24
1 บทที4 การวางแผนการจัดการข้อมูล (Information Management Planning) www.ahs.ssru.ac.th

บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

  • Upload
    others

  • View
    13

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

1

บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

(Information Management Planning)

www.ahs.ssru.ac.th

Page 2: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

2

www.ahs.ssru.ac.th

เนื้อหา

1. แนวคิดการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

2. กระบวนการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

3. ตัวอย่างการจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

Page 3: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

3

www.ahs.ssru.ac.th

กระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความส าคัญกับระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสุขภาพและได้ให้ความส าคัญกับการพัฒนาระบบสุขภาพ ตามระบบเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อสุขภาพของประชาชนตามแนวทางของ e-Health ขององค์การอนามัยโลกและ International Telecommunication Union (ITU)(1-2) เป็นกรอบยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเพื่อให้สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสุขภาพไปเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางขององค์การอนามัยโลกที่กล่าวว่า

Page 4: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

4

www.ahs.ssru.ac.th

การพัฒนาระบบสุขภาพให้มีประสิทธิภาพจะต้องพัฒนาให้ครอบคลุมทั้ง 6 องค์ประกอบของระบบสุขภาพ (6 building blocks)(3-4) ได้แก่(1) การจัดบริการ (2) ก าลังคน (3) ยาและเทคโนโลยี(4) การคลัง (5) ภาวะผู้น าและธรรมาภิบาล (6)ข้อมูลสารสนเทศ

Page 5: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

5

www.ahs.ssru.ac.th

เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางดังกล่าวกระทรวงสาธารณสุขจึงได้ท าการพัฒนาทั้งในด้านบุคลากร อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ และโปรแกรมส าหรับการด าเนินงานให้มีความเชื่อมโยงกันทั้งระบบและมีความชัดเจนในการเข้ากันได้ เช่น มีการพัฒนามาตรฐานในด้านสถาปัตยกรรม ระบบอุปกรณ์ ระบบโปรแกรม ระบบเครือข่าย ระบบข้อมูลสุขภาพ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ ดังจะเห็น ได้จากฐานข้อมูล สาธารณสุข ซึ่งได้มีการก าหนด และประกาศให้มกีารน ามาตรฐานโครงสร้างข้อมูลและรหัสต่างๆ มาใช้ในระบบบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน รวมถึงการให้บริการในด้านการควบคุมและป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพและการฟื้นฟสูภาพทุกหน่วยบริการ ตามรูปแบบมาตรฐานข้อมูลตามโครงสร้าง 43 แฟ้ม

Page 6: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

6

www.ahs.ssru.ac.th

โดยฐานข้อมูลจะมีรายละเอียดของผู้มารับบริการเป็นรายบุคคลในเขตรับผิดชอบ แต่อย่างไรกต็ามเมื่อประเมินในด้านการบริหารจัดการและการด าเนินงานที่ผ่านนมาตามแนวคิด POSDCORB Model(7) พบปัญหาและอุปสรรคหลายประการ จึงท าให้ระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพของประเทศไทยจะต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ซึ่งปัญหาดังกล่าวสรุปในแต่ละด้านไดด้ังนี้

Page 7: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

7

www.ahs.ssru.ac.th

ด้านบุคลากร (people ware) ผู้ที่มีความรูแ้ละทักษะเชี่ยวชาญในด้านกระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสุขภาพและมาตรฐานข้อมูลสุขภาพและในระดับต่างๆ ขาดความตระหนักถึงความจ าเป็นที่จะให้มีการน ามาใช้ประโยชน์จากมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับประเทศ

ด้านอุปกรณ์ (hardware) การส่งข้อมูลยังขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถรองรับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ รวมทั้งพบปัญหาจากในระดับหน่วยบริการ ส่งผลต่อการรับส่งระบบข้อมูลและรายงาน

Page 8: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

8

www.ahs.ssru.ac.th

ด้านโปรแกรม (software) การบริหารจัดการในภาพรวมระดับประเทศ จึงท า ให้มีโปรแกรมฐานข้อมูลหลายโปรแกรม และแต่ละโปรแกรมไม่สามารถเชื่อมโยงกัน ได้ ท าให้ฐานข้อมูลไม่สามารถน ามารวมเป็นคลังข้อมูลของประเทศให้มีความเป็นเอกภาพ ข้อมูลจากฐานไมส่ามารถน ามาวิเคราะหเ์พื่อใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลขาดความน่าเชื่อถือ

ด้านการบริหารจัดการ (management) การบูรณาการในการท างาน มคีวามซ้ าซ้อน ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Page 9: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

9

www.ahs.ssru.ac.th

ข้อมูลสุขภาพ หมายถึง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพของผู้ป่วยที่มารับบริการสุขภาพ ข้อมูลปัจจัยด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยรวมไปถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการทั้งด้านทรัพยากรและกิจกรรมบริการสุขภาพที่จัดใหแ้ก่ผู้ป่วย ซึ่งพยาบาลจ าเป็นต้องก าหนดวัตถุประสงค์ของการใช้ข้อมูลให้ชัดเจนว่าจะน าไปใช้เพ่ืออะไร จึงจะสามารถระบุชุดของข้อมูล (data set) เพื่อการจัดการให้เป็นสารสนเทศหรือความรู้ต่อไปได้ ข้อมูลสุขภาพสามารถจ าแนกได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่

