13
บทที3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยนี้เปนการศึกษาผลของการใหความรูและคําปรึกษาแบบกลุมแกผูปวยเบาหวาน ชนิดที2 ที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได ที่เขารับบริการจากคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลพิปูน ในชวงเดือน ตุลาคม 2550 – กรกฎาคม 2551 รูปแบบการวิจัย การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental design) เก็บขอมูลแบบไปขางหนา ในชวงเดือน ตุลาคม 2550 – กรกฎาคม 2551 แบงผูปวยเปน 2 กลุคือกลุมศึกษา และกลุมควบคุม กลุมละ 30 คน โดยการเปดตารางเลขสุทั้งสองกลุมไดรับบริการจากโรงพยาบาลตามปกติ แต กลุมศึกษา ในขั้นตอน กอนพบแพทยจะได รับการใหความรูเรื่องโรคเบาหวานและคําปรึกษาจาก เภสัชกรในรูปแบบกลุที่ผูวิจัยไดจัดทําขึ้น จํานวน 4 ครั้ง นาน 4 เดือน โดยแบงเปนกลุกลุมละ 10 คน ตามระบบนัดรายตําบล โดยใชเวลาครั้งละ 60 นาที ดังแสดงในภาพที1 และมีการวัดผลซ้ํา (Repeated measure) เมื่อสิ้นสุดการวิจัยจะมีการใหความรูแบบเดียวกันในกลุมควบคุม กลุมประชากรในการศึกษา กลุมประชากรในการศึกษา ผูปวยเบาหวานชนิดที2 ตามเกณฑการวินิจฉัยโรคเบาหวาน สมาคมโรคเบาหวานประเทศ สหรัฐอเมริกา ( American Diabetes Association , 2007) ที่เขารับบริการคลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลพิปูน กลุมตัวอยาง ผูปวยเบาหวานชนิดที2 ที่เขารับบริการคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลพิปูน และมีคุณสมบัติ เปนไปตามเกณฑดังนี1. มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป 2. ไมมีปญหาการไดยิน เปนใบ และไมมีปญหาดานความจํา ไมไดรับการ วินิจฉัยวาเปนโรคทางจิตเวท มีระดับน้ําตาลในเลือดเมื่องดอาหาร 8 ชั่วโมง (Fasting blood sugar) ในระยะเวลา 3 เดือนที่ผานมา กอนเริ่มเก็บขอมูล เฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3. 140 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร

บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้เปนการศึกษาผลของการใหความรูและคําปรึกษาแบบกลุมแกผูปวยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได ที่เขารับบริการจากคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลพิปูน ในชวงเดือน ตุลาคม 2550 – กรกฎาคม 2551 รูปแบบการวิจัย การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental design) เก็บขอมูลแบบไปขางหนาในชวงเดือน ตุลาคม 2550 – กรกฎาคม 2551 แบงผูปวยเปน 2 กลุม คือกลุมศึกษา และกลุมควบคมุ กลุมละ 30 คน โดยการเปดตารางเลขสุม ทั้งสองกลุมไดรับบริการจากโรงพยาบาลตามปกติ แตกลุมศึกษา ในขั้นตอน กอนพบแพทยจะได รับการใหความรูเร่ืองโรคเบาหวานและคําปรึกษาจากเภสัชกรในรูปแบบกลุม ที่ผูวิจัยไดจัดทําขึ้น จํานวน 4 คร้ัง นาน 4 เดือน โดยแบงเปนกลุม กลุมละ 10 คน ตามระบบนัดรายตําบล โดยใชเวลาครั้งละ 60 นาที ดังแสดงในภาพที่ 1 และมีการวัดผลซ้ํา (Repeated measure) เมื่อส้ินสุดการวิจัยจะมีการใหความรูแบบเดียวกันในกลุมควบคุม กลุมประชากรในการศึกษา

กลุมประชากรในการศึกษา ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ตามเกณฑการวินิจฉัยโรคเบาหวาน สมาคมโรคเบาหวานประเทศ

สหรัฐอเมริกา (American Diabetes Association , 2007) ที่เขารับบริการคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลพิปูน

กลุมตัวอยาง ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เขารับบริการคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลพิปูน และมีคุณสมบัติ

เปนไปตามเกณฑดังนี้ 1. มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป 2. ไมมีปญหาการไดยิน เปนใบ และไมมีปญหาดานความจํา ไมไดรับการ

