37
ความรูเรื่องโรคหนอนพยาธิ โรคหนอนพยาธิเปนโรคติดตอเรื้อรังซึ่งปญหาสาธารณสุขที่สําคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะ อยางยิ่งในกลุมเด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ชนบทหางไกลและถิ่นทุรกันดาร ซึ่งเปนปญหาตอ สุขภาพในวัยที่กําลังเจริญเติบโตทั้งทางรางกายและสติปญญา สาเหตุสวนใหญเปนเพราะการกินอยูไม ถูกสุขลักษณะ สุขาภิบาลสิ่งแวดลอมไมดี ไมถายอุจจาระลงในสวม ไมสวมรองเทาเมื่อเดินบนพื้นดิน มือสกปรก กินอาหารไมสะอาด ปรุงไมสุก กินเนื้อสัตวสุกๆ ดิบๆ สงผลใหมีการแพรกระจายของโรค พยาธิ หากเปนมากจนเรื้อรังมีโอกาสเปนมะเร็งและตายได อยางไรก็ดี กระบวนการสุขศึกษาที่มี ประสิทธิภาพ ใหประชาชนเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับโรคหนอนพยาธิ มีทักษะที่จะปองกันไมใหเปนโรค หนอนพยาธิ มีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง สงผลใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีแบบยั่งยืนอันเปนที่พึ่ง ของตนเองและของชุมชนไดอนาคต โรคหนอนพยาธิที่ยังคงเปนปญหาในการกอโรค และตรวจพบไดบอยๆ ที่ควรรูจัก ตามกลุชนิดของพยาธิ คือ 1. กลุมพยาธิตัวกลม ไดแก พยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยดิส พยาธิไสเดือน พยาธิแสมา และ พยาธิเข็มหมุด 2. กลุมพยาธิตัวแบน ไดแก พยาธิใบไมตับ พยาธิใบไมลําไส พยาธิตืดหมู และ พยาธิตืดวัว วิธีการที่หนอนพยาธิเขาสูคน มี 3 ทาง ดังนี1. ทางการกินโดยปนเปอนกับอาหาร ผัก เชน พยาธิไสเดือน พยาธิแสมา พยาธิใบไมตับ พยาธิตืด 2. ทางผิวหนัง โดยการไชเทา เชน พยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยดิส พยาธิตัวจี๊ด 3. ทางหายใจหรือกินไขพยาธิเขาไปหรืออาจทางเพศสัมพันธ ไดแก พยาธิเข็มหมุด

ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

ความรูเร่ืองโรคหนอนพยาธิ

โรคหนอนพยาธิเปนโรคติดตอเร้ือรังซ่ึงปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมเด็กนกัเรียนและเยาวชนในพ้ืนท่ีชนบทหางไกลและถ่ินทุรกันดาร ซ่ึงเปนปญหาตอสุขภาพในวัยท่ีกําลังเจริญเติบโตท้ังทางรางกายและสติปญญา สาเหตุสวนใหญเปนเพราะการกินอยูไมถูกสุขลักษณะ สุขาภิบาลส่ิงแวดลอมไมดี ไมถายอุจจาระลงในสวม ไมสวมรองเทาเม่ือเดินบนพืน้ดิน มือสกปรก กนิอาหารไมสะอาด ปรุงไมสุก กินเนื้อสัตวสุกๆ ดิบๆ สงผลใหมีการแพรกระจายของโรคพยาธิ หากเปนมากจนเร้ือรังมีโอกาสเปนมะเร็งและตายได อยางไรก็ด ีกระบวนการสุขศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ใหประชาชนเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับโรคหนอนพยาธิ มีทักษะท่ีจะปองกันไมใหเปนโรคหนอนพยาธิ มีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตอง สงผลใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดแีบบยั่งยืนอันเปนท่ีพึ่งของตนเองและของชุมชนไดอนาคต โรคหนอนพยาธิท่ียังคงเปนปญหาในการกอโรค และตรวจพบไดบอยๆ ท่ีควรรูจัก ตามกลุมชนิดของพยาธิ คือ 1. กลุมพยาธิตัวกลม ไดแก พยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยดิส พยาธิไสเดือน พยาธิแสมา และ พยาธิเข็มหมุด 2. กลุมพยาธิตัวแบน ไดแก พยาธิใบไมตับ พยาธิใบไมลําไส พยาธิตืดหมู และ พยาธิตืดวัว

วิธีการท่ีหนอนพยาธิเขาสูคน มี 3 ทาง ดังนี ้1. ทางการกินโดยปนเปอนกับอาหาร ผัก เชน พยาธิไสเดอืน พยาธิแสมา พยาธิใบไมตับ

พยาธิตืด 2. ทางผิวหนัง โดยการไชเทา เชน พยาธิปากขอ พยาธิสตรองจิลอยดิส พยาธิตัวจีด๊ 3. ทางหายใจหรือกินไขพยาธิเขาไปหรืออาจทางเพศสัมพนัธ ไดแก พยาธิเข็มหมุด

Page 2: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิปากขอ เช้ือกอโรค : พยาธิปากขอ (Hook worms)

พยาธิปากขอเปนพยาธิตัวกลมในลําไส มีลักษณะสีครีมปนเทา สวนหัวของพยาธิจะโคงงอขึ้นไป

ดานหลังเล็กนอย ทําใหเห็นมีลักษณะคลายตะขอ (hook) ซึ่งมีแหลงรังโรคอยูในคน ตัวเต็มวัยหรือตัวแกของพยาธิ

ปากขออาศัยอยูในลําไสเล็กของคน พบมากในทุกภาคของประเทศไทย แตการติดโรคสูงในภาคใต ตลอดจนพื้นที่

ทุรกันดาร และชาวเขา โดยเฉพาะในกลุมเด็กนักเรียน

ปจจัยท่ีทําใหติดโรคพยาธิปากขอ : คนที่ติดโรคพยาธิปากขอ โดยการเดินเทาเปลาไปตามพื้นดินที่ช้ืนแฉะ ซึ่งมีตัวออนระยะติดตอ

