18
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (ฉบับสมบูรณ) โครงการ The Vision 1-1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ พัทยาเป0นเมืองท2องเที่ยวระดับนานาชาติและมีการเจริญเติบโตอย2างรวดเร็ว เนื่องจากเป0นเมืองที่มี ความสวยงามและความไดเปรียบของสภาพภูมิประเทศที่เหมาะแก2การพักผ2อนหย2อนใจ จึงสามารถดึงดูดผูคน จากแหล2งต2างๆ เขามามากมาย ทั้งเพื่อการท2องเที่ยว พักผ2อน และการทํางาน ส2งผลใหเกิดความตองการที่พัก อาศัยเพิ่มมากขึ้น และปAจจุบันธุรกิจอสังหาริมทรัพย มีแนวโนมเติบโตเพิ่มมากขึ้นเช2นกัน มีผูลงทุนเกี่ยวกับ ธุรกิจดานนี้เป0นจํานวนมาก ทั้งโรงแรม จัดสรรที่ดินเพื่ออยู2อาศัย ตลอดจนอาคารชุดพักอาศัย ซึ่งผูบริโภคไดมี การตอบรับมากขึ้นในปAจจุบัน โครงการ The Vision ของบริษัท เดอะ วิชั่น พระตําหนัก จํากัด โครงการตั้งอยู2บนถนน พระตําหนัก ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ปAจจุบันพื้นที่โครงการเป0นที่ดินว2างเปล2า จึงมี ความเหมาะสมที่จะพัฒนาที่ดินใหเป0นที่อยู2อาศัยใหกับประชาชนในพื้นที่โครงการ เพื่อรองรับความตองการ ของผูพักอาศัยชาวไทยและต2างประเทศในบริเวณดังกล2าว โดยไดออกแบบโครงการอาคารชุดพักอาศัย ขนาด 23 ชั้นและชั้นใตดิน 3 ชั้น จํานวน 1 อาคาร ดําเนินการบนโฉนดที่ดินเลขที่ 2820 พื้นที่ประมาณ 1 ไร2 1 งาน 15 ตารางวา หรือ 2,060.00 ตารางเมตร โดย มีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้น 16,035.00 ตารางเมตร ประกอบดวย หองชุด จํานวน 216 หอง และสิ่งอํานวยความสะดวก เช2น สระว2ายน้ํา ที่จอดรถยนต และระบบ สาธารณูปโภคต2างๆ เป0นตน จากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบ ปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมเบื้องตน และรายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม ในเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในบริเวณพื้นที่อําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล2ม 127 ตอนพิเศษ 128 ง วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 “ขอ 10 โครงการ หรือกิจการ ตามเอกสารทายประกาศ 1 การจัดทําและเสนอรายงานการวิเคราะห’ผลกระทบ สิ่งแวดลอม ลําดับที่ 11 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ,พิเศษตามกฎหมายว,าดวยการควบคุมอาคาร” ตองจัดทํารายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมต2อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติที่กําหนดไวตามมาตรา 46 แห2งพระราชบัญญัติ ส2งเสริมการรักษาคุณภาพแวดลอมแห2งชาติ พ.ศ. 2535 ใหเสนอในขั้นขออนุญาตก2อสราง หรือหากใชวิธีการ แจงต2อเจาพนักงานทองถิ่นตามกฎหมายว2าดวยการควบคุมอาคารโดยไม2ยื่นขอรับใบอนุญาตใหเสนอรายงาน ในขั้นแจงต2อเจาพนักงานทองถิ่น ดังนั้น โครงการฯ จึงมีความจําเป0นตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอมขึ้นเพื่อนําเสนอต2อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) เพื่อประกอบการพิจารณาใหความเห็นชอบและเพื่อประกอบการขออนุญาตก2อสรางต2อเมืองพัทยาต2อไป

บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-1มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเป�นมาของโครงการ พัทยาเป0นเมืองท2องเท่ียวระดับนานาชาติและมีการเจริญเติบโตอย2างรวดเร็ว เนื่องจากเป0นเมืองท่ีมีความสวยงามและความได�เปรียบของสภาพภูมิประเทศท่ีเหมาะแก2การพักผ2อนหย2อนใจ จึงสามารถดึงดูดผู�คนจากแหล2งต2างๆ เข�ามามากมาย ท้ังเพ่ือการท2องเท่ียว พักผ2อน และการทํางาน ส2งผลให�เกิดความต�องการท่ีพักอาศัยเพ่ิมมากข้ึน และปAจจุบันธุรกิจอสังหาริมทรัพย มีแนวโน�มเติบโตเพ่ิมมากข้ึนเช2นกัน มีผู�ลงทุนเก่ียวกับธุรกิจด�านนี้เป0นจํานวนมาก ท้ังโรงแรม จัดสรรท่ีดินเพ่ืออยู2อาศัย ตลอดจนอาคารชุดพักอาศัย ซ่ึงผู�บริโภคได�มีการตอบรับมากข้ึนในปAจจุบัน โครงการ The Vision ของบริษัท เดอะ วิชั่น พระตําหนัก จํากัด โครงการต้ังอยู2บนถนน พระตําหนัก ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ปAจจุบันพ้ืนท่ีโครงการเป0นท่ีดินว2างเปล2า จึงมีความเหมาะสมท่ีจะพัฒนาท่ีดินให�เป0นท่ีอยู2อาศัยให�กับประชาชนในพ้ืนท่ีโครงการ เพ่ือรองรับความต�องการของผู�พักอาศัยชาวไทยและต2างประเทศในบริเวณดังกล2าว โดยได�ออกแบบโครงการอาคารชุดพักอาศัย ขนาด 23 ชั้นและชั้นใต�ดิน 3 ชั้น จํานวน 1 อาคาร ดําเนินการบนโฉนดท่ีดินเลขท่ี 2820 พ้ืนท่ีประมาณ 1 ไร2 1 งาน 15 ตารางวา หรือ 2,060.00 ตารางเมตร โดย มีพ้ืนท่ีอาคารรวมกันทุกชั้น 16,035.00 ตารางเมตร ประกอบด�วย ห�องชุด จํานวน 216 ห�อง และสิ่งอํานวยความสะดวก เช2น สระว2ายน้ํา ท่ีจอดรถยนต และระบบสาธารณูปโภคต2างๆ เป0นต�น

จากประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดล�อมเบ้ืองต�น และรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อม ในเขตพ้ืนท่ีคุ�มครองสิ่งแวดล�อมในบริเวณพ้ืนท่ีอําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล2ม 127 ตอนพิเศษ 128 ง วันท่ี 5 พฤศจิกายน 2553 “ข�อ 10 โครงการ หรือกิจการ ตามเอกสารท�ายประกาศ 1 การจัดทําและเสนอรายงานการวิเคราะห'ผลกระทบส่ิงแวดล�อม ลําดับท่ี 11 อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ,พิเศษตามกฎหมายว,าด�วยการควบคุมอาคาร” ต�องจัดทํารายงานวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อมต2อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล�อมตามหลักเกณฑ วิธีการ และระเบียบปฏิบัติท่ีกําหนดไว�ตามมาตรา 46 แห2งพระราชบัญญัติส2งเสริมการรักษาคุณภาพแวดล�อมแห2งชาติ พ.ศ. 2535 ให�เสนอในข้ันขออนุญาตก2อสร�าง หรือหากใช�วิธีการแจ�งต2อเจ�าพนักงานท�องถ่ินตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมอาคารโดยไม2ยื่นขอรับใบอนุญาตให�เสนอรายงาน ในข้ันแจ�งต2อเจ�าพนักงานท�องถ่ิน ดังนั้น โครงการฯ จึงมีความจําเป0นต�องจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อมข้ึนเพ่ือนําเสนอต2อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม (สผ.) เพ่ือประกอบการพิจารณาให�ความเห็นชอบและเพ่ือประกอบการขออนุญาตก2อสร�างต2อเมืองพัทยาต2อไป

Page 2: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-2มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