วินิจฉัยวาเปนโรคทางจิตเวท มีระดับน้ําตาลในเลือดเมื่องดอาหาร 8 ช่ัวโมง (Fasting blood sugar) ในระยะเวลา 3 เดือนที่ผานมากอนเริ่มเก็บขอมูล เฉลี่ยมากกวาหรือเทากบั

3. 140 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร

Page 2: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

22

ผูปวยยินยอมเขารวมการศึกษา เกณฑที่ใชในการคัดเลือกผูปวยออกจากการวิจัย 1. ผูปวยที่ตั้งครรภ 2. ผูปวยที่ไดรับการวินิจฉยัวามีภาวะแทรกซอนของไตวายเรื้อรังระยะ สุดทาย

การคํานวณขนาดตัวอยาง

สูตร N/กลุม = 2(Zα + Zβ)2δ2

(X1-X2)2

กําหนดให

α = 0.05

β = 0.20

Zα ที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 0.05 = 1.96

Zβ ที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 0.20 = 0.86 X1 = คาเฉลี่ยของระดับน้ําตาลหลังงดอาหาร 8 ช่ัวโมง (FBS) กลุมศึกษา X2 = คาเฉลี่ยของระดับน้ําตาลหลังงดอาหาร 8 ช่ัวโมง (FBS) กลุมควบคุม

δ2 = Pooled variance = (n1 - 1)s1

2 + (n2 - 1)s2 2

n1 + n2 - 2 เมื่อ n1 = จํานวนผูปวยในกลุมศึกษา s1 = คาความแปรปรวนในกลุมศึกษา n2 = จํานวนผูปวยในกลุมควบคุม s2 = คาความแปรปรวนในกลุมควบคุม ใชคาตัวแปรจากผลการศึกษาเรื่อง ผลของโปรแกรมการอบรมการรับรูความสามารถ

ตนเองตอการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 (นลินี พูลทรัพย และคณะ, 2549) จํานวนผูปวยในกลุมทดลอง เทากับ 20 คาความแปรปรวนในกลุมศึกษา เทากับ 37.3 จํานวนผูปวยในกลุมควบคุม เทากับ 21 คาความแปรปรวนในกลุมควบคุม เทากับ 63.8 คาระดับน้ําตาลในเลือดกอนอาหารเชา (FBS) (คาเฉลี่ย+ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ของกลุมศึกษาเทากับ 181.0 + 37.3 mg/dl และของกลุมควบคุมเทากับ 223.3 + 63.8 mg/dl

Page 3: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

23

δ2 = (20 - 1)37.32 + (21 - 1)63.82

(20 + 21 – 2) = 2765.213

แทนคาสูตรไดดังนี้ N/กลุม = 2(1.96 + 0.86)2 2765.213 (181.0 – 223.3)2

N/กลุม = 24 ประมาณจํานวนตัวอยางเกินไวรอยละ 20 สําหรับผูปวยที่อาจไมมาหรือออกจากการศึกษากอน ทําใหไดจํานวนตัวอยางกลุมละ 30 คน โดยการเปดตารางเลขสุม

ผลลัพธ ผลลัพธหลัก (Primary Outcome)

• ระดับน้ําตาลในเลือดหลังงดอาหาร 8 ช่ัวโมง FBS (Fasting blood sugar) กลุมควบคุม วัด คร้ังที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 กลุมศึกษา วัด คร้ังที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

ผลลัพธรอง (Secondary Outcome)

• ความรวมมือในการใชยา กลุมควบคุม วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5 กลุมศึกษา วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5

• ความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน กลุมควบคุม วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5 กลุมศึกษา วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5

• ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ กลุมควบคุม วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5 กลุมศึกษา วัด ณ คร้ังที่ 1 และครั้งที่ 5

• ปญหาและแนวทางการแกไขปญหาในการใชยาของกลุมศึกษา ตลอดชวงเวลาของการใหความรูและคําปรึกษาในเรื่องของโรคเบาหวานในรูปแบบกลุม

การใหความรูและคําปรึกษาในเรื่องของโรคเบาหวานในรูปแบบกลุม ซ่ึงใหเฉพาะกลุมศึกษา ไดแก การใหความรูและคําปรึกษาในเรื่องของโรคเบาหวานในรูปแบบกลุม พรอมทั้งมีการแจกเอกสารคูมือเร่ืองโรคเบาหวานและการใชยา ในกรณีที่ผูปวยมีปญหาในการใชยาและมกีาร

