดอรแ์ละไฟล์ของ JDK ท่ีใชใ้นการคอมไพล์ (compile) คือ javac.exe และรนัโปรแกรม (run) คือ java.exe ตัวอยา่ง โฟลเดอรข์องไฟล์ java เชน่ C:\j2sdk1.4.1_03\bin

3. ทำาการติดตัง้และแก้ไขโปรแกรม (Config) เครื่องมอืในการเขยีนโปรแกรม ด้วยโปรแกรม Editplus ได้ดังน้ี

ไปทีเมนู Tools เลือก Preferences หรอืไปทีเมนู Tools เลือก Configure User Tools…

ไปที่เมนู Tools เลือก User Tool Groupsไปที่ View เลือก Toolbars/Views เลือก User

Toolbar

4. สรา้งโฟลเดอร ์เพื่อบนัทึกไฟล์ซอรส์โค้ด เชน่ D:\work

5. เลือก Directory ในโปรแกรม Editplus ใหถ้กูต้องเพื่อใชอ้้างอิงในการรนัโปรแกรม

6. ทดสอบโปรแกรม Java โดย ไปท่ีเมนู File -> New -> Java

6.1 ตัง้ชื่อ Class เชน่ TestJava6.2 บนัทึกไฟล์ชื่อเดียวกับชื่อ Class เชน่

TestJava.java6.3 เลือก Tools->Compile6.4 เลือก Tools->Run

Page 8: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

5. ตัวอยา่งการเขยีนโปรแกรมด้วย Javaตัวอยา่งแรกของการเขยีนโปรแกรมด้วย Java จะเป็น

ตัวอยา่งท่ีเขยีนด้วยคำาสัง่ง่ายๆ คือ โปรแกรมท่ีแสดงขอ้ความ “Hello World!” ออกทางจอภาพ ดังตัวอยา่งไฟล์ TestJava.javaclass TestJava {

public static void main(String[] args) {

System.out.println("Hello World!");}

}ไฟล์ TestJava.java มหีลักการเขยีนโปรแกรม ดังคำา

อธบิายต่อไปน้ี 1. โปรแกรมทัง้หมดจะเขยีนอยูภ่ายในคลาส (Class) ท่ีชื่อ

TestJava เพยีงคลาสเดียว2. ภายในคลาสจะประกอบด้วยฟงัก์ชนั(Method) ท่ีชื่อ

main ซึ่งทำาหน้าที่เป็นฟงัก์ชนัหลักในการสัง่ในโปรแกรมทำางาน 3. ภายในฟงัก์ชนั main จะประกอบด้วยคำาสัง่ต่างๆ ท่ี

ต้องการเขยีนโปรแกรมด้วย Java เชน่ System.out.println("Hello World!");

6. การแสดงผลทางจอภาพคำาสัง่ที่ใชใ้นการแสดงผลขอ้มูลออกทางจอภาพ ได้แก่

1. คำาสัง่ System.out.print() คือคำาสัง่ในการแสดงขอ้ความทางจอภาพในบรรทัดที่เคอ

เซอรอ์ยูโ่ดยไมม่กีารขึ้นบรรทัดใหม ่มรีูปแบบการใชง้าน ดังน้ีรูปแบบคำาสัง่

System.out.print(String text);System.out.print(int x);System.out.print(char ch);

Page 9: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

เมื่อ text คือขอ้ความที่ต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมายคำาพูด (“ … ”)

x คือตัวเลขที่ต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมายคำาพูด (“ … ”)

ch คือตัวอักขระท่ีต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมาย ‘ และ ’ตัวอยา่งเชน่

System.out.print("Hello World!");System.out.print(2500);System.out.print(‘A’);

ผลลัพธท์างจอภาพHello World!2500A

2. คำาสัง่ System.out.println() คือคำาสัง่ในการแสดงขอ้ความทางจอภาพแล้วขึ้น

บรรทัดใหม ่มรูีปแบบการใชง้าน ดังนี้รูปแบบคำาสัง่

System.out.println();System.out.println(String text);System.out.println(int x);System.out.println(char ch);

เมื่อ text คือขอ้ความที่ต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมายคำาพูด (“ … ”)

x คือตัวเลขที่ต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมายคำาพูด (“ … ”)

ch คือตัวอักขระท่ีต้องการแสดงผลทางจอภาพอยูใ่นเครื่องหมาย ‘ และ ’ตัวอยา่งเชน่

System.out.println("Hello World!");System.out.println();System.out.println(2500);

Page 10: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

System.out.println(‘A’);ผลลัพธท์างจอภาพ

Hello World!

2500A

กรณีต้องการแสดงขอ้ความพรอ้มกันในคำาสัง่ System.out.println() ในครัง้เดียว ใหใ้ชเ้ครื่องหมาย + ในการเชื่อมขอ้มูล

ตัวอยา่งเชน่

System.out.println("Hello World!"+2500+ ‘A’);

System.out.println("Hello World!\n"+2500+ ‘A’);ผลลัพธท์างจอภาพ

Hello World!2500AHello World!2500A

7. การรบัค่าจากแป้นพมิพ์

7.1 การรบัค่าจากแป้นพมิพเ์ป็นจำานวนเต็มบรรทัดที่

คำาอธบิาย

123

import java.io.*;class InputNumber { public static void main(String[] args) {

Page 11: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

456789101112

BufferedReader br = new BufferedReader(new InputStreamReader(System.in)); int num; try{

System.out.print("Input a Number::");num =

Integer.parseInt(br.readLine());System.out.println("Show input =

"+num); }catch(IOException e){ System.err.println(e); } }}

7.2 การรบัค่าจากแป้นพมิพ์เป็นจำานวนทศนิยมบรรทัดที่

คำาอธบิาย

5678910

float num; try{

System.out.print("Input a Number::");num =

Float.parseFloat(br.readLine());System.out.println("Show input =

"+num); }catch(IOException e){ System.err.println(e); }

7.3 การรบัค่าจากแป้นพมิพ์เป็นขอ้ความ String

บรรทัดที่

คำาอธบิาย

5678

String str; try{

System.out.print("Input a String::");str = br.readLine();

Page 12: หน่วยที่ 1 เรื่อง การเขียน ...€¦ · Web view1. ภาษา Java Java เป นภาษาโปรแกรมท ใช ในการเข

910

System.out.println("Show input = "+str); }catch(IOException e){ System.err.println(e); }

7.4 การรบัค่าจากแป้นพมิพ์เป็นอักขระ 1 ตัวบรรทัดที่

คำาอธบิาย

56789101112

String str; char ch; try{

System.out.print("Input a Character::");

str = br.readLine(); ch = str.charAt(0);

System.out.println("Show input = "+ch); }catch(IOException e){ System.err.println(e); }