1.2 แผนการก,อสร�างและระยะเวลาการก,อสร�าง การก2อสร�างอาคารโครงการ คาดว2าจะใช�ระยะเวลาประมาณ 24 เดือน โดยจะทําการก2อสร�างหลังจากรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อมได�รับความเห็นชอบจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม (สผ.) และได�รับอนุญาตก2อสร�างอาคารจากเมืองพัทยาแล�ว โดยในช2วงแรกของการดําเนินการก2อสร�างจะเป0นงานโครงสร�างอาคาร หลังจากนั้นจะเป0น การตกแต2งอาคาร งานเดินสายไฟฟVาภายในอาคาร งานเดินท2อระบบสุขาภิบาล รวมท้ังงานเก็บทําความสะอาด และทดสอบงานระบบต2างๆ รายละเอียดแสดงดังนี้ (ดังตารางท่ี 1.2-1) (1) งานทําเสาเข็มเจาะและฐานราก ใช�เวลาประมาณ 5 เดือน (2) งานโครงสร�างอาคาร ใช�เวลาประมาณ 11 เดือน (3) งานสถาปAตยกรรม ใช�เวลาประมาณ 12 เดือน (4) งานระบบไฟฟVา,สุขาภิบาลและเครื่องกล ใช�เวลาประมาณ 12 เดือน (5) งานตกแต2งภายในและภายนอก ใช�เวลาประมาณ 10 เดือน (6) งานถนน,บ2อ,ท2อระบายน้ํา และ Landscape ใช�เวลาประมาณ 4 เดือน (7) งานเก็บทําความสะอาด ใช�เวลาประมาณ 2 เดือน หมายเหตุ : แต2ละกิจกรรมอาจใช�ช2วงเวลาเดียวกันหรือซ�อนกันในการดําเนินงาน อนึ่ง การดําเนินการก2อสร�างอาคารโครงการ ทางโครงการมีนโยบายในการดําเนินการก2อสร�าง โดยว2าจ�าง ผู�คุมงาน หรือองค กรท่ีทําหน�าท่ีบริหารงานก2อสร�าง เข�ามากําหนด และควบคุมให�ผู�รับเหมาก2อสร�างต�องปฏิบัติ ตามแผนงาน หน�าท่ี คุณภาพมาตรฐานเรื่องความปลอดภัย การประสานงานกับอาคารข�างเคียง ผลกระทบสิ่งแวดล�อมข�างเคียง รวมถึงการทําประกันความเสียหายท่ีเกิดข้ึนในระหว2างการก2อสร�าง

ตารางท่ี 1.2-1 ข้ันตอนการก2อสร�าง

ลําดับ รายการ เดือน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

1 งานทําเสาเข็มเจาะและฐานราก

2 งานโครงสร�างอาคาร

3 งานสถาปAตยกรรม 4 งานระบบไฟฟVา,สุขาภิบาล

และเครื่องกล

5 งานตกแต2งภายในและ

ภายนอก

6 งานถนน,บ2อ,ท2อระบายน้ํา

และ Landscape

7 งานเก็บทําความสะอาด

Page 3: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-3มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

1.3 วัตถุประสงค'ของรายงาน 1) ศึกษารายละเอียดของโครงการ 2) ศึกษาสภาพแวดล�อมปAจจุบันบริเวณพ้ืนท่ีโครงการและบริเวณใกล�เคียง 3) ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล�อมท่ีคาดว2าจะเกิดข้ึนจากการดําเนินโครงการ 4) กําหนดมาตรการปVองกันและแก�ไขผลกระทบสิ่งแวดล�อมท่ีคาดว2าจะเกิดข้ึนจากการดําเนินโครงการ ท้ังระยะก2อสร�างและระยะดําเนินการ 5) กําหนดแนวทางการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล�อมเพ่ือเป0นการเฝVาระวังผลกระทบสิ่งแวดล�อมท่ีเกิดข้ึนอันเนื่องมาจากการดําเนินโครงการ 1.4 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล�อมของโครงการ จะดําเนินการครอบคลุมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดล�อมเบ้ืองต�น และรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อม ในเขตพ้ืนท่ีคุ�มครองสิ่งแวดล�อมในบริเวณพ้ืนท่ีอําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล2ม 127 ตอนพิเศษ 128 ง วันท่ี 5 พฤศจิกายน 2553 และขอบเขตของ “แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อมของโครงการท่ีพักอาศัยฯ” ของสํานักวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล�อม (สผ.) ซ่ึงมีรายละเอียดแนวทางการศึกษา ดังนี้ 1.4.1 รายละเอียดโครงการ (Project Description) ข�อมูลในส2วนนี้ใช�ประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล�อมท่ีเกิดข้ึน แสดงรายละเอียด ดังนี้ 1) ท่ีตั้งและการคมนาคมเข�าสู2โครงการ ประกอบด�วย ตําแหน2งท่ีต้ัง พ้ืนท่ีใกล�เคียงโครงการ และการเข�าถึงพ้ืนท่ีโครงการจากถนนสายหลัก 2) สภาพพ้ืนท่ีโครงการและพ้ืนท่ีโดยรอบ ประกอบด�วย สภาพการใช�ประโยชน ท่ีดินพ้ืนท่ีโครงการและโดยรอบในปAจจุบัน 3) ประเภท/ขนาดของโครงการ ประกอบด�วย แผนผังของโครงการ ขอบเขตกรรมสิทธิ์ท่ีดิน รูปแบบของอาคาร ความสูง พ้ืนท่ีอาคาร แบบแปลนโครงสร�าง ผังภูมิสถาปAตยกรรม ผังภูมิทัศน แบบแปลนการใช�ประโยชน พ้ืนท่ีอาคารในแต2ละชั้น และขนาดพ้ืนท่ีใช�สอยแต2ละประเภท เป0นต�น 4) ข้ันตอนการก2อสร�าง ประกอบด�วย รายละเอียดการจัดแบ2งกิจกรรมการก2อสร�าง ข้ันตอนการก2อสร�างและระยะเวลา การควบคุมการก2อสร�าง จํานวนคนงาน การจัดหาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ ในช2วงก2อสร�าง 5) รายละเอียดข�อมูลต2าง ๆ ของโครงการ จําแนกรายละเอียด ดังนี้ - น้ําใช� ประกอบด�วย ข�อมูลด�านประเภทและแหล2งน้ําใช� ระบบการจัดเตรียมน้ําใช�ข�อมูลด�านการผลิตและความต�องการใช�งาน จําแนกตามประเภทกิจกรรมและจุดท่ีนําน้ําไปใช� - น้ําเสียและกระบวนการบําบัด นําเสนอแบบแปลนรายละเอียดระบบบําบัดน้ําเสียท่ีเลือกใช� รายการคํานวณปริมาณน้ําเสีย แหล2งกําเนิดน้ําเสีย กระบวนการบําบัดและจัดการน้ําเสีย กระบวนการ

Page 4: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-4มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

และกรรมวิธีฆ2าเชื้อโรคจากน้ําท้ิงท่ีผ2านการบําบัด รวมท้ังแผนผังและองค ประกอบของหน2วยบําบัดต2างๆ ของระบบบําบัดน้ําเสีย และรายละเอียดด�านการออกแบบและคํารับรองของผู�ออกแบบระบบ พร�อมเลขท่ีใบอนุญาต - การระบายน้ําและปVองกันน้ําท2วม ประกอบด�วย ข�อมูลท่ีจําเป0น เช2น ข�อมูลแบบแปลนระบบรวบรวมน้ําฝน ระบบระบายน้ําหรือชะลอน้ํา จํานวนบ2อพัก ขนาด และความยาวของท2อระบายน้ํา เป0นต�น - การจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ระบบการรวบรวมและการจัดเก็บ - ระบบไฟฟVา แสดงข�อมูลปริมาณประมาณการใช�ไฟฟVาของโครงการ แหล2งจ2ายไฟฟVา ระบบไฟฟVาสํารองฉุกเฉิน และการออกแบบ - ระบบปVองกันอัคคีภัย แสดงข�อมูลด�านระบบปVอง กันอัคคีภัยของอาคารท่ีเลือกใช� แสดงชนิดจํานวน ท่ีติดต้ัง ประเภทอุปกรณ สัญญาณเตือนภัย ข�อมูลด�านบันไดหนีไฟฉุกเฉิน พร�อมผังประกอบรายละเอียด ประสิทธิภาพของระบบดับเพลิงด�วยน้ํา และแผนฉุกเฉินกรณีเกิดอัคคีภัย เป0นต�น - การระบายอากาศ กลิ่น ควัน ไอความร�อน ประกอบด�วย ข�อมูลท่ีสําคัญด�านการจัดการระบบระบายอากาศของอาคารในแต2ละกิจกรรม รวมท้ังแหล2งกําเนิดของมลพิษทางอากาศ และวิธีการกําจัดมลสารหรือเชื้อโรคนั้น - การจราจร ประกอบด�วย ข�อมูลด�านการออกแบบพ้ืนท่ีจอดรถยนต จํานวนท่ีจอดรถยนต การจัดระบบเส�นทางการเดินรถภายใน โดยรอบอาคาร และภายนอกด�านทางเข�า – ออกโครงการ พร�อมผังแสดงระบบการจราจรท้ังหมดท่ีเก่ียวข�อง - ระบบการติดต2อสื่อสาร แสดงข�อมูลด�านอุปกรณ และระบบการสื่อสารภายในและภายนอก ตลอดจนการติดต2อสื่อสารฉุกเฉินของโครงการ - สิ่งอํานวยความสะดวกและบริการสาธารณะ ประกอบด�วย ข�อมูลสิ่งอํานวยความสะดวกและบริการสาธารณะต2างๆ ภายในโครงการ - เจ�าหน�าท่ีและพนักงาน แสดงจํานวนเจ�าหน�าท่ีและพนักงานประจําโครงการ รวมท้ังการจัดการสิ่งแวดล�อมด�านต2างๆ เช2น การจัดพ้ืนท่ีสีเขียว การบําบัดน้ําเสีย และการจัดการมูลฝอย เป0นต�น 1.4.2 การศึกษาสภาพแวดล�อมป:จจุบัน (Existing Environment) การศึกษาสภาพแวดล�อมปAจจุบัน เป0นการสํารวจ เพ่ือรวบรวมข�อมูลท้ังทุติยภูมิและปฐมภูมิ ท่ีเก่ียวข�องกับสภาพสิ่งแวดล�อมในบริเวณพ้ืนท่ีโครงการและพ้ืนท่ีศึกษาโดยรอบ มีประเด็นการศึกษาและการรวบรวมข�อมูลครอบคลุมถึงประเด็นต2างๆ 4 หัวข�อหลัก ได�แก2 1) ทรัพยากรส่ิงแวดล�อมทางกายภาพ ประกอบด�วย - สภาพภูมิประเทศ เสนอรายละเอียดแผนท่ีต้ังโครงการ และลักษณะภูมิประเทศโดยรอบ เป0นต�น - สภาพภูมิอากาศ/คุณภาพอากาศ เช2น ความเร็วลม ทิศทาง/กระแสลม ปริมาณน้ําฝน และข�อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดพ้ืนท่ีใกล�เคียง - ระดับเสียง แสดงข�อมูลระดับเสียงจากสถานีตรวจวัดของพ้ืนท่ีใกล�เคียงและข�อมูลการตรวจวัดระดับเสียงปAจจุบันภายในพ้ืนท่ีโครงการ - อุทกวิทยาและคุณภาพน้ํา แหล2งน้ําผิวดินและใต�ดิน ความลึก คุณภาพน้ํา การใช�ประโยชน และข�อมูลคุณภาพน้ําจากสถานีตรวจวัดใกล�เคียง