Page 4: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

24

เสนอแนวทางแกไขทางยา โดยมีรายละเอียดในการแทรกแซง ดังนี้ มีผูวิจัยซ่ึงเปนเภสัชกรเปนผูนํากลุม สมาชิกของกลุมมีจํานวน 10 คน แบงตามระบบนัดรายตําบล ระยะเวลาในการทํากลุม คือ คร้ังละ 60 นาที เปนเวลา 4 คร้ัง หางกันครั้งละ 35 วัน ตามวันนัดของคลินิกเบาหวาน การทํากลุมในแตละครั้งจะทําทั้งหมด 3 ขั้นตอน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ระยะสรางสัมพันธภาพ (15 นาที) วัตถุประสงค

1. เพื่อใหสมาชิกกลุมไดทําความรูจักคุนเคยกัน 2. เพื่อขอความรวมมือในการเขารวมกิจกรรม 3. เพื่ออธิบายจุดประสงค ขั้นตอน ระยะเวลา ขอปฏิบัติ ของการเขา

รวมกิจกรรมกลุม 4. เพื่อทบทวนและติดตามผลจากการทํากลุมในครั้งที่ผานมา

วิธีการดําเนินการและกิจกรรม 1. ผูวิจัยแนะนําตนเองและใหสมาชิกกลุมแนะนําตนเองแกเพื่อน

สมาชิกในกลุม โดยบอกชื่อ และนามสกุล 2. ผูวิจัยช้ีแจงวัตถุประสงคของการศึกษา ประโยชนที่จะไดรับ

รวมทั้งระเบียบของการเขากลุม แนวทางการปฏิบัติตัวในฐานะสมาชิกกลุมและระยะเวลาในการเขากลุม

3. แจกเอกสาร ไดแกคูมือโรคเบาหวาน และ การใชยารักษาโรคเบาหวาน

4. ผูวิจัยกลาวนํา ประเมินภาวะปญหาการดูแลตนเองจากการตรวจสอบจากเวชระเบียนของผูปวยเพื่อเปนการนําเขาสูกิจกรรมกลุม

ขั้นตอนที่ 2 ระยะดําเนินการใหความรู เขาใจปญหาของตนเองและอื่น ชวยกันหาแนวทางแกไข (25 นาที) วัตถุประสงค

1. เพื่อใหกลุมตัวอยางมีความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชยาและการดูแลตนเอง

2. เพื่อเปดโอกาสใหกลุมตัวอยางไดพูดคุย ซักถามแสดงความคิดเห็นเกี่ยวการดูแลตนเองในดานตาง ๆ และปญหาที่เกิดขึ้น และหาทางแกปญหารวมกันกับสมาชิกในกลุม

Page 5: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

25

3. เพื่อใหกลุมตัวอยางสามารถปฏิบัติตัวไดถูกตองตามแผนการรักษาและสามารถปรับแผนการดําเนินชีวิตไดอยางเหมาะสม

วิธีการดําเนินการและกิจกรรม 1. ผูวิจัยใหความรูตามแผนการสอนที่ไดวางไว 2. ผูวิจัยเปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมแสดงความคิดเห็น ระบาย

ความรูสึกเมื่อทราบวาตนเองเปนโรคเบาหวาน 3. ผูวิจัยซักถามความรูเร่ืองการใชยา วิธีการกินยา การลืมกินยา

อาการขางเคียงที่เกิดจากการใชยา การใชยาอื่นรวมดวย การแพยา การเก็บรักษายา และการดูแลตนเองของสมาชิกกลุม รวมทั้งปญหาที่เกิดขึ้นและกระตุนใหสมาชิกอื่น ๆ ชวยกันหาทางแกไขปญหานั้น นอกจากนั้นผูวิจัยไดนําตัวอยางยารักษาเบาหวาน

ขั้นตอนที่ 3 ระยะสิ้นสุดการทํากลุม (10 นาที) วัตถุประสงค

เพื่อสรุปเนื้อหาและประเด็นสําคัญตาง ๆ ที่ไดจากการเขากลุม รวมทั้งใหสมาชิกกลุมไดแสดงความรูสึกที่เกิดหลังจากทํากลุม และย้ําถึงขอตกลงในการทํากลุม

