33
รายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม มิถุนายน 2558 บริษัท เกษมกิจ จํากัด 1 บทที1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการฯ รายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม โครงการแคนทารีเบย ศรีราชา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม มิถุนายน 2558 ดําเนินนโยบายในการตรวจสอบ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมควบคูกับการดําเนินกิจการของโครงการฯ เพื่อตอบสนอง พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ .. 2535 โครงการฯ จึงไดดําเนินการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอมตามแนวทางในหนังสือแจงผลการพิจารณารายงาน ทีวว.0804/9069 ลงวันที20 สิงหาคม 2544 (หนาที1 ภาคผนวก ) ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตาม ตรวจสอบและจัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อนําเสนอสํานักงานฯ พิจารณาเปนประจําทุก 6 เดือน 1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป ชื่อโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา สถานที่ตั้ง ถนนเจิมจอมพล 1 อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ชื่อเจาของโครงการ บริษัท เกษมกิจ จํากัด สถานที่ติดตอ 120 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 จัดทําโดย บริษัท เทสโก จํากัด โครงการไดรับความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเมื่อ 20 สิงหาคม 2544 โครงการไดนําเสนอรายงานผลการปฏิบัติตามาตรการฯ ครั้งสุดทายเมื่อ กรกฎาคม ธันวาคม 2557 1.2.1 ลักษณะ / ประเภทโครงการ โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา ตั้งอยูที17/2 ซอยเจิมจอมพล 1 อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เบอร โทรศัพท (038) 771365 เปนโครงการจัดสรางที่อยูอาศัย เปน SERVICED APARTMENT สําหรับเจาหนาที่ระดับสูงนิคม อุตสาหกรรมตางๆ ที่อยูใกลเคียง รวมถึงรองรับนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางประเทศ ซึ่งสวนใหญจะเปนนักทองเที่ยว ชาวตางประเทศที่มาเพื่อพักผอนหยอนใจในบรรยากาศชายทะเล และอยูหางจากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวงหมายเลข 3 ประมาณ 117 กิโลเมตร (ภาพที1-1) โดยมีสภาพแวดลอมขางเคียงในปจจุบันเปนดังนีทิศเหนือ ติดกับซอยเจิมจอมพล 1 และโรงเรียนเทศบาลวัดศรีมหาราชา ทิศใต ติดกับที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับที่พักอาศัย ทิศตะวันตก ติดกับที่พักอาศัย

บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาของโครงการฯ

รายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม โครงการแคนทารี่ เบย ศรีราชา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558 ดําเนินนโยบายในการตรวจสอบ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมควบคูกับการดําเนินกิจการของโครงการฯ เพ่ือตอบสนองพระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 โครงการฯ จึงไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมตามแนวทางในหนังสือแจงผลการพิจารณารายงาน ท่ี วว.0804/9069 ลงวันท่ี 20 สิงหาคม 2544 (หนาท่ี 1 ภาคผนวก ง) ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตามตรวจสอบและจัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม เพ่ือนําเสนอสํานักงานฯ พิจารณาเปนประจําทุก 6 เดือน 1.2 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป

ชื่อโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา สถานท่ีต้ัง ถนนเจิมจอมพล 1 อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ชื่อเจาของโครงการ บริษัท เกษมกิจ จํากัด สถานท่ีติดตอ 120 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 จัดทําโดย บริษัท เทสโก จํากัด โครงการไดรับความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเมื่อ 20 สิงหาคม 2544 โครงการไดนําเสนอรายงานผลการปฏิบัติตามาตรการฯ ครั้งสุดทายเมื่อ กรกฎาคม – ธันวาคม 2557 1.2.1 ลักษณะ / ประเภทโครงการ

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา ต้ังอยูท่ี 17/2 ซอยเจิมจอมพล 1 อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เบอรโทรศัพท (038) 771365 เปนโครงการจัดสรางท่ีอยูอาศัย เปน SERVICED APARTMENT สําหรับเจาหนาท่ีระดับสูงนิคมอุตสาหกรรมตางๆ ท่ีอยูใกลเคียง รวมถึงรองรับนักทองเท่ียวชาวไทยและชาวตางประเทศ ซึ่งสวนใหญจะเปนนักทองเท่ียวชาวตางประเทศท่ีมาเพ่ือพักผอนหยอนใจในบรรยากาศชายทะเล และอยูหางจากกรุงเทพมหานครไปตามทางหลวงหมายเลข 3 ประมาณ 117 กิโลเมตร (ภาพที่ 1-1) โดยมีสภาพแวดลอมขางเคียงในปจจบัุนเปนดังนี้

ทิศเหนือ ติดกับซอยเจิมจอมพล 1 และโรงเรียนเทศบาลวัดศรีมหาราชา ทิศใต ติดกับท่ีดินเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับท่ีพักอาศัย ทิศตะวันตก ติดกับท่ีพักอาศัย

Page 2: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 2

1.2.2 ขนาดพื้นท่ีโครงการ

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา มีพ้ืนท่ีใชสอยท้ังหมด 31,512 ตารางเมตร ประกอบดวยการใชประโยชนท่ีดิน (ภาพที่ 1-2) ดังนี้คือ อาคาร 1 มีพ้ืนท่ี 25,469 ตารางเมตร พรอมท่ีจอดรถ ท่ีกลับรถและทางเขาออกของรถ จํานวน 63 คัน พ้ืนท่ี 2,216 ตารางเมตร และอาคาร 2 มีพ้ืนท่ี 3,827 ตารางเมตร พรอมท่ีจอดรถ ท่ีกลับรถและทางเขาออกของรถ จํานวน 15 คัน

ตารางท่ี 1-1 แสดงการใชประโยชนท่ีดินของโครงการแคนทารี่เบย ศรีราชา

ประเภทการใชประโยชนท่ีดิน รอยละ

1. บริเวณอาคารโครงการ 92.96 2. ถนนและที่จอดรถ 7.04

รวม 100.00

ภาพท่ี 1-1 ท่ีต้ังของโครงการ KANTARY BAY SRIRACHA

Page 3: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 3

ภาพท่ี 1-2 ทัศนียภาพของโครงการ KANTARY BAY SRIRACHA

Page 4: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 4

(1) อาคาร 1

อาคาร 1 เปนอาคารชุดพักอาศัย 12 ชั้น มีความสูงแตละชั้น 3 เมตร มีจํานวนหองพักอาศัย ท้ังหมด 157 หอง โดยรายละเอียด จํานวนหองพักแบงเปน

1.2) ชั้น 1 จะมีรานอาหาร พ้ืนท่ีบริการโทรศัพทสาธารณะ สวนซักอบรีด หองอานหนังสือ หองเลนเกมส หองสนุกเกอร หองธุรกิจ แผนกตอนรับและล็อบบ้ี และชั้นลอยจะเปนสวนของสํานักงาน หองพักพนักงานและหองสัมมนา

1.3) ชั้น 2 เปนสวนของหองออกกําลังกาย ซาวนา จากุซซี่ และระเบียงพักผอน และหองพักจํานวน 9 หอง 1.4) ชั้น 3 ถึงชั้น 9 เปนหองพัก จํานวน 14 หอง 1.5) ชั้น 10 ถึงชั้น 12 เปนหองพัก จํานวน 16 หอง 1.6) ชั้นดาดฟา มีจํานวนหองพัก 2 หอง 1.7) ชั้นใตดิน เปนสวนของหองอาหารของพนักงานและพ้ืนท่ีจอดรถจํานวน 56 คัน

(2) อาคาร 2

อาคาร 2 เปนอาคารชุดพักอาศัย 7 ชั้น มีจํานวนหองพักอาศัยท้ังหมด 34 หอง มีความสูงของแตละชั้น ประมาณ 3 เมตร โดยชั้นลางเปนประชาสัมพันธและชั้นจอดรถ

2.1) ชั้นท่ี 2-4 มีจํานวนหองพักชั้นละ 8 หอง 2.2) ชั้นท่ี 5 มีจํานวนหองพัก 5 หอง 2.3) ชั้นท่ี 6 มีจํานวนหองพัก 3 หอง 2.4) ชั้นท่ี 7 มีจํานวนหองพัก 2 หอง

