51
รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที3 โครงการหัวหินการเดน สภาพสิ่งแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา จัดทําโดย บริษัท เทคนิคสิ่งแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-1 บทที3 สภาพสิ่งแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา 3.1 ทรัพยากรกายภาพ 3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ เทศบาลเมืองหัวหิน ตั้งอยูทางตอนบนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ติดกับอําเภอชะอํา จังหวัด เพชรบุรี พื้นที่มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ลักษณะทางกายภาพของเทศบาลเมืองหัวหินมีลักษณะเปนภูเขา สลับที่ราบชายฝพื้นที่ลาดเอียงลงสูทะเลอาวไทยทางทิศตะวันออก มีพื้นที่รวม 86.36 ตารางกิโลเมตร หรือ 53,975 ไร โดยมีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ใกลเคียง ดังนีทิศเหนือ ติดกับเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ทิศใต ติดกับเขตอําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ทิศตะวันตก ติดกับตําบลทับใตและตําบลหินเหล็กไฟ อําเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ทิศตะวันออก ติดกับทะเลอาวไทย สําหรับพื้นที่โครงการหัวหินการเดน ของ บริษัท เอช เอช จี จํากัด ตั้งอยูบริเวณซอยหินเหล็กไฟ 2 ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งอยูในเขตการปกครองของเทศบาลเมืองหัวหิน สภาพพื้นทีโครงการนั้นมีลักษณะลาดเอียง เนื่องจากตั้งอยูบนเนินสูง สภาพพื้นที่ไมสม่ําเสมอลาดเอียงไปทางดานหลังซึ่งอยู ใกลกับเชิงเขาหินเหล็กไฟ จากการศึกษาระดับพื้นภายในพื้นที่โครงการ พบวา สวนที่สูงที่สุดของพื้นที่โครงการนั้น อยูบริเวณดานหนาโครงการฝงทิศเหนือคอนไปทางทิศตะวันตก ซึ่งอยูติดกับถนนสาธารณะ สวนที่ต่ําที่สุดของ พื้นที่โครงการอยูบริเวณดานหลังโครงการฝงทิศใตคอนไปทางทิศตะวันออก ซึ่งอยูติดกับที่ดินบุคคลอื่นที่เปน โครงการบานพักอาศัย และพื้นที่วางรอการพัฒนาสามารถแสดงระดับพื้นที่โครงการไดดังรูปที3.1-1 ทั้งนี้ในชวง การกอสรางจะมีการปรับถมเพื่อปรับสภาพพื้นที่ใหเหมาะสมกับกิจกรรมการกอสราง ในสวนบริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการในรัศมี 1 กิโลเมตรนั้นพบบานพักตากอากาศ บานพักอาศัย ที่วางรอการใชประโยชนและจุดชมวิวเขาหินเหล็กไฟ ซึ่งสภาพภูมิประเทศสวนใหญเปนพื้นที่ลาดเอียงบริเวณเชิง เขา และบางสวนตั้งอยูบนเนินเขา เมื่อพิจารณาสภาพภูมิประเทศรอบนอกเขตรัศมีศึกษา พบวา พื้นที่ถัดจาก โครงการไปทางทิศตะวันตกยังคงเปนที่ลาดเอียงพบเนินเขา และเชิงเขามากมาย พื้นที่ถัดจากโครงการไปทางดาน ทิศตะวันออกพบพื้นที่ราบมีชุมชนตั้งอยูคอนขางหนาแนน (ชุมชนเขาพิทักษ ) ลักษณะพื้นที่ลาดเอียงลงสูทะเล บริเวณหาดหัวหิน ดานทิศตะวันออก สําหรับพื้นที่ติดตอที่ดินโครงการดังนี

บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-1

บทที่ 3

สภาพสิ่งแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา 3.1 ทรัพยากรกายภาพ

3.1.1 ลักษณะภูมิประเทศ

เทศบาลเมืองหัวหิน ต้ังอยูทางตอนบนของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ติดกับอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่มีลักษณะเปนรูปส่ีเหลี่ยมผืนผา ลักษณะทางกายภาพของเทศบาลเมืองหัวหินมีลักษณะเปนภูเขาสลับที่ราบชายฝง พื้นที่ลาดเอียงลงสูทะเลอาวไทยทางทิศตะวันออก มีพื้นที่รวม 86.36 ตารางกิโลเมตร หรือ 53,975 ไร โดยมีอาณาเขตติดตอกับพื้นที่ใกลเคียง ดังนี้

ทิศเหนือ ติดกับเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

ทิศใต ติดกับเขตอําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ

ทิศตะวันตก ติด กับ ตําบลทับใต และตํ าบลหิน เห ล็กไฟ อํ า เภอหั วหิน จั งห วัด ประจวบคีรีขันธ

ทิศตะวันออก ติดกับทะเลอาวไทย

สําหรับพื้นที่โครงการหัวหินการเดน ของ บริษัท เอช เอช จี จํากัด ต้ังอยูบริเวณซอยหินเหล็กไฟ 2 ตําบลหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งอยูในเขตการปกครองของเทศบาลเมืองหัวหิน สภาพพื้นที่โครงการนั้นมีลักษณะลาดเอียง เนื่องจากต้ังอยูบนเนินสูง สภาพพื้นที่ไมสมํ่าเสมอลาดเอียงไปทางดานหลังซึ่งอยูใกลกับเชิงเขาหินเหล็กไฟ จากการศึกษาระดับพื้นภายในพื้นที่โครงการ พบวา สวนที่สูงที่สุดของพื้นที่โครงการนั้นอยูบริเวณดานหนาโครงการฝงทิศเหนือคอนไปทางทิศตะวันตก ซึ่งอยูติดกับถนนสาธารณะ สวนที่ตํ่าที่สุดของพื้นที่โครงการอยูบริเวณดานหลังโครงการฝงทิศใตคอนไปทางทิศตะวันออก ซึ่งอยูติดกับที่ดินบุคคลอื่นที่เปนโครงการบานพักอาศัย และพื้นที่วางรอการพัฒนาสามารถแสดงระดับพื้นที่โครงการไดดังรูปที่ 3.1-1 ทั้งนี้ในชวงการกอสรางจะมีการปรับถมเพื่อปรับสภาพพื้นที่ใหเหมาะสมกับกิจกรรมการกอสราง

ในสวนบริเวณพื้นที่โดยรอบโครงการในรัศมี 1 กิโลเมตรนั้นพบบานพักตากอากาศ บานพักอาศัย ที่วางรอการใชประโยชนและจุดชมวิวเขาหินเหล็กไฟ ซึ่งสภาพภูมิประเทศสวนใหญเปนพื้นที่ลาดเอียงบริเวณเชิงเขา และบางสวนต้ังอยูบนเนินเขา เมื่อพิจารณาสภาพภูมิประเทศรอบนอกเขตรัศมีศึกษา พบวา พื้นที่ถัดจากโครงการไปทางทิศตะวันตกยังคงเปนที่ลาดเอียงพบเนินเขา และเชิงเขามากมาย พื้นที่ถัดจากโครงการไปทางดานทิศตะวันออกพบพื้นที่ราบมีชุมชนต้ังอยูคอนขางหนาแนน (ชุมชนเขาพิทักษ) ลักษณะพื้นที่ลาดเอียงลงสูทะเลบริเวณหาดหัวหิน ดานทิศตะวันออก สําหรับพื้นที่ติดตอที่ดินโครงการดังนี้

Page 2: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพสิ่งแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคสิ่งแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-2

รูปที่ 3.1-1 ผังแสดงระดับพื้นที่โครงการในปจจุบัน

Page 3: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-3

ทิศเหนือ ติดกับ ถนนสาธารณะถัดไปเปนบานพักอาศัยและพื้นที่วาง

ทิศใต ติดกับ ที่ดินสวนบุคคลซึ่งเปนพื้นที่วาง

ทิศตะวันออก ติดกับ ตัดกับที่ดินสวนบุคคลซึ่งเปนที่พักตากอากาศ

ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนสาธารณะ ถัดไปเปนบานจัดสรร

3.1.2 ธรณีวิทยา

ลักษณะทางธรณีวิทยาของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ประกอบดวยหินในยุคพรีแคมเบียน จนถึงตะกอนยุคคงอเทอรนารี ตอนบนของพื้นที่บริเวณอําเภอหัวหินพบตะกอนหินรวนถึงกึ่งแข็งตัว ยุคเทอรเชียรี และหินแปรยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน บริเวณเขาโดดทางตอนใตในบริเวณเทือกเขาทางดานตะวันออกของจังหวัดสวนใหญประกอบดวย หินปูนยุคออรโดวิเชียน หินตะกอนยุคแคมเปบรียน และหินไนส ยุคพรีแคมเบรียนบางในบางบริเวณ สวนบริเวณเทือกเขาทางดานตะวันตกของจังหวัดพบหินตะกอนถึงหินตะกอนกึ่งแปรอายุเพอรเมียน-คารบอนิเฟอรัส หินอัคนียุคครีเทเชียส ประกอบดวย หินแกรนิตและหินภูเขาไฟ ซึ่งแทรกดินมาในหินตะกอนและหินตะกอนกึ่งแปรอายุเพอรเมียน-คารบอนิเฟอรัส บริเวณทางดานตะวันตกของจังหวัด ต้ังแตอําเภอเมืองประจวบคีรีขันธถึงอําเภอบางสะพานนอย และบริเวณเขาขนานกับชายฝงทะเลดานตะวันออกในเขตอําเภอหัวหินตอเขาไปในอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี สวนตะกอนยุคควอเทอรนารี ประกอบดวย ตะกอนนําพาเปนบริเวณแคบๆ ตามลําน้ําสายสําคัญ เชน รองทศกัณฑ รองอิฐ เปนตน ตะกอนเศษหินเชิงเขา ปรากฏและแผขยายเปนบริเวณกวางบริเวณเชิงเขา นอกจากนี้ยังปรากฏตะกอนชายฝงทะเลโดยอิทธิพลของคลื่น ซึ่งประกอบดวย ทรายของสันทรายเปนแนวแคบๆ ตลอดแนวชายฝงทะเลดานตะวันออกของจังหวัด รอยแตกและรอยแยกสวนใหญวางตัวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต

พื้นที่โครงการต้ังอยูทางทิศตะวันตกของเขตเทศบาลเมืองหัวหิน ซึ่งอยูบริเวณตอนเหนือของจังหวัดพื้นที่สวนใหญมีลักษณะเปนที่ราบเชิงเขา และพื้นที่ราบชายฝงทะเลดานทิศตะวันออกนั้นมีลักษณะทางธรณีวิทยาอยูในยุคควอเทอรนารี (Quaternary) โดยลักษณะเดนของสภาพธรณีวิทยาในยุคควอเทอรนารี คือ ชั้นตะกอนรวนที่ยังจับตัวไมแนนเกิดจากการกระทําของแมน้ํา และกระแสน้ําชายฝงทะเล เมื่อพิจารณาจากแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณพื้นที่เขตเทศบาลแสดงดังรูปที่ 3.1-2 พบวาประกอบดวย ตะกอนน้ําพาปกคลุมในบริเวณพื้นที่ราบลุมชายฝงทะเลขึ้นมาถึงตะลักพุมน้ํา ตะกอนประกอบดวย ทราย ดินเหนียวและโคลน และตะกอนชายหาด สะสมตัวตามชายฝงทะเล สวนใหญประกอบดวย ทราย ทรายแกวปะปนดวยเศษเปลือกหอยและปะการัง

Page 4: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-4

รูปที่ 3.1-2 แผนที่ธรณีวิทยาบริเวณที่ต้ังโครงการและบริเวณใกลเคียง

พื้นที่โครงการ

Page 5: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-5

3.1.3 ทรัพยากรดิน

จากขอมูลการสํารวจดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยกรมพัฒนาที่ดิน พบวา บริเวณพื้นที่ศึกษาประกอบดวยชุดดิน จํานวน 2 ชุด คือ ชุดดินหัวหิน และชุดดินรังสิต โดยมีรายละเอียดของแตละชุดดิน ดังนี้

1) ดินชุดหัวหิน (Hua Hin Series : Hh)

ดินชุดหัวหินจัดอยูใน Regosols เกิดจากวัตถุตนกําเนิดท่ีเปนพวกทราย ซึ่งถูกน้ําทะเลพัดพามาทับถมตามริมฝง สภาพพื้นที่ที่พบมักมีลักษณะเปนชายหาดริมฝงทะเล หรือสันทรายเกามีความลาดชันนอยกวา 1% ดินชุดนี้เปนดินลึกมีการระบายน้ําดีมาก ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดเร็วมาก มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินชา จากการวิเคราะหทางเคมีพบวามีดินชุดนี้มีปริมาณอินทรียวัตถุตํ่ามาก มีการอ่ิมตัวดวยเบสสูง มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชปานกลางและมีปริมาณโปแตสเซียมตํ่า โดยสรุปดินชุดนี้ไมเหมาะที่จะใชในการเกษตรกรรมเนื่องจากเปนทรายจัด เนื้อดินหยาบ มีคุณสมบัติทางกายภาพไมดี มีความสามารถในการอุมน้ําตํ่า ทําใหพืชประสบปญหาการขาดน้ําเสมอโดยเฉพาะฤดูแลงและดินชุดนี้มีความอุดมสมบูรณ คอนขางตํ่า

2) ดินชุดรังสิต (Rangsit Series: RS)

ดินชุดรังสิตจัดอยูใน Hydromorphic Alluvial Soils เกิดจากตะกอนท่ีถูกน้ําพัดพามาทับถมโดยน้ํากรอยในบริเวณซึ่งอดีตน้ําทะเลเคยทวมถึง สภาพพื้นที่ที่พบสวนใหญมีลักษณะราบเรียบ มีความลาดชัน 1% ดินชุดนี้เปนดินลึกมีการระบายน้ําเลว ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดชามาก มีการไหลบาของน้ําบน ผิวดินชา จากการวิเคราะหทางเคมีพบวามีสภาพเปนดินเปรี้ยว ปริมาณอินทรียวัตถุสูงปานกลาง มีการอิ่มตัวดวยเบสตํ่า มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชตํ่าปานกลางและมีปริมาณโปแตสเซียมตอพืชสูงมาก ดินชุดนี้สวนใหญใชประโยชนในการทํานา สวนมากเปนนาดํา มีความอุดมสมบูรณของดินปานกลางถึงตํ่า และดินดังกลาวเปนดินเปรี้ยว ควรจะมีการลดความเปนกรดของดินลง

3.1.4 สภาพภูมิอากาศ

เทศบาลเมืองหิวหินเปนพื้นที่ที่ต้ังอยูในเขตรอน อยูติดกับอาวไทยทางทิศตะวันออก ลักษณะภูมิอากาศจะถูกควบคุมโดยการหมุนเวียนของกระแสอากาศประจําฤดูกาล โดยสามารถแบงฤดูกาลไดดังนี้ ฤดูรอน ไดรับอิทธิพลจากลมตะวันออกเฉียงใต โดยเริ่มต้ังแตกลางเดือนกุมภาพันธ-กลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ไดรับอิทธิพลจากลมตะวันตกเฉียงใต โดยเริ่มต้ังแตกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม ฤดูหนาว ไดรับอิทธิพลจากลมตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเริ่มต้ังแตกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนกุมภาพันธ

เมื่อพิจารณาขอมูลสถิติภูมิอากาศคาบ 30 ป (พ.ศ. 2514-2543) จากสถานีตรวจวัดอากาศหัวหิน กรมอุตุนิยมวิทยาแสดงดังตารางที่ 3.1-1

Page 6: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-6

ตารางที่ 3.1-1 ขอมูลสถิติภูมิอากาศคาบ 30 ป (พ.ศ. 2514-2543) สถานีตรวจวัดอากาศหัวหิน

ท่ีมา : กรมอุตุนิยมวิทยา

Page 7: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-7

- อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป มีคาเทากับ 27.6 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิสูงสุดท่ีตรวจวัดไดพบในเดือนกรกฎาคม เทากับ 38.7 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิตํ่าสุดท่ีตรวจวัดไดพบในเดือนธันวาคม มีคาเทากับ 13.9 องศาเซลเซียส

- ปริมาณน้ําฝนรวมทั้งป 965.7 มิลลิเมตร มีฝนตกเฉล่ีย 110.6 วันตอป ปริมาณน้ําฝนเฉล่ียสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 298.5 มิลลิเมตร และนอยที่สุดในเดือนมิถุนายน 53.4 มิลลิเมตร

- ความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยรายป รอยละ 74 โดยเดือนตุลาคมมีคาสูงสุด เทากับรอยละ 90 โดยเดือนมีนาคมและธันวาคมมีคาตํ่าสุด เทากับรอยละ 58

- ทิศทางลมและความเร็วลม ความเร็วลมเฉลี่ยมีคาระหวาง 2.0-4.0 น็อต ความเร็วลมสูงสุดท่ีพบในเดือนมีนาคม มีคา 4.0 น็อต ทิศทางลมสวนใหญพัดมาจากทิศตะวันตกเฉียงใตและทิศใต

3.1.5 น้ําผิวดิน

แหลงน้ําผิวดินในเขตอําเภอหัวหิน ประกอบดวยแหลงน้ําผิวดินตามธรรมชาติจําพวกหวย และคลองสาขาตางๆ และแหลงน้ําผิวดินจากการขุดลอกของทางภาครัฐ ไดแก คลองชลประทาน เปนตน โดยแหลงน้ําธรรมชาติที่สําคัญในเขตอําเภอหัวหินแหงหนึ่ง ไดแก หวยสามพัน ซึ่งมีความยาวกวา 42 กิโลเมตร หวยดังกลาวมีการเชื่อมกับแหลงน้ําสายส้ันๆ ที่เปนอิสระแยกจากกันและไหลลงสูอาวไทย ชาวบานในพื้นที่สวนใหญใชประโยชนจากแหลงน้ําดังกลาวในดานการเกษตรในชวงฤดูฝน นอกจากนี้เขตอําเภอหัวหินยังมีโครงการพระราชดําริเกี่ยวกับแหลงน้ําอีกหลายโครงการ เชน โครงการอางเก็บน้ําเขาเตา โครงการอางเก็บน้ําหวยปาเลา โครงการอางเก็บน้ําหวยไทรงาม เปนตน

สําหรับภายในเขตพื้นที่ศึกษาโดยรอบโครงการ รัศมี 1 กิโลเมตร ไมพบแหลงน้ําผิวดินตามธรรมชาติ หรือแหลงน้ําอื่นแตอยางใด

3.1.6 น้ําใตดิน

1) อุทกธรณีวิทยา

พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ประกอบขึ้นดวยหินตางๆ หลายชนิด ทั้งชนิดตะกอนหินรวนและหินแข็ง มีอายุแตกตางกันไป และมีโครงสรางทางธรณีวิทยาที่เอื้ออํานวยตอคุณสมบัติในการเปนแหลงน้ําบาดาลกระจายอยูทั่วไป เชน รอยเลื่อน (Faults) รอยแตก (Fractures) รอยคดโคงรูปประทุน (Anticlines) และรอยคดโคงรูปประทุนหงาย (synclines) เปนตน จากการสํารวจสภาพคุณสมบัติทางอุทกธรณีวิทยาของพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบวา กวารอยละ 70 จัดเปนชั้นน้ําหินแข็ง โดยชั้นน้ําที่ถือไดวาเปนแหลงน้ําบาดาลที่สําคัญ ไดแก ชั้นน้ําตะกอนหินรวน (ชั้นน้ําที่ราบลุมน้ําหลากและตะกอนเศษหินเชิงเขา) ซึ่งพบแผขยายตัวรองรับที่ราบดานทิศตะวันออกของพ้ืนที่ ครอบคลุมพื้นที่สวนใหญที่เปนที่ราบลุมต้ังแตอําเภอหัวหิน ยาวตอเนื่องจนถึงอําเภอบางสะพาน และชั้นน้ําทรายชายหาดซึ่งเปนชั้นน้ําบาดาลระดับน้ําต้ืนเปนแหลงน้ําบาดาลที่สําคัญในบริเวณที่ราบชายฝงทะเล สวนใหญใหน้ําได 2-10 ลบ.ม./ชม. บางแหงสามารถใหน้ําไดมากกวา 20

Page 8: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-8

ลบ.ม./ชม. สําหรับชั้นน้ําหินแข็ง ไดแก ชั้นน้ําหินปูนอายุเพอรเมียน ชั้นน้ําหินตะกอนกึ่งแปรอายุเพอรเมียน-คารบอนิเฟอรัส ชั้นน้ําหินแปร ชั้นน้ําแกรนิต และชั้นน้ําหินรวนกึ่งแข็ง ซึ่งสวนใหญแผขยายตัวอยูทางทิศตะวันตกของพ้ืนที่มีเพียงชั้นน้ําหินแปร ชั้นน้ําหินแกรนิตและชั้นน้ําหินปูนอายุเพอรเมียนบางสวนเทานั้นที่ปรากฏเปนแนวรองรับ พื้นที่สวนที่เปนภูเขาขนานชายฝงทะเลดานทิศตะวันออก สวนใหญใหน้ําได 2 ลบ.ม./ชม. และบางแหงสามารถใหน้ําได 2-10 ลบ.ม./ชม. แผนท่ีอุทกธรณีวิทยาบริเวณที่ต้ังโครงการและบริเวณใกลเคียง แสดงดังรูปที่ 3.1-3

คุณภาพน้ําบาดาลนั้นจะใชคาปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายได (TDS) เปนตัวกําหนดเกณฑที่เหมาะสมและเกณฑอนุโลมสูงสุดสําหรับน้ําบาดาลที่ใชบริโภคได นอกจากนี้แรธาตุอื่นๆ จําพวก เหล็ก (Fe) ความกระดาง (Hardness as CaCO3) คลอไรด (Cl) และฟลูออไรด (F) จัดเปนแรธาตุที่มีบทบาทตอคุณภาพน้ําบาดาล โดยเมื่อพิจารณาคุณภาพน้ําบาดาลในเขตพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ สวนใหญอยูในเกณฑดีถึงปานกลาง ยกเวนในบางพ้ืนที่ มีปริมาณคลอไรด ความกระดาง และเหล็กสูงเกินมาตรฐาน นอกจากนี้ยังพบวาในบางพื้นที่มีปริมาณฟลูออไรดคอนขางสูงและเกินมาตรฐาน อยางไรก็ตามไมพบพื้นที่ที่มีปญหาดานไนเตรทของน้ําบาดาลอยูเลย

พื้นที่อําเภอหัวหิน รองรับดวยชั้นหินใหน้ําทั้งที่เปนตะกอนหินรวน ตะกอนหินรวนกึ่งแข็ง และหินแข็ง โดยประมาณรอยละ 80 ของพื้นที่รองรับดวยชั้นหินใหน้ําที่เปนหินแข็ง และที่เหลือรองรับดวยหินใหน้ําที่เปนตะกอนหินรวน และตะกอนหินรวนกึ่งแข็ง ในสวนของชั้นหินใหน้ําที่เปนตะกอนหินรวน พบวา ประมาณรอยละ 95 เปนชั้นน้ําที่ราบลุมน้ําหลากและตะกอนเศษหินเชิงเขา และอีกรอยละ 5 เปนชั้นน้ําทรายชายหาด สวนชั้นหินใหน้ําที่เปนหินแข็งประกอบดวย ชั้นน้ําหินปูนอายุเพอรเมียน ชั้นน้ําหินตะกอนกึ่งแปรอายุเพอรเมียน-คารบอนิเฟอรัส ชั้นน้ําหินแกรนิตอายุครีเทเชียส

สําหรับพื้นที่โดยรอบพ้ืนที่ศึกษา จากการสํารวจสภาพอุทกธรณีวิทยา ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พบแหลงน้ําบาดาล จํานวน 3 ประเภท ไดแก ชั้นน้ําทรายชายหาด และชั้นน้ําที่ราบลุมน้ําหลากและตะกอนเศษหินเชิงเขา และชั้นน้ําหินแกรนิตอายุครีเทเชียส รายละเอียดดังนี้

ช้ันน้ําทรายชายหาด พบแผขยายตัวเปนแนวแคบๆ ติดทะเลดานทิศตะวันออกในเขตเทศบาลอําเภอหัวหินและตําบลหนองแก ประมาณการใหน้ําของชั้นน้ําอยูในเกณฑนอยกวา 2 ลบ.ม./ชม. ความลึกของชั้นน้ําอยูในชวง 5-8 ม. ระดับน้ําบาดาลลึก 1-2 ม. คุณภาพน้ําบาดาลของชั้นน้ําอยูในเกณฑดี คาปริมาณสารทั้งหมดท่ีละลายไดตํ่ากวา 500 มก./ล. ปริมาณคลอไรด ความกระดาง เหล็ก และฟลูออไรด มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน

ช้ันน้ําที่ราบลุมน้ําหลากและตะกอนเศษหินเชิงเขา พบแผกระจายตัวเปนบริเวณกวาง บริเวณที่ราบสองฟากฝงของแมน้ําปราณบุรี และดานตะวันออกของพ้ืนที่ในเขตพื้นที่สวนใหญของตําบลหินเหล็กไฟ และตําบลทับใต โดยปริมาณการใหน้ําอยูในเกณฑ 2-20 ลบ.ม./ชม. ความลึกของชั้นน้ําอยูในชวง 30-40 ม. ระดับน้ําบาดาลลึก 2-3 ม. คุณภาพน้ําบาดาลของช้ันน้ําอยูในเกณฑดีถึงปานกลาง โดยพื้นที่ที่คุณภาพน้ําบาดาลอยูในเกณฑดี ไดแก บานโชคพัฒนา ตําบลหินเหล็กไฟ บานหนองหญาปลองและบานวังขอย ตําบล

Page 9: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-9

ทับใต พบกระจายตัวอยูทั่วไป ปริมาณคลอไรด ฟลูออไรดและเหล็กโดยทั่วไปอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนบริเวณ บานวังขอย บานหนองหญาปลอง ตําบลทับใต บานหนองแก บานเขาเตา บานสระนอย ตําบลหนองแก พบปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายไดมีคาสูงเกินกวา 1,500 มก./ล. คลอไรดสูงกวา 600 มก./ล. และความกระดางสูงกวา 500 มก./ล. ทําใหพบน้ําบาดาลที่เปนน้ําเค็ม บริเวณบานหนองขอนใต ตําบลหินเหล็กไฟ

รูปที่ 3.1-3 แผนที่อุทกธรณีวิทยาบริเวณที่ต้ังโครงการ และบริเวณใกลเคียง

พื้นที่โครงการ

Page 10: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-10

ช้ันน้ําหินแกรนิตอายุครีเทเชียส พบกระจายตัวตามแนวเขา และเขาลูกโดดทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ ในเขตตําบลหินเหล็กไฟ ตําบลหัวหินและตําบลทับใต ปริมาณการใหน้ําของชั้นน้ําโดยทั่วไปอยูในเกณฑนอยกวา 2 ลบ.ม./ชม. ยกเวนบริเวณบานวังกระทะ ตําบลทับใต ปริมาณใหน้ําอยูในเกณฑ 2-10 ลบ.ม./ชม. ความลึกของชั้นน้ําอยูในชวง 35-45 ระดับน้ําบาดาลลึก 7-9 ม. คุณภาพน้ําบาดาลโดยท่ัวไปอยูในเกณฑที่ดี มีคาปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายไดตํ่ากวา 500 มก./ล. ปริมาณคลอไรด ความกระดาง ฟลูออไรด และเหล็กของพื้นที่ทั้งหมดมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานทั้งหมด ยกเวนบริเวณบานวังกระทะ ตําบลทับใตที่คุณภาพน้ําบาดาลอยูในเกณฑปานกลาง

2) คุณภาพน้ําใตดิน

จากขอมูลพื้นฐานบอน้ําบาดาล อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ของกรมทรัพยากรน้ําบาดาล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม พบบอน้ําบาดาลที่อยูใกลเคียงพื้นที่โครงการ ไดแก บอบาดาลวัดบอฝาย เขตตําบลหัวหิน และบอบาดาลบานหมอนไหม เขตตําบลหินเหล็กไฟ พบวา ระดับความลึกของบอระดับ 42 เมตร ระดับน้ําปกติ 3.6-4.5 เมตร ระยะน้ําลด 34.20-35.40 เมตร ปริมาณน้ํา 1.14-1.59 ลบ.ม./ชม. ขอมูลพื้นฐานบอน้ําบาดาลแสดงดังตารางที่ 3.1-2

ตารางที่ 3.1-2 ขอมูลพื้นฐานบอน้ําบาดาล บอบาดาลวัดบอฝาย และบอบาดาลบานหมอนไหม

รายละเอียด หนวย บอบาดาล

วัดบอฝาย ต.หัวหิน บานหมอนไหม ต.หินเหล็กไฟ

1. ความลึก เมตร 42.00 42.00 2. ระดับน้ําปกติ เมตร 4.50 3.60 3. ระยะน้ําลด เมตร 34.20 35.40 4. ปริมาณน้ํา ลบ.ม./ชม. 1.59 1.14 ท่ีมา : กรมทรัพยากรน้ําบาดาล, 2550

สําหรับแหลงน้ําใชของโครงการนั้น โครงการมีการเจาะบอบาดาลเพื่อนําน้ํามาใชภายในพื้นที่โครงการ บอบาดาลของโครงการมีความลึก 76 เมตร ปริมาณน้ํา 2 ลบ.ม./ชม. โดยขอมูลจากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําจากบอบาดาลของโครงการหัวหินการเดน (พฤษภาคม 2551) ดังแสดงในตารางที่ 2.1-1 (สําเนาผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําบาดาล ดังภาคผนวก ค) เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ําที่ใชบริโภคไดตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2551) โดยเฉพาะเกณฑกําหนดที่เหมาะสมของคุณภาพน้ําบาดาล จะเห็นไดวาพารามิเตอรบางคาของตัวอยางที่ตรวจวัดได ไดแก สารละลายทั้งหมด (TDS) ความกระดางทั้งหมด (Total Hardness) ความกระดางถาวร (Non-Carbonate Hardness) คลอไรดและซัลเฟต มีคาเกินกวาเกณฑที่กําหนดดังกลาว ถึงแมวาคาที่ตรวจวัดไดดังกลาวทั้งหมด ยังมีคาไมเกินเกณฑอนุโลมสูงสุดของมาตรฐานน้ําบาดาลดังกลาวรายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3.1-3

Page 11: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-11

ตารางที่ 3.1-3 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําบาดาลจากบอบาดาลของโครงการหัวหินการเดน (พฤษภาคม 2551)

ลําดับ พารามเิตอร หนวย ผลวิเคราะห มาตรฐาน

เกณฑกําหนด ที่เหมาะสม

เกณฑอนุโลมสูงสุด

1 pH - 6.87 7.0-8.5 6.5-9.2 2 Colour Pt-Co Unit < 5 5 15 3 Turbidity NTU < 0.5 5.0 20 4 TDS mg/L 879 ≯600 1,200 5 Total Hardness mg/L as CaCO3 333 ≯300 500 6 Non-Carbonate Hardness mg/L as CaCO3 226 ≯200 250 7 Chloride mg/L 322 ≯250 600 8 Fluoride mg/L 0.68 ≯0.7 1.0 9 Nitrate mg/L 10.84 ≯45 45 10 Sulfate mg/L 207 ≯200 250 11 CN- mg/L < 0.001 none 0.1 12 As mg/L < 0.0002 none 0.05 13 Se mg/L < 0.0005 none 0.01 14 Hg mg/L < 0.0001 none 0.001 15 Cd mg/L < 0.001 none 0.01 16 Pb mg/L < 0.001 none 0.05 17 Cu mg/L < 0.03 ≯1.0 1.5 18 Fe mg/L < 0.05 ≯0.5 1.0 19 Mn mg/L < 0.02 ≯0.3 0.5 20 Zn mg/L < 0.02 ≯5.0 15 21 Fecal Coliform Bacteria MPN/100mL < 1.8 - - 22 Total Coliform Bacteria MPN/100mL < 1.8 < 2.2 -

23 Standard Plate Count CFU/mL 5 ≯500 - 24 E.coli - absent absent -

ที่มา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เร่ือง กําหนดหลักเกณฑและมาตรการในทางวิชาการ สําหรับการปองกันดานสาธารณสุข และการปองกันในเร่ืองส่ิงแวดลอมเปนพิษ พ.ศ. 2551 (มาตรฐานน้ําบาดาลที่ใชบริโภคได)