วิธีการดําเนินการและกิจกรรม 1. ผูวิจัยสรุปเนื้อหาและประเด็นสําคัญตาง ๆ ไดแก โรค การรักษา

และการดูแลตนเองในดานตาง ๆและแนวทางในการปรับเปลี่ยนแผนการดําเนินชีวิต

2. เปดโอกาสใหสมาชิกกลุมซักถามปญหาเพิ่มเติมและแสดงความรูสึกในการทํากลุม

3. ผูวิจัยบันทึกปญหาที่พบของผูปวยลงในเวชระเบียนเพื่อรายงานใหแพทยทราบ

4. ในกรณีที่ ผูปวยมีปญหาในการใชยาและมีการเสนอแนวทางแกไข จะไดรับการติดตามประเมินผลโดยการเยี่ยมบานภายใน หนึ่งอาทิตย

หมายเหตุ ในการใหความรูและคําปรึกษาในเรื่องของโรคเบาหวานในรูปแบบกลุม คร้ังที่ 2, 3 และ 4 ไมมีการดําเนินการในขั้นตอนที่ 1 เนื่องจากตัวอยางมีความรูจักกันแลว จึงเปลี่ยนเปนการสรุปเนื้อหาของครั้งที่ผานมา

Page 6: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

26

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. เคร่ืองมือท่ีใชสําหรับใหความรูแกผูปวย 1.1 แผนการสอน เร่ืองโรคเบาหวาน ประกอบดวยหัวขอตาง ๆ คือ ความหมายของโรคเบาหวาน ชนิดของโรคเบาหวาน ลักษณะของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 อาการของโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวาน เปาหมายของการรักษาเบาหวาน หลักการรักษาเบาหวาน อาการขางเคียงหรืออาการไมพึงประสงคจากยาเม็ดควบคุมระดับน้ําตาล สมุนไพรกับการรักษาเบาหวาน การดูแลตนเองประจําวันและเมื่อเจ็บปวย 1.2. เอกสารประกอบการใหความรู ประกอบดวยหัวขอตาง ๆ คือ โรคเบาหวานคืออะไร ชนิดของโรคเบาหวาน โรคแทรกซอนที่พบบอยจากโรคเบาหวาน ยารักษาโรคเบาหวาน การออกกําลังกาย การดูแลตนเองดานอาหาร การดูแลรักษาเทา 2.เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บขอมูล แบงเปน 2.1 แบบบันทึกขอมูลผูปวย (ภาคผนวก ข )

2.2 แบบสอบถามสําหรับเก็บขอมูลผูปวย ซ่ึงแบงเปน 2.2.1 แบบวัดความรวมมือในการใชยา (ภาคผนวก ค )โดยการใชแบบสัมภาษณการใหความรวมมือในการใชยา ดัดแปลงจากแบบวัดความรวมมือการใชยาของ Morisky (1986) ประกอบดวยขอคําถาม 4 ขอ ผูวิจัยจะเปนผูสัมภาษณผูปวยโดยใหผูปวยเลือกตอบวา เคย หรือไมเคย และถาผูปวยตอบวาเคย ก็ตองตอบตอวาเคยนอยกวา 3 คร้ัง หรือมากกวา 3 คร้ัง การใหคะแนน มีดังนี้ไมเคย เทากับ 2 คะแนน เคยมากกวา 3 คร้ังเทากับ 0 คะแนน และเคยนอยกวา 3 คร้ัง เทากับ 1 คะแนน การแปลผล ไดรับแนวคิดจากวันจันทร (วันจันทร ปุณญวันทนีย, 2541)

ไมมีปญหาความรวมมือในการใชยา คะแนนเฉลี่ย เทากับ 1 - 2 คะแนน มีปญหาความรวมมือในการใชยา คะแนนเฉลี่ย นอยกวา 1 คะแนน