1.2.3 กิจกรรมโครงการ

การบําบัดนํ้าเสีย (1) แหลงท่ีมาและปริมาณนํ้าเสีย

การดําเนินกิจการของโครงการฯ กอใหเกิดน้ําเสียเขาสูระบบประมาณ 120 ลูกบาศกเมตรตอวัน อัตราน้ําเสียคิดเปนรอยละ 80 ของปริมาณน้ําใช ซึ่งสามารถจําแนกตามแหลงท่ีเกิดไดดังนี้

- น้ําเสียของอาคาร 1 50,240 ลิตร/วัน - น้ําเสียของอาคาร 2 10,800 ลิตร/วัน - น้ําเสียในสวนของนันทนาการ 144 ลิตร/วัน - น้ําเสียในสวนของสํานักงาน 2,101 ลิตร/วัน - น้ําเสียในสวนของหองอาหาร 2,800 ลิตร/วัน - น้ําเสียในสวนของหองสัมมนา 480 ลิตร/วัน

(2) ชนิดและรายละเอียดของระบบบําบัดนํ้าเสีย ระบบบําบัดน้ําเสียของโครงการฯ ในปจจุบันแยกออกไดเปน 2 สวนใหญๆ คือ 2.1) ระบบ ANAEROBIC FILTER + FIXED FILM AERATION ใชสําหรับการบําบัดแบบรวม (JOINT

TREATMENT) ไดแก น้ําสวม น้ําท้ิง และน้ําเสียจากครัว จากอาคารพักอาศัย1 ซึ่งมีสวนประกอบหลักดังตอไปนี้ (หนาท่ี 12 ภาคผนวก ง)

(ก) บอดักไขมัน ทําหนาท่ีแยกน้ํามันไขมันออกจากน้ําท้ิง เพ่ือใหน้ําท้ิงปราศจากไขมันและน้ํามันกอนถายสูสวนของบอเกรอะ โดยจัดเตรียมปริมาตรความจรุวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัด (ภาพที่ 1-3)

Page 5: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 5

(ข) บอเกรอะ ทําหนาท่ีแยกกากตะกอนหนัก (SOLIDS) และตะกอนเบา (SCUM) เพ่ือใหน้ําท้ิงสวนใสท่ีมีความสะอาดเพียงพอกอนถายสูสวนกรองแบบไรอากาศ โดยมีการจัดเตรียมปริมาตรความจุรวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัด

(ค) บอกรองไรอากาศ ทําหนาที่เปนระบบบําบัดแบบไรอากาศโดยใชจุลินทรียชนิดไมใชอากาศ (ANAEROBIC BACTERIA) ซึ่งถูกเล้ียงบนส่ือชีวภาพ เพ่ือใหจุลินทรียมีจํานวนมากพอที่จะทําการยอยสลายสารอินทรีย โดยมีการจัดเตรียมปริมาตรความจุรวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัด

(ง) บอ FIXED FILM AERATION เปนระบบบําบัดโดยใชจุลินทรียชนิดใชอากาศ (AEROBIC BACTERIA) ซึ่งถูกเล้ียงบนผิวกลางแบบยึดติดกับท่ี (FIXED FILM MEDIA) ในการเติมอากาศใหกับระบบ จะใชเครื่องเติมอากาศ เพ่ือจายอากาศจากภายนอกเขาสูตัวถัง โดยมีการจัดเตรียมปริมาตรความจุรวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัด

2.2) ระบบถัง SAT เปนระบบบําบัดน้ําเสียแบบระบบถังสําเร็จรูปแบบติดกับท่ี CONSITE WASTEWATER TREATMENT รุน MA 1126 และรุน AT-100 ผลิตจากวัสดุไฟเบอรกลาสชนิดเสริมแรง เปนผลิตภัณฑของบริษัท พรีเมียร โพรดักส จํากัด ใชสําหรับการบําบัดแบบรวม (JOINT TREATMENT) ไดแก น้ําสวม น้ําท้ิง และน้ําเสียจากครัว จากอาคารพักอาศัย 2 ซึ่งมีสวนประกอบหลักดังตอไปนี้ (หนาท่ี 13 ภาคผนวก ง)

(ก) ถัง BIOKIT ทําหนาท่ีรับน้ําเสียจากครัวเรือนเพื่อทําการแยกไขมันและน้ํามันกอนถายสูสวนของบอเกรอะ โดยจัดเตรียมปริมาตรความจุรวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัด

(ข) สวนเกรอะ (SEPARATION CHAMBER) ทําหนาท่ีแยกกากตะกอนหนัก (SOLIDS) และตะกอนเบา (SCUM) เพ่ือใหน้ําท้ิงสวนใสท่ีมีความสะอาดเพียงพอกอนถายลงสูสวนกรองแบบไรอากาศ โดยมีการจัดเตรียมปริมาตรความจุรวมไวอยางเพียงพอตอปริมาณน้ําท่ีจะบําบัดแตละถัง

(ค) สวนเติมอากาศและตกตะกอน เปนระบบแบบเติมอากาศ เพ่ือเพ่ิมปริมาณจุลินทรียท่ีแขวนลอยในน้ําเสียซึ่งจะชวยในการยอยสลายสารอินทรียสวนท่ีเหลือใหมีความสะอาดตามมาตรฐาน ภายในถังจะมีเครื่องระบายอากาศ (AIR BLOWER) ในการจายอากาศจากภายนอกเขาสูตัวถัง ภายในถังจะมีแผนกั้นเพ่ือทําการแยกน้ําใสออกจากตะกอนใหระบายออกสูสวนฆาเชื้อโรค หากพบวาระบบมีตะกอนตกอยูกนถังปริมาณมากเกินไปก็ทําการสูบถายออกเพ่ือทําการกําจัดท้ิง แตรุน AT-100 (S-A) จะไมมีในสวนของการตกตะกอน

(ง) สวนฆาเชื้อโรค (DISINFECTION TANK) ทําหนาท่ีฆาเชื้อโรคเปนขั้นสุดทาย อาศัยคลอรีนเม็ดในการกําจัดจุลินทรีย

น้ําท้ิงหลังการบําบัดดวยระบบบําบัดน้ําเสียท้ัง 2 ระบบ สวนใหญจะนํามารดน้ําตนไม (ภาพที่ 1-4) ท่ีปลูกอยูบริเวณโครงการฯ สวนน้ําท่ีเหลือก็ใหปลอยไหลออกทอน้ําท้ิงหนาโครงการฯ

ภาพท่ี 1-4 การนําน้ําท้ิงขาออกจากระบบบําบัดน้ําเสียมาใชรดน้ําตนไม

ภาพท่ี 1-3 บอดักไขมัน และการตักไขมันของโครงการฯ

Page 6: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 6

การระบายนํ้า ระบบระบายน้ําของโครงการฯ จะใชลักษณะของทอระบายน้ํารวมในสวนของนํ้าท้ิงจากการอยูอาศัยและน้ําฝน

(ภาพที่ 1-5) โดยมีขนาดทอท่ีใชคือ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.60 เมตร ซึ่งแนวทอระบายน้ําฝนดานขางอาคารจะมีลักษณะเปนรางตัวยู มีฝาปดขนาดความกวาง 0.30 เมตร ซึ่งน้ําท่ีระบายจากอาคาร 1 จะรวบรวมลงสูระบบบําบัดของอาคาร 1 อาคาร 2 จะไหลลงระบบบําบัดของอาคาร 2 และไหลออกทอน้ําท้ิงดานหนาโครงการฯเพ่ือรวบรวมสูระบบบําบัดน้ําเสียของเทศบาลศรีราชาตอไป

การจัดการขยะมูลฝอย ระบบรวบรวมและกําจัดมูลฝอยของโครงการฯ มีมาตรการในการรวบรวมและกําจัดขยะมูลฝอย อาทิ เชน ภายใน