Page 12: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-12

3.2 ทรัพยากรทางชีวภาพ

3.2.1 ทรัพยากรนิเวศบนบก

สภาพพื้นที่ของอําเภอหัวหินนั้น สามารถแบงไดอยางงายออกเปน 2 สวน ไดแก พื้นที่ชายฝงทะเลดานตะวันออกของพื้นที่ และพื้นที่เชิงเขาทางดานทิศตะวันตกของพื้นที่ ในสวนของเขตพื้นที่ชายฝงทะเลนั้นมีการพัฒนาเพื่อการทองเท่ียว ดังนั้นจึงมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะชุมชนไปจากเดิม สภาพชุมชนหนาแนนขึ้น มีส่ิงอํานวยความสะดวกเขามาแทนที่ มีนักทองเที่ยวหล่ังไหลเขามาเปนจํานวนมากสงผลใหไมพบพื้นที่ที่มีความสัมพันธกับระบบนิเวศบนบกแตอยางใด สําหรับสภาพพ้ืนที่ทางดานตะวันตกของอําเภอหัวหินนั้นสวนใหญมีลักษณะเปนที่ราบเชิงเขา มีการพัฒนาพื้นที่บางสวนไปในเชิงเกษตร ชนิดของปาที่พบประกอบดวย ปาดิบชื้น ปาดิบแลง และปาเบญจพรรณ พรรณไมที่พบ ไดแก มะคาโมง ชิงชัน แดง ยาง ไมจันทร และไมเกด ซึ่งเปนไมประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยเขตอําเภอหัวหินนั้นมีอุทยานแหงชาติที่สําคัญ จํานวน 1 แหง ไดแก อุทยานแหงชาติแกงกระจาน มีพื้นที่ประมาณ 144,375 ไร ครอบคลุมพื้นที่เขตอําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และเขตอําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ สําหรับชนิดของสัตวปาที่พบในเขตอุทยาน ไดแก ชางปา หมีหมา หมาไน กวางปา เกงหมอ จิ้งเหลนภูเขาสีจาง ลิงเสน ชะนีมือขาว เปนตน สวนบริเวณเขตพื้นที่ศึกษารอบโครงการรัศมี 1 กิโลเมตรนั้นพบพื้นที่ปาบางสวนบริเวณเขาหินเหล็กไฟ ซึ่งถูกพัฒนาเปนแหลงทองเท่ียว จุดชมวิวเมืองหัวหิน มีลักษณะเปนปาดงดิบแลง พบพันธุไมสําคัญไดแก สมอ จัน ปอยหนาม เปนตน โดยสวนใหญพบกลาไมและไมเถา เชน กําลังหนุมาน หวายลิง เปนตน นอกจากนี้พื้นที่บางสวนในเขตรัศมีศึกษามีลักษณะเปนพื้นที่วางรอการใชประโยชน และพื้นที่ชุมชนพักอาศัย จึงไมพบสัตวปาหายากหรือใกลสูญพันธุแตอยางใด

3.2.2 ทรัพยากรนิเวศในแหลงน้ํา

บริเวณใกลเคียงพื้นที่โครงการไมพบแหลงน้ําผิวดิน หรือแหลงน้ําที่มีทรัพยากรชีวภาพที่มีความสัมพันธกับนิเวศวิทยาแหลงน้ําที่สําคัญแตอยางใด

3.3 คุณคาการใชประโยชนมนุษย

3.3.1 น้ําใช

จังหวัดประจวบคีรีขันธมีการประปาสวนภูมิภาคท่ีใหบริการชุมชนในจังหวัด 4 แหง มีปริมาณ การผลิตน้ํารวม 740,368.50 ลบ.ม. โดยแบงเปน

- สํานักงานประปาประจวบคีรีขันธ แหลงจายน้ําประปา 1 แหง ปริมาณการผลิต 267,410.50 ลบ.ม.

- สํานักงานประปาปราณบุรี แหลงจายน้ําประปา 1 แหง ปริมาณการผลิต 216,215.00 ลบ.ม.

- สํานักงานประปาบางสะพาน แหลงจายน้ําประปา 3 แหง ปริมาณการผลิต 96,167.00 ลบ.ม.

- สํานักงานประปากุยบุรี แหลงจายน้ําประปา 1 แหง ปริมาณการผลิต 160,576.00 ลบ.ม.

Page 13: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-13

สําหรับในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองหัวหินจะไดรับบริการจายน้ําประปาจากการประปาเทศบาลเมืองหัวหิน ปจจุบันมีระบบผลิตน้ําประปา จํานวน 5 แหง มีกําลังการผลิตรวม 44,580 ลบ.ม./วัน ดังตารางที่ 3.3-1 โดยรับน้ําดิบมาจากเขื่อนแกงกระจานและเขื่อนปราณบุรี เขาสูอางเก็บน้ํา 5 แหง ความจุรวม 233,200 ลบ.ม. ดังตารางที่ 3.3-2

ตารางที่ 3.3-1 กําลังการผลิตและกําลังการจายน้ําประปา เทศบาลเมืองหัวหิน

ลําดับที ่ สถานที ่ พื้นที ่กําลังการผลิต ลบ.ม./วัน

กําลังการจายนํ้าประปา ลบ.ม./วัน

1 โรงสูบน้ําดําเนินเกษม 2 ไร 2 งาน 2,880 1,800 2 โรงสูบน้ําไรนุน 4 ไร 16,500 13,600 3 โรงสูบน้ําหัวนา 32 ไร 12,000 9,000 4 โรงสูบน้ําเขาแลง 130 ไร 12,000 12,000 5 โรงสูบน้ําเขาเตา 6 ไร 1 งาน 1,200 900

รวม 174 ไร 3 งาน 44,580 37,300 ท่ีมา : บรรยายสรุปเทศบาลเมืองหัวหิน, 2550

ตารางที่ 3.3-2 แหลงเก็บน้ําดิบสํารองของการผลิตน้ําประปา เทศบาลเมืองหัวหิน

ลําดับที ่ สถานที ่ พื้นที ่กําลังการผลิต ลบ.ม./วัน

กําลังการจายนํ้าประปา ลบ.ม./วัน

1 อางเก็บน้ําโคงพระจันทร 35,000 เข่ือนแกงกระจาน คลองสงแบบเปด 2 อางเก็บน้ําดําเนินเกษม 23,000 เข่ือนปราณบรุ ี ทอ GS ∅ 600 มม. 3 อางเก็บน้ําเขาเตา 1,200 เข่ือนปราณบรุ ี ทอ GS ∅ 600 มม. 4 อางเก็บน้ําหัวนา 87,000 เข่ือนปราณบรุ ี ทอ HDPE ∅ 1,000 มม. 5 อางเก็บน้ําเขาแลง 87,000 เข่ือนปราณบรุ ี ทอ AC ∅ 200 มม.

ท่ีมา : งานผลิต กองการประปา เทศบาลเมืองหัวหิน, 2550

ทั้งนี้ ประชาชนสวนใหญในเขตอําเภอหัวหิน โดยเฉพาะในเขตเทศบาลตําบลหัวหินใชน้ําประปาและบางสวนใชน้ําบาดาล สําหรับพื้นที่โครงการนั้นนําน้ําบาดาลจากบอบาดาลที่เจาะในพื้นที่ (ปริมาณน้ํา 2 ลบ.ม./ชม.) ซึ่งทางโครงการจะทําการสูบน้ําบาดาลดังกลาวมาสํารองไวในถังสํารองน้ําใตดิน ขนาด 20 ลบ.ม. ของแตละอาคาร เนื่องจากเขตจายน้ําประปาเทศบาลเมืองหัวหินไมครอบคลุมบริเวณพื้นที่โครงการ

3.3.2 การจัดการน้ําเสียและส่ิงปฏิกูล

1) การจัดการน้ําเสีย

ในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน มีระบบบําบัดน้ําเสียกลางเมืองหัวหิน จํานวน 2 แหง ปจจุบันใหบริการบําบัดน้ําเสียชุมชน ครอบคลุมเฉพาะเขตชุมชนหนาแนน (ประมาณ 2.23 ตร.กม.) รายละเอียดดังนี้

Page 14: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-14

(ก) ระบบบําบัดน้ําเสีย ระยะที่ 1 อยูที่ถนนแนบเคหาสน บนเนื้อที่ 1.75 ไร เปนระบบบําบัดน้ําเสียแบบ อาร.บี.ซี. (แผนหมุนชีวภาพ) ขนาด 8,000 ลบ.ม./วัน เปดใชงานต้ังแต 19 ธันวาคม 2534 ถึงปจจุบัน

(ข) ระบบบําบัดน้ําเสีย ระยะที่ 2 อยูที่ถนนเพชรเกษม ซอยหัวหิน 89 บริเวณเขาพับผา บนเนื้อที่ 12 ไร เปนระบบบําบัดน้ําเสียแบบระบบคูวนเวียนขนาด 8,500 ลบ.ม./วัน เปดใชงานต้ังแต 1 ตุลาคม 2545 ถึงปจจุบัน ทั้งนี้ในอนาคต ระบบบําบัดน้ําเสียดังกลาวยังสามารถเพิ่มขนาด การรองรับน้ําเสียไดอีกประมาณ 8,500 ลบ.ม./วัน รวมเปนความสามารถในการรองรับน้ําเสียสูงสุด 17,000 ลบ.ม./วัน

สําหรับพื้นที่โครงการและบริเวณใกลเคียงอยูนอกเขตใหบริการบําบัดน้ําเสียของระบบบําบัดน้ําเสียกลางเมืองหัวหิน ปจจุบันการจัดการน้ําเสียในชุมชน กรณีบานพักอาศัยสวนใหญเปนบอเกรอะ-บอซึม และถังบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูป สวนโครงการท่ีพักอาศัยซึ่งมีปริมาณน้ําเสียคอนขางมาก จะติดต้ังระบบบําบัด น้ําเสียของแตละโครงการ และควบคุมใหคุณภาพน้ําทิ้งอยูในเกณฑมาตรฐานกอนปลอยออกสูภายนอก

2) การจัดการส่ิงปฏิกูล

เขตเทศบาลเมืองหัวหินประชาชนสามารถติดตอขอใชบริการรถสูบส่ิงปฏิกูลทั้งของเทศบาลฯ และเอกชน โดยปจจุบันเทศบาลเมืองหัวหินมีรถสูบส่ิงปฏิกูล ขนาด 4 ลบ.ม. จํานวน 2 คัน และบริษัทเอกชนมีรถสูบส่ิงปฏิกูล ขนาด 4 ลบ.ม. จํานวน 6-8 คัน อัตราการใหบริการสูบส่ิงปฏิกูลเฉล่ียประมาณ 5-6 ราย/วัน

3.3.3 การระบายน้ําและการปองกันน้ําทวม

สภาพภูมิประเทศของเทศบาลเมืองหัวหิน มีลักษณะเปนเชิงเขาและที่ราบเชิงเขา (ทิศตะวันตก) สลับกับที่ราบชายฝงทะเล (ทิศตะวันออก) สภาพพื้นที่ลาดเอียงลงสูทะเลอาวไทยทางทิศตะวันออก กรณีฝนตกน้ําฝนจะไหลตามความลาดเอียงของพื้นที่เขาสูทอระบายน้ําสาธารณะริมถนนสายหลัก และซอยยอยตางๆ ไหลไปรวมท่ีบอพัก-สูบระบายน้ําฝนของเทศบาลเมืองหัวหินบริเวณที่ราบชายฝงทางทิศตะวันออก จํานวน 3 แหง ซึ่งจะทําการสูบระบายออกสูชายฝงทะเลในหนาฝน โดยน้ําฝนบางสวนจะไหลลงสูที่ลุมและแองน้ําตามสภาพธรรมชาติของพื้นที่แตละแหง

ปจจุบันในเขตชุมชนเมืองและพื้นที่รอบนอกที่มีถนนสายหลักผานจะมีทอระบายน้ําขนาด 1.0 เมตร ความลาดเอียง 1:1,000 ถึง 1:2,000 สําหรับรองรับน้ําเสียและน้ําฝนจากชุมชน ตามถนนสายรองและซอยยอยตางๆ ริมถนนวางทอขนาด 0.6-0.8 เมตร ความลาดเอียง 1:500 ถึง 1:1,000 โดยในหนาแลงพื้นที่ที่อยูในเขตบริการบําบัดน้ําเสียของระบบบําบัดน้ําเสียกลางเมืองหัวหิน น้ําเสีย/น้ําทิ้งจะไหลตามทอระบายน้ําผานบอพัก-สูบระบายน้ํา และเขาสูระบบบําบัดน้ําเสียกลางกอนสูบระบายออกสูชายฝงทะเลทางทิศตะวันออก สวนหนาฝนกรณีฝนตกหนักน้ําฝนจะไหลรวมกับน้ําเสีย เมื่อผานบอพัก-สูบระบายน้ํา ทางเทศบาลจะเปดประตูระบายน้ําพรอมเปดเครื่องสูบน้ําสูบระบายน้ําออกสูชายฝงทะเลโดยตรง

Page 15: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-15

สําหรับพื้นที่โครงการต้ังอยูบริเวณที่ราบเชิงเขา (เขาหินเหล็กไฟ) สภาพพื้นที่ลาดเอียงจากฝงทิศตะวันตก (ฝงถนนสาธารณะ) ไปทางทิศตะวันออก (ดานหลังพื้นที่โครงการ) โดยในชวงกอสรางทางโครงการจะปรับระดับพื้นที่โครงการเปน 3 ระดับ โดยดานหนาโครงการทางทิศตะวันตกระดับใกลเคียงกับถนนสาธารณะชวงกลางและดานหลังโครงการปรับพื้นที่ใหลาดตํ่าลงเล็กนอย และเมื่อเปดดําเนินโครงการน้ําฝนและน้ําทิ้งจะรวบรวมเขาสูบอหนวงน้ํา จํานวน 2 บอ ซึ่งติดต้ังเครื่องสูบน้ํา สําหรับสูบระบายออกสูรางระบายน้ําสาธารณะ (รางระบายน้ํายาวประมาณ 500 เมตร) จากปลายรางระบาย น้ําจะไหลตามความลาดเอียงของพื้นที่ลงสูพื้นที่ลุมตามสภาพธรรมชาติ

3.3.4 การจัดการมูลฝอย

พื้นที่โครงการต้ังอยูในเขตความรับผิดชอบในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองหัวหิน ซึ่งมีรายละเอียดการจัดการมูลฝอยในเขตเทศบาล ดังนี้

1) การเก็บขนมูลฝอย

การใหบริการเก็บขนมูลฝอยคิดเปนพื้นที่ 86.36 ตร.กม. ครอบคลุมพื้นที่ในเขตเทศบาลทั้งหมด โดยทางกองสาธารณสุขจะเขาทําการเก็บขนมูลฝอย 3 ชวงเวลา ไดแก ชวงเวลา 01.00-09.00 น. 08.00-16.00 น. และ 18.00-01.00 น. โดยมีเจาหนาที่ดําเนินการจัดเก็บ จํานวน 117 คน แบงเปนพนักงานขับรถเก็บขนมูลฝอย 24 คน พนักงานประจํารถเก็บขนมูลฝอยและพนักงานกวาดขยะ 93 คน สําหรับรถเก็บขน มูลฝอยและรถบริการอ่ืนๆ ของเทศบาลมี จํานวน 31 คัน ประกอบดวย รถเก็บขนมูลฝอย จํานวน 23 คัน รถบรรทุกหางเหยี่ยว จํานวน 1 คัน รถบรรทุกน้ําจํานวน 1 คัน รถรอนทรายจํานวน 1 คัน รถกวาด-ดูดฝุนจํานวน 2 คัน และรถยนตเอนกประสงคจํานวน 3 คัน แสดงรายละเอียดดังตารางที่ 3.3-3 2) การกําจัดขยะมูลฝอย

ปริมาณขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดในแตละวัน ประมาณ 90 ตัน/วัน ทางเทศบาลจะนําไปกําจัดโดยวิธีฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ซึ่งอยูในความดูแลของ อบต.ทับใต อยูบริเวณเชิงเขาหนองคู บานหนองพรานพุก ต.ทับใต อ.หัวหิน หางจากเทศบาลเมืองหัวหิน ประมาณ 190 กม. ปจจุบันมีพื้นที่กําลังใชงาน 80 ไร และเหลือพื้นที่ฝงกลบอีก 80 ไร โดยคาดวาจะสามารถใชไดนานประมาณ 20 ป

Page 16: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-16

ตารางที่ 3.3-3 จํานวนรถเก็บขนขยะมูลฝอย รถเอนกประสงคและรถบริการสาธารณะของกองบริการ สาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลเมืองหัวหิน ป 2551

ลําดับ ประเภท/ชนิดรถ ความจ ุจํานวน

(คัน)