2.2.2 แบบประเมินความเชื่อเก่ียวกับสุขภาพ (ภาคผนวก ง )โดยไดแนวคิดจาก แบบประเมินความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพของ พรรณงาม ประสารชัยมนตรี (2546) แบงเปน 4 ดาน คือ ดานการรับรูถึงโอกาสเสี่ยงตอการเจ็บปวย จํานวน 7 ขอ ดานการรับรูถึงความรุนแรงของโรค จํานวน 5 ขอ ดานการรับรูถึงประโยชนในการปฏิบัติตน จํานวน 4 ขอ และ ดานการรับรูถึงอุปสรรค จํานวน 14 ขอ มีคําตอบเปน Likert scale 5 ตัวเลือก ซ่ึงจะคิดเปนคะแนนตั้งแต 1 - 5 คะแนน และเนื่องจากขอคําถามเปนขอคําถามในเชิงบวกเมื่อมีคะแนนที่มากขึ้นแสดงถึงผูปวยมีความรูสึกรับรูในดานนั้น ๆ มาก (ภาคผนวก ฆ) คะแนน ทั้งหมดมีคาอยูระหวาง 0 - 150 คะแนน

Page 7: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

27

เกณฑการแบงระดับความเชื่อดานสุขภาพ แบงเปน 3 ระดับ โดยใช โดยไดรับแนวคิดจาก สมัยพร อาขาล (2543) ดังนี้

(คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด) 3

ระดับความเชื่อดานสุขภาพโดยรวม 0 - 50 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพต่ํา

51 - 10 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพปานกลาง 101 -150 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพสูง ระดับความเชือ่ดานสุขภาพดานการรับรูถงึโอกาสเสี่ยงตอการเจ็บปวย

0 - 12 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึงโอกาส เสี่ยงตอการเจ็บปวย ต่ํา

13 - 24 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง โอกาสเสี่ยงตอการเจ็บปวย ปานกลาง

25 - 35 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง โอกาสเสี่ยงตอการเจ็บปวย สูง

ระดับความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึงความรุนแรงของโรค 0- 8 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึงความ รุนแรงของโรค ต่ํา

9 - 16 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง ความรนุแรงของโรค ปานกลาง

17 - 25 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง ความรุนแรงของโรค สูง

ระดับความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึงประโยชนในการปฏิบัติตน 0 - 9 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง ประโยชนในการปฏิบัติตนต่ํา

10 - 18 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง ประโยชนในการปฏิบัติตนปานกลาง

19 - 26 คะแนน หมายถึง มคีวามเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง ประโยชนในการปฏิบัติตนสูง

Page 8: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

28

ระดับความเชื่อดานสุขภาพ ดานการรับรูถึงอุปสรรค 0 - 23 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง อุปสรรคต่ํา

24 – 46 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง อุปสรรคปานกลาง

47 – 70 คะแนน หมายถึง มีความเชื่อดานสุขภาพดานการรับรูถึง อุปสรรคสูง

2.2.3 แบบวัดความรูเก่ียวกับโรคเบาหวาน (ภาคผนวก จ ) ไดรับแนวคิดจาก ศุภกจิ วงศวัฒนกจิ และรัฐพร โลหะวิศวพานิช (2546)โดยใชในการทดสอบความรูผูปวยโรคเบาหวานกอนและหลังการให ความรูและคําปรึกษาในรูปแบบกลุม ขอสอบแบบมีคําตอบใหเลือก 3 ขอ คือ ถูก, ผิด และไมทราบ ขอคําถามมีทั้งหมด 24 ขอ เปนขอคําถามที่มีความหมายเปนจริง จํานวน 13 ขอ ไดแก ขอ 1, 2, 3, 4, 6, 7, 8, 10, 11, 12, 13, 14 และ 17 สวนขอคําถามที่มีความหมายเปนเท็จ จํานวน 11 ขอ ไดแก ขอ 5, 9, 15, 16, 18, 19,20, 21, 22, 23 และ 24 จําแนกขอคําถามเปนแตละหัวขอดังนี ้ (1) ความรูเบื้องตนเรื่องโรคเบาหวานและการวินิจฉยัโรค 8 ขอ (2) ความรูเกี่ยวกับการปฏิบตัิตัวของผูปวยเบาหวาน 6 ขอ (3) การใชยาในผูปวยโรคเบาหวาน 10 ขอ การใหคะแนนของขอคาํถามเปนแบบ 0 กับ 1 เทานั้น โดยถาเปนขอความที่มคีวามหมายเปนจริง การเลือกตัวเลือก “ถูก” จะไดรับ 1 คะแนน การเลือกตัวเลือก “ผิด” จะไดรับ 0 คะแนน และการเลือกตัวเลือก “ไมทราบ” จะไดรับ 0 คะแนน และถาเปนขอความที่มีความหมายเปนเทจ็ การเลือกตัวเลือก “ถูก” จะไดรับ 0 คะแนน การเลือกตัวเลือก “ผิด” จะไดรับ 1 คะแนน และการเลือกตัวเลือก “ไมทราบ” จะไดรับ 0 คะแนน เชนเดียวกนั ดังนั้นหากผูใดมีคะแนนความรูในขอใดสูง หมายถึง มีความรูตอความหมายในขอคําถามนั้น และหากคะแนนรวมความรูสูง หมายถึง ผูตอบมีความรูทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวานดี โดยไดแบงระดับคะแนนดังนี้