ของพยาธิปากขออาศัยอยู และจะไชเขาสูผิวหนังของคน ซึ่งในท่ีพื้นดินช้ืนแฉะนั้น จะมีปริมาณอาหารอุดมสมบูรณ ซึ่ง

มักเปนพวกซากเนาเปอยของพืชผัก จะทําใหตัวออนของพยาธิปากขอเจริญ และมีชีวิตอยูไดนาน จึงทําใหเกิดการติด

สูคนไดงาย

Page 3: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิปากขอ

พยาธิตัวออน เมื่อไชเขาผิวหนังแลวจะเขาไปตามกระแสเลือดสูปอด และเจริญเติบโตลอกคราบ

แลวคลานเขาสูหลอดลม เมื่อคนไอตัวออนพยาธิจะขึ้นมาที่หลอดคอ แลวถูกกลืนลงสูกระเพาะอาหาร ตัวออนพยาธิ

เมื่อเขาสูลําไสเล็กเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย พยาธิตัวผูและตัวเมียเมื่อมีการผสมพันธุกันแลว ตัวเมียออกไขปน

ออกมาในอุจจาระ เมื่ออุจจาระตกลงสูพื้นดิน พยาธิจะออกจากไขไปเปนตัวออนระยะติดตออยูตามพื้นดิน

Page 4: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง : ผิวหนังบริเวณที่พยาธิตัวออนไชเขาไป จะมีอาการคันมาก พยาธิตัวออนขณะท่ีอยูในปอดจะทําให

ปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ มีอาการไอ สวนพยาธิตัวเต็มวัยซึ่งอยูในลําไสเล็กจะเกาะและดูดเลือดจากผนังลําไส

ทําใหคนสูญเสียเลือด ออนเพลีย โลหิตจาง ในเด็กจะทําใหการเจริญเติบโตทั้งรางกายและสติปญญาไมดี

พัฒนาการเรียนรูของเด็กชากวาปกติ การตั้งใจเรียนและการเรียนรูต่ํา

การวินิจฉัย :

การตรวจอุจจาระหาไขพยาธิปากขอ โดยใชกลองจุลทรรศน ลักษณะของไขพยาธิปากขอ :

ไขพยาธิปากขอมีรูปรางกลมรี คลายรูปไข เปลือกบางใส

เมื่อตรวจพบในอุจจาระท่ีถายใหมๆ ภายในมีเซลลไขที่แบงตัว 4–6

เซลล

ลักษณะตัวออนระยะติดตอของพยาธิปากขอ :

Page 5: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การรักษา :

ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม

รับประทาน 2 เม็ด หลังอาหารคร้ังเดียว สําหรับผูปวยที่อายุเกิน 2 ป ขอหามใช - หามใชยาในหญิงตั้งครรภ

- หามใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป

การปองกันและควบคุมโรค :

ไมเดินเทาเปลาขณะออกนอกบานหรือบนพืน้ดนิ

(การสวมรองเทาหุมสนจะปองกนัโรคไดดี)

1.

ถายอุจจาระในสวมที่ถูกสุขลักษณะทุกครั้ง 2. มีสุขอนามัยสวนบุคคลท่ีดี ลางมือกอนรับประทานอาหารและหลังจากถายอุจจาระ 3. รับประทานอาหารและด่ืมน้ําที่สุกและสะอาด 4. เผยแพรความรูแกประชาชนในชุมชน เกี่ยวกับการติดตอและอันตราย

จากโรคพยาธิปากขอ

5.

Page 6: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิสตรองจิลอยดิสหรือพยาธิเสนดาย

เช้ือกอโรค : พยาธิสตรองจิลอยดิส (Strongyloides stercoralis)

พบมากในเขตรอน ที่มีฝนตกชุกในแหลงเดียวกับท่ีมีการระบาดของพยาธิปากขอ เปนพยาธิตัว

กลมเพียงชนิดเดียวที่สามารถเจริญเปนพยาธิตัวเต็มวัยไดทั้งในรางกายและนอกรางกาย พยาธิตัวเต็มวัยฝงตัวอยู

ในเย่ือบุผนังลําไสเล็กเปนสวนใหญ โดยมีแหลงรังโรคอยูที่คน สุนัข แมว ลิง ชะนี เปนตน

ปจจัยท่ีทําใหติดพยาธิ : การเดินเทาเปลา ทําใหพยาธิตวัออนที่อยูในพื้นดินไชผิวหนังได และโดยการกินตัวออนระยะติดตอ ซึ่งปนเปอน

มากับอาหารและน้ําดื่มท่ีไมสะอาด

Page 7: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิสตรองจิลอยดิส หรือพยาธิเสนดาย

เมื่อตัวออนพยาธิไชเขาผิวหนังแลวเขาสูกระแสเลือดดําไปยังปอด ลอกคราบแลวคลานสู

หลอดลม เมื่อคนไอตัวออนพยาธิจะขึ้นมายังหลอดคอแลวถกูกลืนลงไปสูลําไสเล็ก เจริญเติบโตเปนตัวแก พยาธิตัว

ผูและตัวเมียผสมพันธุกัน ตัวเมยีออกไขและฟกเปนตัวออนในลาํไส แลวปนออกมากับอุจจาระ เมื่อถึงพื้นดนิพยาธิ

ตัวออนจะเจริญเปนระยะติดตอ พรอมท่ีจะไชเขาผิวหนังตอไป

ถาในพ้ืนดนิมีความช้ืนแฉะและสารอาหารท่ีเหมาะสม พยาธิตัวออนจะเจริญตอจนเปนตัวแกใน

พื้นดิน แลวผสมพันธุออกลูกเปนตัวออน ซึ่งการเจริญเติบโตในดินเปนแบบอิสระไมตองอาศัยอยูในตัวคนหรือสัตว

ผูปวยหลายรายท่ีมีตัวออนระยะติดตอไชผานผิวหนังบริเวณทวารหนักเขาไปในรางกายอีก ทําใหจํานวนพยาธิเพิม่ขึ้น