1. รถเก็บขนขยะมูลฝอย - รถยนตเปดขางเททาย 15 ลบ.หลา (11.47 ลบ.ม.) 1 - รถยนตเปดขางเททาย 14 ลบ.หลา (10.70 ลบ.ม.) 1 - รถยนตเปดขางเททาย 12 ลบ.หลา (9.17 ลบ.ม.) 2 - รถยนตเปดขางเททาย 10 ลบ.หลา (7.65 ลบ.ม.) 1 - รถยนตเปดขางเททาย 4 ลบ.หลา (3.06 ลบ.ม.) 5 - รถยนตเปดขางเททาย 3 ลบ.หลา (2.29 ลบ.ม.) 1 - รถยนตเปดขางเททาย 1 ลบ.หลา (0.76 ลบ.ม.) 1 - รถยนตอัดทาย 10 ลบ.ม. 6 - รถยนตอัดทาย 10 ลบ.หลา (7.65 ลบ.ม.) 3 - รถยนตอัดทาย 5 ลบ.ม. 1 - รถคอนเทนเนอร - 1

รวม 23

2. รถบรรทุกหางเหยี่ยว - - 1 3. รถบรรทุกน้ํา - 6 ลบ.ม. 1 4. รถรอนทราย - - 1 5. รถกวาด-ดูดฝุน - - 2 6. รถยนตเอนกประสงค - - 3

รวม 31 ท่ีมา : กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม, เทศบาลเมืองหัวหิน, 2551

3.3.5 พลังงานและไฟฟา

จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีการใชไฟฟารอยละ 60 ของการจายกระแสไฟฟาจากหมอแปลงและ เก็บไวเปนปริมาณสํารอง รอยละ 40 สําหรับความตองการท่ีจะมีการขยายตัวในอนาคต การไฟฟาฝายผลิตจังหวัดประจวบคีรีขันธมีสถานีไฟฟาแรงสูงอยูในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ 4 สถานี คือ สถานีการไฟฟาจังหวัดประจวบคีรีขันธ สถานีการไฟฟาอําเภอหัวหิน สถานีการไฟฟาอําเภอปราณบุรี สถานีการไฟฟาอําเภอ บางสะพาน และมีสํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค จํานวน 11 แหง แสดงขอมูลดานการไฟฟาของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ป พ.ศ. 2548 ดังตารางที่ 3.3-4 ดังนี้

เทศบาลเมืองหัวหินรวมกับการไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอหัวหินเปนผูดูแลรับผิดชอบระบบไฟฟาสาธารณะ รวมถึงขยายเขตไฟฟาสาธารณะตามชุมชนตางๆ ซึ่งในเขตเทศบาลมีไฟฟาใชครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ จํานวนครัวเรือนที่ใชไฟฟาในเขตเทศบาลมี 20,059 ราย

Page 17: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-17

ตารางที่ 3.3-4 ขอมูลการใชไฟฟาของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ป พ.ศ. 2548

อําเภอ หมูบาน ครัวเรือน

จํานวนหมูบานทั้งหมด

หมูบานที ่ไมมีไฟฟาใช

จํานวนครวัเรือนทั้งหมด

ที่ใชไฟฟา (ครัวเรือน)

ไมมีไฟฟาใช (ครัวเรือน)

เมืองประจวบครีขัีนธ 63 1 10,731 10,627 104 กุยบุร ี 44 0 7,009 6,934 75 ทับสะแก 59 1 7,542 7,448 94 บางสะพาน 65 0 9,800 9,707 93 บางสะพานนอย 39 0 5,823 5,759 64 ปราณบุร ี 38 7 5,126 5,078 48 หัวหิน 62 12 5,932 5,852 80 ก่ิงอําเภอสามรอยยอด 34 0 4,653 4,601 52

รวม 404 21 56,616 56,006 610 ท่ีมา : บรรยายสรุปจังหวัดประจวบคีรีขันธ, 2549

3.3.6 การติดตอส่ือสาร

1) โทรศัพท จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสํานักงานบริการโทรศัพท รวม 6 สํานักงาน ดังนี้

- สํานักงานบริการโทรศัพท จังหวัดประจวบคีรีขันธ

- สํานักงานบริการโทรศัพท หัวหิน

- สํานักงานบริการโทรศัพท ปราณบุรี

- สํานักงานบริการโทรศัพท ทับสะแก

- สํานักงานบริการโทรศัพท บางสะพาน

- สํานักงานบริการโทรศัพท กุยบุรี การใหบริการโทรศัพท ในป 2548 มีบริการจํานวนหมายเลขโทรศัพท 32,828 หมายเลข หมายเลขที่มีผูเชา 26,862 หมายเลข จํานวนผูเชาตอประชากรพันคนคิดเปนอัตราสวน 81.83

สําหรับระบบโทรศัพทในเขตเทศบาลเมืองหัวหินพบชุมสายโทรศัพท จํานวน 4 ชุมสาย ความสามารถในการใหบริการสูงสุด 8,570 เลขหมาย จํานวนโทรศัพทสวนบุคคลในเขตเทศบาล 7,418 เลขหมาย และจํานวนโทรศัพทสาธารณะในเขตเทศบาล 411 เลขหมาย นอกจากนี้ในเขตเทศบาลเมืองหัวหินยังมีที่ทําการไปรษณียโทรเลขใหบริการประชาชน จํานวน 1 แหง ต้ังอยูบริเวณ ถนนดําเนินเกษม ตําบลหัวหิน ตรงขามกับที่วาการอําเภอหัวหินหลังเกา

2) สถานีวิทยุกระจายเสียง/วิทยุโทรทัศน จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสถานีวิทยุกระจายเสียง จํานวน 7 แหง ดังนี้

- สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ 0005 ระบบ AM ต้ังอยูในกองบิน 53 อ.เมือง สงกระจายเสียงดวยความถี่ 801 กิโลเฮิรตซ

Page 18: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-18

- สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ 05 ระบบ FM ต้ังอยูถนนเพชรเกษม ต.หนองแก อ.หัวหิน สงกระจายเสียงดวยความถี่ 92.5 เมกกะเฮิรตซ

- สถานีวิทยุตํารวจตระเวนชายแดนคายพระมงกุฎเกลา ต้ังอยูถนนเพชรเกษม อ.เมือง ระบบ FM สงกระจายเสียงดวยความถี่ 100.25 เมกกะเฮิรตซ

- สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 1 ปากน้ําปราณ ต้ังอยู ต.ปากน้ําปราณ อ.ปราณบุรี ระบบ AM สงกระจายเสียงดวยความถี่ 1,233 กิโลเฮิรตซ

- สถานีวิทยุศูนยการทหารราบ ต้ังอยูในคายธนะรัชต อ.ปราณบุรี ระบบ FM สงกระจายเสียงดวยความถี่ 96.25 เมกกะเฮิรตซ

- สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ต้ังอยูถนนสวนสน อ. เมือง ระบบ FM สงกระจายเสียงดวยความถี่ 102.25 เมกกะเฮิรตซ - สถานี วิทยุองคการ ส่ือสารมวลชนแห งประ เทศไทย (อ .ส .ม .ท . ) ต้ั งอยู 201 ถ.ประจวบคีรีขันธ อ.เมือง ระบบ FM สงกระจายเสียงดวยความถี่ 106.75 เมกกะเฮิรตซ

สําหรับสถานีวิทยุกระจายเสียงในเขตเทศบาลเมืองหัวหินนั้นมีจํานวนทั้งส้ิน 3 แหง ไดแก สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ 05, สถานีวิทยุชุมชนแหลมหินและสถานีวิทยุชุมชนราชมงคล นอกจากนี้เทศบาลยังมีระบบเสียงตามสายครอบคลุมพื้นที่เขตเทศบาลและมีหอกระจายขาวครอบคลุมทุกชุมชนในเขตเทศบาล

3) สถานีโทรทัศน สามารถรับชมสถานีโทรทัศนไดทุกชอง คือ ชอง3, ชอง5, ชอง7, ชอง9, ชอง11 และ ชอง TITV โดยมีสถานีทวนสัญญาณดังนี้

- สถานีโทรทัศนชอง 11 ประจวบคีรีขันธ ต้ังอยู ถ.ประจวบ-อาวนอย ต.เกาะหลัก อ.เมือง

- สถานีถายทอดโทรทัศนยอยชอง 3 และชอง 9 อ.ส.ม.ท. ประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ ต้ังอยูบนเขาทุงกระตาย ต.อาวนอย อ.เมือง

- สถานีถายทอดโทรทัศนชอง 5 และ ชอง 7 ประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ ต้ังอยูบนเขาสมอสาม บานโคกตาหอม ต.อางทอง อ.ทับสะแก

- สถานีถายทอดโทรทัศน TITV ต้ังอยูบนเขาสมอสาม บานโคกตาหอม อ.ทับสะแก

4) หนังสือพิมพทองถิ่น จังหวัดประจวบคีรีขันธและเทศบาลเมืองหัวหินมีหนังสือพิมพทองถิ่น ดังนี้

- หนังสือพิมพหัวหินสาร ออกพิมพจําหนายเดือนละ 2 ครั้ง (รายปกษ)

- หนังสือพิมพเสียงประจวบ ออกพิมพจําหนายเดือนละ 2 ครั้ง (รายปกษ)

- หนังสือพิมพประจวบสาร เปนหนังสือของทางราชการ จัดทําโดยองคกรสวนบริหารสวนจังหวัดประจวบคีรีขันธ จัดพิมพเดือนละ 1 ครั้ง

- หนังสือพิมพขาวหนาในของเทศบาลเมืองหัวหิน

Page 19: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-19

3.3.7 การคมนาคมขนสง

1) การคมนาคมทางบก จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสภาพพื้นที่ยาวลงไปเชื่อมระหวางภาคกลางกับภาคใต โดยมีถนนเพชรเกษมเปนเสนทางการคมนาคมสายหลัก ทําใหการติดตอระหวางจังหวัดกับจังหวัด หรือกับอําเภอเปนไปไดดวยความสะดวก เปนทางผานของรถไฟและรถโดยสารหลายเสนทางเขาสูภาคใต คือ มีเสนทางรถโดยสารประจําทาง แยกเปนเสนทางหมวด 2 (ที่มีจุดเริ่มตนที่กรุงเทพฯ จุดปลายทางอยูในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ) จํานวน 7 เสนทาง เสนทางหมวด 3 (ระหวางจังหวัด) จํานวน 5 เสนทาง เสนทางหมวด 4 (ภายในเขตจังหวัด) จํานวน 6 เสนทาง และเสนทางรถขนาดเล็ก จํานวน 2 เสนทาง รถโดยสารประจําทางและรถขนาดเล็กดังกลาว สวนใหญจะมีการเดินรถบนถนนเพชรเกษม (ทางหลวงแผนดินหมายเลข 4) ซึ่งในพื้นที่อําเภอหัวหินนั้นลักษณะของถนนเพชรเกษมเปนถนนลาดยางแอสฟลท ขนาด 8 ชองทางจราจร 2 ทิศทาง มีเกาะกลางถนนและไหลทาง

ประชากรสวนใหญใชการคมนาคมทางบก โดยรถยนตโดยสารประจําทางเปนหลัก ซึ่งมีรถโดยสารประจําทางที่ออกจากจังหวัดประจวบคีรีขันธไปยังจังหวัดตางๆ และมีรถโดยสารประจําทางที่ออกจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดภาคใตหลายเสนทาง ซึ่งจะตองผานจังหวัดประจวบคีรีขันธ ทั้งรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศ ทําใหประชาชนไดรับความสะดวกในการเดินทางเปนอยางมาก

รถยนต เสนทางหลวงแผนดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เปนเสนทางสายหลักท่ีจะเดินทางไปภาคใต ซึ่งจะตองผานจังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยมีรถโดยสารประจําทางธรรมดาและรถโดยสารประจําทางปรับอากาศใหบริการจากกรุงเทพฯ-ประจวบคีรีขันธ ทั้งนี้จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีหนวยงานรับผิดชอบการสรางถนน คือ แขวงการทางประจวบฯ (หัวหิน) และสํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีระยะทางขึ้นทะเบียน รวม 1,185.812 กิโลเมตร ทางลาดยาง รวม 1,044.810 กิโลเมตร ทางคอนกรีต 11.080 กิโลเมตร และทางลูกรัง 209.892 กิโลเมตร

สําหรับพื้นที่เขตเทศบาลมีถนนในความรับผิดชอบ จํานวน 436 สาย ความยาวรวม 154.89 กม. แบงเปนถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 219 สาย ถนนแอสฟลทติคคอนกรีต 83 สาย และถนนลูกรัง 134 สาย

จากขอมูลปริมาณการจราจรบนทางหลวง ป 2547 ของถนนเพชรเกษม ซึ่งเปนเสนทางสายหลักท่ีสามารถใชสัญจรเขาสูโครงการได โดยมีจุดสํารวจขอมูลปริมาณการจราจรของกรมทางหลวงที่สัมพันธเกี่ยวของกับโครงการ จํานวน 2 จุด ไดแก บริเวณกิโลเมตรที่ 216+920 และ กิโลเมตรที่ 251+100 รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 3.3-5

Page 20: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-20

ตารางที่ 3.3-5 ขอมูลปริมาณการจราจรบนถนนเพชรเกษม

ประเภทรถ จุดตรวจวัดปรมิาณจราจร (คัน/วัน)

กม.ที่ 216+920 กม.ที่ 251+100 รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน 4,764 7,013 รถยนตนั่งเกิน 7 คน 8,887 6,474 รถโดยสารขนาดเล็ก 60 96 รถโดยสารขนาดกลาง 26 151 รถโดยสารขนาดใหญ 407 411 รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) 172 3,637 รถบรรทุก 2 เพลา (6 ลอ) 356 1,661 รถบรรทุก 3 เพลา (10 ลอ) 108 2,371 รถบรรทุกพวง (มากกวา 3 เพลา) 31 1,865 รถบรรทุกก่ึงพวง (มากกวา 3 เพลา) 10 896 รถจักรยาน 2 ลอ และ 3 ลอ 14 16 รถจักรยานยนตและ 3 ลอเครื่อง 2,361 3,688

รวม 17,433 28,279 ท่ีมา : กรมทางหลวง สํานักอํานวยความปลอดภัย, 2549

จากขอมูลปริมาณการจราจรบริเวณจุดตรวจวัดปริมาณจราจร ทั้ง 2 แหง พบวา บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 216+920 มีปริมาณจราจรเฉลี่ยรายวัน 17,433 คัน ประเภทของรถที่พบมากท่ีสุด คือ รถยนตนั่งเกิน 7 คน และรถยนตนั่งไมเกิน 7 คน สําหรับบริเวณหลักกิโลเมตรท่ี 251+100 มีปริมาณจราจรเฉลี่ยรายวัน 28,279 คัน ประเภทของรถที่พบมากที่สุด คือ รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน และรถยนตนั่งเกิน 7 คน ตามลําดับ

เสนทางคมนาคมเขาสูพื้นที่โครงการสามารถทําไดหลายเสนทาง โดยเสนทางที่คาดวานาจะเปนเสนทางสายหลักในการเขาสูพื้นที่โครงการ ไดแก เสนทางซอยหัวหิน 88 ซึ่งมีลักษณะเปนถนนคอนกรีต 2 ชองทางจราจร 2 ทิศทาง ผานบริเวณชุมชนเขาพิทักษ เขาสูพื้นที่โครงการบริเวณซอยหินเหล็กไฟ 2 มีลักษณะเปนถนนคอนกรีต 2 ชองทางจราจร 2 ทิศทาง ซึ่งสามารถใชเปนเสนทางเขาสูจุดชมวิวเขาหินเหล็กไฟ และออกสูซอยหัวหิน 86 ได ในการนี้บริษัทที่ปรึกษาไดทําการตรวจนับปริมาณการจราจรในบริเวณที่เกี่ยวของและสัมพันธกับพื้นที่โครงการ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2550 ในชวงเวลาเรงดวน 15.30-16.30 น. ไดแก ถนนซอยหัวหิน 88 (บริเวณชุมชนเขาพิทักษ) ถนนซอยหินเหล็กไฟ 2 (บริเวณดานหนาโครงการ) และถนนซอยหินเหล็กไฟ 2 (บริเวณวัดสุขสําราญ) สามารถแสดงผลการตรวจนับปริมาณการจราจรไดดังตารางที่ 3.3-6 และภาพถายสภาพถนนและการจราจรบริเวณใกลเคียงพื้นที่โครงการไดดังรูปที่ 3.3-1

Page 21: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-21

ตารางที่ 3.3-6 ผลการตรวจนับปริมาณจราจรที่สัมพันธกับพื้นที่โครงการ

ประเภทยานพาหนะ PCE

ปริมาณการจราจร

ซ.หัวหิน 88 (บริเวณชุมชนเขาพิทกัษ)

ซ.หินเหล็กไฟ 2 (บริเวณโครงการ)

ซ.หินเหล็กไฟ 2 (บริเวณวัดสุขสาํราญ)

คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม.