ระดับคะแนน 0 - 12 แปลผล คือ ความรูต่ํา ระดับคะแนน 13 - 18 แปลผล คือ ความรูปานกลาง และ

ระดับคะแนน 19 - 24 แปลผล คือ ความรูสูง วิธีการดําเนินงานวิจัย การดําเนินการวิจัยจะแบงขั้นตอนการทํางานออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการกอนดําเนินการวิจัย 1.1 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการวิจัย

Page 9: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

29

1.2 จัดทําโครงรางวิทยานิพนธและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

1.3 นําเสนอโครงรางวิทยานิพนธ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นดําเนินการวิจัย

1.1 ทําหนังสือขออนุมัติผูอํานวยการเพื่อทําการศึกษาในผูปวยเบาหวานที่เขารับบริการ ณ คลินิกผูปวยเบาหวาน โรงพยาบาลพิปูน

1.2 ทําความเขาใจกับกลุมตัวอยางเรื่องรายละเอียดและวัตถุประสงคของการศึกษาโดยผูปวยเบาหวานแตละรายจะตองลงลายมือช่ือในหนังสือแสดงความยินยอมเขารวมการศึกษา

1.3 ช้ีแจงแผนการดําเนินการแกผูที่เกี่ยวของ คือ แพทย พยาบาลประจําคลินิกเบาหวาน

1.4 ในวันแรกผูวิจัยจะสัมภาษณ เพื่อเก็บขอมูลทั่วไปและความเชื่อเกี่ยวกับ สุขภาพ ของตัวอยาง ความรูเร่ืองโรคเบาหวาน ทั้งสองกลุม จากนั้นกลุมศึกษาจะถูกแบงเปน 3 กลุม ๆ ละ 10 คน (Gr 1, Gr2และ Gr3) ตามระบบนัดรายตําบล ผูวิจัยจะเปนผู ให ส่ิงแทรกแซง ซ่ึงไดแก เอกสารประกอบการใหความรู การใหความรูตามแผนการสอน ภาพแสดงอาการแทรกซอนของโรคเบาหวาน ภาพแสดงอาหารสําหรับผูปวยเบาหวาน ระยะเวลาในกระบวนการกลุม คือ คร้ังละ 60 นาที เปนเวลา 4 คร้ัง ตามวันนัดของคลินิคเบาหวาน สมาชิกของกลุมมีจํานวน 10 คน โดยมีขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรมกลุมดังนี้

คร้ังที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 ระยะสรางสัมพันธภาพ

ขั้นตอนที่ 2 ระยะดําเนินการใหความรูเร่ืองทั่วไปของโรคเบาหวาน การเขาใจปญหาของตนเองและผู อ่ืน ชวยกันหา แนวทางแกไข

ขั้นตอนที่ 3 ระยะสิ้นสุดการทํากลุม คร้ังที่ 2

ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนเนื้อหาของกิจกรรมครั้งที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ระยะดําเนินการใหความรูเร่ืองยา เขาใจปญหาของ

ตนเองและผูอ่ืน ชวยกันหา แนวทางแกไข

Page 10: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

30

ขั้นตอนที่ 3 ระยะสิ้นสุดการทํากลุม คร้ังที่ 3

ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนเนื้อหาของกิจกรรมครั้งที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 ระยะดําเนินการใหความรูเร่ืองอาการแทรกซอนของ

โรคเบาหวาน เขาใจปญหาของตนเองและผูอ่ืนชวยกันหาแนวทางแกไข

ขั้นตอนที่ 3 ระยะสิ้นสุดการทํากลุม คร้ังที่ 4

ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนเนื้อหาของกิจกรรมครั้งที่ 3 ขั้นตอนที่ 2 ระยะดําเนินการใหความรูเร่ืองอาหารสําหรับ