ทําใหพยาธิตดิเช้ืออยูในรางกายไดเปนเวลาหลายป

Page 8: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

คันตามงามนิ้วเทาหรือบริเวณทีต่ัวออนพยาธิไชเขาไป มีอาการปวดทอง ทองรวง

มีการทําลายเย่ือบุลําไส ซึ่งอาจทําใหเกดิลําไสอักเสบรุนแรง และการดดูซึมอาหารของลําไสไมดี จึงมีอาการขาด

สารอาหาร

การวนิิจฉัย :

ตรวจหาตัวออนในอุจจาระทางหองปฏิบัติการ

ลักษณะของตัวออนระยะติดตอของสตรองจิลอยดิส หรือพยาธิเสนดาย:

การรักษา :

ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม

ใหรับประทานยา 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น ติดตอกนั 3 วัน พัก 1 สัปดาห จากนั้นใหยาขนาดเดียวกันซ้ําอีก

ครั้ง, จํานวนยาที่ตองรับประทานทั้งส้ิน 24 เม็ด

การปองกันและควบคุมโรค :

ไมเดินเทาเปลาบนพ้ืนดินที่ช้ืนแฉะ หรือเมื่อออกนอกบาน 1. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลักษณะ 2. ใหความรูเกี่ยวกับโรคพยาธิเสนดายหรือสตรองจิลอยดิส เพื่อปองกันการติดโรค 3. ผูปวยที่เปนโรคพยาธิตองรักษาใหหายขาด ดวยการรับประทานยาใหครบตามจํานวนที่

กําหนดไว

4.

Page 9: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิไสเดือน เช้ือกอโรค : พยาธิไสเดือน (Ascaris lumbricoides)

เปนพยาธิตัวกลมในลําไสที่มีขนาดใหญที่สุด พยาธิตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไสเล็กของคน รูปรางทรงกระบอก

ยาว ตัวและหางเรียวเล็ก มีแหลงรังโรคอยูในคน พบมากในเขตรอนและอบอุน ที่มีความช้ืนสูง หรือในแหลงชุมชน

แออัด โดยเฉพาะในพืน้ทีถ่ิ่นทุรกนัดาร และกลุมชาวเขา

ปจจัยท่ีทําใหติดพยาธิไสเดือน :

จากการกนิผักสดที่ไมไดลางใหสะอาด หรือดื่มน้ําที่มีการปนเปอนของไขพยาธไิสเดือนระยะตดิตอเขาไป หรือใน

เด็กเลก็ๆ อาจติดโดยการเลนดนิรอบๆ บาน ที่มีการปนเปอนของไขพยาธิไสเดือนระยะติดตอ ซึ่งการติดตอโรค

พยาธิไสเดือนพบไดทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะในเด็กจะติดโรคนีม้ากกวาผูใหญ เนื่องจากอนามัยสวนบุคคลท่ีไม

ถูกตอง เชน การไมลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหารและหลังเขาหองสวม รวมถึงภูมิคุมกันตอโรคที่ต่ํา

กวาในผูใหญ

Page 10: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิไสเดือน

ตัวเต็มวัยหรือตัวแกอาศัยอยูในลําไสเล็ก ตัวเมียและตัวผูผสมพันธกันแลวตัวเมียออกไขปน

ออกมากับอุจจาระ เมื่อคนกินไขพยาธิโดยปนเปอนไปกับอาหารและนํ้าดื่ม ไขพยาธิลงสูกระเพาะอาหาร ตัวออนฟก

ออกจากไขแลวไชผานผนังลําไสไปยังตับ แลวไปตามกระแสเลือดสูปอด แลวเดินทางมายังหลอดลม เมื่อคนไอตัว

ออนพยาธิจะขึ้นมายังหลอดคอแลวถูกกลืนลงสูกระเพาะอาหารไปเจริญเติบโตเปนพยาธิตัวแกอยูในลําไสเล็ก

Page 11: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

• ทําใหหงุดหงิด ออนเพลีย ปวดทอง คล่ืนไส ในเด็กพยาธิอาจออกมาพรอมกับอาเจียนทางปาก

บางครั้งอาจออกมาทางจมูกดวย พยาธิตัวแกในลําไสจะแยงอาหาร ทําใหเกิดภาวะทุพ

โภชนาการ ถาตัวแกเขาไปในทอลําไส หรือทอตับออน อาจทําใหปวดทองอยางรุนแรง

• อาการอ่ืนๆ เชน อาการไอ ในระหวางท่ีพยาธิเคลื่อนที่ไปที่ปอด

การวินิจฉัย :

โดยการตรวจอุจจาระหาไขพยาธิไสเดือน โดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะของไขพยาธิไสเดือน ท่ีตรวจพบในอุจจาระมี 3 ชนิด

1. ไขท่ีผสมพันธุแลว (Fertilized egg) เปนไขที่พบทั่วไปในอุจจาระ รูปรางเปนรูปไข

คอนขางกลม เปลือกไขช้ันนอกหนา ขรุขระ มีสี

น้ําตาลทอง เปลือกไขช้ันกลางเรียบหนาและไมมีสี

เปลือกไขช้ันในสุดบางเรียบ ภายในไขเปนเซลลไข

(Yolk cell)

2. ไขท่ีไมไดผสมพันธุ (Unfertilized egg) รูปรางยาวกวาไขที่ผสมพันธแลว รูปรางไมคงท่ี มี

เปลือกเพียง 2 ช้ัน เปลือกช้ันนอกบางและขรุขระ

มีสีเหลืองทอง เปลือกช้ันในบาง ภายในไขมี

แกรนูลลที่เปนสารเลซิธิน (Lecithin granules)

ขนาดใหญ-เล็กปนกัน

ไขท่ีเปลือกช้ันนอกหลุด (Decorticated egg) เปนไขชนิดที่ผสมพันธุแลว และที่ยังไมไดผสม

พันธุ ที่สูญเสียเปลือกช้ันนอกที่ขรุขระไป ทําให

เห็นเปลือกไขหนาเรียบใส ไมมีสี มีขอบหนา

มองเห็น 2 ช้ันชัดเจน

3.