- รถจักรยาน/จักรยานยนต 0.3 360 108 56 17 35 11 - รถยนตนั่งไมเกิน 7 คน 1.0 128 128 52 52 23 23 - รถบรรทุก 6 ลอ 1.5 4 6 - - - - - รถบรรทุก 10 ลอ 1.7 4 7 - - -

รวม 496 249 108 69 58 34 ท่ีมา : ตรวจนับและบันทึกโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด เม่ือวันที่ 1 มิถุนายน 2550

จากการสํารวจขอมูลปริมาณการจราจรในบริเวณที่เกี่ยวของและสัมพันธกับพื้นที่โครงการท้ัง 3 แหง พบวา ถนนบริเวณซอยหัวหิน 88 (ชุมชนเขาพิทักษ) มีปริมาณการจราจรหนาแนนที่สุด เนื่องจากมีชุมชนต้ังอยูอยางหนาแนน อีกท้ังมีสถานศึกษาต้ังอยูใกลเคียงซึ่งอาจเปนสาเหตุใหมีปริมาณการจราจรคอนขางมากได โดยประเภทของรถที่พบมากที่สุด ไดแก จักรยานและจักรยานยนต ถนนบริเวณซอยหินเหล็กไฟ 2 (ดานหนาโครงการ) มีปริมาณการจราจรหนาแนนรองลงมาเปนอันดับที่สอง ประเภทรถที่พบ ไดแก จักรยานและจักรยานยนตและรถนั่งไมเกิน 7 คน ในสวนของปริมาณการจราจรบริเวณซอยหินเหล็กไฟ 2 (วัดสุขสําราญ) มีปริมาณการจราจรหนาแนนนอยที่สุด โดยประเภทของรถที่พบมากท่ีสุด ไดแก จักรยานและจักรยานยนต และรถยนตนั่งไมเกิน 7 คน ตามลําดับ

รถไฟ เดินทางจากสถานีรถไฟหัวลําโพง-ประจวบฯ โดยขบวนรถเร็ว รถธรรมดา รถดวน รถดวนพิเศษ รถดีเซลรางและสปริ้นเตอร

(2) การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสนามบิน 2 แหง

- สนามบินกองบิน 53 กองพลบินที่ 4 เปนสนามบินของกองทัพอากาศ ต้ังอยูชายทะเล บริเวณเขาลอมหมวกและอาวมะนาว อําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ

- ทาอากาศยานหัวหิน (สนามบินบอฝายเดิม) เปนสนามบินพาณิชย ต้ังอยูในอําเภอหัวหิน มีเครื่องบินของบริษัท บางกอกแอรเวย จํากัด ทําการบินระหวางกรุงเทพฯ-หัวหิน แตสายการบินดังกลาวไดหยุดทําการบิน หลังจากเกิดสภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าเมื่อกลางป 2540 โดยปจจุบันที่เที่ยวบินจากกรุงเทพ-หัวหิน จํานวน 28 เที่ยว/สัปดาห ใชเวลาในการเดินทางประมาณ 45 นาที

Page 22: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพสิ่งแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคสิ่งแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-22

รูปที่ 3.3-1 สภาพถนนและจดุสํารวจการจราจรบริเวณใกลเคียงพื้นที่โครงการ

พื้นที่โครงการ

1 กิโลเมตร

ซ.หินเหล็กไฟ 2 (บริเวณวัดสุขสําราญ)

ซ.หินเหล็กไฟ 2 (บริเวณโครงการ)

ซ.หัวหิน 88 (บริเวณชุมชนเขาพิทักษ)

ซ.หัวหิน 88 (บริเวณชุมชนเขาพิทักษ)

Page 23: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-23

3.3.8 การใชประโยชนที่ดิน

(1) ผังเมืองรวม

พื้นที่โครงการต้ังอยูในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน ซึ่งมีการใชประกาศผังเมืองรวมเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 352 (พ.ศ. 2540) อาศัยอํานาจตามความแหงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 โดยมีวัตถุประสงคในการกําหนดเขตผังเมือง เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา การดํารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวของหรือชนบท ในดานการใชประโยชนในทรัพยสิน การคมนาคม และการขนสง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะและสภาพแวดลอมใหสอดคลองกับการพัฒนาเมือง

จากการตรวจสอบขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินบริเวณที่ต้ังโครงการตามผังเมืองรวมเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ฉบับที่ 352 (พ.ศ. 2540) พื้นที่ต้ังโครงการต้ังอยูในบริเวณที่ดินหมายเลข 1.22 ซึ่งกําหนดใหเปนที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) แสดงดังรูปที่ 3.3-2 ซึ่งใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเปนสวนใหญ สําหรับการใชพื้นที่เพื่อกิจการอื่นใหใชเพิ่มไดอีกไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ และหามใชประโยชนในที่ดินเพื่อกิจการตามที่กําหนด ดังตอไปนี้ - โรงงานทุกประเภท เวนแตโรงงานที่ประกอบกิจการโดยไมกอเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข หรือไมเปนมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอมตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ - คลังวัตถุอันตรายตามกฎหมายวาดวยวัตถุอันตราย - สถานที่เก็บน้ํามันเชื้อเพลิงที่ตองขออนุญาตตามกฎหมายวาดวยการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง เวนแตเปนสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง - สถานที่บรรจุกาซประเภทสถานีบรรจุกาซและประเภทลานบรรจุกาซและสถานที่เก็บกาซ ประเภทโรงเก็บกาซตามกฎหมายวาดวยการบรรจุกาซปโตรเลียมเหลว - กําจัดมูลฝอย (2) พ้ืนที่คุมครองส่ิงแวดลอม

ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุมครองส่ิงแวดลอมในบริเวณพื้นที่อําเภอบานแหลม อําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอทายาง และอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี อําเภอหัวหิน และอําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ พ.ศ. 2547 พบวาพื้นที่โครงการหัวหินการเดน และจัดอยูในบริเวณที่ 4 ตามประกาศกระทรวงฯ โดยบริเวณที่ 4 หมายถึง พื้นที่ทั้งหมดของเทศบาลเมืองชะอํา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี และพื้นที่ทั้งหมดของเทศบาลเมืองหัวหิน อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ แผนที่แสดงที่ต้ังโครงการในเขตพื้นที่คุมครองส่ิงแวดลอม ดังรูปที่ 3.3-3

Page 24: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-24

รูปที่ 3.3-2 ทีต้ั่งโครงการตามผังเมืองรวมเมืองหัวหนิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ

พ้ืนที่โครงการ

Page 25: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-25

จากขอกําหนดตามกฎกระทรวงฯ ฉบับดังกลาว ระบุวา ภายในบริเวณที่ 4 หามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารใด ๆ ใหเปนอาคารหรือประกอบกิจการ ดังตอไปนี้

(1) โรงงานอุตสาหกรรมจําพวกที่ 2 และจําพวกที่ 3 ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน เวนแตโรงงานอุตสาหกรรมตามประเภทหรือชนิด จําพวก และเงื่อนไขทีก่ําหนดไวในบัญชีทายประกาศนี้ (2) อาคารเลี้ยงสัตวทุกชนิดท่ีมีพื้นที่ทุกชั้นในหลังเดียวกันหรอืหลายหลงัรวมกันเกิน ๑๐ ตารางเมตร หรือเปนไปเพื่อการคา หรอืกอเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุข (3) สุสานและฌาปนสถาน เวนแตเปนการซอมแซมหรอืการกอสรางทดแทนของเดิม (4) ระบบกําจัดหรือบําบัดของเสียรวม เวนแตเปนการดําเนินการโดยสวนราชการ ราชการสวนทองถิ่น หรือรฐัวิสาหกิจ (5) ทาเทียบเรือ ยกเวนทาเทียบเรือตามขอ 7 (1) (จ) และ (2) (ง) (6) อูตอเรือ

ดังนั้น การกอสรางอาคารโครงการจึงไมขัดตอขอกําหนดของประกาศฯ ฉบับดังกลาวแตอยางใด

(3) กฎกระทรวง ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2535)

ที่ต้ังโครงการตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 36 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในทองที่บางสวนในตําบลหัวหิน และตําบลหนองแก อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และไดขยายเขตควบคุมการกอสรางเพิ่มเติมในบริเวณโดยรอบพระราชวังไกลกังวล เพื่อประโยชนในดานการปองกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม และการผังเมือง พบวาบริเวณท่ีต้ังโครงการ อยูนอกเขตหามกอสราง ดัดแปลงหรือเปล่ียนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทตามกฎหมายกระทรวงฉบับดังกลาว

Page 26: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-26

รูปที่ 3.3-3 แผนที่ทายประกาศกระทรวงทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดเขตพื้นทีแ่ละ

มาตรการคุมครองส่ิงแวดลอม จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ

Page 27: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-27

(4) การใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน

จากการศึกษาการใชประโยชนที่ดินโดยรอบพื้นที่โครงการโดยการสํารวจภาคสนามรวมกับการแปลภาพถายทางอากาศ เพื่อศึกษาลักษณะการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันของโครงการ โดยมีพื้นที่ศึกษารัศมี 1 กิโลเมตรรอบพื้นที่โครงการ พบวาสามารถแบงลักษณะการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ศึกษาไดเปน 7 ประเภท ไดแก ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ที่ดินประเภทสันทนาการ พื้นที่ถนน และที่ดินประเภทที่วางรองการพัฒนา โดยพื้นที่สวนใหญที่พบ ไดแก ที่ดินประเภทวางรอการพัฒนา รองลงมา คือ ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง สภาพโดยรอบพื้นที่ศึกษามีการปลูกสรางที่พักอาศัย โดยสวนใหญเปนที่พักตากอากาศตลอดจนที่อยูอาศัย และพื้นที่สันทนาการ สถาบันการศึกษา และสถาบันศาสนาบางสวน แสดงรูปการใชประโยชนที่ดินในปจจุบันดังรูปที่ 3.3-4 และตารางที่ 3.3-7

- ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง หมายถึง พืน้ที่ที่ใชเปนที่อยูอาศัยในเขตชุมชนคอนขางหนาแนน สวนใหญอยูในรูปของบานเด่ียว บานจัดสรร และตึกแถวกึ่งพานิชยกรรม พบบริเวณทางดานทิศใตของพื้นที่ศึกษา เชน โครงการดุสิต แลนดแอนดเฮาส โครงการธนทรพัย เปนตน คดิเปนพื้นที่ประมาณ 0.391 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 12.452 ของพื้นทีศึ่กษา

- ที่ดินประเภทท่ีอยูอาศัยหนาแนนนอย หมายถึง พื้นที่ที่ใชเปนที่อยูอาศัยไมหนาแนนนัก และที่อยูอาศัยในรูปกึ่งพานิชยกรรม สวนใหญพบในรูปบานเด่ียว และบานพักตากอากาศ พบบริเวณใกลกับพื้นที่โครงการ เชน โครงการหัวหินเฮอรริซอน โครงการพาราไดส วิลเลจ โครงการอเวนิว 88 โครงการบานเชิง-เขา โครงการบานศาลาไทย เปนตน คิดเปนพื้นที่ประมาณ 0.202 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 6.433 ของพื้นที่ศึกษา

- ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา หมายถึง พื้นที่ใหบริการการศึกษาภาครัฐและเอกชน พบจํานวน 2 แหง ไดแก โรงเรียนเทศบาลเขาพิทักษ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวล คิดเปนพื้นที่ประมาณ 0.037 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 1.178 ของพื้นที่ศึกษา

- ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา พบอยูโดยรอบพื้นที่โครงการ เชน วัดคีรีวงศาราม วัดเขาพิทักษ วัดราชายตนะบรรพต เปนตน คิดเปนพื้นที่ประมาณ 0.062 ตร.กม.คิดเปนรอยละ 1.975ของพื้นที่ศึกษา

- ที่ดินประเภทสันทนาการ หมายถึง พื้นที่พักผอนหยอนใจ สนามกีฬา สวนสาธารณะ เปนตน ภายในพื้นที่ศึกษาพบการใชประโยชนที่ดินประเภทสันทนาการ ไดแก พื้นที่จุดชมวิวเขาหินเหล็กไฟ และสนามกอลฟรอยัล หัวหิน คิดเปนพื้นที่ประมาณ 0.107 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 3.408 ของพื้นที่ศึกษา

- พื้นที่ถนน ถนนสายหลักท่ีพบภายในบริเวณพื้นที่ศึกษา ไดแก ถนนซอยหัวหิน 88 และถนนซอยตางๆ คิดเปนพื้นที่ 0.038 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 1.21 ของพื้นที่ศึกษา

- ที่ดินประเภทที่วางรอการพัฒนา สวนใหญพบบริเวณทางดานทิศเหนือ และทิศตะวันตกของพื้นที่โครงการ โดยลักษณะการใชประโยชนพื้นที่ในรัศมีศึกษา สวนใหญจัดอยูในประเภทนี้ คิดเปนพื้นที่ 2.303 ตร.กม. คิดเปนรอยละ 73.344 ของพื้นที่ศึกษา

Page 28: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-28

ตารางที่ 3.3-7 การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ศึกษา รัศมี 1 กิโลเมตร

ประเภทการใชที่ดิน พื้นที่ (ตร.กม.) สัดสวนเม่ือเทียบกับพื้นที่ศึกษา

(รอยละ)

1. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง 0.391 12.452 2. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย 0.202 6.433 3. ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา 0.037 1.178 4. ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา 0.062 1.975 5. ที่ดินประเภทสันทนาการ 0.107 3.408 6. ถนน 0.038 1.210 7. ที่ดินประเภทที่วางรอการพัฒนา 2.303 73.344

รวม 3.140 100.00 ท่ีมา : การสํารวจภาคสนามโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด, 2550

สัญลักษณ ที่ดินประเภทที่อยูอาศยัหนาแนนปานกลาง ที่ดินประเภทที่อยูอาศยัหนาแนนนอย ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา สันทนาการ ที่ดินประเภทที่วางรอการพัฒนา ถนน

รูปที่ 3.3-4 การใชประโยชนที่ดินปจจุบันของพื้นที่ศึกษาในรัศมี 1 กิโลเมตร

Page 29: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-29

3.4 คุณคาตอคุณภาพชีวิต

3.4.1 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ

(1) การปกครอง

อําเภอหัวหินมีเนื้อที่ทั้งส้ิน 911 กิโลเมตร โดยแยกเปนพื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน 86.36 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ในเขตเทศบาลตําบลหนองพลับ 12.098 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่นอกเขตเทศบาล 812.64 ตารางกิโลเมตร พื้นที่โครงการต้ังอยูในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน ซึ่งมีชุมชนในเขตเทศบาลจํานวน 35 ชุมชน

(2) ประชากร

ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรในเดือนเมษายน 2550 เทศบาลเมืองหัวหิน มีประชากรทั้งส้ิน จํานวน 50,872 คน แบงเปนชาย 25,136 คน หญิง 25,736 คน โดยสามารถแบงออกเปนประชากรในเขตตําบลหัวหินและตําบลหนองแก ดังนี้ - ตําบลหัวหิน ประชากรรวม 37,992 คน แยกเปนชาย 17,873 คน หญิง 20,119 คน - ตําบลหนองแก ประชากรรวม 12,880 คน แยกเปนชาย 7,263 คน หญิง 5,617 คน

จํานวนบานเรือนในเขตเทศบาลมีจํานวนรวมทั้งส้ิน 29,273 หลังคาเรือน แยกเปนเขตตําบลหัวหิน 21,395 หลังคาเรือน และตําบลหนองแก 7,883 หลังคาเรือน

(3) ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

ประชาชนในเทศบาลเมืองหัวหินสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ และมีประชาชนบางสวนนับถือศาสนาอ่ืนบาง ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ซิกส โดยศาสนสถานภายในเทศบาลเมืองหัวหินแบงออกเปน วัด จํานวน 21 แหง สํานักสงฆ จํานวน 5 แหง โบสถคริสต จํานวน 3 แหง ศาลเจาจํานวน 5 แหง และไมพบสุเหรา/มัสยิด โดยภายในรัศมีศึกษา 1 กิโลเมตรโดยรอบพื้นที่โครงการ พบศาสนสถานที่สําคัญ ไดแก วัดคีรีวงศาราม วัดเขาพิทักษ และวัดราชายตนะบรรพต

วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่นที่สําคัญในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน ไดแก ประเพณีเกี่ยวกับตรุษ สารท ประเพณีกอเจดียทราย ประเพณีทําบุญทุง ประเพณีสงกบาลทางน้ํา

การละเลนทองถิ่นที่มีมาแตเดิม ไดแก การเลนลูกชวง ขี่หลังโยนลูกชวง ชักเยอ สะบา มอญรํา มวยทะเล เขาแมศรี หรือเขาผีตางๆ และที่สําคัญการเลนผีพุงใต ซึ่งยังไมเคยปรากฏวามีการละเลนชนิดนี้ในทองถิ่นอื่น นอกจากที่หัวหินเทานั้น

Page 30: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-30

(4) ดานเศรษฐกิจ

สภาพเศรษฐกิจในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน สวนใหญขึ้นอยูกับการทองเที่ยวและการพาณิชย- กรรม รานคา โรงแรม และบานพักตากอากาศในพื้นที่ รายไดของทองถิ่นจึงมาจากการทองเที่ยวเปนสําคัญ นอกจากนี้มีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดใหญ และขนาดเล็กจํานวนมาก ไดแก โรงงานสัปปะรดกระปอง โรงงานปลาปน โรงงานน้ําแข็ง โรงงานทําเชือกมนิลา โรงงานทอผาพื้นเมือง ไดแก ผาโขมพัสตร โรงงานผลิตปลาหมึกตากแหง กุงแหง เปนตน ซึ่งทํารายไดใหแกทองถิ่นในแตละปเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นอาชีพเกษตรกรรมยังเปนอาชีพหลักของราษฎร ซึ่งนํารายไดมาสูทองถิ่นอีกทางหนึ่ง แตไมแนนอนนัก ขึ้นอยูกับสภาวะของตลาดและธรรมชาติในแตละป

(4.1) การพาณิชยกรรมและการบริการ

- สถานประกอบการดานพาณิชยกรรม ประกอบดวย สถานีบริการน้ํามัน 15 แหง, ตลาดสด 2 แหง, รานคาทั่วไป 546 แหง และศูนยการคา 3 แหง

- สถานประกอบการพาณิชย ประกอบดวย หางหุนสวน จํากัด 485 แหง, ทาเทียบเรือ 2 แหง และบริษัท 523 แหง

- สถานประกอบการดานบริการ ประกอบดวย ธนาคาร 11 แหง, โรงแรม/บานพัก/บังกะโล/คอนโดมิเนียม 108 แหง

(4.2) การเกษตรกรรม

ประชาชนที่อยูดานทิศตะวันตกของเขตเทศบาล ประกอบอาชีพดานการเกษตรกวา 405 ครัวเรือน เนื่องจากสภาพแวดลอมมีความเหมาะสม ผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญ ไดแก สับปะรด มะมวง มะพราว ขนุน พืชผักและไมดอกไมประดับ

(4.3) การประมง

หัวหินในอดีตเปนหมูบานชาวประมง การทําประมงจึงเปนอาชีพด้ังเดิมของชาวหัวหิน แตเมื่อบานเมืองเปลี่ยนแปลงไปหัวหินไดกลายเปนแหลงทองเท่ียวที่สําคัญ ประกอบกับความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลลดลงทําใหการประกอบอาชีพประมงลดนอยลง โดยปจจุบันยังมีการทําประมงของประชาชนบริเวณชุมชนชายฝงทะเล ไดแก สมอเรียง ชุมชนตะเกียบ และชุมชนเขาเตา

(4.4) การอุตสาหกรรม

สวนใหญประกอบกิจการอุตสาหกรรมประเภทผลิตภัณฑคอนกรีตบล็อก เสา รั้ว ปลอกบอ รองลงมาเปนอุตสาหกรรมประเภทอุตสาหกรรมไม ผลิตภัณฑจากไม เชน ทําวงกบ ประตู หนาตางและสุดทายเปนอุตสาหกรรมอบปลาหมึกแหง ซึ่งลักษณะโรงงานจะเปนโรงงานขนาดเล็กหรืออุตสาหกรรมในครัวเรือน โดยมีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม 54 แหง ในเขตเทศบาล และมีจํานวนแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรม 3,610 คน

Page 31: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-31

5) การสํารวจขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของชุมชนโดยรอบพ้ืนที่โครงการ

บริษัทที่ปรึกษาไดทําการสํารวจขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของชุมชนท่ีมีตอโครงการ ในรัศมีศึกษา 1 กิโลเมตร โดยในพื้นที่ศึกษา มีชุมชนเพียง 1 ชุมชน ไดแก ชุมชนเขาพิทักษ ซึ่งชุมชนดังกลาวอยูหางจากพ้ืนที่โครงการประมาณ 800 เมตร โดยสภาพสังคมของชุมชนมีการกระจายตัวตามแนวถนนใกลกับโรงเรียนเทศบาลเขาพิทักษ และมีบางสวนเปนบานพักตากอากาศของชาวตางชาติ ซึ่งจะมีการเขาพักอาศัยในฤดูกาลทองเที่ยวเทานั้น ดังนั้นในการสํารวจจึงมุงเนนครัวเรือนที่อาศัยอยูบริเวณถนนที่ใชเปนเสนทางเขาสูพื้นที่โครงการ ไดแก ถนนซอยหัวหิน 88 ซึ่งประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณดังกลาวอาศัยอยูในบริเวณที่อาจไดรับผลกระทบในชวงระยะการกอสรางโครงการ เนื่องจากเปนเสนทางหลักในการขนสงวัสดุอุปกรณกอสราง นอกจากนี้เนื่องจากโครงการเปนอาคารชุดพักอาศัย ที่ผูอาศัยประกอบดวยชาวไทยและชาวตางชาติในระยะดําเนินการ การท่ีมีประชากรเพิ่มขึ้นในชุมชนอาจสงผลกระทบตอสภาพสังคม และวิถีชีวิตของคนในชุมชนเดิม โดยขอบเขตพื้นที่สํารวจศึกษา แสดงดังรูปที่ 3.4-1

ในการสํารวจความคิดเห็นของชุมชนตอโครงการครั้งนี้ทางบริษัทที่ปรึกษาใชแบบสอบถามที่มีลักษณะเปนคําถามปดและคําถามเปด ประกอบดวยประเด็นดังตอไปนี้

- ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ

- ขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม และวัฒนธรรม

- ขอมูลสภาพความเปนอยู มลภาวะ และสุขภาพอนามัย

- ทัศนคติและขอคิดเห็นตอโครงการ บริษัทที่ปรึกษาไดทําการสํารวจความคิดเห็นของครัวเรือนในพื้นที่ศึกษา 1 กิโลเมตร ในวันที่ 1 มิถุนายน 2550 โดยพนักงานซึ่งผานการอบรมในระเบียบและวิธีการสัมภาษณอยางถูกตอง โดยกอนสัมภาษณพนักงานสัมภาษณจะชี้แจงรายละเอียดโดยสรุปของโครงการ อาทิ ที่ต้ัง กิจกรรมของโครงการ และรายละเอียดการดําเนินงานของโครงการใหกับผูตอบแบบสอบถามรับทราบ และเขาใจกอนทุกครั้ง โดยสามารถสํารวจแบบสอบถามไดจํานวนทั้งส้ิน 20 ชุด จากนั้นนําผลการสํารวจมาวิเคราะหและประมวลผล สามารถสรุปรายละเอียดไดดังตอไปนี้ (ดังตารางที่ 3.4-1)

Page 32: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-32

รูปที่ 3.4-1 ทีต้ั่งชุมชนและขอบเขตพื้นที่สํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของชุมชนตอโครงการ

Page 33: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-33

(1) ขอมูลทั่วไปของผูใหสัมภาษณ

จากการสํารวจ พบวา จากผูใหสัมภาษณทั้งหมด 20 คน เปนเพศชายและหญิงในอัตราสวนที่เทากัน (รอยละ 50) โดยสวนใหญอยูในชวงอายุ 51-60 ป (รอยละ 35) รองลงมาอยูในชวงอายุ 21-30 ป และ 41-50 ป ตามลําดับ (รอยละ 30 และ 20 ตามลําดับ) ผูใหสัมภาษณสวนใหญอยูในสถานภาพหัวหนาครัวเรือน และคูสมรส และทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ ระดับการศึกษาสูงสุดของผูใหสัมภาษณกวารอยละ 50 จบชั้นประถมศึกษา รองลงมา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. และอนุปริญญา/ปวส. ตามลําดับ

ผูใหสัมภาษณรอยละ 75 ยายมาจากที่อื่น มีเพียงสวนนอยเทานั้นที่เปนคนในพื้นที่ โดยสวนใหญยายมาจากจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง สําหรับสาเหตุของการยายถิ่น พบวา รอยละ 50 เดินทางมาหางานทํา รองลงมา คือ ยายตามสามี/ภรรยา ซึ่งเปนคนในพ้ืนที่ (รอยละ 20) ครัวเรือนของผูสัมภาษณสวนใหญเปนครอบครัวขนาดกลาง มีสมาชิก 4-6 คน และครอบครัวขนาดเล็ก (รอยละ 60 และ 35 ตามลําดับ) โดยลักษณะของที่อยูอาศัยที่พบมีหลายประเภท แตสวนใหญมากกวารอยละ 60 เปนบานเด่ียว รองลงมาเปนอาคารพาณิชย (รอยละ 30)

(2) ขอมูลดานเศรษฐกิจ

จากการสํารวจ พบวา อาชีพหลักของครัวเรือน ไดแก การทําธุรกิจสวนตัว และคาขาย (รอยละ 50 และ 40 ตามลําดับ) และครัวเรือนสวนใหญไมมีอาชีพเสริม (รอยละ 75) มีเพียงสวนนอยที่ประกอบอาชีพเสริม ซึ่งไดแก เกษตรกรรม และคาขาย โดยรายไดเฉลี่ยของครัวเรือนผูใหสัมภาษณมากกวา 10,000 บาท/เดือน (รอยละ 60) ซึ่งรายไดดังกลาวเพียงพอตอการครองชีพ หากไมเพียงพอตอการครองชีพ ผูใหสัมภาษณสวนใหญแกปญหาโดยกูยืมญาติ/พี่นอง และสถาบันการเงิน (รอยละ 55 และ 45 ตามลําดับ)

(3) ขอมูลสภาพความเปนอยู มลภาวะ และสุขภาพอนามัย

ขอมูลสภาพความเปนอยูในปจจุบัน พบวา แหลงน้ําด่ืมหลักของครัวเรือน รอยละ 95 ไดแก น้ําด่ืมบรรจุขวดหรือถัง และมีครัวเรือนบางสวน รอยละ 5 ด่ืมน้ําประปา ซึ่งครัวเรือนมีการติดต้ังเครื่องกรองน้ําประปากอนนํามาบริโภค สวนน้ําใชทุกครัวเรือนจะใชน้ําประปา ครัวเรือนสวนใหญ รอยละ 60 ประสบปญหาน้ําไมไหลในชวงเย็น การจัดการน้ําเสีย พบวา ครัวเรือนมากกวารอยละ 75 ระบายน้ําเสียลงสูทอระบายน้ําของเทศบาลฯ มีเพียงรอยละ 25 ที่ระบายน้ําเสียสูพื้นโดยตรง ในสวนการกําจัดขยะมูลฝอย ครัวเรือนทั้งหมดจะนําขยะใสถังและรอเทศบาลฯ เขามาดําเนินการเก็บขนเพื่อนําไปกําจัดตอไป

สําหรับขอมูลดานสุขภาพอนามัยในปจจุบัน พบวา ครัวเรือนสวนใหญ รอยละ 75 ไมมีปญหาดานการเจ็บปวย มีเพียงรอยละ 25 ที่มีสมาชิกในครัวเรือนเจ็บปวย ซึ่งโรคที่พบวามีผูปวยมากท่ีสุด ไดแก โรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ หากมีการเจ็บปวยครัวเรือนสวนใหญ รอยละ 66.7 เขารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ไดแก โรงพยาบาลหัวหิน สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ ศูนยบริการสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน เปนตน มีเพียงบางสวนที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาลเอกชน คลินิก และซื้อยากินเอง

Page 34: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-34

(4) ขอมูลผลกระทบส่ิงแวดลอมที่ไดรับในปจจุบัน

- ฝุนละออง เปนปญหาที่ชุมชนไดรับมากที่สุด (รอยละ 55) โดยมากกวารอยละ 90 กลาววา แหลงที่มาของฝุนละอองมาจากการจราจร รองลงมาเกิดจากการกอสราง (รอยละ 9) ซึ่งผลกระทบดังกลาวจะเกิดขึ้นมากในฤดูแลง โดยระดับความรุนแรงของผลกระทบ ครัวเรือนรอยละ 90 เห็นวาอยูในระดับปานกลางและมาก และผลกระทบที่ไดรับในปจจุบันครัวเรือนรอยละ 45 มีความเห็นวาเทากันกับในอดีตที่ผานมา

- น้ําทวมขัง เปนปญหาที่ชุมชนไดรับมาก (รอยละ 40) รองลงมาจากปญหาดานฝุนละออง โดยมากกวารอยละ 53 กลาววาแหลงที่มาเกิดจากฝนตก รองลงมา ไดแก ทอระบายน้ําอุดตัน และไมมีรางระบายน้ํา (รอยละ 26.7 และ 20 ตามลําดับ) โดยผลกระทบจะเกิดขึ้นในชวงฤดูฝนเทานั้น ระดับความรุนแรงของผลกระทบดังกลาวอยูในระดับปานกลางและมาก และผลกระทบที่ไดรับในปจจุบันครัวเรือนรอยละ 75 มีความเห็นวาเทากันกับในอดีตที่ผานมา

- เสียงและความส่ันสะเทือน เปนปญหาท่ีมีครัวเรือนเพียงรอยละ 20 ไดรับผลกระทบโดยแหลงกําเนิดของเสียงครัวเรือนทั้งหมดเห็นวามาจากการจราจร ซึ่งผลกระทบจะเกิดขึ้นในชวงกลางคืน โดยระดับความรุนแรงของผลกระทบดังกลาวนั้น ครัวเรือนเห็นวาอยูในระดับปานกลางและมาก และผลกระทบที่ไดรับในปจจุบันครัวเรือนรอยละ 75 มีความเห็นวาเทากันกับในอดีตที่ผานมา

- ขยะมูลฝอย ปจจุบันมีครัวเรือนที่ไดรับผลกระทบจากปญหาขยะมูลฝอย เพียงรอยละ 10 โดยรอยละ 50 ใหความเห็นวาแหลงที่มาของขยะมูลฝอยมาจากบานเรือนในชุมชน และตลาดนัด ผลกระทบท่ีไดรับเกิดขึ้นตลอดป โดยรอยละ 50 เห็นวาระดับความรุนแรงของผลกระทบเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต

- กล่ินเหม็น เปนปญหาที่มีเพียงรอยละ 10 ของครัวเรือนเทานั้นที่ไดรับผลกระทบ โดยมากกวารอยละ 66 ใหความเห็นวาแหลงที่มาของกลิ่นเกิดจากการปลอยน้ําเสียจากชุมชนใกลเคียง มีเพียงบางสวนกลาววาเกิดจากขยะมูลฝอย โดยระดับความรุนแรงของผลกระทบอยูในระดับปานกลางและมาก โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นรอยละ 50 ใหความเห็นวาระดับความรุนแรงของผลกระทบเพิ่มมากขึ้นจากในอดีต

- น้ําเสีย เปนปญหาที่ชุมชนไดรับผลกระทบนอยที่สุด ซึ่งมีเพียงรอยละ 5 เทานั้นที่ไดรับผลกระทบ โดยกลาววาแหลงที่มาของน้ําเสียเกิดจากการปลอยน้ําเสียจากชุมชนใกลเคียง และจะไดรับผลกระทบในชวงฤดูฝน ระดับผลกระทบที่เกิดขึ้นอยูในระดับปานกลาง แตเพิ่มมากขึ้นจากในอดีตที่ผานมา

- เขมาควัน เปนปญหาท่ีชุมชนไดรับผลกระทบนอยที่สุด ซึ่งมีครัวเรือนผูไดรับผลกระทบเพียงรอยละ 5 เทานั้น โดยมีแหลงที่มาจากไอเสียรถยนตที่ว่ิงผานชุมชน ระดับความรุนแรงที่เกิดขึ้นอยูใน ระดับนอย