หองพักทุกๆหอง ไดจัดใหมีถังรองรับมูลฝอยขนาดเล็ก จํานวนหองละ 2 ใบ วางอยูในสวนของหองนอนและหองน้ํา และจัด ถังรองรับขยะมูลฝอยและถังขยะอันตรายเปนระยะๆ (ภาพที่ 1-6) โดยมีการจัดเก็บและรวบรวมมูลฝอยทุกวัน ในการจัดเก็บขยะในโครงการฯ จะมีพนักงานทําความสะอาด (ภาพที่ 1-7) จัดเก็บขยะและทําความสะอาดในชวงเวลา 10.00-14.00 น. ซึ่งพนักงานทําความสะอาดจัดเก็บขยะภายในโครงการฯ มาเก็บไวในหองขยะเปยก และหองขยะแหงของโครงการฯ ในบริเวณชั้น 1 ของอาคาร 1 ซึ่งหองเก็บขยะแหงมีขนาด 3.6x2.4x3 เมตร หองเก็บขยะเปยกมีขนาด 3.6x3.2x3 เมตร พ้ืนของหองเก็บขยะเปนพ้ืนขัดมันผสมน้ํายากันซึม โดยจะมีพนักงานเก็บขยะของเทศบาลมารวบรวมทุกวัน (ภาพที่ 1-8)

ภาพท่ี 1-5 ระบบระบายน้ําภายในโครงการฯ

ภาพท่ี 1-6 ถังรองรับมูลฝอยและถังขยะอันตราย

Page 7: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 7

ระบบนํ้าใชของโครงการฯ น้ําใชในแตละอาคารท้ังโครงการฯ ใชน้ําประปาซึ่งเชื่อมจากการประปาสวนภูมิภาคโดยสํานักงานประปาจังหวัดชลบุรี

ความตองการใชน้ําในโครงการแคนทารี เบย ศรีราชา จากการคาดประมาณปริมาณน้ําใชของโครงการฯ ตามเกณฑของการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (2542) สามารถแบงออกไดดังนี้

ปริมาณน้ําใชตอหนวยหองพักอาศัย 400 ลิตร/ หอง/ วัน - อาคาร 1 62,800 ลิตร/วัน - อาคาร 2 13,600 ลิตร/วัน

ปริมาณน้ําใชในสวนนันทนาการซึ่งจะเปนสวนของสระวายน้ําและหองเซาวนา ซึ่งจะมีผูใชประมาณรอยละ 25 ของผูพักอาศัยคือ 60 คน/วัน/ลิตร

- ปริมาณน้ําใชในสวนสํานักงาน (661 ตารางเมตร) 2,511.8 ลิตร/วัน - ปริมาณน้ําใชในสวนหองอาหาร (ความจ ุ70 คน) 3,500 ลิตร/วัน - ปริมาณน้ําใชในสวนหองสัมมนา (60 ท่ีนั่ง) 600 ลิตร/วัน

ซึ่งทางโครงการฯ ไดจัดเตรียมถังเก็บน้ําใตดินขนาดสุทธิ 200 ลูกบาศกเมตร และถังน้ําเก็บน้ําบนหลังคาขนาดสุทธิ 100 ลูกบาศกเมตร ในอาคาร 1 และเตรียมถังน้ําเก็บน้ําใตดินขนาดสุทธิ 54 ลูกบาศกเมตร และถังเก็บน้ําบนหลังคา ขนาดสุทธิ 22.5 ลูกบาศกเมตร ในอาคาร 2 (ภาพที่ 1-9)

ภาพท่ี 1-7 พนักงานทําความสะอาด

ภาพท่ี 1-8 หองเก็บเก็บขยะและพนักงานเก็บขยะของเทศบาล

Page 8: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 8

ระบบไฟฟา โครงการแคนทารี เบย ศรีราชา ไดทําการติดต้ังหมอแปลงขนาด 2,000 KVA. เฟส 3 Q ความถ่ี 50 Hz. เพ่ือรับ

กระแสไฟฟาท่ีสงมาจากการไฟฟาสวนภูมิภาค สํานักงานไฟฟาจังหวัดชลบุรี โดยติดต้ังหมอแปลง (ภาพท่ี 1-10) บริเวณใกลเคียงกับอาคาร 1 นอกจากนี้ยังไดติดต้ังเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองและระบบไฟฟาฉุกเฉิน เพ่ือใชสํารองกรณีไฟฟาดับ (ภาพที่ 1-11)

ระบบปองกันอัคคีภัยและระบบดับเพลิง (1) เคร่ืองกําเนิดไฟฟาสํารอง

เพ่ือใชสําหรับจายกระไฟฟาฉุกเฉินใหแกอาคาร โดยใหขนาดกําลังไฟฟาเปนกิโลวัตตไมนอยกวา 400/ V, 3 PHASE, 4 WIRE, 50 Hz ท่ี STAND-BY RATING โดยใชเครื่องยนตกําลังเปนชนิดใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงหรือ ส่ีจังหวะระบายความรอนดวยน้ํา ทํางานท่ี RATED SPEED 1,500 รอบตอวินาที ตอโดยตรงเขากับ GENERATOR เปนแบบ BRUSHLESS, REVOLVING FIELD TYPE

ภาพท่ี 1-9 ระบบน้ําใชภายในโครงการฯ

ภาพท่ี 1-10 หมอแปลงไฟฟาของโครงการฯ ภาพท่ี 1-11 เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง (Generator)

Page 9: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 9

(2) โคมแสงสวางฉุกเฉิน

เปนชนิดมีแบตเตอรี่บรรจุอยูภายในพรอมดวยระบบควบคุมอัตโนมัติแบบ Solids State หลักการทํางานของเครื่องคือจะอัดประจุไฟฟาเก็บไวใน Battery และเมื่อไฟฟาดับวงจรจะตอไฟฟาจาก Battery จายไปยังหลอดไฟฟาใหสวาง (ภาพที่ 1-12)

(3) ระบบสัญญาณเตือนเหตุเพลิงไหม ในอาคารชุดพักอาศัยไดติดต้ังสัญญาณเตือนเหตุเพลิงไหม ดวยอุปกรณตรวจจับความรอน อุปกรณตรวจจับ

ควัน และ สวิทซแจงเพลิงไหม ซึ่งระบบแจงเหตุเพลิงไหมไดติดต้ังอยูทุกหองของอาคารชุดโดยการสงสัญญาณเตือน ตองสามารถกําหนดใหมีการสงสัญญาณเปนขั้นตอนโดยขั้นตอนจะเตือนเฉพาะสวนพ้ืนท่ีใกลท่ีเกิดเหตุ เปนระยะเวลาหนึ่ง (ประมาณ 5–10 นาที) และขั้นตอนตอไปจะสงสัญญาณรวมทั้งหมด (ภาพที่ 1-13)

(4) อุปกรณสงเสียงสัญญาณ กระด่ิงสงสัญญาณตองเปนแบบ VIBRATING BELL ทํางานดวยพลังงานไฟฟา กระแสตรง 24 โวลท มีขนาด

เสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 6 นิ้วและใหความดังไมนอยกวา 85 dBA ท่ีระยะหางไมนอยกวา 3 เมตร (10 ฟุต) พรอมอุปกรณประกอบ ติดต้ังแบบ SEMIFLUSH กระด่ิงตองเคลือบดวยสี RED, BAKE ENAME (ภาพท่ี 1-13)

(5) บันไดหนีไฟ ในอาคารชุดพักอาศัย 12 ชั้น ไดมีทางหนีไฟอยูดานซายและขวาของอาคาร ความกวางของทางเดิน 1.8 เมตร

ซึ่งสามารถใชลงสูชั้นลางหรือขึ้นสูลานจอดเฮลิคอปเตอร สวนอาคาร 2 จะมีทางหนีไฟอยูดานซายของอาคารขนาดความกวางของทางเดิน 1.8 เมตร ใชลงสูชั้นลางหรือขึ้นสูลานจอดเฮลิคอปเตอร สามารถเชื่อมกับทางหนีไฟของอาคาร 1 ไดบริเวณ ชั้น 2 ซึ่งบริเวณบันไดหนีไฟผนังคอนกรีตจะเปนผนังทนไฟเพ่ือปองกันไฟและควัน และมีปายแสดงทางออก (ภาพที่ 1-14)

(6) ระบบดับเพลิง ระบบดับเพลิงของอาคารชุดจะประกอบไปดวย อุปกรณซึ่งมีรายละ เอียด ดังตอไปนี้ 6.1) ทอดับเพลิง ใชเปนทอเหล็กอาบสังกะสี (GALVAIZED) ผลิตตามมาตรฐาน มอก.277-2521 ประเภท