Page 12: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การรักษา : ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม

ใหรับประทานยา 2 เม็ด หลังอาหารคร้ังเดียว สําหรับผูปวยที่อายุเกิน 2 ป ขอหามใช - หามใชยาในหญิงตั้งครรภ

- หามใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป

การปองกันและควบคุมโรค :

1. ลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหารและหลังเขาหองสวม

2. รับประทานอาหารและด่ืมน้ําที่สะอาด โดยเฉพาะผักสดตองลางน้ําทําความสะอาดกอนนําไป

รับประทาน

3. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลกัษณะ

4. ปรับปรุงระบบสุขาภิบาลและการสาธารณูปโภค เชน แหลงน้ําท้ิง ขยะมูลฝอย เปนตน

5. อุจจาระสดท่ีนํามาทําปุยตองผานขั้นตอนที่สามารถฆาตัวออนในไขพยาธ ิ

กอนนํามาใช เชน ตากแหงในแสงแดดนานกวา 25 วัน

Page 13: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิแสมา เช้ือกอโรค : พยาธิแสมา (Trichuris trichiura)

เปนพยาธิแสมาตัวเต็มวัยมีลําตัวแบงเปน 2 สวนชัดเจน สวนหนาเรียวเล็กยาวคลายปลายแส

สวนทายมีขนาดใหญกวามีลักษณะคลายดามแส พบในเขตรอนและอบอุน ปจจุบันพบไดทุกภาคของประเทศไทย แต

พบการติดโรคสูงในภาคใต และถิ่นทุรกันดารหรือกลุมชาวเขา มีแหลงโรคอยูในคน พยาธิตัวเต็มวัยอาศัยอยูบริเวณ

ลําไสใหญตอนปลาย

ปจจัยท่ีทําใหติดพยาธิแสมา :

จากการรับประทานอาหารและดื่มน้ําที่มีการปนเปอนของไขพยาธิแสมาระยะติดตอ โดยเฉพาะ

ผักสดที่ไมไดลางน้ําทําความสะอาดกอนนํามารับประทาน

Page 14: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิแสมา

เมื่อคนกนิไขพยาธิแสมา ลงสูกระเพาะอาหาร พยาธิตัวออนจะออกจากไขเจรญิเติบโต เปนพยาธิตัวเต็มวัยฝง

หัวอยูในลําไสใหญสวนตน พยาธิตัวผูและตัวเมียผสมพันธุกัน ตัวเมียจะออกไขปนออกมากับอุจจาระ เมื่อ

อุจจาระท่ีมีไขพยาธิลงสูพื้นดนิ กลายเปนตัวออนระยะติดตอเจริญอยูในไขและปนเปอนเขามาในอาหารและน้ําดื่ม

ได

Page 15: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

ถามีพยาธิจํานวนนอยมักไมมีอาการหรืออาจมีอาการปวดทอง ถามีพยาธิเปนจํานวนมาก ทําให

เกิดอาการทองรวงอยางเรื้อรัง ปวดเบงและมีเลือดออกมาในอุจจาระ ผูใหญน้ําหนักลดลง เด็กไมเจริญเติบโตหรือมี

อาการของลําไสกลืนกัน ในบางกรณีเปนรุนแรงมาก จะมีลําไสสวนปลายปลิ้นออกมา ดังแสดงในภาพขางลางนี้

การวินิจฉัย :

โดยการตรวจอุจจาระหาไขพยาธิโดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะไขพยาธิแสมา :

ไขของพยาธิแสมามีรูปรางคลายถังเบียร

มีจุกหรือปล๊ักอยูที่ขั้วไขทั้ง 2 ปลาย เปลือกม ี2 ช้ัน

ช้ันนอกเรียบหนา สีน้ําตาลหรือน้ําตาลปนดํา

Page 16: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การรักษา :

ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม

ใหรับประทานยา 2 เม็ด หลังอาหารคร้ังเดียว สําหรับผูปวยที่อายุเกิน 2 ป

ขอหามใช - หามใชยาในหญิงตั้งครรภ

- หามใชในเด็กอายุต่ํากวา 2 ป

การปองกันและควบคุมโรค :

1. ลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหาร

2. รับประทานอาหารและด่ืมน้ําที่สะอาด โดยเฉพาะผักสดตองลางน้ําทําความสะอาดกอน

นํามารับประทาน

3. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลกัษณะ

4. ปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค เชน แหลงน้ําทิ้ง ขยะมูลฝอย

5. ถาใชอุจจาระสดทําปุย ตองผานขั้นตอนการฆาตวัออนในไขพยาธิเสียกอน

Page 17: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิเข็มหมุด

เช้ือกอโรค : พยาธิเข็มหมุด (Enterobius vermicularis)

พยาธิเข็มหมุดตัวเต็มวัยหรือตัวแกมีรูปรางคลายกระสวยเรียวยาวคอนขางใส เมื่อมองดวยตา

เปลาคลายเสนดายส้ันๆ สวนหัวตอนปลายมีการแผย่ืนของสวนผิวหนังที่ตายแลว (cuticle) ออกมาทางดานหนาและ

ดานหลัง มีลักษณะเปนครีบบางๆ คลายใบมีดดานละ 1 ครีบ ทําใหมองดูคลายหัวเข็มหมุด ตัวเต็มวัยอาศัยอยู

บริเวณกระพุงลําไสใหญสวนตน จนถึงลําไสใหญสวนปลาย (rectum) สวนมากจะพบวาอัตราการเปนโรคในเด็กสูง

กวาผูใหญ

ปจจัยท่ีทําใหติดพยาธิเข็มหมุด : พยาธิเข็มหมุดติดตอเขาสูคนโดยการกินไขระยะติดตอเขาไป โดยเฉพาะในเด็กเล็กๆ เมื่อเกิด

อาการคันรอบทวารหนักเด็กก็จะใชมือเกาบริเวณทวารหนักทําใหไขติดอยูในนิ้วมือและเล็บ และเมื่อเด็กเอามือเขา