Page 35: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-35

(5) การรับรูขาวสารและความคิดเห็นตอโครงการ

ผลการสํารวจความคิดเห็นของชุมชนตอโครงการ พบวา รอยละ 80 ไมรูจักและไมทราบถึงกิจกรรมของโครงการ มีเพียงรอยละ 20 เทานั้นที่ทราบถึงกิจกรรมของโครงการ โดยทราบจากเพื่อนบานและบางสวนทราบเนื่องจากผานพื้นที่โครงการเปนประจํา ภายหลังผูสัมภาษณไดอธิบายรายละเอียดของโครงการและสอบถามความคิดเห็นตอการดําเนินงานของโครงการ พบวา รอยละ 75 ของครัวเรือนที่ใหสัมภาษณคาดวาจะไดรับผลดีจากการกอสรางโครงการ เนื่องจากจะทําใหคนในพื้นที่มีงานทําและมีรายไดเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาดานระบบสาธารณูปโภค และที่ดินมีราคาสูงขึ้น เปนตน (รอยละ 46, รอยละ 17 และรอยละ 7 ตามลําดับ) และ คาดวาจะไดรับผลกระทบในเรื่องฝุนละอองจากการกอสรางมากที่สุด (รอยละ 30.76) รองลงมา ไดแก เสียงดัง (รอยละ 15.38) และเมื่อโครงการเปดดําเนินการจะมีคนเขามาอยูอาศัยในชุมชนเพิ่มขึ้น ผูใหสัมภาษณสวนใหญ (รอยละ 95) คาดวาจะเกิดผลดีตอชุมชน โดยรอยละ 42 คาดวาจะทําใหคนในชุมชนมีงานทําและมีรายไดเพิ่มขึ้น รองลงมา ไดแก มีแหลงพักอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการพัฒนาดานสาธารณูปโภคและที่ดินมีราคาสูงขึ้น รอยละ 34, 14 และ 2 ตามลําดับ) และเมื่อสอบถามถึงผลกระทบดานลบที่อาจเกิดขึ้นมีเพียงรอยละ 30 เทานั้นที่คาดวาจะไดรับผลกระทบ โดยผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้น ไดแก ขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น ปญหาดานฝุนละออง เปนตน และเมื่อสอบถามถึงภาพรวม พบวา ทั้งหมดเห็นดวยกับโครงการหัวหินการเดน โดยรอยละ 90 ใหความเห็นวาเนื่องจากไดรับผลกระทบดานบวกมากกวาดานลบ

(6) สรุปผลการสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของชุมชนโดยรอบพ้ืนที่โครงการ

ผลสํารวจขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความคิดเห็นของชุมชนตอโครงการหัวหินการเดน โดยเฉพาะผลสํารวจโดยใชแบบสอบถามครัวเรือนในชุมชนเขาพิทักษ ซึ่งเปนชุมชนท่ีคาดวาจะไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานทั้งในชวงกอสรางและเปดดําเนินการของโครงการ เนื่องจากเปนชุมชนท่ีอยูใกลกับโครงการ และอยูติดกับถนนซอยหัวหิน 88 ซึ่งเปนเสนทางคมนาคมขนสงวัสดุกอสราง สภาพปจจุบันครัวเรือนในชุมชนสวนใหญประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัวและคาขาย ชุมชนไดรับผลกระทบสิ่งแวดลอมคอนขางนอย เนื่องจากในพื้นที่ดังกลาวเปนชุมชนขนาดเล็ก และระบบการใหบริการดานสาธารณูปโภคของรัฐเขาถึง โดยผลกระทบส่ิงแวดลอมท่ีชุมชนไดรับมากในปจจุบัน ไดแก ปญหาดานฝุนละอองจากการคมนาคมขนสง และการกอสรางภายในพื้นที่ และปญหาน้ําทวมขัง เนื่องจากฝนตกและทอระบายน้ําอุดตัน ซึ่งจากการสอบถาม พบวา ผลกระทบที่เกิดขึ้นเทากันกับในอดีตที่ผานมา โดยระดับความรุนแรงของผลกระทบที่ไดรับอยูในระดับปานกลางและมาก และเมื่อสอบถามความคิดเห็นที่มีตอโครงการ พบวา ครัวเรือนสวนใหญไมรูจักและไมทราบถึงกิจกรรมของโครงการ ภายหลังผูสัมภาษณไดอธิบายรายละเอียดของโครงการและสอบถามความคิดเห็นตอการดําเนินงานของโครงการ ผูใหสัมภาษณสวนใหญมีความเห็นวาในชวงระยะกอสรางอาจไดรับผลกระทบในดานฝุนละอองจากการขนสงอุปกรณวัสดุกอสรางที่ว่ิงผานเขา-ออกพื้นที่โครงการ และเสียงดัง แตจะมีผลดี คือ ทําใหคนในชุมชนมีงานทําและมีรายไดเพิ่มขึ้น สําหรับในชวงระยะเปดดําเนินการของโครงการ ซึ่งจะมีคนเขามาอยูอาศัยในชุมชนเพิ่มขึ้น ผูใหสัมภาษณคาดวาจะมีผลดีทําใหคนในชุมชนมีงานทําและมีรายไดเพิ่มขึ้น รองลงมา ไดแก มีแหลงพักอาศัยเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาดานสาธารณูปโภค และที่ดินมีราคาสูงขึ้น และเมื่อสอบถามถึงผลกระทบดานลบผูใหสัมภาษณสวนใหญคาดวาจะไมไดรับผลกระทบ มีเพียงสวนนอยเทานั้นที่คาดวาจะเกิด

Page 36: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-36

ปญหาดานขยะมูลฝอย และฝุนละออง แตในภาพรวมทั้งหมดของผูใหสัมภาษณเห็นดวยกับการดําเนินงานของโครงการ เนื่องจากเห็นวาไดรับผลกระทบดานบวกมากกวาดานลบ

ตารางที่ 3.4-1 ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

ก. ขอมูลทั่วไปผูใหสัมภาษณ 1. เพศ - ชาย 10 50.00

- หญิง 10 50.00

รวม 20 100.00

2. อายุ (ป) - 21-30 ป 6 30.00

- 31-40 ป 3 15.00

- 41-50 ป 4 20.00

- 51-60 ป 7 35.00

รวม 20 100.00

3. สถานภาพในครัวเรือน - หัวหนาครัวเรือน 6 30.00

- คูสมรส 7 35.00

- บุตร/ธิดา/เขย/สะใภ 2 10.00

- พอ/แม 2 10.00

- ญาติ/ผูอาศัย 3 15.00

รวม 20 100.00

4. ระดับการศึกษา - จบระดับประถมศึกษา 10 50.00

- จบมัธยมศึกษาตอนตน 1 5.00

- จบมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 3 15.00

- จบอนุปรญิญา/ปวส. 3 15.00

- จบระดับปรญิญาตรี 1 5.00

- อื่นๆ กําลังศึกษาปริญญาตรี 2 10.00

รวม 20 100.00

Page 37: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-37

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

5. ศาสนา - พุทธ 20 100.00

รวม 20 100.00

6. จํานวนสมาชิกในครัวเรอืน - จํานวน 1-3 คน 7 35.00

- จํานวน 4-6 คน 12 60.00

- จํานวนมากกวา 6 คน 1 5.00

รวม 20 100.00

7. ภูมิลําเนา - อยูทีน่ี่มาต้ังแตเกิด 5 25.00

- ยายมาจากทีอ่ื่น

• ตําบล/อําเภออื่นในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ 1 5.00

• ภาคกลาง 5 25.00

• ภาคใต 4 20.00

• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 25.00

รวม 20 100.00

8. จํานวนปที่อาศยัอยูทีน่ี่ (ป) - นอยกวา 1 ป 5 33.33

- 1-5 ป 5 33.33

- 6-10 ป 15 33.33

รวม 20 100.00

9. สาเหตุที่ยายมาอยูที่นี ่ - มาหางานทํา 10 50.00

- สามี/ภรรยา เปนคนที่นี ่ 4 20.00

- บริษัท/หนวยงานสงมา 3 15.00

- มาหาที่ทํากิน/ที่อยูอาศยั 3 15.00

รวม 20 100.00

10. ทานเคยคิดจะยายที่อยู/ยายไปอยูที่อื่นหรอืไม - ไมเคย 15 75.00

- เคย 1 5.00

- ไมแนใจ 4 20.00

รวม 20 100.00

Page 38: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-38

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

11. ลักษณะของทีอ่ยูอาศัย - บานเด่ียว 1 ช้ัน 6 30.00

- บานเด่ียว 2 ช้ัน 6 30.00

- หองแถว 1 5.00

- อาคารพาณิชย 6 30.00

- หอพัก 1 5.00

รวม 20 100.00

ข. ขอมูลดานเศรษฐกจิ 1. อาชีพหลักของครัวเรือน - คาขาย 8 40.00

- ธุรกิจสวนตัว 10 50.00

- พนักงานบริษัท/โรงงาน 2 10.00

รวม 20 100.00

2. อาชีพเสริมของครัวเรือน - ไมม ี 15 75.00

- เกษตรกรรม 2 10.00

- คาขาย 3 15.00

รวม 20 100.00

3. รายไดของครอบครัว - 3,001-5,000 บาท/เดือน 2 10.00

- 5,001-7,000 บาท/เดือน 5 25.00

- 7,001-10,000 บาท/เดือน 1 5.00

- มากกวา 10,000 บาท/เดือน 12 60.00

รวม 20 100.00

4. รายไดเพียงพอตอการครองชีพหรอืไม - พอ มีเหลือเก็บ 9 45.00

- พอ ไมมเีหลือเก็บ 9 45.00

- ไมพอ 2 10.00

รวม 20 100.00 5. ในกรณีรายไดไมเพียงพอ แกปญหาอยางไร - กูยืมจากสถาบันการเงิน 9 45.00

- กูยืมญาติ/พ่ีนอง 11 55.00

รวม 20 100.00

Page 39: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-39

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ 6. การถือครองที่ดิน - มีที่ดินเปนของตนเอง 9 45.00

- ไมมทีี่ดินเปนของตนเอง 11 55.00

รวม 20 100.00

ค. ขอมูลดานสภาพความเปนอยู มลภาวะ และสุขภาพอนามัย

1. แหลงน้ําด่ืมในครวัเรือน - น้ําประปา 1 5.00

- น้ําด่ืมบรรจุขวด/ถัง 19 95.00

รวม 20 100.00 2. ปญหาเก่ียวกับน้าํด่ืมในครัวเรือน - ไมม ี 20 100.00

- มี - -

รวม 20 100.00 3. วิธีทําน้ําใหสะอาดกอนนํามาด่ืม - ไมม ี 19 95.00

- มี

• กรอง 1 5.00

รวม 20 100.00

4. แหลงน้ําใชในครวัเรือน เชน ซักผา อาบน้ํา เปนตน - น้ําประปา 20 100.00

รวม 20 100.00

5. ปญหาเก่ียวกับน้าํใชในครัวเรือน - ไมม ี 8 40.00

- มี 12 60.00

รวม 20 100.00

6. ทานกําจัดขยะโดยวิธีใด - ใสในถังขยะรอใหรถเก็บขนขยะมูลฝอยของเทศบาล

มาเก็บ 20 100.00

รวม 20 100.00 7. การจัดการน้ําเสียโดยวิธีใด

- ปลอยลงพ้ืน 5 25.00

- ปลอยลงทอระบายน้ํา 15 75.00

รวม 20 100.00

Page 40: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-40

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ 8. ในรอบปที่ผานมาและปจจุบันสมาชิกในครอบครัวเคย

เจ็บปวยหรอืไม

- ไมเคย 15 75.00 - เคย 5 25.00

รวม 20 100.00 9. กรณีทีม่ีการเจ็บปวย เจ็บปวยดวยโรคอะไร - โรคระบบทางเดินหายใจ 5 83.33 - อื่นๆ มะเร็ง 1 16.67

รวม 6 100.00 10. วิธีการรักษาเมื่อเจ็บปวย - ซื้อยากินเอง 3 14.28

- สถานีอนามยั 1 4.76

- คลินิก/โรงพยาบาลเอกชน 3 14.28

- โรงพยาบาลรัฐ/ศูนยกาชาด 14 66.67

รวม 21 100.00

ง. ขอมูลผลกระทบสิ่งแวดลอมทีไ่ดรับในปจจบุัน 1. ฝุนละออง - ไมม ี 9 45.00

- มี 11 55.00

รวม 20 100.00

แหลงที่มา - การจราจร 10 90.91

- การกอสราง 1 9.09

รวม 11 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - ฤดูแลง 7 58.33

- ฤดูหนาว 2 16.67

- ตลอดป 3 25.00

รวม 12 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย 1 9.09

- ปานกลาง 5 45.48

- มาก 5 45.45

รวม 11 100.00

Page 41: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-41

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง 2 18.18

- เทาเดิม 5 45.45

- มากข้ึน 4 36.36

รวม 11 100.00 2. เสียงและแรงส่ันสะเทอืน - ไมม ี 16 80.00

- มี 4 20.00

รวม 20 100.00

แหลงที่มา - การจราจร 4 100.00

รวม 4 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - บางเวลา (กลางคืน) 4 100.00

รวม 4 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย 2 50.00

- ปานกลาง 2 50.00

- มาก - -

รวม 4 100.00

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม 3 75.00

- มากข้ึน 1 25.00

รวม 4 100.00 3. น้ําเสีย - ไมม ี 19 95.00

- มี 1 5.00

รวม 20 100.00 แหลงที่มา - การปลอยน้ําเสียจากชุมชนใกลเคยีง 1 100.00

รวม 1 100.00

Page 42: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-42

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - ฤดูฝน 1 100.00

รวม 1 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย - -

- ปานกลาง 1 100.00

- มาก - -

รวม 1 100.00

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม - -

- มากข้ึน 1 100.00

รวม 1 100.00

4. น้ําทวมขัง - ไมม ี 12 60.00

- มี 8 40.00

รวม 20 100.00

แหลงที่มา - ฝนตก 8 53.33

- ทอระบายน้ําอุดตัน 4 26.67

- ไมมรีางระบายน้าํ 3 20.00

รวม 15 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - ฤดูฝน 8 100.00

รวม 8 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย - -

- ปานกลาง 4 50.00

- มาก 4 50.00

รวม 8 100.00

Page 43: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-43

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม 6 75.00

- มากข้ึน 2 28.00

รวม 8 100.00 5. ขยะมูลฝอย - ไมม ี 18 90.00

- มี 2 10.00

รวม 20 100.00

แหลงที่มา - บานเรือน 1 50.00

- ตลาดนัดใกลบาน 1 50.00

รวม 2 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - ตลอดป 2 100.00

รวม 2 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย 1 50.00

- ปานกลาง - -

- มาก 1 50.00

รวม 2 100.00

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม 1 50.00

- มากข้ึน 1 50.00

รวม 2 100.00

6. กล่ินเหม็น - ไมม ี 18 90.00

- มี 2 10.00

รวม 20 100.00

Page 44: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-44

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

แหลงที่มา - การปลอยน้ําเสียจากชุมชนใกลเคยีง 2 66.67

- ขยะมูลฝอย 1 33.33

รวม 3 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - บางเวลา 2 100.00

รวม 2 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย - -

- ปานกลาง 1 50.00

- มาก 1 50.00

รวม 2 100.00

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม 1 50.00

- มากข้ึน 1 50.00

รวม 2 100.00

7. เขมา/ควัน - ไมม ี 19 95.00

- มี 1 5.00

รวม 20 100.00

แหลงที่มา - ไอเสียจากรถยนต 1 100.00

รวม 1 100.00

ชวงเวลาที่ไดรับผลกระทบมากทีสุ่ด - บางเวลา 1 100.00

รวม 1 100.00

ผลกระทบตอความรําคาญ - นอย 1 100.00

- ปานกลาง - -

- มาก - -

รวม 1 100.00

Page 45: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-45

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

ความรุนแรงของผลกระทบในปจจบัุนกับที่ผานมาเปนอยางไร

- นอยลง - -

- เทาเดิม 1 100.00

- มากข้ึน - -

รวม 1 100.00

จ. การรับรูขาวสารและทัศนคติตอโครงการ 1. ทานทราบเก่ียวกับการดําเนินงานของโครงการ หัวหิน