Page 5: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-5มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- ธรณีวิทยาและแผ2นดินไหว แสดงรายละเอียดการศึกษาทางด�านโครงสร�างทางธรณีวิทยา บริเวณพ้ืนท่ีโครงการ การทรุดตัวของแผ2นดิน และสถิติแผ2นดินไหว - ทรัพยากรดิน ประเภทของดิน ชุดดินและคุณสมบัติท่ัวไป 2) ทรัพยากรส่ิงแวดล�อมทางชีวภาพ ประกอบด�วย - ทรัพยากรชีวภาพบนบก ทบทวนข�อมูลสภาพสิ่งแวดล�อมท่ีเก่ียวข�องโดยรอบพ้ืนท่ีศึกษา ตลอดจน ข�อมูลการใช�ประโยชน ท่ีดินบริเวณพ้ืนท่ีว2างเปล2า - ทรัพยากรชีวภาพในน้ํา รวบรวมและนําเสนอข�อมูลด�านระบบนิเวศของแหล2งน้ําบริเวณใกล�เคียงหรือแหล2งน้ําธรรมชาติท่ีรองรับน้ําท้ิงจากโครงการ 3) คุณค,าการใช�ประโยชน'ของมนุษย' ประกอบด�วย - การใช�ประโยชน ท่ีดิน แสดงข�อมูลสภาพการใช�ท่ีดินโดยรอบพ้ืนท่ีโครงการ ข�อกําหนดของผังเมือง รวมท้ังกฎหมายหรือข�อบังคับต2างๆ - การคมนาคมขนส2ง แสดงข�อมูลระบบโครงข2ายการคมนาคม จํานวนช2องจราจรของถนนสายหลักและปริมาณการจราจร เป0นต�น - การใช�น้ํา แสดงรายละเอียดของการใช�น้ําและแหล2งน้ําใช�ของชุมชนใกล�เคียง - พลังงานและไฟฟVา แสดงรายละเอียดของแหล2งจ2ายไฟฟVาและปริมาณการใช�ไฟฟVาของชุมชนใกล�เคียง - การกําจัดมูลฝอย แสดงรายละเอียดของการบริการเก็บขนมูลฝอย แหล2งกําจัด และกระบวนการกําจัดมูลฝอย - การกําจัดน้ําเสียและสิ่งปฏิกูล แสดงรายละเอียดกระบวนการรวบรวมน้ําเสีย และพ้ืนท่ีในการกําจัดน้ําเสียของพ้ืนท่ีชุมชนใกล�เคียง - การระบายน้ําและปVองกันน้ําท2วม แสดงรายละเอียดของระบบระบายน้ํา ทิศทาง สภาพปAญหา สภาวะน้ําท2วมของพ้ืนท่ีใกล�เคียงโครงการ และแนวทางในการแก�ไขปAญหาน้ําท2วมของชุมชน - การปVองกันและบรรเทาสาธารณภัย แสดงรายละเอียดของการปVองกันและบรรเทา สาธารณภัยโดยรอบพ้ืนท่ีโครงการ 4) คุณค,าต,อคุณภาพชีวิต ประกอบด�วย - สภาพเศรษฐกิจ – สังคม แสดงรายละเอียดของข�อมูลพ้ืนฐานของชุมชนใกล�เคียง เช2น จํานวนประชากร สภาพสังคม – เศรษฐกิจ และทัศนคติของประชาชนท่ีมีต2อโครงการ - การสาธารณสุข แสดงรายละเอียดของสถานบริการทางสาธารณสุขในเขตพ้ืนท่ี สภาวะการเจ็บปoวย สภาพความพอเพียงของสถานบริการสาธารณสุขต2างๆ - สุนทรียภาพ ทัศนียภาพและแหล2งท2องเท่ียว แสดงรายละเอียดของแหล2งสุนทรียภาพบริเวณโครงการ แหล2งท2องเท่ียว และสถานท่ีสําคัญท่ีอยู2ใกล�เคียง 1.4.3 การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล�อม (Environmental Evaluation) การประเมินคาดการณ ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน จากกิจกรรมของโครงการท่ีมีต2อการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรสิ่งแวดล�อม 4 หัวข�อหลัก คือ ทรัพยากรสิ่งแวดล�อมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดล�อมทางชีวภาพ คุณค2าการใช�ประโยชน ของมนุษย และคุณค2าต2อคุณภาพชีวิต โดยนํารายละเอียดข�อมูลในหัวข�อ 1.4.1 และหัวข�อ 1.4.2 มาพิจารณาร2วมกัน และอาศัยหลักการเหตุผลท่ีเป0นท่ียอมรับในทางวิทยาศาสตร ซ่ึงในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล�อม จําแนกเป0น 2 ลักษณะ คือ

Page 6: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-6มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- ประเมินผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากโครงการในขณะก2อสร�างต2อทรัพยากรสิ่งแวดล�อมและคุณค2าต2างๆ - ประเมินผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในระยะดําเนินการโครงการต2อทรัพยากรสิ่งแวดล�อมและคุณค2าต2างๆ 1.4.4 มาตรการป>องกันและแก�ไขผลกระทบส่ิงแวดล�อม (Mitigation Measures) ผลกระทบท่ีคาดว2าจะเกิดข้ึนท้ังในขณะก2อสร�างและในระยะดําเนินการในหัวข�อ 1.4.3 จะถูกนํามาพิจารณาหามาตรการลดและปVองกันผลกระทบนั้น ๆ โดยระบุถึงรายละเอียดวิธีการดําเนินการ สถานท่ี ระยะเวลาท่ีเหมาะสม รวมถึงค2าใช�จ2ายและความเป0นไปได�ในทางปฏิบัติ เพ่ือนําเสนอเป0นมาตรการดําเนินการ โดยจะนําไปปรับใช�และถือปฏิบัติในขณะก2อสร�างและดําเนินการโครงการ 1.4.5 การติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล�อม (Monitoring Program) เพ่ือตรวจสอบยืนยันประสิทธิผลของการปฏิบัติตามมาตรการในหัวข�อ 1.4.4 แผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล�อมจะถูกจัดทําข้ึน โดยระบุรายละเอียด ดังนี้ คือ ดัชนีคุณภาพสิ่งแวดล�อมท่ีต�องติดตามตรวจสอบจุดเก็บตัวอย2าง วิธีตรวจวัดและวิเคราะห ความถ่ีของการเก็บตัวอย2าง ค2าใช�จ2าย และผู�รับผิดชอบ 1.5 วิธีการศึกษา การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล�อมของโครงการ จะเริ่มดําเนินการตามข้ันตอนการทํางานท่ีกําหนด ดังต2อไปนี้ 1.5.1 การทบทวนรายละเอียดโครงการ (Project Description Review) ข้ันตอนแรกของการศึกษา คือ การทบทวนรายละเอียดของโครงการ ท่ีได�รับมอบจากเจ�าของโครงการ ท่ีปรึกษาทําการตรวจสอบข�อมูลให�สอดคล�องกับกฎหมาย/ข�อบังคับของราชการ เช2น การตรวจสอบผังเมือง การใช�ประโยชน ท่ีดิน 1.5.2 การเก็บและรวบรวมข�อมูล (Secondary Data Collection) การเก็บและรวบรวมข�อมูลจากเอกสารและหลักฐานทางวิชาการจากหน2วยงานท่ีเก่ียวข�อง เพ่ือนํามาประกอบการศึกษาสภาพปAจจุบันของพ้ืนท่ีโครงการ โดยท่ีปรึกษาจะรวบรวมข�อมูลพ้ืนฐานต2างๆ จากหน2วยงานเอกชนและราชการท่ีเก่ียวข�อง และรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดล�อมโครงการต2าง ๆ เป0นต�น 1.5.3 การสํารวจภาคสนาม (Field Survey) ได�แก2 การสํารวจพ้ืนท่ีโครงการและชุมชนโดยรอบ ตลอดจนการเก็บตัวอย2างข�อมูลปฐม ภูมิ เพ่ือประกอบการศึกษาท่ีสําคัญ ๆ ดังนี้ - การสํารวจบริเวณพ้ืนท่ีโครงการโดยรอบบริเวณพ้ืนท่ีท่ีจะก2อสร�างโครงการ เพ่ือประเมินสภาพปAจจุบันท่ียังไม2มีโครงการ ท้ังนี้เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบกับกรณีมีโครงการ เป0นต�น