ปากหรืออมนิ้วจึงไดรับไขพยาธิระยะติดตอเขาไป พยาธิเข็มหมุดนี้ติดกันงาย จากการใชเส้ือผารวมกัน ถึงแมวาเปน

แคเพียงคนเดียวก็ตองใหการรักษาทั้งครอบครัว พบบอยในสถานท่ีคนอยูรวมกันเปนกลุม เชน โรงเรียน สถานเลี้ยง

เด็กกําพรา เปนตน

Page 18: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิเข็มหมุด

พยาธิตัวเต็มวัย หรือตัวแกอยูในลําไสใหญและทวารหนัก ตัวผูและตัวเมียผสมพันธุกัน พยาธิตัว

เมียจะคลานออกมาวางไขที่ผิวหนังรอบทวารหนักในตอนกลางคืน แลวคลานกลับเขาไป ไขจะติดไปตามนิ้วมือและ

เล็บจากการเกาบริเวณทวารหนักในระหวางนอนหลับ อาจพบไขติดอยูตามเส้ือผาหรือผาปูที่นอน แลวติดมาสูมือคน

เมื่อไขถูกกินเขาไปจะเจริญเติบโตเปนพยาธิตัวแกในลําไสใหญ

Page 19: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

มีอาการคันกนบริเวณใกลทวารหนัก ทําใหเด็กนอนไมหลับ บางคนเกาจนผิวหนังบริเวณกนเปน

แผล หงุดหงิด เบ่ืออาหาร

การวนิิจฉัย : ใชเทปใสแตะที่ทวารหนัก เมื่อตื่นนอนตอนเชา แลวนําไปแปะลงบนแผนกระจกสไลด ตรวจดูดวย

กลองจุลทรรศนจึงจะพบไขพยาธิ

ลักษณะของไขพยาธิเข็มหมุด :

ดานหนึ่งโคง อีกดานหนึ่งเรียบ ดูคลายตัวอักษรตัว “D” เปลือกไขเรียบใสไมมีสีและหนา ภายใน

มีตัวออน และเปนไขพยาธิระยะติดตอ

Page 20: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การรักษา :

ใชยาอัลเบนดาโซล (Albendazole) ขนาดยา 400 มิลลิกรัม

ใหรับประทานยา 2 เม็ด หลังอาหารคร้ังเดียวในผูปวยอายุเกิน 2 ป

การปองกันและควบคุมโรคพยาธิเข็มหมุด :

1. ลางมือใหสะอาดหลังเขาสวมและกอนรับประทานอาหารทุกครัง้

2. ตัดเล็บใหสัน้อยูเสมอ

3. สวมเส้ือผาที่สะอาดและใชผาปูนอน ที่นอน หมอน ผาหม นําออกผ่ึงแดดอยูเสมอ

4. ทําความสะอาดภายในบานทุกวัน

Page 21: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิใบไมตับ เช้ือกอโรค : พยาธิใบไมตับ (Opisthorchis viverrini)

พยาธิตัวเต็มวัยรูปรางคลายใบไมแบนยาว สวนทายปานกวาสวนหนา ขณะมีชีวิตมีสีเนื้อบางใส พบอยูในทางเดินน้ําดี และทอน้ําดีของตับในคน พบไดทุกภาคของประเทศแตพบสูงที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) และภาคเหนือ

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรค :

คนติดโรคจากการกินปลาน้ําจืดชนิดมีเกล็ดขาว ตระกูลปลาตะเพียนและท่ีคลายกัน เชน ปลาแมสะแดง ปลาขาวนา เปนตน ที่มีถุงซีสตตัวออนระยะติดตอของพยาธิ (Metacercaria) อยูในเนื้อปลา โดยไมปรุงใหสุกเสียกอน เชน กอยปลา ลาบปลาดิบ สมปลา ปลาราดิบหรือหมักไมถึง 6 เดือน

เปนตน

Page 22: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิใบไมตับ

คนกนิตัวออนเมตาเซอรคาเรียของพยาธิที่อยูในเนื้อปลา เมื่อลงสูกระเพาะอาหาร ตัวออนจะออกจากซีสต เคลื่อนตัวเขาสูทอน้ําดี ไปเจริญเปนตัวพยาธิตัวเต็มวัยในทอน้ําดีที่อยูในตับ พยาธิชนิดนี้มีอวัยวะเพศผูและเพศเมียอยูในตัวเดียวกัน เมื่อพยาธิออกไข ไขจะปนออกมากับน้ําดี ลงสูลําไสเล็กและปนออกมากับอุจจาระ ไขเมื่อลงสูแหลงน้ําจะถูกกินโดยบิไทเนียหรือหอยไซ ซึ่งเปนพาหะกึ่งกลางตัวที่หนึ่ง ตัวออนของพยาธิจะเจริญเปนระยะเซอรคาเรียในหอย แลวออกจากหอยวายน้ําไปหาปลา ซึ่งเปนพาหะกึ่งกลางของพยาธิตัวที่สอง จากนั้นไชเขาปลาผานทางใตเกล็ดไปอยูในเนื้อปลา เจริญตอไปเปนตัวออนระยะติดตอเมตาเซอรคาเรีย

Page 23: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

- เบ่ืออาหาร ทองอืด ทองเฟอ อาหารไมยอย ปวดทอง - พยาธิตัวเต็มวัยจะระคายเคืองผนังทอน้ําดี ทําใหทอน้ําดีอักเสบ และเกิดการอุดตันของทอ

น้ําดี จึงทําใหเกิดอาการดีซาน คือ ตัวเหลือง ตาเหลือง มีอาการไข และเจ็บใตชายโครงขวาบริเวณตับ

- ถาติดโรคพยาธิใบไมตับนานๆ จะเกิดอาการตับโต ทองมาน และบวมตามขา - มีโอกาสเปนมะเร็งทอน้ําดีของตับ และเสียชีวิตได

การวนิิจฉัย :

โดยการตรวจหาไขพยาธิใบไมตับในอุจจาระ โดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะของไขพยาธิใบไมตับ :

รูปรางรี สีน้ําตาลปนเหลือง เมื่อหลุดออกปนมากับอุจจาระใหมๆ มีตัวออนเจริญเต็มท่ีอยูภายใน มีฝาปด มีไหลและติ่งอยูดานตรงขามฝา

ลักษณะของตัวออนของพยาธิใบไมตับ :

เซอรคาเรีย ในหอย

เมตาเซอรคาเรยี ในปลานํ้าจืด

พาหะก่ึงกลางของพยาธิใบไมตับ :

หอยบิไทเนีย หรือหอยไซไซ ปลานํ้าจืดเกล็ดขาว

Page 24: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การรักษา :

ใชยาปราซิควอนเทล (Praziquantel)

ขนาดยา 40 มิลลกิรัม ตอน้าํหนักตัว 1 กิโลกรัม

รับประทานครั้งเดียว หลังอาหารเย็นหรือกอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค

1. รับประทานอาหารท่ีทําจากปลาน้ําจืดชนิดมีเกล็ด โดยปรุงใหสุกดีดวยความรอน 2. ถายอุจจาระในสวมที่ถูกสุขลักษณะ 3. ไมควรใหเศษอาหารดิบแกสุนัข และแมว ซึ่งเปนสัตวรังโรค 4. รบัการตรวจอุจจาระและทําการรักษาผูที่เปนโรคพยาธิใบไมตับทุกคนอยางนอย ปละครั้ง

Page 25: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิใบไมลําไส เช้ือกอโรค : พยาธิใบไมลําไส (Intestinal fluke)

ตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไสเล็กหรือลําไสใหญ พยาธิใบไมลําไสมีหลายฃนิด โดยแบงตามขนาดของตัวเต็มวัย คือ

- พยาธิใบไมลําไสขนาดใหญ - พยาธิใบไมลําไสขนาดกลาง - พยาธิใบไมลําไสเล็ก

พยาธิใบไมลําไสที่มีความสําคัญและตรวจพบไดบอยๆ คือ 1. Fasciolopsis buski เปนพยาธิใบไมลําไสขนาดใหญ 2. Echinostoma spp. เปนพยาธิใบไมลําไสขนาดกลาง 3. Heterophyes spp. เปนพยาธิใบไมลําไสขนาดเลก็

ตัวเต็มวัย

ลักษณะไข

พยาธิใบไมลําไสขนาดใหญใหญ พยาธิใบไมลําไสขนาดกลาง พยาธิใบไมลําไสขนาดเล็ก

Page 26: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิใบไมลําไสขนาดใหญ : Fasciolopsis buski

ตัวเต็มวัยเกาะอยูที่ผนังลําไสเล็กสวนตน

และสวนกลาง ลักษณะลําตัวแบน เมื่อยังมีชีวิตอยูจะมีสีคลายเนื้อสด

พบในลําไสของคนและหนู

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรค :

กินตัวออนระยะติดตอเมตาเซอรคาเรีย (Metacercaria) ที่เกาะอยูทีผิ่วของพืชน้ํา เชน กระจับ แหว ผักบุง สายบัว

วัฏจักรชีวิต :

ไขออกมากับอุจจาระลงนํ้า

หอยนํ้าจืดกินตัวออนเซอรคาเรีย

ตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) เกาะอยุบนผิวหรือเปลือกของพืชนํ้า เชน กระจับ แหว

ตัวออนเซอรคาเรียวายอยูในนํ้า

คนกินพืชนํ้าที่มี ตัวออนระยะติดตอ

ตัวเต็มวัยอาศยัอยูในลําไสเล็กของคน

เมื่อคน หมู หรือสุนัข ที่เปนโฮสทจําเพาะกินตัวออนเมตาเซอรคาเรียของพยาธิเขาไป พยาธิจะไปเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยอยูในลําไสเล็กสวนตน พยาธิออกไขปนมากับอุจจาระ เมื่อลงสูแหลงน้ําจืด ตัวออนออกจากไขไปเขาสูหอยน้ําจืดคลายหอยทาก แลวเจริญพันธุแบงตัวมากมาย แลวออกจากหอยไปเปนตัวออนระยะติดตอ เกาะติดอยูกับพืชน้ํา เชน กระจับ แหว เปนตน

Page 27: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง : พยาธิตัวเต็มวัย อาจทําใหเปนแผลที่ผนังลําไส อาการทองรวง สลับกับทองผูก อาเจียน เบ่ือ

อาหาร บางครั้งอาจพบตัวพยาธิในอาเจียนของผูปวย ถามีพยาธมิากอาจเกิดลําไสอุดตัน การวนิิจฉัย :

ตรวจหาไขพยาธิในอุจจาระ โดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะของไข :

รูปยาวรี เปลือกสีเหลืองปนน้ําตาล ปลายขางหนึ่งมีฝาเล็กๆ เห็นไมชัดเจน

การรักษา :

ใชยาปราซิควอนเทลขนาดยา 15 มิลลิกรัม ตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม รับประทานครั้งเดียวกอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค : 1. ไมรับประทานพชืน้ํา เชน กระจับ แหว หรือผักสด ดิบๆ 2. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลกัษณะ 3. ใหการศกึษาเรื่องวงจรชีวิต และการติดตอของพยาธิชนิดนี้แกประชาชน 4. ใหยาฆาพยาธิแกผูที่เปนโรคเพือ่ตัดวงจร แพรโรค

Page 28: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิใบไมลําไสขนาดกลาง : Echinostoma spp.