การเดน ของ บรษัิท เอช เอช จี จาํกัด หรือไม

- ไมทราบ 16 80.00

- ทราบ 4 20.00

รวม 20 100.00

2. กรณีทราบ ทานทราบจาก - เพ่ือนบาน/ญาติพ่ีนอง 1 25.00

- เปนทางผาน/อยูใกล 3 75.00

รวม 4 100.00

3. ทานคิดวาในชวงกอสรางของโครงการจะมผีลดีตอทาน/ครอบครัวหรือไม อยางไร

- ไมมผีลกระทบใดๆ 7 25.00

- มีผลดี คือ

• ทําใหมีงานทํา/มรีายไดเพ่ิมข้ึน 13 46.43

• ทําใหมีการพัฒนาดานสาธารณูปโภค 5 17.86

• ที่ดินมีราคาสูงข้ึน 2 7.14

• อื่นๆ คนเพ่ิมข้ึน 1 3.57

รวม 28 100.00

4. ทานคิดวาในชวงกอสรางของโครงการจะมผีลเสียตอทาน/ครอบครัวหรือไม อยางไร

- ไมมผีลกระทบใดๆ 9 34.61

- มีผลกระทบ คือ

• ขยะมูลฝอยเพ่ิมข้ึน 1 3.85

• น้ําทวมขัง 1 3.85

• การจราจรติดขัด 1 3.85

• เสียงดังมากข้ึน 4 15.38

Page 46: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-46

ตารางที่ 3.4-1 (ตอ) ผลการสํารวจสภาพสังคม เศรษฐกิจ และความคิดเห็นตอโครงการของครัวเรือนตัวอยาง โดยใชแบบสอบถาม

รายละเอียด จํานวน รอยละ

• ฝุนละออง 8 30.76

• ปญหาอาชญากรรม/ยาเสพติดเพ่ิมมากข้ึน 1 3.85

• อื่นๆ อากาศรอนข้ึน ตนไมลดลง 1 3.85

รวม 26 100.00

5. ทานคิดวาหากมีโครงการใกลบานและเมื่อมีคนเขาอยูแลว จะมผีลดีตอชุมชนหรือไม อยางไร

- ไมมผีลกระทบใดๆ 2 5.71

- มีผลดี คือ

• มีแหลงที่พักอาศยัเพ่ิมมากข้ึน 12 34.27

• ทําใหมีงานทํา/มรีายไดเพ่ิมข้ึน 15 42.86

• ทําใหมีการพัฒนาดานสาธารณูปโภค 5 14.28

• ที่ดินมีราคาสูงข้ึน 1 2.86

รวม 35 100.00 6. ทานคิดวาหากมีโครงการใกลบานและเมื่อมีคนเขาอยู

แลว จะมผีลเสียตอชุมชนหรอืไม อยางไร

- ไมมผีลกระทบใดๆ 14 70.00

- มีผลกระทบ คือ

• ขยะมูลฝอยเพ่ิมข้ึน 2 10.00

• ฝุนละออง 2 10.00

• อื่นๆ อากาศรอนข้ึน, น้ําประปาไมพอใช 2 10.00

รวม 20 100.00

7. ความคิดเห็น หรอืทัศนคติในภาพรวมของทานทีม่ตีอโครงการ คิดวามีผลกระทบอยางไร

- ผลกระทบดานบวกมากกวาดานลบ 18 90.0

- ผลกระทบดานลบมากกวาดานบวก - -

- พอๆ กัน 2 10.00

- ไมทราบ - -

รวม 20 100.00

8. ทานเห็นดวยกับโครงการ หัวหิน การเดน ของ บรษัิท เอช เอช จี จํากัด หรือไม

- เห็นดวย 20 100.00

- ไมเห็นดวย - -

- ไมแสดงความคิดเห็น - -

รวม 20 100.00

Page 47: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-47

3.4.2 การสาธารณสุข

การสาธารณสุขในอําเภอหัวหิน มีการบริการดานสาธารณสุขดังนี้

(1) สถานบริการ

- โรงพยาบาล จํานวน 3 แหง

- สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ จํานวน 1 แหง

- สถานีอนามัยประจําตําบล/หมูบาน จํานวน 12 แหง

- สํานักงานสวนมาลาเรีย หนวยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลง จํานวน 1 แหง

- สถานพยาบาลของเอกชน จํานวน 37 แหง

- รานขายยาแผนปจจุบัน จํานวน 33 แหง

(2) ดานบุคลากรทางดานสาธารณสุข

- แพทย จํานวน 19 คน

- ทันตแพทย จํานวน 6 คน

- เภสัชกร จํานวน 11 คน

- พยาบาล จํานวน 142 คน

สําหรับพื้นที่เขตเทศบาลเมืองหัวหินนั้นมีสถานพยาบาลใหบริการประชาชน จํานวน 8 แหง แบงออกเปนสถานพยาบาลของรัฐ จํานวน 6 แหง ไดแก โรงพยาบาลหัวหิน ศูนยบริการสาธารณสุขแนบเคหาสน สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ ศูนยบริการสาธารณสุขตะเกียบ หนวยควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงที่ 1 และสถานีอนามัยเขาเตา และสถานพยาบาลของเอกชน จํานวน 2 แหง ไดแก โรงพยาบาลซานเปาโลและศูนยสุขภาพชุมชนชีวาศรม โดยสามารถสรุปรายละเอียดไดดังตารางที่ 3.4-2 โดยสถานพยาบาลที่อยูใกลพื้นที่โครงการมากที่สุด ไดแก โรงพยาบาลซานเปาโล ระยะหางจากโครงการประมาณ 3 กิโลเมตร

ตารางที่ 3.4-2 รายละเอียดสถานพยาบาลและบุคลากรทางการแพทยภายในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน

สถานพยาบาล จํานวนเตียง

(เตียง) บุคลากรทางการแพทย (คน)

แพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร

1. โรงพยาบาลหัวหิน 200 11 4 102 8 2. สถานีกาชาดหัวหินเฉลิมพระเกียรติ 30 - 1 13 - 3. ศูนยบริการสาธารณสุขแนบเคหาสน - - - 1 - 4. โรงพยาบาลซานเปาโลหัวหิน 120 8 1 26 3

ท่ีมา : บรรยายสรุปเทศบาลเมืองหัวหิน, 2550

Page 48: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-48

จากขอมูลบุคลากรทางการแพทยในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน เมื่อนํามาพิจารณาอัตราแพทยตอประชากรในเขตเทศบาล (50,872 คน) พบวา อัตราแพทยตอประชากรในเขตเทศบาลมีเพียงพอ (อางอิงมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข อัตราแพทยตอประชากร คือ แพทย 1 คนตอประชากร 10,000 คน) โดยอัตราแพทยตอประชากรในเขตเทศบาล คือ แพทย 1 คนตอประชากร 2,278 คน

3.4.3 ความปลอดภัยสาธารณะ

1) การปราบปรามอาชญากรรม

สถานีตํารวจภูธรอําเภอหัวหิน เปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการดูแลความปลอดภัยของประชาชน และปราบปรามอาชญากรรมในบริเวณพื้นที่อําเภอหัวหิน ปจจุบันมีกําลังเจาหนาที่ จํานวนทั้งส้ิน 192 นาย แบงออกเปนเจาหนาที่งานจราจร จํานวน 26 นาย งานสืบสวน-สอบสวน 11 นาย งานธุรการ 5 นาย และงานปองกันปราบปราม 160 นาย

2) การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยอําเภอหัวหิน เปนหนวยงานท่ีรับผิดชอบงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในบริเวณพื้นที่ศึกษา สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มีจํานวนอัตราเจาหนาท่ีทั้งส้ิน 52 นาย มีรถยนตดับเพลิง จํานวน 3 คัน รถจักรยานยนตดับเพลิง จํานวน 3 คัน รถบรรทุกน้ํา จํานวน 4 คัน (ขนาด 12,000 ลิตร จํานวน 1 คัน ขนาด 6,000 ลิตร จํานวน 1 คัน และขนาด 5,000 ลิตร จํานวน 1 คัน) มีเครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม จํานวน 1 เครื่อง นอกจากนี้ทางสํานักงานฯ ไดจัดใหมีเจาหนาที่ประจําการตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดตลอดเวลา

3.4.4 การศึกษา

ในเขตพื้นที่อําเภอหัวหิน มีการบริการดานการศึกษา ดังนี้

สถานศึกษาในเขตเทศบาล ทั้งส้ิน 19 แหง แยกเปน

- โรงเรียนในสังกัดเทศบาล 7 โรงเรียน

1) โรงเรียนเทศบาลบานหัวหิน

2) โรงเรียนเทศบาลบานบอฝาย

3) โรงเรียนเทศบาลบานสมอโพรง

4) โรงเรียนเทศบาลบานตะเกียบ

5) โรงเรียนเทศบาลเขาพิทักษ

6) โรงเรียนเทศบาลวัดหนองแก

7) โรงเรียนเทศบาลบานเขาเตา

Page 49: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-49

- โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จํานวน 7 โรงเรียน

1) โรงเรียนอนุบาลดรุณศึกษา

2) โรงเรียนดรุณศึกษา

3) โรงเรียนสมถวิลหัวหิน

4) โรงเรียนมัธยมสาธุการหัวหิน

5) โรงเรียนหัวหินวิทยาลัย

6) โรงเรียนวังไกลกังวล

7) โรงเรียนพณิชยการหัวหิน

- โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2 จํานวน 2 โรงเรียน

1) โรงเรียนหัวหิน

2) โรงเรียนหัวหินวิทยาคม

- สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 (สอก.1) จํานวน 1 แหง คือ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล

ระดับอุดมศึกษา

1) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวล (สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ)

2) สถาบันราชภัฎสวนดุสิต (ศูนยหัวหิน)

โดยในรัศมีศึกษา 1 กิโลเมตร โดยรอบพื้นที่โครงการพบสถานศึกษา จํานวน 2 แหง ไดแก โรงเรียนเทศบาลเขาพิทักษ อยูหางจากพื้นที่โครงการประมาณ 500 เมตร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตวังไกลกังวล อยูหางจากพื้นที่โครงการประมาณ 900 เมตร

3.4.5 ประเพณีและวัฒนธรรม

ประเพณีทองถิ่นที่สําคัญของอําเภอหัวหิน ในอดีตเปนหมูบานชาวประมงทําการประมงเปนอาชีพด้ังเดิม บริเวณชุมชนสมอเรียง ชุมชนตะเกียบ ชุมชนเขาเตา และมีขนบธรรมเนียมประเพณีแหนางสงกรานต และการละเลนผีพุงใตที่เปนประเพณีทองถิ่นที่มีมาชานาน

3.4.6 สุนทรียภาพ

ในเขตพื้นที่อําเภอหัวหิน พบวามีโบราณสถาน แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษและสถานท่ีทองเที่ยวที่นาสนใจ ดังนี้

1) ชายหาดหัวหิน ชายหาดหัวหินเปนชายหาดที่สวยงาม มีหาดทรายที่ขาวละเอียด น้ําทะเลใสสะอาด โดยมีจุดลงทะเลจุดใหญที่ถนนดําเนินเกษม

Page 50: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-50

2) สวนหลวงราชินี เทศบาลหัวหินไดพัฒนาปรับปรุงที่ดินขนาด 19 ไร บริเวณถนนเรียบวังเหนือใหเปนสถานที่ทองเที่ยวและพักผอนหยอนใจแหงใหมของเมือง และสามารถลงชายหาดได โดยมี ส่ิงอํานวยความสะดวกนักทองเที่ยวอยางครบครัน เชน ลานจอดรถ ศูนยจําหนายสินคา หองอาบน้ํา เปนตน

3) จุดชมวิวเขาหินเหล็กไฟ เปนภูเขาที่ต้ังอยูทางทิศตะวันตกของเทศบาลติดกับสนามกอลฟหลวงหัวหิน ซึ่งเทศบาลไดพัฒนาปรับปรุงเปนจุดชมทัศนียภาพที่สวยงามของเมืองหัวหิน มีพระบรมราชานุสาวรียรัชกาลที่ 7 และกรงนกขนาดใหญ พรอมศูนยจําหนายสินคาและลานจอดรถที่สะดวกสบาย เปนแหลงทองเที่ยวที่อยูใกลกับพื้นที่โครงการมากที่สุด มีระยะหางจากโครงการประมาณ 1 กิโลเมตร

4) พลับพลาที่ประทับสถานีรถไฟหัวหิน สถานีรถไฟหัวหินเปนหนึ่งในสถานีรถไฟที่เกาแกที่สุด ส่ิงที่เปนเอกลักษณ คือ พลับพลาที่ประทับ ซึ่งยายจากพระราชวังสนามจันทรในสมัยรัชกาลที่ 6 และ ตัวสถานีที่มีสถาปตยกรรมไทยที่สะดุดตาแตกตางจากสถานีรถไฟทั่วไปในประเทศ

5) ตลาดโตรุงหัวหิน นับเปนสีสันยามราตรีของหัวหิน เพราะมีแผงจําหนายอาหารนานาชนิด ทั้งอาหารไทย อาหารทะเล ขนม และสินคาพื้นเมือง เชน ของที่ระลึกท่ีผลิตจากเปลือกหอย เปนตน

6) สนามกอลฟหลวงหัวหิน เปนสนามกอลฟเกาแกขนาดมาตรฐาน อยูใกลตลาดเปนที่นิยมของนักทองเที่ยวทั่วไป ที่ใชเวลาในชวงวันหยุดอยางเงียบๆ ปจจุบันเปนที่รูจักกันอยางกวางขวางวาเปนที่ใชแขงขันระดับชาติได

7) ศูนยศิลปหัตถกรรม แหลงรวมงานจิตรกรรมจากศิลปนชั้นยอดงานประติมากรรมและงานสรางสรรคอันหลากหลายเปดใหชมฟรีทุกวัน ต้ังอยูบนถนนแนบเคหาสน ฝงตะวันตกหางจากตลาดหัวหินเพียง 300 เมตร

8) เขาตะเกียบ-เขาไกรลาศ หางจากท่ีวาการอําเภอหัวหิน (หลังเกา) ไปทางทิศใต 6 กิโลเมตร ริมชายทะเล บนเขาเปนที่ต้ังของวัดและพระบาทจําลอง อากาศบนเขาเย็นสดชื่น สามารถมองเห็นทิวทัศนชายทะเลและเมืองหัวหินได การเดินทางสะดวกมีรถสองแถวโดยสาร มีรานอาหารและของที่ระลึก

9) สวนสนประดิพัทธ ที่ชายหาดท่ีสวยงามเงียบสงบ มีแนวตนสนเปนเอกลักษณของหาด บรรยากาศรมรื่นเย็นสบายซึ่งอยูในความดูแลของกองสวัสดิการทหารบก หางจากตัวเมืองหัวหินไปทางทิศใตประมาณ 9 กิโลเมตร

10) หาดเขาเตา ชายหาดเล็กๆ เชิงเขาเตา เงียบสงบ มีพระพุทธรูปขนาดใหญหันพระพักตรออกสูทะเลหางจากตัวเมืองหัวหินไปทางทิศใต ประมาณ 13 กิโลเมตร

11) อางเก็บน้ําเขาเตา ต้ังอยูบริเวณชุมชนเขาเตา อางเก็บน้ําเขาเตาถือเปนโครงการพระราชดําริดานชลประทานแหงแรกในประเทศไทย หางจากตัวเมืองหัวหินไปทางทิศใตประมาณ 13 กิโลเมตร

Page 51: บทที่ 3 สภาพสิ่งแวดล อมภายในพ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/52/52_242/บท...รายงานผลกระทบส

รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบ้ืองตน (รายงานฉบับสมบูรณ) บทที่ 3 โครงการหัวหินการเดน สภาพส่ิงแวดลอมภายในพื้นที่ศึกษา

จัดทําโดย บริษัท เทคนิคส่ิงแวดลอมไทย จํากัด หนา 3-51

12) หาดทรายนอย เปนหาดทรายที่อยูทางใตสุดของเทศบาลติดกับโครงการพระราชดําริสวนปาหาดทรายใหญเปนชายหาดสงบ น้ําทะเลใสสะอาดอยูในเขตชุมชน บานเขาเตาหางจากตัวเมืองหัวหินไปทาง ทิศใตประมาณ 16 กิโลเมตร

อยางไรก็ตามโดยรอบพื้นที่โครงการในรัศมี 1 กิโลเมตร ไมพบแหลงศิลปกรรมและสิ่งแวดลอมอันควรอนุรักษที่ขึ้นทะเบียนโบราณสถานของกรมศิลปากรต้ังอยูแตอยางใด