Page 10: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

10

www.ahs.ssru.ac.th

1. ข้อมูลประชากรและสิ่งแวดล้อม เป็นข้อมูลเชิงระบาดวิทยาที่จะเป็นฐานในการค านวณอัตราการเกิดโรคหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆ รวมทั้งคาดคะเนแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงของอุบัติการณ์หรือความชุกของโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคและการรักษาได้เช่น จ านวนผู้ป่วยแบ่งตามอายุ เพศ หรือตามลักษณะของกลุ่มต่าง ๆ จ านวนผู้ป่วยรายใหม่ ฯลฯ

Page 11: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

11

www.ahs.ssru.ac.th

2. ข้อมูลสถานะสุขภาพ (Health status) เป็นข้อมูลทีม่ีความส าคัญในการวางแผนการจัดบริการสุขภาพ เช่น อัตราการเจ็บป่วยและการตายแบ่งตามเพศ กลุ่มอายุ และกลุ่มสาเหตุต่างๆ ภาวะโภชนาการในผู้ป่วย dialysis ภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะต่างๆ เป็นต้น

Page 12: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

12

www.ahs.ssru.ac.th

3. ข้อมูลบริการสุขภาพ (Health services) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมบริการสุขภาพของหน่วยบริการที่จัดให้แก่ผู้ป่วย เช่น ข้อมูลการใช้บริการประเภทต่างๆ ของผู้ป่วย

Page 13: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

13

www.ahs.ssru.ac.th

4. ข้อมูลทรัพยากรทางสุขภาพ (Health resources) เช่น ข้อมูลค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหรือในการป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนจากการท าบ าบัดทดแทนไตชนิดต่างๆ ข้อมูลทรัพยากรบุคคลในระบบบริการสุขภาพ ข้อมูลการกระจายของหน่วยบริการ หรือข้อมูลรายช่ือเครือข่ายบริการโรคไต เป็นต้น

Page 14: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

14

www.ahs.ssru.ac.th

ชุดข้อมูลจ าเป็น (Minimum Data Set) หมายถึงกลุ่มรายการหลักของสารสนเทศที่น้อยที่สุดที่มีความหมายเหมือนกัน ชุดข้อมูลจ าเป็นของแต่ละหน่วยงานจะแตกต่างกันไปขึ้นกับความจ าเป็นที่จะใช้ข้อมูลนั้นๆ โดยทั่วไปมักแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ชุดข้อมูลด้านการบริหาร เช่น ข้อมูลบุคลากรในหน่วยงาน ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลการปฏิบัติงานของหน่วยงานชุดข้อมูลด้านบริการรักษาพยาบาล ได้แก่ ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลกิจกรรมบริการรักษาพยาบาลในด้านต่างๆ

Page 15: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

15

www.ahs.ssru.ac.th

และชุดข้อมูลผลลัพธ์ ซึ่งชุดข้อมูลเหล่านี้นิยมก าหนดขึ้นตามนโยบายของหน่วยงานและใช้เกณฑ์ในการก าหนดคุณลักษณะที่แตกต่างกันไปเช่น เกณฑ์บรรจุข้อมูลในรายการชุดข้อมูลจ าเป็นของDepartment of Health and Human Services ที่มุ่งเน้นว่าต้องเป็นรายการข้อมูลที่ใช้โดยผู้ใช้หลายกลุ่มวิชาชีพ ต้องสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน และข้อมูลสามารถเก็บได้ง่าย มีความแม่นย า น่าเชื่อถือและไม่สิ้นเปลืองทรัพยากรในการเก็บมากเกินไป

Page 16: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

16

www.ahs.ssru.ac.th

Page 17: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

17

www.ahs.ssru.ac.th

Page 18: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

18

www.ahs.ssru.ac.th

นอกจากนี้ กิจกรรมที่ท าให้การบริหารประสบความส าเร็จเรียกว่าหน้าที่ของผู้บริหารหรือหน้าที่การบริหารที่ต้องปฏิบัติ ทั้งนี้ การจ าแนกหน้าที่การบริหารของนักวิชาการส่วนใหญ่มีแนวคิดสอดคล้องกัน แต่มีการจัดกลุ่มกิจกรรมย่อยแตกต่างกันไปตามความคิดเห็นของแต่ละคน ในที่นี้ อาจสรุปและจ าแนกหน้าที่การบริหารครอบคลุมใน ๔ ด้าน ดังนี้

Page 19: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

19

www.ahs.ssru.ac.th

1) การวางแผน (Planning) หมายถึง การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะด าเนินการอย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อองค์กรมากที่สุด

2) การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆ และการจัดระบบการด าเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร

3) การน า (Leading) หมายถึง การอ านวยการและการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององค์กร ซึ่งต้องอาศัยภาวะผู้น าของผู้บริหาร

4) การควบคุม (Controlling) หมายถึง การก ากับให้การด าเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนขององค์กรที่ได้ก าหนดไว้

Page 20: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

20

www.ahs.ssru.ac.th

Page 21: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

21

www.ahs.ssru.ac.th

Page 22: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

22

www.ahs.ssru.ac.th

Page 23: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

23

www.ahs.ssru.ac.th

Page 24: บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล · 1 บทที่ 4 การวางแผนการจัดการข้อมูล

24

www.ahs.ssru.ac.th

แบบฝึกหัด

ให้นักศึกษายกตัวอย่างประกอบ ในการวางแผนกิจกรรมและการด าเนินงานโครงการ 1 กิจกรรมที่ให้เห็นผลโดยตรงทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขส่งที่ E-mail : [email protected]ให้ใช้ E-mail ที่เป็นของมหาวิทยาลัยเทา่นั้น[email protected]