Page 7: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-7มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- การสํารวจแบบสอบถามทางเศรษฐกิจ-สังคม บริเวณชุมชนโดยรอบโครงการ เพ่ือประเมินสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปAจจุบัน รวมท้ังประเมินทัศนคติของประชาชนบริเวณชุมชนโดยรอบพ้ืนท่ีโครงการท่ีมีต2อโครงการ - การสํารวจสภาพการใช�ประโยชน ท่ีดินบริเวณพ้ืนท่ีโครงการ และพ้ืนท่ีใกล�เคียงโดยรอบพ้ืนท่ีโครงการในปAจจุบัน เพ่ือนํามาประเมินถึงความเปลี่ยนแปลงการใช�ประโยชน ท่ีดิน เม่ือมีการพัฒนาโครงการ 1.6 การประเมินทางเลือกในการดําเนินโครงการ โครงการ The Vision เนื่องด�วยพ้ืนท่ีโครงการฯ อยู2ใกล�กับเขาพระตําหนัก และมีความสะดวกในการคมนาคม พ้ืนท่ีใกล�เคียงเป0นบ�านพักอาศัย ท่ีรกร�าง และอาคารชุดพักอาศัย ทางบริษัท เดอะ วิชั่น พระตําหนัก จำกัด จึงมีแนวคิดท่ีจะก2อสร�างอาคารชุดพักอาศัยเพ่ือรองรับการขยายตัวของนักท2องเท่ียวท่ีเพ่ิมมากข้ึน ท้ังนี้โครงการมีรูปแบบอาคารท่ีจะก2อสร�างแบบกลมกลืนกับธรรมชาติโดยจะใช�สีโทนอ2อน และเน�นความสะดวกสบาย ปลอดภัย พร�อมท้ังสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเป0นอย2างเพียงพอ พร�อมท้ังมีการคาดการณ ผลกระทบจากโครงการเพ่ือนํามากําหนดมาตรการปVองกันและแก�ไขผลกระทบสิ่งแวดล�อมของทางเลือกท่ีทางโครงการนําไปดําเนินการ โดยแบ2งการวิเคราะห เป0น 2 ส2วน ดังนี้ ส2วนท่ี 1 การวิเคราะห ความเหมาะสมของพ้ืนท่ีตั้งกับการเลือกดําเนินโครงการ ส2วนท่ี 2 การวิเคราะห ผลกระทบจากการดําเนินโครงการต2อสภาพแวดล�อมและจากสภาพแวดล�อม ต2อการดําเนินโครงการ เพ่ือหาทางเลือกท่ีเหมาะสมในการดําเนินโครงการ ส,วนท่ี 1 การวิเคราะห'ความเหมาะสมของท่ีตั้งโครงการ การวิเคราะห ความเหมาะสมของพ้ืนท่ีท่ีจะดําเนินการพัฒนาโครงการข้ึนอยู2กับองค ประกอบท่ีมีความเหมาะสมต2าง ๆ ดังนี้ องค'ประกอบท่ีเหมาะสมของท่ีตั้ง 1) สภาพภูมิประเทศ ต�องมีความเหมาะสมต2อการปลูกสร�างอาคารโครงการ โดยพ้ืนท่ีจะต�องสามารถทําการก2อสร�าง และขนส2งวัสดุอุปกรณ เข�าสู2พ้ืนท่ีโครงการได�โดยสะดวก - พ้ืนท่ีโครงการต้ังอยู2บนถนนพระตําหนัก ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ปAจจุบันพ้ืนท่ีโครงการเป0นพ้ืนท่ีว2าง ล�อมรั้ว สูง 4 เมตร 2) การคมนาคม เนื่องจากโครงการเป0นการพัฒนาเพ่ือเป0นอาคารชุดพักอาศัย จึงได�คํานึงถึงการเดินทางของผู�พักอาศัยจะต�องมีความสะดวกสบาย และเข�าถึงง2าย - ท่ีตั้งโครงการสามารถเดินทางเข�าถึงพ้ืนท่ีได�หลายเส�นทาง ดังนี้ เส�นทางท่ี 1 การเดินทางโดยรถยนต ไปตามทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) เข�าสู2เขตตัวเมืองพัทยา ถึงบริเวณพัทยาใต� ให�เลี้ยวขวาเข�าถนนเทพประสิทธิ์ ตรงไปเม่ือถึงทางแยกถนนเทพประสิทธิ์ตัดกับถนนทัพพระยา ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ให�เลี้ยวขวาเข�าถนนทัพพระยา และเม่ือถึงแยกถนน ทัพพระยาตัดกับถนนพระตําหนัก ระยะทางประมาณ 800 เมตร ให�เลี้ยวซ�ายเข�าสู2ถนนพระตําหนัก ตรงไปประมาณ 750 เมตร พ้ืนท่ีโครงการอยู2ทางซ�ายมือ เส�นทางท่ี 2 การเดินทางโดยรถยนต ไปตามทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) เข�าสู2เขตตัวเมืองพัทยา ถึงบริเวณแยกพัทยาใต� ให�เลี้ยวขวาเข�าถนนพัทยาใต� ตรงไปเม่ือถึงทางแยกถนนพัทยาใต�ตัดกับถนนพัทยาสาย 3 เลี้ยวซ�ายเข�าถนนพัทยาสาย 3 ระยะทางประมาณ 1.40 กิโลเมตร ถึงทางแยกเลี้ยวเข�าถนน

Page 8: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-8มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

พระตําหนัก ตรงไปจนถึงสามแยกเข�าเขาพระตําหนัก ตรงไปอีก ประมาณ 100 เมตร พ้ืนท่ีโครงการอยู2ทางขวามือ เส�นทางท่ี 3 การเดินทางโดยรถประจําทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) โดยรถโดยสารปรับอากาศ เช2น กรุงเทพ-สัตหีบ กรุงเทพ-ระยอง เป0นต�น เข�าสู2เขตตัวเมืองพัทยา ถึงบริเวณพัทยาใต� จากนั้นนั่งรถสองแถวสีน้ําเงินเข�าถนนเทพประสิทธิ์ ตรงไปเม่ือถึงทางแยกถนนเทพประสิทธิ์ตัดกับถนน ทัพพระยา ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ให�เลี้ยวขวาเข�าถนนทัพพระยา และเม่ือถึงแยกถนนทัพพระยาตัดกับถนนพระตําหนัก ระยะทางประมาณ 800 เมตร ให�เลี้ยวซ�ายเข�าสู2ถนนพระตําหนัก ตรงไปประมาณ 750 เมตร พ้ืนท่ีโครงการอยู2ทางซ�ายมือ 3) การใช�ประโยชน ท่ีดินโดยรอบ สภาพแวดล�อม และการใช�ประโยชน ท่ีดินโดยรอบท่ีต้ังอาคารโครงการจะต�องเหมาะสมต2อการเป0นท่ีพักอาศัย มีกิจกรรมท่ีก2อให�เกิดการพักผ2อน ซ่ึงจะไม2ก2อให�เกิดอันตรายต2อผู�พักในโครงการ - พ้ืนท่ีโครงการต้ังอยู2บนถนนพระตําหนัก ซ่ึงบริเวณด�านทิศตะวันตกเป0นบ�านพักอาศัย นอกจากนี้ทิศเหนือ ทิศใต� และทิศตะวันออก เป0นพ้ืนท่ีรกร�าง ซ่ึงการใช�ประโยชน ท่ีดินโดยรอบจะสอดคล�องกับโครงการ 4) ความพร�อมของระบบสาธารณูปโภค จะต�องมีระบบสาธาณูปโภครองรับอย2างเพียงพอ ท้ังระบบไฟฟVา ประปา การจัดการมูลฝอย ระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบระบายน้ํา - พ้ืนท่ีโครงการต้ังอยู2ในเขตจังหวัดชลบุรี อยู2ในความรับผิดชอบของเมืองพัทยา ซ่ึงมีระบบสาธารณูปโภคต2าง ๆ รองรับไว�อย2างครบครัน ซ่ึงสามารถให�บริการโครงการได�อย2างเพียงพอ ดังนี้ - ระบบไฟฟVา พ้ืนท่ีโครงการ อยู2ในเขตความรับผิดชอบของการไฟฟVาส2วนภูมิภาคเมืองพัทยาความสามารถจ2ายกระแสไฟฟVาให�กับโครงการได�อย2างเพียงพอ - ระบบน้ําประปา พ้ืนท่ีโครงการ และพ้ืนท่ีใกล�เคียง ใช�บริการน้ําประปาจากการประปาส2วนภูมิภาคสาขาพัทยา (ชั้นพิเศษ) ซ่ึงมีปริมาณน้ําเพียงพอต2อความต�องการของประชาชน และสามารถให�บริการกับโครงการได� - การจัดการมูลฝอย พ้ืนท่ีโครงการ จากการสํารวจและสอบถาม พบว2าอยู2ในเขตความรับผิดชอบการเก็บขนมูลฝอย ของเมืองพัทยา โดยทําหน�าท่ีรวบรวมและเก็บขนมูลฝอยทุกวัน ซ่ึงหากมีกรณีท่ีมีเหตุปริมาณมูลฝอยเพ่ิมมากข้ึน ทางโครงการได�จัดให�มีห�องพักมูลฝอยรวมต้ังอยู2บริเวณทางเข�า-ออกด�านหน�าโครงการ สามารถรองรับมูลฝอยได�ไม2น�อยกว2า 3 วัน จึงสามารถลดปAญหาเก่ียวกับเรื่องมูลฝอยตกค�างได�เป0นอย2างดี - ระบบบําบัดน้ําเสีย พ้ืนท่ีโครงการได�จัดให�มีระบบบําบัดน้ําเสียรวม จํานวน 1 ชุด เพ่ือบําบัดน้ําเสียของโครงการจนได�ค2ามาตรฐานน้ําท้ิงก2อนปล2อยลงสู2ท2อสาธารณะ - ระบบระบายน้ํา ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของเมืองพัทยา มีการจัดทําแนวท2อระบายน้ําเพ่ือระบายลงสู2ลําคลองและระบายออกสู2ทะเลอ2าวไทย เพ่ือปVองกันน้ําท2วมสู2ชุมชน 5) ความสอดคล�องกับพ้ืนท่ีคุ�มครอง และกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข�อง จะต�องเป0นบริเวณท่ีพ้ืนท่ีคุ�มครอง มีข�อกําหนดให�สามารถปลูกสร�างอาคารชุดพักอาศัยได� และโครงการสามารถปฏิบัติตามข�อกฎหมายอ่ืน ๆ ท่ีกําหนดไว�ได�ด�วย