ตัวเต็มวัยอาศัยอยูที่ผนังลําไสเล็กของสัตวปก

เชน เปด หาน และสัตวเลี้ยงลกูดวยนม เชน คน หน ูสุนัข แมว

ลักษณะลําตัวแบน สวนหัวเปนรูปเกือกมามหีนามที่แผงคอ

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรค :

กินหอยน้ําจืด เชนหอยโขง ที่มตีัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) ของพยาธิชนิดนี้อยู โดยไมปรุงใหสุกเสียกอน

วัฏจักรชีวิต :

เมื่อคน หนู หรือสุนัขกินตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) ของพยาธิชนิดนี้ที่อยูในหอยน้ําจืด เชนหอยขม หอยโขง หอยลิมาเนีย เปนตัน พยาธิจะไปเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัยอยูในลําไสเล็กสวนตน พยาธิออกไขปนมากับอุจจาระ เมื่อลงสูแหลงน้ําจืด ตัวออนออกจากไขไปเขาสูหอยน้ําจืดชนิดเล็กคลายหอยทาก เจริญพันธแบงตัวมากมาย แลวออกจากหอยไปเปนตัวออนระยะติดตอ

ไขออกมากับอุจจาระลงนํ้า

หอยนํ้าจืดกินตัวออนเซอรคาเรีย

ตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) อยุในหอยน้ําจืด เชน หอยโขง

ตัวออนเซอรคาเรียวายอยูในนํ้า

คนกินหอยโขงดิบๆ ที่มีตัวออนระยะติดตอ

ตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไสเล็กของคน

Page 29: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง : พยาธิตัวเต็มวัย มีโอกาสทําใหเปนแผลที่ผนังลาํไส อาการทองรวง สลับกับทองผูก อาเจียน

เบ่ืออาหาร บางครั้งอาจพบตัวพยาธิในอาเจียนของผูปวย ถามีพยาธิมากอาจทําใหเกิดลําไสอุดตัน การวนิิจฉัย :

ตรวจหาไขพยาธิในอุจจาระ โดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะของไข :

รูปยาวรี เปลือกสีเหลืองปนน้ําตาล ปลายขางหนึ่งมีฝาเล็กๆ เห็นไมชัดเจน

การรักษา :

ใชยาปราซิควอนเทลขนาดยา 15 มิลลิกรัม ตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม รับประทานครั้งเดียวกอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค : 1. ไมรับประทานหอยน้ําจืด เชน หอยขม หอยโขง ที่ปรุงไมสุก หรอืดิบๆ 2. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลกัษณะ 3. ใหการศกึษาเรื่องวงจรชีวิต และการติดตอของพยาธิชนิดนีแ้กประชาชน 4. กําจัดหอยที่เปนโฮสทตัวกลาง 5. ใหยาฆาพยาธิแกผูที่เปนโรคนี้ เพื่อตัดวงจรแพรโรค

Page 30: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิใบไมลําไสขนาดเล็ก : Heterophyes spp.

ตัวเต็มวัยอาศัยอยูที่ผนังลําไสเล็กของสัตวปก เชน

เปด หาน และสัตวเลี้ยงลูกดวยนม เชน คน หน ู สุนัข แมว

ลักษณะลําตัวแบน สวนหัวเปนรูปเกือกมามหีนามที่แผงคอ

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรค :

กินปลาน้ําจืดที่มีตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) ของพยาธิชนิดนี้ โดยไมไดปรุงใหสุกเสียกอน

วัฏจักรชีวิต :

คน หนู หรือสุนัข กินตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) ของพยาธิที่อยูในปลาน้ําจืดเกล็ดขาวเขาไป พยาธิจะไปเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย อยูในลําไสเล็กสวนตน พยาธิออกไขปนมากับอุจจาระ เมื่อลงสูแหลงน้ําจืด ตัวออนออกจากไขไปเขาสูหอยน้ําจืดแลวเจริญพันธุแบงตัวมากมาย แลวออกจากหอยไชเขาใตเกล็ดปลานํ้าจืดไปเปนตัวออนระยะติดตอ

ตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไสเล็กของคน

หอยนํ้าจืดกินตัวออนเซอรคาเรีย

ตัวออนระยะติดตอ (เมตาเซอรคาเรีย) อยุในปลาน้ําจืดเกล็ดขาว

ตัวออนเซอรคาเรียวายอยูในนํ้า

ไขออกมากับอุจจาระลงนํ้า

คนกินปลานํ้าจืดเกล็ดขาวดิบๆ ที่มีตัวออนระยะติดตอ

Page 31: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง : พยาธิตัวเต็มวัย มีโอกาสทําใหเปนแผลที่ผนังลาํไส อาการทองรวง สลับกับทองผูก อาเจียน

เบ่ืออาหาร บางครั้งอาจพบตัวพยาธิในอาเจียนของผูปวย การวนิิจฉัย :

ตรวจหาไขพยาธิในอุจจาระ โดยใชกลองจุลทรรศน

ลักษณะของไข :

รูปยาวรี เปลือกสีเหลืองปนน้ําตาล ปลายขางหนึ่ง

มีฝาเล็กๆ เห็นไมชัดเจน ซึ่งมีลักษณะและขนาดคลายกับไขพยาธิใบไมตับ

การรักษา :

ใชยาปราซิควอนเทลขนาดยา 15 มิลลิกรัม ตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม รับประทานครั้งเดียวกอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค : 1. ไมรับประทานปลาน้ําจืดเกล็ดขาวที่ปรุงไมสุก หรือดิบๆ 2. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลกัษณะ 3. ใหการศกึษาเรื่องวงจรชีวิต และการติดตอของพยาธิชนิดนีแ้กประชาชน 4. ใหยาถายพยาธแิกผูที่เปนโรคนี ้

Page 32: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิตืดหมู เช้ือกอโรค : พยาธิตืดหม ู(Taenia solium)

เปนพยาธิตัวแบนที่พบไดในภาคกลาง ภาคเหนอื และในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบคนใน

กลุมท่ีชอบกนิอาหารที่ปรุงดวยเนื้อหมูดิบๆ สุกๆ เปนอาหาร

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรค :

เกิดจากการรับประทานเนื้อหม ูที่มีเม็ดสาค ูซึ่งเปนที่อยูของตัวออนพยาธิตัวตดืเขาไปโดยไมปรุงอาหารใหสุกกอน หรือปรุงสุกๆ ดิบๆ เชน ลาบ หมูดิบ พลาหมูดิบ หลู สา หรือรับประทานผักสดท่ีลางไมสะอาด และมีไขพยาธิอยู ทําใหติดโรคพยาธิตืดหมูได ตัวออนระยะติดตอ