2 หรือ BS.1387-1967 อุปกรณประกอบทอใหเปนไปตามมาตรฐานของผูผลิต 6.2) ตูอุปกรณดับเพลิง (ภาพที่ 1-15) ประกอบดวย

(ก) สายสงฉีดนํ้า (FIRE HOSE REEL, SWING TYPE) เปนสายยางผลิตเปนไปตามมาตรฐานของผูผลิต

(ข) หัวฉีด JET/SPRAY/SHUT-OFF NOZZLE มาตรฐาน BS5274 ขนาด 1.5 นิ้ว ยาว 100 ฟุต (30 เมตร) เสริมใหแข็งแรงดวยโครงสรางเสนใยดัดทําใหไมหักงอ ทนดวยความดันทดสอบไมตํ่ากวา 300 ปอนดตอตารางนิ้ว

(ค) วาลวควบคุมแบบอัตโนมัติ ทําจากโลหะผสมท่ีแข็งแรง เมื่อดึงสายจากขดมวน สายน้ําจะไหลมายังหัวฉีดโดยอัตโนมัติ

(ง) ขดมวนสาย ทําจากแผนเหล็กขึ้นรูป พนสีแดง เชนเดียวกับตูเก็บสายสงฉีดน้ําดับเพลิงท่ีขดทําดวยโลหะไมเปนสนิม มีโปลทยึดกับผนัง

(จ) เคร่ืองดับเพลิงเคมีชนิดมือถือ (PEE) ใหใชขนาด 10 ปอนด มีระยะดับไฟผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรมไทย มอก.332-2531

6.3) ระบบโปรยนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (AUTOMATIC FIRE SPRINKLER) ทุกพ้ืนท่ีในอาคาร (ภาพที่ 1-16) 6.4) เคร่ืองสูบนํ้าดับเพลิง (FIRE PUMP) เครื่องสูบน้ําดับเพลิงดีเซล ทําหนาท่ีสูบน้ําจากถังน้ําสํารองดับเพลิง

เพ่ือสงน้ําเขาสูระบบทอน้ําดับเพลิง โดยจะตองมีปริมาณการไหลของน้ําและความดันท่ีพอเพียง (ภาพที่ 1-17) 6.5) ระบบทอยืน (STANDPIPE SYSTEM) ควบคุมความดันน้ําดับเพลิงใหอยูในชวงท่ีตองการไมตํ่าหรือ

สูงเกินไป โดยทั่วไปกําหนดความสูงในแตละโซนไมใหเกิน 175 ปอนด/ตารางนิ้วน้ํา

Page 10: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 10

6.6) ปริมาณนํ้าสํารองเพื่อการดับเพลิง ปริมาณน้ําท่ีตองสํารองไวเพ่ือการดับเพลิงอยางนอย 30 นาที

คิดเปนปริมาณน้ํา 54.4 ลูกบาศกเมตร ปริมาณน้ําใชของอาคาร 1 และอาคาร 2 เทากับ 83.2 ลูกบาศกเมตร ถังเก็บน้ําใตดินและใตหลังคาของอาคาร 1 เทากับ 300 ลูกบาศกเมตร ถังเก็บน้ําใตดินและใตหลังคาของอาคาร 2 เทากับ 76.5 ลูกบาศกเมตร ดังนั้นจะเห็นวามีปริมาณน้ําท่ีเพียงพอท่ีจะใชสํารองเพ่ือการดับเพลิง

ภาพท่ี 1-12 ไฟสองสวางฉุกเฉิน ภาพท่ี 1-13 ระบบสัญญาณเตือนเหตุเพลิงไหม

ภาพท่ี 1-16 ระบบโปรยน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ ภาพท่ี 1-17 เครื่องสูบน้ําดับเพลิง

ภาพท่ี 1-14 บันไดหนีไฟ ภาพท่ี 1-15 ตูอุปกรณดับเพลิง และระบบทอยืน

Page 11: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 11

ระบบจราจร สภาพโครงการฯ มีระบบการจราจร คือ มีถนนสายเมน เปนคอนกรีตเสริมเหล็กกวาง 11.5 เมตร เปนผิวจราจรกวาง 8 เมตร

และท่ีจอดรถดานขางโครงการฯ 3.5 เมตร และถนนสายหลังโครงการฯ ผิวจราจรกวาง 6 เมตรทิศทางการ จราจรเปนวงกลมวนรอบโครงการ มีการติดปายแสดงสัญลักษณจราจรบอกทิศทางภายโครงการ ฯ (ภาพที่ 1-18) และปายจํากัดความเร็ว ไมเกิน 30 กม./ชม.(ภาพท่ี 1-19)

ภาพท่ี 1-18 ระบบการจราจรของโครงการฯ

ภาพท่ี 1-19 ปายควบคุมความเร็วรถยนตและปายดับเคร่ืองยนตบริเวณพื้นท่ีจอดรถ

Page 12: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 12

1.3 แผนดําเนินการเพื่อติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

สําหรับแผนดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมจะดําเนินการติดตามตรวจสอบระบบบําบัดน้ําเสีย โดยทําการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสียเปรียบเทียบกับมาตรฐานน้ําท้ิงจากอาคารประเภท ข ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําท้ิงจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไปเลมท่ี 111 ตอนพิเศษ 9 ง ลงวันท่ี 4 กุมภาพันธ 2537 (ภาคผนวก ข) ท้ังนี้การกําหนดดัชนีคุณภาพส่ิงแวดลอมท่ีดําเนินการตรวจวิเคราะหอางอิงจากรายงานผลการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมแคนทารีเบย ศรีราชา

1.3.1 มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าท้ิง

(1) จุดตรวจสอบคณุภาพนํ้าท้ิงและดัชนีคุณภาพนํ้าท้ิง การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําเสียและน้ําทิ้งจากระบบบําบัดน้ําเสียของโครงการไดดําเนิน

การเก็บตัวยางน้ํา ทิ้ง ทั้งกอนและหลังผานการบําบัดมีดัชนีคุณภาพที่ตองทําการตรวจวิเคราะหคือ pH, BOD, Suspended Solids, Total Dissolved Solids, Settleable Solids, TKN Sulfide และOil & Grease (ภาคผนวก ก)

(2) วิธีการเก็บตัวอยาง รักษาสภาพตัวอยาง และการตรวจวิเคราะหตัวอยาง 2.1) ทําการเก็บตัวอยาง โดยใชแบบแปลนในการชวยเลือกตําแหนงท่ีจะทําการเก็บ 2.2) ทําการเก็บตัวอยางแบบจวง (GRAB) ใชขวดเก็บตัวอยางชนิด POLYETHYLENE ขนาด 1 ลิตร

จากบริษัทท่ีรับจางวิเคราะหคุณภาพน้ําจัดหาให 2.3) ตัวอยางน้ําท้ิงท่ีจะนํากลับไปวิเคราะหจะปดฉลากแสดงรายละเอียดของตัวอยางพรอมท้ังจดบันทึก

ขอมูลในแบบใบรับ/สงตัวอยางของบริษัทผูรับจาง และบรรจุตัวอยางท้ังหมดลงในถังน้ําแข็งเพ่ือควบคุมอุณหภูมิท่ีประมาณ 4 องศาเซลเซียสและนําสงไปวิเคราะหยังหองปฏิบัติการของบริษัท ผูรับจางภายใน 24 ชั่วโมง

2.4) การตรวจวิเคราะหตัวอยางน้ํา โดยวิธีการตรวจวิเคราะหเปนไปตามที่กําหนดมาตรฐานน้ําท้ิงของอาคารตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม พ.ศ.2537 และวิธีการตามมาตรฐานใน Standard Method for Examination of Water and Wastewater 20th Edition, 1998 of APWA, AWWA AND WEF

(3) ความถี่ในการติดตามตรวจสอบ การตรวจสอบสภาพการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสียและการเก็บตัวอยางน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสีย

จะดําเนินการเปนประจําทุก 6 เดือน (ภาคผนวก ก) (4) วิธีการติดตามตรวจสอบ

การตรวจสอบสภาพการทํางานของหนวยบําบัดทุกๆ หนวยในระบบบําบัดน้ําเสีย ต้ังแตเริ่มตนจนกระท่ังถึงขั้นตอนสุดทาย ประเมินประสิทธิภาพการบําบัดความสกปรกในน้ําเสียและความสามารถในการรองรับน้ําเสียโดยการพิจารณาจากแบบแปลนและรายการคํานวณที่ไดออกแบบไว โดยจะเปรียบเทียบกับปริมาณน้ําเสียท่ีเกิดขึ้นจริงและเปรียบเทียบคุณภาพน้ําท้ิงกับมาตรฐานน้ําท้ิงอาคารประเภท ข พรอมท้ังสรุปผล