Page 9: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-9มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ศักยภาพในการรองรับได� (Carrying Capacity) ของท�องถ่ิน ศักยภาพในการรองรับได� (Carrying Capacity) ของท�องถ่ินในการอํานวยความสะดวก ความ

ปลอดภัยของโครงการในแต2ละด�าน ดังนี้ ด�านการคมนาคม สําหรับ ความคล2องตัวในการจราจร ปz 2553 เมืองพัทยา มีปริมาณรถเข�าเฉลี่ยสูงสุด 254,227 คัน/วัน ปริมาณรถออกจากเมืองพัทยาเฉลี่ยสูงสุด 282,657 คัน/วัน รถมีความคล2องตัวสูงในวันธรรมดา ในช2วงเทศกาลรถจะติดบ�างเพราะปริมาณมากสามารถเคลื่อนตัวได� (ท่ีมา : สํานักการช2างเมืองพัทยา, 2553) ดังนั้น ท�องถ่ินจึงมีศักยภาพในการรองรับได�(Carrying Capacity) ด�านการคมนาคมของโครงการ ซ่ึงโครงการมีท่ีจอดรถยนต จํานวน 61 คัน ด�านการสาธารณูปโภค(บริการน้ําประปา, บริการไฟฟVา) สําหรับการให�บริการน้ําประปาของสํานักงานการประปาส2วนภูมิภาค สาขาพัทยา(ชั้นพิเศษ) จังหวัดชลบุรี จํานวนผู�ใช�น้ําท้ังหมด 63,108 ราย มีกําลังผลิตท่ีใช�งาน 204,000 ลูกบาศก เมตร/วัน ปริมาณน้ําผลิต 4,024,123 ลูกบาศก เมตร/เดือน ปริมาณน้ําผลิตจ2าย 3,890,594 ลูกบาศก เมตร/เดือน ปริมาณน้ําจําหน2าย 3,890,594 ลูกบาศก เมตร/เดือน (ท่ีมา : การประปาส2วนภูมิภาค สาขาพัทยา (ชั้นพิเศษ) จังหวัดชลบุรี, กันยายน 2554) ดังนั้น ท�องถ่ินจึงมีศักยภาพในการรองรับได�(Carrying Capacity) ด�านการบริการน้ําประปาของโครงการ ซ่ึงโครงการมีปริมาณความต�องการใช�น้ําท้ังโครงการ 172.59 ลูกบาศก เมตร/วัน

สําหรับ การให�บริการไฟฟVาบริเวณพ้ืนท่ีโครงการอยู2ในความรับผิดชอบของการไฟฟVาส2วนภูมิภาคเมืองพัทยามีพ้ืนท่ีให�บริการ 727 ตารางกิโลเมตรมีความสามารถในการจ2ายไฟฟVา 450 เมกกะวัตต ซ่ึงปAจจุบันสามารถจ2ายไฟฟVาครอบคลุมพ้ืนท่ีอําเภอบางละมุง จํานวน 7 ตําบล ได�แก2 ตําบลหนองปรือ ตําบลหนองปลาไหล ตําบลบางละมุง ตําบลโปoง ตําบลห�วยใหญ2 ตําบลเขาไม�แก�ว และพ้ืนท่ีปกครองพิเศษ 1 แห2ง ได�แก2 เมืองพัทยา ตลอดจนพ้ืนท่ีเขตอําเภอสัตหีบบางส2วนของตําบลนาจอมเทียน (บ�านน้ําเมาหมู2ท่ี 2 บ�านนาจอมเทียนหมู2ท่ี 4) และพ้ืนท่ีเขตอําเภอศรีราชา บางส2วนของตําบลบ2อวิน (บ�านปากร2วมหมู2ท่ี 3) โดยมีการจ2ายไฟฟVารวม 126.3 เมกกะวัตต แยกตามประเภทผู�ใช�ไฟฟVา ได�แก2 ท่ีอยู2อาศัย 34,007467.78 กิโลวัตต ธุรกิจ-อุตสาหกรรม 87,065048.51 กิโลวัตต ราชการ/สาธารณะ 2,700,771.90 กิโลวัตต และอ่ืนๆ 2,474,706.90 กิโลวัตต โดยมีจํานวนผู�ใช�ไฟฟVา 131,771 ราย (ท่ีมา : การไฟฟVาส2วนภูมิภาคเมืองพัทยา, กันยายน 2553) ดังนั้น ท�องถ่ินจึงมีศักยภาพในการรองรับได�ด�านการบริการไฟฟVาของโครงการ ซ่ึงโครงการมีปริมาณความต�องการใช�ไฟฟVาประมาณ 2,279 KVA

ด�านการขยายตัวของแหล2งท่ีพักอาศัย จากสถิติจํานวนประชากรในเขตเมืองพัทยา เก่ียวกับจํานวนประชากร จํานวนบ�าน และความหนาแน2นของประชากรในเขตเมืองพัทยา พ.ศ. 2543-2553 ซ่ึงเป0นท่ีต้ังของโครงการ พบว2า ประชากรมีอัตราการเติมโตเฉลี่ยร�อยละ 2.50 จํานวนครัวเรือนเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยร�อยละ 3.20 ความหนาแน2นของประชากร 0.203 ต2อตารางเมตร มีประชากรแฝงประมาณ 400,000-500,000 คน โดยมิได�มีการแจ�งย�ายเข�าตามกฎหมายทะเบียนราษฎร (ท่ีมา : งานทะเบียนราษฎรเมืองพัทยา, 2554) มีปริมาณท่ีพักอาศัยเพ่ิมข้ึนทุกๆ ปzจึงทําให�โครงการเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาด�านอาคารอยู2อาศัยรวม เพ่ือรองรับจํานวนประชากรท่ีจะเข�ามาอาศัย เพ่ือประกอบอาชีพ การศึกษา ในพ้ืนท่ีเขตพัทยาเหนือและพ้ืนท่ีเขตใกล�เคียง อีกท้ังเป0นการลดระยะเวลาในการเดินทางมาทํางานหรือทําธุรกิจในเขตพัทยากลาง และเขตท่ีอยู2ใกล�เคียง ดังนั้น ท�องถ่ินจึงมีศักยภาพในการรองรับได�(Carrying Capacity) ด�านการขยายตัวของแหล2งท่ีพักอาศัย