โรคเบาหวาน เขาใจปญหาของตนเองและผูอ่ืนชวยกัน หาแนวทางแกไข

ขั้นตอนที่ 3 ระยะสิ้นสุดการทํากลุม

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการวิเคราะหและประเมินผลการวิจัย กรณีมีขอมูลไมครบ (missing data) ขอมูลชุดที่ไมสามารถเก็บขอมูลไดครบ

จะใชวิธี last point carry forword โดยนํา คาขอมูลครั้งสุดทายที่วัดไดของตัวแปรของผูปวยรายนั้นมาแทนคาที่หายไป การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูปวย ใชสถิติเชิงพรรณนาโดยแสดงเปนคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย คามัธยฐานและใช Chi-square Test ในการทดสอบความแตกตางระหวางกลุมศึกษาและกลุมควบคุม เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงคาระดับน้ําตาลในเลือดหลังอาหารงดอาหาร 8 ชั่วโมง ทั้งหมด 8 คร้ัง คือ กอนใหความรูและคําปรึกษาในรูปแบบกลุม ระยะติดตามผล คร้ังที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยใช การวิเคราะห repeated measure ANOVA เปรียบเทียบคะแนนความรวมมือในการใชยาระหวางเริ่มตนและสิ้นสุดการศึกษา ในกลุมเดียวกัน กรณีขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ ใชสถิติ Paired Sample T Test กรณีขอมูลไมมีการแจกแจงแบบปกติโดยใชสถิติ Wilcoxon Signed Ranks test เปรียบเทียบระหวางกลุมศึกษาและกลุมควบคุม ใชสถิติ Mann-Whitney U Test เปรียบเทยีบคะแนนความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวานระหวางเริ่มตนและสิ้นสุดการศึกษา ในกลุมเดียวกนั กรณีขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ โดยใชสถิติ Paired Sample T Test

Page 11: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

31

กรณีขอมูลไมมีการแจกแจงแบบปกติโดยใชสถิติ Wilcoxon Signed Ranks test เปรียบเทียบระหวางศึกษาและกลุมควบคุม ใชสถิติ Mann-Whitney U Test เปรียบเทียบคะแนนความเชื่อดานสุขภาพของโรคเบาหวานระหวางเริ่มตนและส้ินสุดการศึกษา ในกลุมเดียวกัน กรณีขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ โดยใชสถิติ Paired Sample T Test กรณีขอมูลไมมีการแจกแจงแบบปกติโดยใชสถิติ Wilcoxon Signed Ranks test เปรียบเทียบระหวางกลุมศึกษาและกลุมควบคุม ใชสถิติ Mann-Whitney U Test

Page 12: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

32

ภาพที่ 1 แสดง ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย

คร้ังที่ intervention Usual care

FBS Health Belief Knowledge compliance

1 ° • ∗ ∗ ∗ ∗ 2 ° • ∗ 3 ° • ∗ 4 ° • ∗ 5 ∗ ∗ ∗ ∗ 6 ∗ 7 ∗

หมายเหต ุแตละครั้งหางกัน 35 วัน

° หมายถึง กลุมศึกษา

• หมายถึง กลุมควบคุม

∗ หมายถึง กลุมศึกษา + กลุมควบคุม

กลุมทดลอง n = 30

กลุมตัวอยาง n = 60

กลุมควบคุม n = 30

Gr 1 n = 10

Gr 2 n = 10

Gr 3 n = 10

ขอมูลพื้นฐาน

Page 13: บทที่3archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2551/phcn1051jm_ch3.pdf · บทที่3 วิธี ... แบบกล ุ ม ที่ผู วิจัยได จัดทําขึ้น

33

แหลงขอมูล แหลงขอมูลที่ใชในการศึกษาไดจาก แหลงตาง ๆ ดังนี้

1. ขอมูลการสัมภาษณผูปวย ไดแก ขอมูลทั่วไปของผูปวย คะแนนความรวมมือในการใชยา คะแนนความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน และคะแนนความเชื่อดานสุขภาพของโรคเบาหวาน

2. เวชระเบยีนผูปวย ไดแก ขอมูลทั่วไปของผูปวย คาระดบัน้ําตาลในเลอืดหลังอาหารงดอาหาร 8 ช่ัวโมง