(5) วิธีการประเมินประสิทธิภาพระบบบําบัดนํ้าเสีย การประเมินประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียโดยสวนใหญมักพิจารณาจากประสิทธิภาพในการ

บําบัดความสกปรกในรูปของสารอินทรีย (BOD) และประสิทธิภาพในการบําบัดของแข็งแขวนลอย (TSS) ท้ังหมด ดังรายละเอียดดังตอไปนี้

Page 13: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 13

5.1) การประเมินประสิทธิภาพในการบําบัดความสกปรกในรูปของสารอินทรีย

(EFFICIENCY OF BOD TREATMENT) ประเมินไดจากความสามารถในการบําบัดความสกปรกในรูปของสาร อินทรียในตัวอยางน้ําเสียกอนเขาสูระบบและน้ําท้ิงหลังจากผานการบําบัดแลว ดังสูตร

EFFICIENCY OF BOD TREATMENT = INFLUENT BOD -EFFLUENT BOD X100% INFLUENT BOD

เมื่อ EFFICIENCY OF BOD TREATMENT = ประสิทธิภาพการบําบัดความสกปรก (%) INFLUENT BOD = คาปริมาณ BOD ของน้ําเสียกอนเขาสูระบบ (mg/L) EFFLUENT BOD = คาปริมาณ BOD ของน้ําท้ิงหลังผานการบําบัดแลว (mg/L)

5.2) การประเมินประสิทธิภาพในการบําบัดความสกปรกในรูปของแข็งแขวนลอย (EFFICIENCY OF TSS TREATMENT) ประเมินไดจากความสามารถในการบําบัดความสกปรกในรูปของของแข็งแขวนลอยท้ังหมดในตัวอยางน้ําเสียกอนเขาสูระบบและน้ําท้ิงหลังผานการบําบัดแลวดังสูตร

EFFICIENCY OF TSS TREATMENT = INFLUENT TSS -EFFLUENT TSS X100% INFLUENT TSS

เมื่อ EFFICIENCY OF TSS TREATMENT = ประสิทธิภาพการบําบัดความสกปรก INFLUENT TSS = คาปริมาณ TSS ของน้ําเสียกอนเขาสูระบบ (mg/L)

EFFLUENT TSS = คาปริมาณ TSS ของน้ําท้ิงหลังผานการบําบัดแลว (mg/L)

1.3.2 มาตรการติดตามตรวจสอบการใชนํ้า ในขณะท่ีเปดดําเนินการควรติดตามตรวจสอบการทํางานของปมน้ํา ระบบทอสงน้ําประปา สภาพท่ัวไปของถัง

เก็บน้ําใหอยูในสภาพดี เพ่ือปองกันการชํารุดและรั่วไหลของนํ้า พรอมท้ังทําการบันทึกการตรวจสอบและการแจงขอชํารุด บกพรองตางๆ ในกรณีท่ีมีการแตกหักเสียหายหรือรั่วไหลของน้ําท่ีตองดําเนินการแกไขโดยเรงดวน (หนาท่ี 20 ภาคผนวก ง)

1.3.3 มาตรการติดตามตรวจสอบดานคุณภาพชีวิตและความเปนอยูชุมชน

จากที่โครงการฯ จัดใหมีพนักงานประจํา (Guest Relationship) ทําหนาท่ีรับเรื่องราวรองทุกขขอเสนอ แนะขอคิดเห็นจากผูอยูอาศัยตลอด 24 ชม. เพ่ือทําการติดตามประเมินเรื่องราวรองทุกข ขอเสนอแนะขอคิดเห็นจากผูอยูอาศัย เพ่ือแกไขหรือประสานงาน โดยสม่ําเสมอทุก 6 เดือน (หนาท่ี 15 ภาคผนวก ง)

1.3.4 มาตรการติดตามตรวจสอบอัคคีภัย

(1) ทําการตรวจสอบอุปกรณปองกันและสัญญาณเตือนอัคคีใหอยูในสภาพที่พรอมใชงาน ทุกๆ 3 เดือน (หนาท่ี 31 ภาคผนวก ง)

(2) ตรวจสอบระบบจายไฟฟาสํารองใหมีแบตเตอรี่สํารองอยูตลอดเวลาและอยูในสภาพพรอมใชงานทุกๆ 3 เดือน (หนาท่ี 17 และหนาท่ี 32 ภาคผนวก ง)

(3) ตรวจสอบปายเครื่องหมายแสดงทางหนีไฟและแผนผังเสนทางหนีไฟใหอยูในสภาพดีเห็นชัดไมลบเลือน ทุกๆ 6 เดือน

(4) ตรวจสอบบริเวณบันไดหนีไฟ เสนทางหนีไฟและดาดฟาอยางสม่ําเสมอเพ่ือไมใหมีส่ิงกีดขวางเสน ทางท่ีตองใชในการเคล่ือนยาย รวมถึงเสนทางรถดับเพลิงภายในโครงการ

การติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมของโครงการฯ สามารถพิจารณารายละเอียดไดดังตารางที่ 1-2 และ 1-3

และแผนการตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม ประจําป 2557 ดังตารางที่ 1-2

Page 14: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 14

ตารางท่ี 1-2 แผนการดําเนินการติดตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม

มาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ

สิ่งแวดลอม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

- มาตรการปองกัน แกไข แ ล ะ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บส่ิงแวดลอม

ตารางที่ 1-3 สรุปแผนการดําเนินการมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการฯ มาตรการติดตามตรวจสอบและบริเวณท่ีทําการตรวจวัด ดัชนีคุณภาพ วิธีการตรวจวัด ความถี่ใน

การตรวจวัด ชวงเวลาท่ีทําการ

ตรวจวัด

1. คุณภาพน้ําท้ิงกอนและหลังผานระบบบําบัด

- pH - BOD5

- SS - DS - Settleable Solid - N-TKN - Oil & Grease - Sulfide

- pH meter - Azide Modification Method

- GF/C & Drying 103οC

- Drying 103-105 οC - Gravimetric - Kjeldahl Method - Partition & Gravimetric - Iodometric

ทุก 6 เดือน มกราคม-มิถุนายน 2558

2. การใชน้ํา บริเวณทอสงน้ําปมน้ําและถังเก็บน้ํา

สภาพท่ัวไปของระบบ

ตรวจสอบการทํางานของปม ระบบทอสงน้ําประปา สภาพท่ัวไปของถังเก็บน้ํา

ทุกเดือน มกราคม-มิถุนายน 2558

3 . คุณภาพชี วิ ต แล ะคว ามเปนอยู ของชุมชนของผู พั กอาศัยภายในโครงการฯ

จํ านวนเรื่ อ งราวร องทุ ก ข ข อ เ ส น อ แ น ะ ข อ คิ ด เ ห็ น จ า กผู อ ยูอาศัย

ทําการประเมินเรื่องราวรองทุกข ขอเสนอแนะขอคิดเห็นของผูอยูอาศัย เพ่ือหาแนวทางแกไขและปรับปรุง

ทุก 6 เดือน มกราคม-มิถุนายน 2558

4. การปองกันอัคคีภัยภายในโครงการฯ

สภาพการทํางานของอุปกรณดับเพลิง

ตรวจสอบการทํางานและสภาพของอุปกรณใหพรอมใชงาน

ทุก 3 เดือน มกราคม-มิถุนายน 2558

Page 15: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

15

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

บทที่ 2 ผลปฏิบัตติามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 2-1 ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และแนวทางแกไข เอกสารอางอิง

1. ดานกายภาพ 1.1 คุณภาพอากาศ

- ควบคุมความเ ร็วของรถภายในพื้นที่โครงการ

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีเจาหนารักษาความปลอดภัยเพื่อคอยดูแลความเรียบรอย และควบคุมความเร็วของรถภายในพื้นที่โครงการฯ นอกจากนี้ยังมีกลองวงจรปดประจําโครงการฯ เพื่อความปลอดภัยอีกดวยอีกดวย