Page 10: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-10มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ด�านการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย หน2วยงานด�านการรักษาความปลอดภัยสาธารณะของเมืองพัทยา ประกอบด�วย สายตรวจทัพพระยา สายตรวจเดินเท�า สายตรวจยานทรงตัว 2 ล�อ(Seg Way) สายตรวจจักรยาน สายตรวจรถจักรยานยนต และรถยนต ศูนย ประสานงานชุมชน(Koban) สายตรวจเจ็ตสกี(Jet Ski) เรือเร็วและสามล�อชายหาด(Desert Patrol Vechicle) โดยมีเจ�าพนักงานจํานวน 389 คน อาสาสมัครประมาณ 400-700 คน เฉลี่ยเจ�าหน�าท่ี 1 คนมีความรับผิดชอบต2อประชากรประมาณ 2,000 คน ระบบสายตรวจเมืองพัทยาโดยท่ัวไปตรวจวันละ 3 ผลัด ผลัดละ 8 ชั่วโมง เช�า(08.01-16.00 น.) บ2าย(16.01-24.00 น.) ดึก (00.01-08.00 น.) (ท่ีมา : เมืองพัทยา, 2554) ดังนั้น เมืองพัทยา จึงมีศักยภาพในการรองรับได� (Carrying Capacity) ของท�องถ่ินในการอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยของโครงการ - ความสอดคล�องกับตามกฎกระทรวง ให�ใช�บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ท่ีปรึกษาได�วิเคราะห การใช�ประโยชน ท่ีดินของโครงการจากสภาพเดิมกับเม่ือมีการก2อสร�างโครงการ โดยพิจารณาข�อกําหนดผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546 ซ่ึงปAจจุบันหมดอายุการบังคับใช�แล�วแต2เมืองพัทยาได�ออกข�อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง กําหนดบริเวณห�ามก2อสร�าง ดัดแปลง ใช� หรือเปลี่ยนการใช�อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท�องท่ีเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 เพ่ือใช�บังคับต2อ มีรายละเอียดดังนี้ ความสอดคล�องตามกฎกระทรวง ให�ใช�บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546 ท่ีดินโครงการต้ังอยู2ในบริเวณหมายเลข 1.6 ท่ีกําหนดไว�เป0นสีเหลือง(แสดงดังรูปท่ี 1.6-1) ให�เป0นท่ีดินประเภทท่ีอาศัยหนาแน2นน�อย ให�ใช�ประโยชน ท่ีดินเพ่ือการอยู2อาศัย สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป0นส2วนใหญ2 สําหรับการใช�ประโยชน ท่ีดินเพ่ือกิจการอ่ืนให�ใช�ได�ไม2เกินร�อยละสิบของท่ีดินประเภทนี้ในแต2ละบริเวณ ท่ีดินประเภทนี้ ห�ามใช�ประโยชน ท่ีดินเพ่ือกิจการตามท่ีกําหนด ดังต2อไปนี้ (1) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายว2าด�วยโรงงาน เว�นแต2โรงงานตามประเภท ชนิด และจําพวกท่ีกําหนดให�ดําเนินการได�ตามบัญชีท�ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของชุมชน (2) สถานท่ีบรรจุก�าซ สถานท่ีเก็บก�าซ และห�องบรรจุก�าซ ตามกฎหมายว2าด�วยการบรรจุก�าซป�โตรเลียมเหลว แต2ไม2หมายความรวมถึงสถานีบริการ ร�านจําหน2ายก�าซ สถานท่ีใช�ก�าซ และสถานท่ีจําหน2ายอาหารท่ีใช�ก�าซ (3) สถานท่ีท่ีใช�ในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพ่ือจําหน2ายท่ีต�องขออนุญาตตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง เว�นแต2เป0นสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง (4) เลี้ยงมา โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห2าน เป0ด ไก2 งู จระเข� หรือสัตว ปoาตามกฎหมายว2าด�วยการสงวนและคุ�มครองสัตว ปoา เพ่ือการค�า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว2าด�วยสุสานและฌาปนสถาน (6) โรงแรมตามกฎหมายว2าด�วยโรงแรม เว�นแต2เป0นการขยายกิจการในท่ีดินแปลงเดียวกันหรือติดต2อกันเป0นแปลงเดียวกันกับแปลงท่ีดินซ่ึงเป0นท่ีตั้งของกิจการเดิม (7) โรงมหรสพตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมอาคาร (8) สถานบริการตามกฎหมายว2าด�วยสถานบริการ (9) จัดสรรท่ีดินเพ่ือประกอบอุตสาหกรรม (10) สถานท่ีเก็บสินค�าซ่ึงใช�เป0นท่ีเก็บพักหรือขนถ2ายสินค�าหรือสิ่งของเพ่ือประโยชน ทางการค�าหรืออุตสาหกรรม

Page 11: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-11มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

(11) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร (12) โรงฆ2าสัตว (13) สวนสนุก (14) สนามแข2งขัน (15) กําจัดมูลฝอย (16) ซ้ือขายหรือเก็บเศษวัสดุ (17) ศูนย การค�า การใช�ประโยชน ท่ีดินในระยะ 50 เมตร จากเขตทางท้ังสองฟากของทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ห�ามใช�ประโยชน ท่ีดินเพ่ือกิจการตามท่ีกําหนดดังต2อไปนี้ด�วย (1) การอยู2อาศัยประเภทห�องชุด อาคารชุด หรือหอพัก (2) การประกอบกิจการประเภทอาคารขนาดใหญ2 (3) ตลาด การประกอบกิจการประเภทห�องแถวหรือตึกแถวริมทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ให�มีท่ีว2างตามแนวขนานริมเขตทางไม2น�อยกว2า 12 เมตร การใช�ประโยชน ท่ีดินริมฝA�งคลอง ให�มีท่ีว2างตามแนวขนานริมฝA�งคลองไม2น�อยกว2า 6 เมตร เว�นแต2เป0นการก2อสร�างเพ่ือการคมนาคมทางน้ํา หรือสาธารณูปโภค จากการทบทวนกฎกระทรวงดังกล2าว พบว2า การใช�ประโยชน ท่ีดินของโครงการจากสภาพเดิม(ปAจจุบัน)คือเป0นพ้ืนท่ีว2างเปล2ารอการใช�ประโยชน จะเปลี่ยนเป0นพ้ืนท่ีโครงการ The Vision เป0นอาคารอยู2อาศัยรวมประเภทอาคารชุดตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมอาคาร ขนาดความสูง 23 ชั้น และชั้นใต�ดิน 3 ชั้น จํานวน 1 อาคาร อยู2ในเขตสีเหลือง ท่ีดินประเภทท่ีอยู2อาศัยหนาแน2นน�อย ห2างจากถนนสุขุมวิทเป0นระยะทางประมาณ 3,100 เมตร ซ่ึงโครงการเป0นการใช�ประโยชน ท่ีดินเพ่ือการอยู2อาศัยและห2างจากแนวทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) เกินกว2า 50 เมตร สามารถสร�างอาคารท่ีเป0นอาคารอยู2อาศัยได�ทุกขนาด จึงสอดคล�องกับกฎกระทรวงให�ใช�บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546 ตามท่ีโครงการประสานไปยังเมืองพัทยาเพ่ือตรวจสอบการใช�ประโยชน ท่ีดินตามกฎหมายว2าด�วยผังเมือง(ในภาคผนวก ข-7) ซ่ึงได�รับคําชี้แจงว2า ปAจจุบันกฎกระทรวงให�ใช�บังคับ ผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546 ได�หมดอายุลงแล�ว จึงไม2สามารถใช�บังคับได� ซ่ึงเมืองพัทยาได�ออกข�อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง กําหนดบริเวณห�ามก2อสร�าง ดัดแปลง ใช� หรือเปลี่ยนการใช�อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท�องท่ีเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล2ม 127 ตอนพิเศษ 59 ง มีผลบังคับใช�ต้ังแต2วันท่ี 15 พฤษภาคม 2553 ซ่ึงโครงการต้ังอยู2ท่ีถนนพระตําหนัก ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี บริเวณท่ี 1 (แสดงดังรูปท่ี 1.6-2) ขนาดเนื้อท่ีโครงการ 1-1-15 ไร2 (2,060.00 ตารางเมตร) เป0นอาคารชุดพักอาศัย อยู2ห2างจากถนนสุขุมวิทเป0นระยะทางประมาณ 3,100 เมตร บริเวณโครงการอยู2ในท่ีดินประเภทเป0นท่ีอยู2อาศัยหนาแน2นน�อย(เขตสีเหลือง) โดยพ้ืนท่ีท่ีอยู2ห2างจากแนวทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) เกินกว2า 50 เมตร สามารถสร�างอาคารท่ีเป0นอาคารอยู2อาศัยได�ทุกขนาด จึงไม2ขัดกับข�อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง กําหนดบริเวณห�ามก2อสร�าง ดัดแปลง ใช� หรือเปลี่ยนการใช�อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท�องท่ีเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553 ท่ีกําหนดให�ภายในบริเวณท่ี 1 ห�ามมิให�ก2อสร�างอาคาร ดังต2อไปนี้ (1) โรงงานทุกจําพวกตามกฎหมายว2าด�วยโรงงาน เว�นแต2โรงงานตามประเภท ชนิดและจําพวกท่ีกําหนดให�ดําเนินการได�ตามบัญชีท�ายข�อบัญญัตินี้ และโรงงานบําบัดน้ําเสียรวมของ

Page 12: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-12มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