(cysticercus cellulosae)

ื ็ ส ใ ื้

Page 33: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิตืดหมู

พยาธิตัวเต็มวัยหรือตัวแกอยูในลําไสเล็กของคน เมื่อปลองแกของพยาธิหลุดออกมากับอุจจาระลงสูพื้นดิน หมูกินไขพยาธิเขาไปในกระเพาะอาหาร ตวัออนออกจากไขเขาไปตามกระแสเลือด ไปฝงตัวเปนถุงซีสตเล็กๆ เปนตัวออนระยะติดตอ (cysticercus cellulosae) อยูตามอวัยวะตางๆ เมื่อคนกินเนื้อหมูปรุงไมสุกที่มีถุงซีสตลักษณะคลายเม็ดสาคูเขาไป พยาธิตัวออนจะไปเจริญเปนตัวแกในลําไส

ถาคนบังเอิญไปกินไขของพยาธิตืดหมู หรือไขออกจากปลองแกในลําไสของตนเอง ตัวออนจะออกจากไข เขาสูกระแสเลือดไปยังอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย เกิดเปนถุงซีสตเล็กๆ คลายกับที่เกิดในหมู ซึ่งจะกอใหเกิดอาการรายแรงมากกวาตัวแกในลําไสเล็ก

Page 34: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

อาการแสดง :

คลื่นไส อาเจียน น้ําหนกัลด บางครั้งพยาธิรวมตัวกันเปนกอนอุดลําไส ถามีถุงซีสตอยูในอวัยวะสําคัญ เชน สมอง ตา จะเปนอันตรายมาก อาจเกิดอาการปวดศีรษะอยางรุนแรง ชัก หมดสติได

การตรวจวินิจฉัย :

โดยการตรวจหาไขพยาธิตืดหมดูวยกลองจุลทรรศน

ลักษณะไขของพยาธิตืดหมู :

มีรูปรางกลมภายในไขมีตัวออนอยูภายใน มีขอ (hooks) เปนรัศมีลอมรอบ

การรักษา :

ใชยาปราซิคคอนเทล (Praziquantel) ขนาดยา 10-20 มิลลิกรัม

ตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรัม ใหรับประทานครั้งเดียว กอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค :

โรคพยาธิตืดหม ู(Taeniasis solium) ปองกันไดโดย

1. รับประทานอาหารที่ปรุงดวยเน้ือหมูที่สุก หรือเนื้อหมูที่ผานการทําลายตัวออนระยะติดตอ (Cysticercus) แลว เชน การฉายรังสี หรือเก็บเนื้อหมูไวในตูเย็น –20๐ซ. นาน 12 ช่ัวโมง

2. ถายอุจจาระลงในสวมที่ถูกสุขลักษณะ 3. อนามัยสวนบุคคล ลางมือใหสะอาดกอนรับประทานอาหาร 4. เลี้ยงหมูในคอกท่ีสะอาดและถูกอนามัย 5. จัดการโรงฆาสัตวใหสะอาดถูกอนามัยโดยแยกเนื้อหมูที่ดีไมควรจะปนเปอนกับเศษเนื้อหมู

Page 35: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

พยาธิตืดวัว เช้ือกอโรค : พยาธิตืดวัว (Taenia Saginata)

ตัวเต็มวัยมีรูปรางคลายแถบริบบ้ินยาวประมาณ 5-10 เมตร พบตัวเต็มวัยอาศัยอยูในลําไสเล็กของคน พบมากทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปจจัยท่ีทําใหเกิดโรคพยาธิตืดวัว :

ติดตอโดยการรับประทานเนื้อวัว ที่มีตัวออนระยะติดตอหรือเมด็สาคู (cysticercus bovis) เขาไป โดยไมปรุงอาหารใหสุกกอนหรือปรุงสุกๆ ดบิๆ เชน ลาบ เนื้อดิบ หลู สา เปนตน หรือรับประทานผักสดท่ีลางไมสะอาด และมีไขพยาธิอยู ทําใหเกดิการติดโรคพยาธิตืดวัว

ตัวออนระยะติดตอ

(cysticercus bovis) หรือเม็ดสาคูในเน้ือวัว

Page 36: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

วัฏจักรชีวิตพยาธิตืดวัว

คนรับประทานเนื้อวัวที่มีถุงซีสตตัวออนระยะติดตอหรือเม็ดสาค ู(cysticercus bovis) เมื่อไปถึงลําไสเล็ก ตัวออนออกจากซีสตเจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย พยาธิตืดวัวมีอวัยวะเพศผูและเพศเมียอยูในตัวเดยีวกัน จึงผสมพันธุในตัวเอง เมื่อปลองแกสุกจะหลุดปนออกมากับอุจจาระ ไขจะถูกกินโดยวัว ตัวออนฟกออกจากไขในลําไส แลวเขาสูในกระแสเลือดไปฝงตัวเปนถุงซีสต ที่มีตัวออนระยะตดิตออยูในกลามเนื้อของวัว

อาการแสดง :

คลื่นไส อาเจียน น้ําหนกัลด ปวดทอง

Page 37: ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิuto.moph.go.th/comdisease/sara/helminth/A1.pdf · 2010. 3. 12. · ความรู ื่เรองโรคหนอนพยาธิ

การวนิิจฉัย :

โดยการตรวจอุจจาระหาไขพยาธิตืดวัว โดยใชกลองจุลทรรศน

การรักษา :

ใชยาปราซิควอนเทลขนาดยา 10–20 มิลลกิรัม ตอน้ําหนกัตัว 1 กิโลกรมั

ใหรับประทานครั้งเดียวกอนนอน

การปองกันและควบคุมโรค :

1. การรับประทานอาหารท่ีปรุงดวยเนื้อวัว ควรทําใหสุกเสียกอน 2. ถายอุจจาระลงสวมที่ถูกสุขลักษณะ 3. ใหความรูเกี่ยวกับพยาธิตืดแกประชาชน 4. คนที่เปนโรคควรเขารับการรักษาทุกคน