- ภาพที่ 1-19 และ

ภาพที่ 2-1

1.2 ระดับเสียงรบกวน - ควบคุมความเร็วของการใช

รถในพื้นที่โครงการ 1.3 คุณภาพน้ํา

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการควบคุมความเร็วของรถโดยมอบหมายใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยเปนผูดูแล

-

- น้ําเสียจากอาคาร 1 จะถูกบําบัดดวยระบบ ANAEROBIC FIXED FILM ARATION และในอาคาร 2 จะถูกบําบัดดวยระบบถังแซทส

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการบําบัดน้ําเสียอาคาร 1 ดวยระบบ ANAEROBIC FIXED FILM ARATION สวน อาคาร 2 จะถูกบําบัดดวยระบบถัง SAT (MA1126 และ AT100)

- หนาที่ 12 ภาคผนวก ง

Page 16: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

16

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และแนวทางแกไข

เอกสารอางอิง

- ตรวจวัดควบคุมคุณภาพน้ําทิ้งใหอ ยู ในค ามาตร ฐาน ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

-

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการตรวจวัดและควบคุมคุณภาพของน้ําทิ้งใหอยูในเกณฑมาตรฐานที่กําหนดเปนประจําทุก 6 เดือน

-

ภาคผนวก ก

- น้ํ า ทิ้ ง ที่ ผ า น ก า ร บํ า บั ด แ ล วนํามาใชประโยชนในดานอื่นๆ

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการนําน้ําทิ้งที่ผานการบําบัดแลวนํามาหมุนเวียนใชรดน้ําตนไมภายในโครงการฯ

- ภาพที่ 1-4

2. ดานคุณคาการใชประโยชนของมนุษย

2.1 การจราจร

- ติดตั้งปายชื่อโครงการฯ ลูกศรแสดงทิศทางและสัญญาณไฟ

- จัดระบบจราจรภายในโครงการใ ห ชั ด เ จ น จั ด ใ ห มี ที่ จ อ ด ร ถ ข อ งโครงการฯเพิ่มเติม

- -

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตั้งสัญญาณจราจรภายในโครงการฯ เรียบรอยแลว ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดการใหมี ที่จอดรถสําหรับผูใชบริการอยางเพียงพอ

- -

ภาพที่ 1-18

ภาพที่ 2-2

2.2 การไฟฟา - กําหนดมาตรการประหยัด

ไฟฟาและใชอุปกรณประหยัดไฟฟา 2.3 การใชน้ํา - ตรวจสอบระบบทอสงน้ํา ปมน้ําและ

ถังเก็บน้ําใหอยูในสภาพที่ดีไมชํารุด

- -

ทางโครงการฯ ได ดําเนินการใหมีการใชไฟฟาอยาง

ประหยัด โดยมีการติดตั้งหลอดไฟประหยัดพลังงานภายในโครงการฯ

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีการทําระบบเอกสาร Preventive Maintenance เพื่อตรวจสอบการทํางานของระบบน้ําภายในอาคารเปนประจําทุกเดือน

- -

ภาพที่ 2-4

หนาที่ 20 ภาคผนวก ง

Page 17: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

17

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และแนวทางแกไข

เอกสารอางอิง

2.4 การระบายน้ํา - ตรวจสอบระบบทอระบายน้ํา

อยูเสมอไมให อุดตัน - นํ า น้ํ า ทิ้ ง บ า ง ส ว น ม า ใ ช

ประโยชนที่เหมาะสม

- -

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีการทําความสะอาดรางระบายน้ําใหสะอาดอยูเสมอ เพื่อไมใหเกิดการสะสมของขยะทําใหมีการอุดตันภายในรางระบายน้ํา ทางโครงการฯ ไดดําเนินการนําน้ํา ทิ้งที่ผานระบบบําบัดเรียบรอยแลว นํามารดน้ําตนไมบริเวณพื้นที่สีเขียวภายในโครงการฯ

- -

ภาพที่ 1-5

ภาพที่ 1-4

2.5 การจัดการมูลฝอย - จัดใหมีถังขยะตามพื้นที่ตางๆ

ของโครงการฯ - ใหพนักงานทําการรวบรวมขยะ

เปนประจําและทําการแยกขยะเปยกและขยะแหง

- -

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีถังขยะบริเวณพื้นที่ตางๆ ภายในโครงการฯ อยางเหมาะสมตามประเภทการใชงานแลว

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีพนักงานประจําโครงการทําหนาที่รวบรวมขยะจากจุดตางๆ ของโครงการนํามาเก็บไวที่หองเก็บขยะรวมของโครงการฯ

- -

ภาพที่ 1-6

ภาพที่ 1-7

- ติดตามการเขาเก็บมูลฝอยของทางเทศบาลอยางสม่ําเสมอและทําความสะอาดพื้นที่บริเวณจัดเก็บ

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการรวมมือกับทางเทศบาล เพื่อเขามาเก็บขนขยะภายในโครงการฯ อยางสม่ําเสมอ

- ภาพที่ 1-8 และ หนาที่ 39

ภาคผนวก ง 3. ดานคุณภาพชีวิต

Page 18: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

18

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และแนวทางแกไข เอกสารอางอิง

3.1 สังคม-เศรษฐกิจ - มีการกําหนดกฎระเบียบในการพัก

อาศัยและมีเจาหนาที่คอยดูแลสวนตางของโครงการฯ

3.2 สาธารณสุข

-

ทางโครงการฯ ไดกําหนดระเบียบในการพักอาศัยไวอยาง

ชัดเจน และจัดใหมีเจาหนาที่ในการดูแล เพื่อความเปนระบบระเบียบอีกดวย

-

ภาพที่ 2-3

- มีเจาหนาที่คอยดูแลดานความสะอาดและสุข อนามัย

3.3 การปองกันอัคคีภัย

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดใหมีเจาหนาที่ดูแลรักษาความสะอาดและสุขภาพอนามัยภายในโครงการฯ อยูเสมอ

- ภาพที่ 1-7

- จั ด ใ ห มี อุ ป ก รณ แ จ ง เ ห ตุสัญญาณเตือนเพลิง ไหมและอุปกรณดับเพลิงอยางพอเพียง

- จัดใหมีการติดตั้งปาคําแนะนําการใชอุปกรณปองกันอัคคีภัย

3.4 สุนทรียภาพ

- -

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตั้งอุปกรณสัญญาณเตือนเพลิงไหมภายในโครงการอยางเพียงพอเรียบรอยแลว

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตั้งปายคําแนะนําการใชอุปกรณปองกันอัคคีภัย เรียบรอยแลว

- -

ภาพที่ 1-12 ถึง ภาพที่ 1-17

ภาพที่ 2-5

- ตกแตงบริเวณรอบๆโครงการฯเ พื่ อ เ พิ่ ม ทั ศนี ย ภ าพน า อ ยู ใ ห กั บโครงการฯ

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดการตกแตงบริเวณรอบๆ พื้นที่โครงการฯ เปนพื้นที่สีเขียว เพื่อใหมีทัศนียภาพนาอยูนาอาศัยแลว

- ภาพที่ 2-6

Page 19: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 19

ภาพท่ี 2-1 พนักงานรักษาความปลอดภัย และกลองวงจรปดประจําโครงการฯ

ภาพท่ี 2-2 ท่ีจอดรถของพ้ืนท่ีโครงการฯ

ภาพท่ี 2-3 พนักงาน Reception ประจําโครงการฯ

Page 20: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 20

ภาพท่ี 2-6 พ้ืนท่ีสีเขียวรอบพ้ืนท่ีโครงการฯ

ภาพท่ี 2-4 อุปกรณประหยัดไฟฟาของโครงการฯ ภาพท่ี 2-5 ปายคําแนะนําการใชอุปกรณปองกันอัคคีภัย

Page 21: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

21

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

บทที่ 3 มาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-1 ผลการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และ แนวทางแกไข เอกสารอางอิง

1. ดานกายภาพ 1.1 คุณภาพน้ํา

- ตรวจสอบการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสียของโครงการฯ

-

ทางโครงการฯ มีการดําเนินการตรวจสอบการทํางานของระบบบําบัดน้ําเสียโดยการจัดทําระบบเอกสารPreventive Maintenanceเพื่อตรวจสอบสภาพการทํางานของอุปกรณตางๆ นอกจากนี้มีการนําตัวอยางน้ําทิ้งไปตรวจวิเคราะหเพื่อใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน

- ภาคผนวก ก และหนาที่ 24 ภาคผนวก ง

Page 22: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

22

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และ แนวทางแกไข เอกสารอางอิง

- ตรวจสอบคุณภาพน้ําทิ้งจากบอพักน้ํากอนเขาบอบําบัดและน้ําทิ้งที่ผานการบําบัดแลวควบคุมใหอยูในมาตรฐานน้ําทิ้งอาคาร

- ทางโครงการฯ ได ดํ า เนินการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําทิ้งทั้งกอนเขาสูระบบบําบัด และหลังผานระบบบําบัดของโครงการ เ พื่อตรวจ วัดคุณภาพน้ํ า ให อ ยู ใน เกณฑมาตรฐานน้ําทิ้งอาคารที่กําหนด

- ภาคผนวก ก

2. คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 2.1 การใชน้ํา

- ติดตามตรวจสอบการทํางานของปม ระบบทอสงน้ํา สภาพทั่วไปของถังเก็บน้ําเพื่อปองกันการชํารุดและรั่วไหลของน้ํา พรอมทําบันทึกการตรวจสอบ

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดทําระบบเอกสาร Preventive Maintenance เพื่อตรวจสอบการทํางานของอุปกรณใหอยูในสภาพดีอยูตลอดเวลา

-

หนาที่ 20 ภาคผนวก ง

3. ดานคุณภาพชีวิต 3.1 สังคม-เศรษฐกิจ

- ติ ดตามประ เมิ น เ รื่ อ ง ร าว ร อ ง ทุกขขอเสนอแนะและขอคิดเห็นจากผูพักอาศัยเพื่อทําการแกไปปรับปรุงโครงการฯ

-

ทางโครงไดดําเนินการจัดทําแบบสอบ ถาม เพื่อใหผูเขาพักสามารถประเมิน และเสนอขอคิ ด เห็น เ พื่ อ ทําการแก ไข และดําเนินการปรับปรุงโครงการฯ ตอไป

-

ภาคผนวก จ

Page 23: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

23

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด

ผลการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

เงื่อนไขตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

รายละเอียดการปฏิบัติ ตามเงื่อนไข

ปญหา และ แนวทางแกไข เอกสารอางอิง

3.2 การปองกันอัคคีภัย - ทําการตรวจสอบอุปกรณระบบปองกัน

และสัญญาณเตือนภัยอัคคีภัย

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดดําเนิน ก า ร จั ด ทํ า ร ะ บ บ เ อ ก ส า ร Preventive Maintenance เพื่อตรวจสอบ และคอยดูแลสัญญาณเตือนภัยภายในโครงการฯ อยูประจําทุกเดือน

- หนาที่ 31 ภาคผนวก ง

- ตรวจสอบระบบจายไฟฟาสํารองใหมีแบตเตอรี่สํารองอยูตลอดเวลา

-

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการจัดดําเนิน การจัดทําระบบเอกสาร Preventive Maintenance เพื่อตรวจสอบ และคอยดูแลสัญญาณเตือนภัยภายในโครงการฯ อยูประจําทุกสัปดาห

-

หนาที่ 17 และ หนาที่ 32

ภาคผนวก ง

- ตรวจสอบปายแสดงทางหนีไฟและเสนทางการหนีไฟ ใหอยูในสภาพดี

- ทางโครงการฯ ไดดําเนินการตรวจสอบปายหนีไฟ ใหอยูในสภาพดีอยู เสมอ เพื่อพรอมสําหรับสถานการณฉุกเฉิน

-

ภาพที่ 3-1

Page 24: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 24

3.1 จุดเก็บตัวอยางคุณภาพนํ้าท้ิงของโครงการ

การวิเคราะหคุณภาพน้ําท้ิงของโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558 เพ่ือตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงและประสิทธิภาพในการบําบัดน้ําเสีย แสดงดังภาพที่ 3-2 และภาพที่ 3-3

3.2 สรุปผลการวิเคราะหนํ้าท้ิงของโครงการ

ทางโครงการฯ ไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงเปนประจําทุกเดือน จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสียประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2558 ทางโครงการฯ ทําการเก็บตัวอยางน้ําท้ิงกอน และหลังการผานการบําบัดน้ําเสียอาคาร และจุดระบายน้ําออกนอกโครงการฯ สงวิเคราะหทางหองปฏิบัติการทําการตรวจวิเคราะหโดยบริษัทเอกชน (ภาคผนวก ค) เพ่ือทําการประเมินผลการตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ (ภาคผนวก ก) เทียบกับคามาตรฐานน้ําท้ิงอาคารประเภท ข (ภาคผนวก ข) สามารถสรุปไดดังตารางที่ 3-2 ถึง ตารางที่ 3-4

ภาพท่ี 3-1 ปายแสดงทางหนีไฟและเสนทางการหนีไฟ

Page 25: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 25

ภาพท่ี 3-2 จุดเก็บตัวอยางน้ําท้ิงของโครงการ

1

2 3

4

ตําแหนง 1 คือ น้ําท้ิงท่ีออกจากบอบําบัดถัง SAT MA 1126 2 คือ น้ําท้ิงท่ีออกจากบอบําบัดถัง SAT AT 100 3 คือ น้ําท้ิงท่ีออกจากระบบบําบัด ANAEROBIC FILTER & FIXED 4 คือ บอพักน้ํารวมกอนระบายน้ําท้ิง FILM AERATION

Page 26: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 26

ตารางท่ี 3-2 สรุปผลการตรวจวิเคราะหนํ้าท้ิงท่ีผานการบําบัดนํ้าเสียแบบ Fixed Film Aeration ของโครงการฯ

เดือน ม.ค. – มิ.ย. 58 Parameter หนวย

มาตรฐานคุณภาพนํ้าอาคารประเภท ข Influent Effluent

pH - 5.0-9.0 7.1 6.8 BOD mg/L ≤ 30 71.6 2.1 SS mg/L ≤ 40 37 20.7 TDS mg/L 500 256 298 Settleable Solids ml/l ≤ 0.5 0.5 0.3

TKN mg/L ≤ 35 40.5 29.8 Sulfide mg/L ≤ 1.0 0.46. 0.54

Oil & Grease mg/L ≤ 20 4 5

ภาพท่ี 3-3 การเก็บตัวอยางน้ําท้ิงหลังจากการผานการบําบัด

Page 27: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 27

ตารางที่ 3-3 สรุปผลการตรวจวิเคราะหนํ้าท้ิงท่ีผานการบําบัดนํ้าเสียแบบถัง SATS รุน MA-1126

เดือน ม.ค. – มิ.ย. 58 Parameter หนวย

มาตรฐานคุณภาพนํ้าอาคารประเภท ข Influent Effluent

pH - 5.0-9.0 7.1 7.1 BOD mg/L ≤ 30 62 4.5 SS mg/L ≤ 40 32.2 7 TDS mg/L 500 266 284 Settleable Solids ml/L ≤ 0.5 0.1 < 0.1

TKN mg/L ≤ 35 52.7 26.6 Sulfide mg/L ≤ 1.0 1.83 ND

Oil & Grease mg/L ≤ 20 4 ND

ตารางที่ 3-4 สรุปผลการตรวจวิเคราะหนํ้าท้ิงท่ีผานการบําบัดนํ้าเสียแบบถัง SATS รุน AT-100

เดือน ม.ค. – มิ.ย. 58 Parameter หนวย

มาตรฐานคุณภาพนํ้าอาคารประเภท ข Influent Effluent

pH - 5.0-9.0 7.0 7.2 BOD mg/L ≤ 30 81.2 13.5

SS mg/L ≤ 40 55.6 28.4

TDS mg/L 500 228 206 Settleable Solids ml/L ≤ 0.5 0.3 < 0.1

TKN mg/L ≤ 35 30.2 26.8 Sulfide mg/L ≤ 1.0 0.36 ND

Oil & Grease mg/L ≤ 20 2 1 หมายเหตุ : ND (Non Detectable) หมายถึง มีคานอยมากไมสามารถทําการตรวจวัดได : Fixed Film Aeration = นํ้าทิ้งหลังจากผานการบําบัดนํ้าเสียดวยระบบ Anaerobic Filter +Fixed Film Aeration : MA-1126 = นํ้าท้ิงหลังจากผานการบําบัดนํ้าเสียระบบถังแซทส MA-1126 : AT-100 = นํ้าท้ิงหลังจากผานการบําบัดนํ้าเสียระบบถังแซทส AT-100 ท่ีมา : ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม เร่ืองกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภท

และบางขนาด เลม 122 ตอนที่ 125ง ประกาศ ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548

จากตารางแสดงผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําท้ิงท่ีผานระบบบําบัดน้ําเสียของโครงการฯ พบวาคาท่ีไดจัดอยูในเกณฑ

มาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าท้ิงจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําท้ิง จากอาคารบางประเภท และบางขนาด เลม 122 ตอนท่ี 125ง ประกาศ ณ วันท่ี 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2548

Page 28: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 28

3.3 สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าท้ิงของโครงการฯ ท่ีผานมา

ผลการตรวจวิเคราะหน้ําท้ิงหลังผานระบบบําบัดน้ําเสียในชวงเวลาป 2555-2558 ของโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา แสดงดังกราฟที่ 3-1 ถึงกราฟที่ 3-8

(1) คา pH

0

2

4

6

8

10

12

14

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

(2) คา BOD

0

10

20

30

40

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

คามาตรฐาน คือ 5-9

กราฟที่ 3-1 กราฟแสดงคา pH ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

คามาตรฐาน คือ ≤ 30

กราฟท่ี 3-2 กราฟแสดงคา BOD ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

pH

BOD

(mg/

L)

Page 29: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 29

(3) คา SS

0

10

20

30

40

50

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

(4) คา TDS

0

100

200

300

400

500

600

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

คามาตรฐาน คือ ≤ 40

กราฟที่ 3-3 กราฟแสดงคา SS ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

คามาตรฐาน คือ ≤ 500

กราฟที่ 3-4 กราฟแสดงคา TDS ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

SS (m

g/L)

TD

S (m

g/L)

Page 30: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 30

(5) คา Settleable Solids

0

0.1

0.2

0.3

0.4

0.5

0.6

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

(6) คา TKN

0

5

10

15

20

25

30

35

40ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

คามาตรฐาน คือ ≤ 0.5

กราฟที่ 3-5 กราฟแสดงคา Settleable Solids ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

กราฟที่ 3-6 กราฟแสดงคา TKN ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

คามาตรฐาน คือ ≤ 35

Settl

eabl

e So

lids

(mg/

L)

TKN

(mg/

L)

Page 31: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 31

(7) คา Sulphide

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

(8) คา Oil & Grease

0

10

20

30

ก.ค.-ธ.ค.55

ม.ค.-มิ.ย.56

ก.ค.-ธ.ค.56

ม.ค.-มิ.ย.57

ก.ค.-ธ.ค.57

ม.ค.-มิ.ย.58

Fixed Film Aeration

MA1126

AT100

คามาตรฐาน คือ ≤ 1.0

กราฟท่ี 3-7 กราฟแสดงคา Sulphide ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

คามาตรฐาน คือ ≤ 20

กราฟที่ 3-8 กราฟแสดงคา Oil & Grease ของน้ําท้ิงหลังจากผานระบบบําบัด ชวงป พ.ศ. 2555-2558

Sulp

hide

(mg/

L)

Oil &

Gre

ase

(mg/

L)

Page 32: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 32

บทที่ 4

สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

4.1 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าท้ิง

โครงการฯ ไดทําการติดตามตรวจสอบ และจัดทําบันทึกการทํางาน การตรวจสอบ และการซอมแซม ระบบบําบัด น้ําเสียของโครงการฯ ตามกําหนดการตรวจสอบของระบบ (หนาท่ี 24 ภาคผนวก ง) และไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงเปนประจําทุก 6 เดือน จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําท้ิงจากระบบบําบัดน้ําเสียประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2558 ทางโครงการฯ ไดทําการเก็บตัวอยางน้ําท้ิงหลังจากการผานการบําบัดดวยระบบ Fixed Film Aeration (ภาพท่ี 3-2) ซึ่งรับน้ําเสียมาจากอาคาร 1 และระบบถังแซทส รุน MA-1126 และรุน AT-100 ซึ่งรับน้ําเสียมาจากอาคาร 2 (ภาคผนวก ก) จากนั้นนําน้ําตัวอยางสงตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการทําการตรวจวิเคราะหโดยบริษัทเอกชน (ภาคผนวก ค) ประเมินผลการตรวจวิเคราะหเทียบกับคามาตรฐานนํ้าท้ิงอาคารประเภท ข (ภาคผนวก ข ) ผลการตรวจตัวอยางน้ําเสียจากหองปฏิบัติการ สามารถสรุปไดดังตารางที่ 3-2 ถึงตารางที่ 3-4 4.2 การติดตามตรวจสอบการใชนํ้า

จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558 โครงการฯ ไดทําการติดตามตรวจสอบการทํางานของปม ระบบทอสงน้ําประปา สภาพท่ัวไปของถังเก็บน้ํา เพ่ือปองกันการชํารุดและรั่วไหลของน้ํา พรอมท้ังทําการบันทึกการตรวจสอบเปนประจําตามกําหนดการตรวจสอบประจําเดือน (หนาท่ี 20 ภาคผนวก ง) 4.3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของชุมชน

จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558 โครงการฯ ไดทําการติดตามประเมินเรื่องราวรองทุกข ขอเสนอแนะ ขอคิดเห็นจากผูอยูอาศัย โดยการใชแบบสอบถามจํานวน 100 ชุด คิดเปน รอยละ 63.7 ของจํานวนหองพักท้ังหมดของโครงการฯ และทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลสําเร็จรูป SPSS (ภาคผนวก จ) พบวาผูพักอาศัยมีความพึงพอใจตอการจัดการดานส่ิงแวดลอมของโครงการฯ หลายดานแสดงได ดังตารางที่ 4-1 ดังนี้

Page 33: บทที่ 1 บทนําeiadoc.onep.go.th/eialibrary/monitor/4housing/44_9069...โครงการ KANTARY BAY ศร ราชา จ งหว ดชลบ ร ประจ

รายงานผลการปฏบัิติตามเงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมโครงการ KANTARY BAY ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558

บริษัท เกษมกิจ จํากัด 33

ตารางที่ 4-1 สรุปผลทัศนคติของผูพักอาศัยตอสิ่งแวดลอมของโครงการแคนทารี เบย ศรีราชา

ชาย หญิง ทัศนคติดานสิ่งแวดลอมภายใน KANTARY BAY

SRIRACHA ดี (%)

ควรปรับปรุง(%) ดี

(%) ควรปรับปรุง (%)

1. ปริมาณน้ําท่ีใชในโครงการฯ 49.0% 1.0% 91.4% 3.0% 2. คุณภาพของน้ําภายในโครงการฯ 49.0% 1.0% 92.9% 1.5% 3. ความปลอดภัยเรื่องอัคคีภัยภายในโครงการฯ 49.0% 1.0% 94.4% 0.0% 4. ท่ีจอดรถและการจราจรภายในโครงการฯ 47.0% 3.0% 91.4% 3.0% 5. ทัศนียภาพโดยรอบของโครงการฯ 49.0% 1.0% 88.0% 6.3% 6. การจัดการน้ําเสียและขยะภายในโครงการฯ 50.0% 0.0% 94.4% 0.0% 7. ระบบอากาศภายในอาคาร 49.0% 1.0% 94.4% 0.0% 8. การติดตอส่ือสารภายในอาคาร 50.0% 0.0% 92.9% 1.5% 4.4 การติดตามตรวจสอบระบบปองกันอัคคีภัย

จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมประจําเดือนมกราคม – มิถุนายน 2558 โครงการฯ ไดทําการติดตามตรวจสอบการทํางานของระบบสัญญาณเตือนเหตุเพลิงไหม ระบบดับเพลิง และดูแลสภาพของอุปกรณดับเพลิงใหอยูในสภาพพรอมใชงานเปนประจําตามกําหนดการตรวจสอบระบบ (หนาท่ี 31 ภาคผนวก ง)