(2) สถานท่ีบรรจุก�าซ สถานท่ีเก็บก�าซ และห�องบรรจุก�าซ ตามกฎหมายว2าด�วยการบรรจุก�าซป�โตรเลียมเหลว แต2ไม2หมายความรวมถึงสถานีบริการ ร�านจําหน2ายก�าซ สถานท่ีใช�ก�าซและสถานท่ีจําหน2ายอาหารท่ีใช�ก�าซ (3) สถานท่ีท่ีใช�ในการเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงเพ่ือจําหน2ายท่ีต�องขออนุญาตตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิง เว�นแต2เป0นสถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง (4) สถานท่ีเลี้ยงมา โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห2าน เป0น ไก2 งู จระเข� หรือสัตว ปoาตามกฎหมายว2าด�วยการสงวนและคุ�มครองสัตว ปoา เพ่ือการค�า (5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว2าด�วยสุสานและฌาปนสถาน (6) โรงแรมตามกฎหมายว2าด�วยโรงแรม เว�นแต2เป0นการขยายกิจการในท่ีดินแปลงเดียวกันหรือติดต2อกันเป0นแปลงเดียวกันกับแปลงท่ีดินซ่ึงเป0นท่ีตั้งของกิจการเดิม (7) โรงมหรสพตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมอาคาร (8) สถานบริการตามกฎหมายว2าด�วยสถานบริการ (9) การก2อสร�างอาคารอุตสาหกรรมท่ีดําเนินการตามกฎหมายว2าด�วยการจัดสรรท่ีดิน (10) สถานท่ีเก็บสินค�า ซ่ึงใช�เป0นท่ีเก็บพักหรือขนถ2ายสินค�าหรือสิ่งของเพ่ือประโยชน ทางการค�าหรืออุตสาหกรรม (11) ไซโลเก็บผลิตผลทางการเกษตร (12) โรงฆ2าสัตว (13) สวนสนุก (14) สนามแข2งขัน (15) สถานท่ีกําจัดมูลฝอย (16) สถานท่ีซ้ือขายหรือเก็บเศษวัสดุ (17) ศูนย การค�า ในระยะ 50 เมตร จากเขตทางท้ังสองฟากของทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ห�ามก2อสร�างอาคารตามท่ีกําหนดดังต2อไปนี้ด�วย (1) ห�องชุด อาคารชุด หรือหอพัก (2) อาคารขนาดใหญ2 (3) ตลาด การก2อสร�างห�องแถวหรือตึกแถวริมทางหลวงแผ2นดินหมายเลข 3 (ถนนสุขุมวิท) ให�มีท่ีว2างตามแนวขนานริมทางไม2น�อยกว2า 12 เมตร การก2อสร�างอาคารริมฝA�งคลอง ให�มีท่ีว2างตามแนวขนานริมฝA�งคลองไม2น�อยกว2า 6 เมตร เว�นแต2เป0นการก2อสร�างอาคารเพ่ือการคมนาคมทางน้ํา หรือการสาธารณูปโภค ดังนั้น การใช�ประโยชน ท่ีดินของโครงการจากสภาพเดิมคือเป0นพ้ืนท่ีว2างเปล2ารอการใช�ประโยชน จะเปลี่ยนเป0นพ้ืนท่ีโครงการ The Vision เป0นอาคารอยู2อาศัยรวมประเภทอาคารชุดตามกฎหมายว2าด�วยการควบคุมอาคาร ขนาดความสูง 23 ชั้น และชั้นใต�ดิน 3 ชั้น จํานวน 1 อาคาร จึงสอดคล�องกับกฎกระทรวงให�ใช�บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546 และข�อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง กําหนดบริเวณห�ามก2อสร�าง ดัดแปลง ใช� หรือเปลี่ยนการใช�อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท�องท่ีเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553

Page 13: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-13มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รูปท่ี 1.6-1 ท่ีต้ังโครงการตามแผนท่ีท�ายกฎกระทรวงให�ใช�บังคับผังเมืองรวมเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2546

ที�ตั �งโครงการ

Page 14: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-14มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รูปท่ี 1.6-2 ท่ีตั้งโครงการตามแผนท่ีท�ายข�อบัญญัติเมืองพัทยา เรื่อง กําหนดบริเวณห�ามก2อสร�าง ดัดแปลง ใช� หรือเปลี่ยนการใช�อาคารบางชนิด หรือบางประเภท ในท�องท่ีเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553

ที�ตั �งโครงการ

Page 15: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-15มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- กฎหมายอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข�อง อัตราพ้ืนท่ีอาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต2อพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป0นท่ีต้ังอาคาร ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 1 ลักษณะของอาคาร เนื้อท่ีว2างของภายนอกอาคารและแนวอาคาร ข�อ 5 ระบุว2า “อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ,พิเศษท่ีก,อสร�างในพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป�นท่ีตั้งอาคารอาคารต�องมีค,าสูงสุดของอัตราส,วนพ้ืนท่ีอาคารรวมกันทุกช้ันของอาคารทุกหลังต,อพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป�นท่ีตั้งอาคาร ไม,เกิน 10 ต,อ 1” ท้ังนี้ โครงการได�จัดให�มีอัตราส2วนพ้ืนท่ีอาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต2อพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป0นท่ีตั้งอาคาร 7.78 ต2อ 1 ซ่ึงไม2เกิน 10 ต2อ 1 จึงเป0นไปตามข�อกําหนดดังกล2าว ท่ีว2าง ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 1 ลักษณะของอาคาร เนื้อท่ีว2างของภายนอกอาคารและแนวอาคาร ข�อ 6 ระบุว2า “อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ,พิเศษต�องมีท่ีว,างไม,น�อยกว,าอัตราส,วนดังต,อไปนี้ (1) อาคารท่ีอยู,อาศัยต�องมีท่ีว,างไม,น�อยกว,าร�อยละ 30 ของพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป�นท่ีตั้งอาคาร” ท้ังนี้ โครงการได�จัดให�มีท่ีว2างร�อยละ 67.63 ของพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป0นท่ีต้ังอาคาร ซ่ึงไม2น�อยกว2า 30 ของพ้ืนท่ีดินท่ีใช�เป0นท่ีต้ังอาคาร จึงเป0นไปตามข�อกําหนดดังกล2าว

ความสู งของอาคาร ตามกฎกระทรวง ฉบับ ท่ี 55 (พ.ศ .2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 4 แนวอาคารและระยะต2างๆ ของอาคาร ข�อ 44 ระบุไว�ว2า “ความสูงของอาคารไม,ว,าจากจุดหนึ่งจุดใดต�องไม,เกินสองเท,าของระยะราบ วัดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู,ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด ความสูงของอาคารให�วัดแนวดิ่งจากระดับถนนหรือระดับพ้ืนดินท่ีก,อสร�างข้ึนไปถึงส,วนของอาคารท่ีสูงท่ีสุด สําหรับอาคารทรงจั่วหรือป:Rนหยาให�วัดถึงยอดผนังของช้ันสูงสุด” โดยความสูงของอาคารโครงการวัดจากแนวอาคารไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด 3 จุด แสดงรายละเอียด ดังนี้ จุดวัดความสูงของอาคารท่ี 1 แบ2งจุดวัดระยะร2นกับความสูงอาคารได� 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นท่ี 20 ไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 34.344 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืนชั้นท่ี 20 สูงได� 68.688 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นท่ี 20 เท2ากับ 57.90 เมตร ระยะท่ี 2 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นดาดฟVาไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 39.136 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืนชั้นดาดฟVา สูงได� 78.272 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นดาดฟVาเท2ากับ 72.90 เมตร

ดังนั้น ความสูงของอาคารบริเวณจุดท่ี 1 (แสดงดังรูปท่ี 1.2-5) มี 2 ระยะ ได�แก2 ชั้นท่ี 20 และชั้นดาดฟVา จึงสอดคล�องตามข�อ 44 ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 จุดวัดความสูงของอาคารท่ี 2 แบ2งจุดวัดระยะร2นกับความสูงอาคารได� 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นท่ี 20 ไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 33.537 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืน

Page 16: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-16มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ชั้นท่ี 20 สูงได� 67.074 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นท่ี 20 เท2ากับ 57.90 เมตร ระยะท่ี 2 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นดาดฟVาไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 38.937 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืนชั้นดาดฟVา สูงได� 77.874 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นดาดฟVาเท2ากับ 72.90 เมตร ระยะท่ี 3 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นหนีไฟทางอากาศไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 39.837 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืนชั้นดาดฟVา สูงได� 79.674 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นดาดฟVาเท2ากับ 78.20 เมตร

ดังนั้น ความสูงของอาคารบริเวณจุดท่ี 2 (แสดงดังรูปท่ี 1.2-6) มี 3 ระยะ ได�แก2 ชั้นท่ี 20 ชั้นดาดฟVา และชั้นหนีไฟทางอากาศ จึงสอดคล�องตามข�อ 44 ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

จุดวัดความสูงของอาคารท่ี 3 แบ2งจุดวัดระยะร2นกับความสูงอาคารได� 1 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีระยะห2างจากแนวอาคารชั้นท่ี 20 ไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุด เป0นระยะทาง 36.164 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงพ้ืนชั้นท่ี 20 สูงได� 72.328 เมตร โดยจุดนี้โครงการมีความสูงของอาคารจากระดับถนนสาธารณะถึงชั้นท่ี 20 เท2ากับ 57.90 เมตร ดังนั้น ความสูงของอาคารบริเวณจุดท่ี 3 (แสดงดังรูปท่ี 1.2-7) มี 1 ระยะ ได�แก2 ชั้นท่ี 20 จึงสอดคล�องตามข�อ 44 ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ดังนั้น จากตรวจสอบความสูงของอาคารโครงการ โดยวัดจากแนวอาคารไปต้ังฉากกับแนวเขตด�านตรงข�ามของถนนสาธารณะท่ีอยู2ใกล�อาคารนั้นท่ีสุดท้ัง 3 จุด พบว2า ความสูงของอาคารสอดคล�องตามข�อ 44 ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 นอกจากนี้ ท่ีปรึกษาได�สรุปการวัดความสูงของอาคารตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แสดงรายละเอียดดังตารางท่ี 1.6-1

Page 17: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-17มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตารางท่ี 1.6-1 สรุปการวัดความสูงของอาคารตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

จุดวัดความสูงอาคาร

ระยะห,างจากแนวอาคารไปตั้งฉากกับเขต

ด�านตรงข�ามของ ถนนสาธารณะ (เมตร)

ความสูงของอาคารตามกฎกระทรวง*

(สองเท,าของระยะราบ) (เมตร)

ความสูงของอาคาร (เมตร)

จุดท่ี 1 - ระยะท่ี 1 (ชั้นท่ี 20) 34.344 68.688 57.90 - ระยะท่ี 2 (ชั้นดาดฟVา) 39.136 78.272 72.90 จุดท่ี 2 - ระยะท่ี 1 (ชั้นท่ี 20) 33.537 67.074 57.90 - ระยะท่ี 2 (ชั้นดาดฟVา) 38.937 77.874 72.90 - ระยะท่ี 3 (ชั้นหนีไฟทางอากาศ)

39.837 79.674 78.20

จุดท่ี 3 - ระยะท่ี 1 (ชั้นท่ี 20) 36.164 72.328 57.90 หมายเหตุ * กฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ระยะร2น ตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 55 (พ.ศ.2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 4 แนวอาคารและระยะต2างๆ ของอาคาร ข�อ 41 ระบุไว�ว2า “อาคารท่ีก,อสร�างหรือดัดแปลงใกล�ถนนสาธารณะท่ีมีความกว�างน�อยกว,า 6 เมตร ให�ร,นแนวอาคารห,างจากก่ึงกลางถนนสาธารณะอย,างน�อย 3 เมตร อาคารท่ีสูงเกินสองช้ันหรือเกิน 8 เมตร ห�องแถว ตึกแถว บ�านแถว อาคารพาณิชย' โรงงาน อาคารสาธารณะ ป>ายหรือส่ิงท่ีสร�างข้ึนสําหรับติดหรือตั้งป>ายหรือคลังสินค�า ท่ีก,อสร�างหรือดัดแปลงใกล�ถนนสาธารณะ (2) ถ�าถนนสาธารณะนั้นมีความกว�างตั้งแต, 10 เมตรข้ึนไป แต,ไม,เกิน 20 เมตร ให�ร,นแนวอาคารห,างจากเขตถนนสาธารณะอย,างน�อย 1 ใน 10 ของความกว�างของถนนสาธารณะ” ดังนั้น โครงการ จึงร2นแนวอาคารด�านท่ีติดถนนสาธารณะ เขตทางกว�าง 10.352-16.744 เมตร ประมาณ 11.91-19.92 เมตร (ร2นแนวอาคารห2างจากเขตถนนสาธารณะอย2างน�อย 1 ใน 10 ของความกว�างถนนสาธารณะ) จึงเป0นไปตามข�อกําหนดดังกล2าว ดังนั้น โครงการ The Vision เป0นอาคารชุดพักอาศัย ขนาดความสูง 23 ชั้นและชั้นใต�ดิน 3 ชั้น จํานวน 1 อาคาร ระดับความสูงจากระดับพ้ืนดินถึงชั้นหนีไฟทางอากาศ 78.20 เมตร มีจํานวนห�องพัก 216 ห�อง จึงมีความเหมาะสมและสอดคล�องกับพ้ืนท่ีต้ังโครงการ สภาพภูมิประเทศ การเข�าถึงพ้ืนท่ีโครงการ ระบบสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน การใช�ประโยชน ท่ีดินกับพ้ืนท่ีข�างเคียง และสอดคล�องกับผังเมืองและกฎหมายอ่ืนๆ ส,วนท่ี 2 การวิเคราะห'ผลกระทบจากการดําเนินโครงการต,อสภาพแวดล�อมและจากสภาพแวดล�อม ต,อการดําเนินโครงการ เพ่ือหาทางเลือกท่ีเหมาะสมในการดําเนินโครงการ แนวทางเลือกในการดําเนินการ ท่ีนํามาพิจารณามีผลกระทบจากการดําเนินโครงการต2อสิ่งแวดล�อมภายนอกและจากภายนอกโครงการ การส2งผลกระทบต2อการดําเนินโครงการ ได�แก2 สิ่งแวดล�อมด�านเสียงและแรงสั่นสะเทือน ด�านจราจรและด�านทัศนียภาพ มีรายละเอียดดังนี้

Page 18: บทที่ 1 บทนํา - eiadoc.onep.go.theiadoc.onep.go.th/eialibrary/4housing/56/56_233/EIA... · 1-1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของโครงการ

รายงานการวิเคราะห ผลกระทบส่ิงแวดล�อม (ฉบับสมบูรณ ) โครงการ The Vision

1-18มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สิ่งแวดล�อมทางด�านเสียงและแรงสั่นสะเทือน : ปAจจุบันแหล2งกําเนิดเสียงและแรงสั่นสะเทือนในบริเวณพ้ืนท่ีโครงการจะเกิดจากเสียงรถยนต ท่ีสัญจรอยู2ท่ัวไป ส2วนแหล2งกําเนิดด�านแรงสั่นสะเทือนจะเกิดจากกิจกรรมสัญจรของยานพาหนะต2าง ๆ เช2นกัน ผลกระทบจากการดําเนินโครงการ ต2อสภาพแวดล�อมภายนอก ในระยะก2อสร�าง คาดว2าจะเกิดเสียงและแรงสั่นสะเทือนจากการทําฐานราก โดยทางโครงการได�พิจารณาใช�การทําเสาเข็มแบบเจาะ ซ่ึงมีผลกระทบด�านเสียงและแรงสั่นสะเทือนน�อยกว2าแบบตอก ผลกระทบจากสภาพแวดล�อมภายนอก ต2อการดําเนินโครงการ ปAจจัยทางด�านเสียงและแรงสั่นสะเทือนจากการจราจร ทําให�ทางโครงการเลือกใช�วัสดุท่ีมีส2วนในการลดเสียงเข�าสู2ตัวอาคาร สิ่งแวดล�อมด�านจราจร : ปAจจุบันการจราจรบนถนนพระตําหนักส2วนมากเป0นรถจักรยานยนต และรถจักรยาน การจราจรเบาบาง ผลกระทบจากการดําเนินโครงการ ต2อสภาพแวดล�อมภายนอก ทางโครงการเลือกท่ีจะดําเนินโครงการท่ีมีท่ีต้ังอยู2ใกล�กับถนนสาธารณะ เพ่ือให�ผู�อาศัยในโครงการสามารถสัญจรไปยังท่ีต2าง ๆ โดยสามารถใช�รถยนต ส2วนบุคคลได�อย2างสะดวกและรวดเร็ว ผลกระทบจากสิ่งแวดล�อมภายนอก ต2อการดําเนินโครงการ การท่ีมีท่ีต้ังอยู2ใกล�กับถนนสาธารณะ ทําให�ผู�ท่ีพักอาศัยในโครงการใช�รถยนต ส2วนบุคคลมากข้ึน จึงเป0นการเพ่ิมปริมาณท่ีจอดรถยนต ในโครงการ ดังนั้นโครงการจึงต�องจัดท่ีจอดรถภายในพ้ืนท่ีโครงการไว�อย2างเพียงพอ สิ่งแวดล�อมด�านทัศนียภาพ : ปAจจุบันสภาพแวดล�อมภายนอกท่ัวไปบริเวณใกล�เคียงโครงการเป0นบ�านพักอาศัยและท่ีว2างรอการใช�ประโยชน ผลกระทบจากการดําเนินโครงการ ต2อสภาพแวดล�อมภายนอก การก2อสร�างอาคารด�วยสีสะดุดตาจะเป0นผลกระทบทางทัศนียภาพได� โครงการได�เลือกสีของอาคารเป0นสีใกล�เคียงธรรมชาติ (Earth Tone) เพ่ือทัศนียภาพท่ีดีต2อพ้ืนท่ีข�างเคียง ผลกระทบจากสิ่งแวดล�อมภายนอก ต2อการดําเนินโครงการ ผลกระทบด�านสิ่งแวดล�อมภายนอกเป0นบ�านพักอาศัยและท่ีรกร�าง ทางโครงการได�พิจารณาทางเลือกในการจัดภูมิสถาปAตยกรรมในโครงการให�มีความสวยงาม