53
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของดังตอไปนี1. เอกสารที่เกี่ยวของกับเรื่องสั้น 1.1 ความหมายของเรื่องสั้น 1.2 กลุมของเรื่องสั้น 1.3 องคประกอบของเรื่องสั้น 1.4 ลักษณะของเรื่องสั้น 1.5 ทวงทํานองและสํานวนภาษาในการเขียนเรื่องสั้น 1.6 การวิเคราะหเรื่องสั้น 2. เอกสารที่เกี่ยวของกับเรื่องสั้นแนวทดลอง 2.1 ความหมายของวรรณกรรมแนวทดลอง 2.2 ลักษณะของเรื่องสั้นแนวทดลอง 3. เอกสารที่เกี่ยวของกับกลวิธีในการนําเสนอเรื ่องสั้น 4. เอกสารที่เกี่ยวของกับแนวคิดของเรื่องสั้น 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 5.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหเรื่องสั้น 5.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเรื่องสั้นแนวทดลอง 5.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหแนวคิด 5.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับวินทร เลียววาริณ เอกสารที่เกี่ยวของกับเรื่องสั้น ความหมายของเรื่องสั้น มีผูใหคําจํากัดความของคําวา เรื่องสั้นไวมากมาย ดังเชน ถวัลย มาศจรัส (2540, หนา 19) ใหคํานิยามของเรื่องสั้นวา เรื่องสั้นคืองานเขียนในรูป ของบันเทิงคดีที่เสนอความคิดสําคัญเพียงความคิดเดียว เหตุการณเดียวในเวลาจํากัด

บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของดังตอไปนี ้1. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองส้ัน

1.1 ความหมายของเร่ืองส้ัน

1.2 กลุมของเร่ืองส้ัน

1.3 องคประกอบของเร่ืองส้ัน

1.4 ลักษณะของเร่ืองส้ัน

1.5 ทวงทํานองและสํานวนภาษาในการเขียนเร่ืองส้ัน

1.6 การวิเคราะหเร่ืองส้ัน

2. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองส้ันแนวทดลอง 2.1 ความหมายของวรรณกรรมแนวทดลอง 2.2 ลักษณะของเร่ืองส้ันแนวทดลอง

3. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับกลวิธีในการนําเสนอเร่ืองส้ัน

4. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับแนวคิดของเร่ืองส้ัน

5. งานวิจยัท่ีเกี่ยวของ 5.1 งานวิจยัท่ีเกี่ยวของกับการวิเคราะหเร่ืองส้ัน

5.2 งานวิจยัท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองส้ันแนวทดลอง 5.3 งานวิจยัท่ีเกี่ยวของกับการวิเคราะหแนวคิด

5.4 งานวิจยัท่ีเกี่ยวของกับวนิทร เลียววาริณ

เอกสารท่ีเก่ียวของกับเร่ืองส้ัน

ความหมายของเร่ืองส้ัน

มผูีใหคําจํากดัความของคําวา “เร่ืองส้ัน” ไวมากมาย ดังเชน

ถวัลย มาศจรัส (2540, หนา 19) ใหคํานิยามของเร่ืองส้ันวา เร่ืองส้ันคืองานเขียนในรูป

ของบันเทิงคดท่ีีเสนอความคิดสําคัญเพียงความคิดเดยีว เหตุการณเดยีวในเวลาจํากัด

Page 2: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

7

สุจิตรา จรจิตร (2547, หนา 84) ไดใหความหมายของเร่ืองส้ันวาเปนเร่ืองเลาท่ีผูประพันธสมมติตัวละคร เหตุการณ และสถานท่ีข้ึน แลวนํามาผูกตอเนื่องกันเขา เร่ืองส้ันควรเปนเร่ืองท่ีประหยดัในทุก ๆ อยาง คือ ตัวละคร เหตุการณ ความยาว และเวลาในการอาน

ปราณี สุรสิทธ์ิ (2541, หนา 389) สรุปความหมายของเร่ืองส้ันวา เปนเร่ืองสมมติแตงข้ึนประกอบดวยตัวละคร แสดงความขัดแยงอยางใดอยางหน่ึงจนเกิดวกิฤติการณท่ีมีเหตุสัมพันธตอเนื่องไปจนถึงจุดสุดยอดของเร่ือง และคล่ีคลายเปนผลอยางใดอยางหน่ึง สุดารัตน เสรีวฒัน (2522, หนา 5) ไดใหขอสังเกตเกี่ยวกบัเร่ืองส้ันวา เร่ืองส้ันดําเนินเร่ืองในชวงเวลาอันส้ัน มีตัวละครเดน ๆ เพียง 2-3 ตัว และเปนเร่ืองท่ีเสนอความคิดสําคัญเพียงความคิดเดียว สนิท ตั้งทวี (2529, หนา 228) กลาวถึงเร่ืองส้ันไววา เร่ืองส้ันเปนรูปแบบของงานเขียนบันเทิงคดีประเภทเร่ืองเลาท่ีใชถอยคํานอยแตดําเนินเร่ืองรวดเร็ว มจีุดมุงหมายหลักหรือแกนเร่ืองเพียงอยางเดียว นิยมใหมตีัวละครนอย ใชฉากและเวลาจาํกัด

ไพโรจน บุญประกอบ (2539, หนา 37-38) อธิบายวา เร่ืองส้ันคือบันเทิงคดีขนาดส้ัน แมจะไมมีกําหนดแนนอนตายตัววาความยาวตองเปนเทาใด แตมีลักษณะเดนเปนเกณฑกลางอยูวาจะตองเสนอแกนเร่ืองเพียงประการเดียว โดยแสดงออกมาในวิกฤติการณเดยีวของชวงชีวิตตัวละคร มีตัวละครนอย ใชฉากและเวลาจาํกัด ลักษณะเดนเหลานีต้องนําไปสูความสมบูรณในตัวเองของเร่ืองส้ัน

ทําใหเร่ืองส้ันมีลักษณะส้ินกระแสความในตัว Francis R. Foster (อางในอุดม รุงเรืองศรี, 2523, หนา 50) ไดนยิามไววา เร่ืองส้ันคือ วิกฤตการณชดุหนึ่ง มีความสัมพันธสืบเนื่องกันและนําไปสูจุดสุดยอดอยางหนึ่ง Blanche Colton (อางใน เปล้ือง ณ นคร, 2540, หนา 128) กลาววา เร่ืองส้ันคือนิยายอันประกอบดวยศิลปะลักษณะ แสดงเร่ืองของตัวละครอันตกอยูในสภาพแหงความยากลําบากหรือ อยูในท่ีขัดของ อับจน แลวตอสูหรือแกไขพฤติกรรมอันนั้นจนบรรลุผลท่ีสุดอยางใดอยางหนึ่ง จากความหมายของเร่ืองส้ันท่ีมผูีใหคํานิยามไวตาง ๆ ขางตนสรุปไดวา เร่ืองส้ันคือ งานเขียนบันเทิงคดีประเภทเร่ืองเลาขนาดส้ัน มีการดําเนนิเร่ืองอยางรวดเร็ว มีตัวละครนอย มีแกนเร่ืองเพียงอยางเดียว ใชฉากและเวลาจํากัด แสดงความขัดแยงอยางใดอยางหน่ึงจนเกิดวกิฤติการณท่ีตอเนื่องเพื่อไปสูจุดสุดยอดของเร่ือง และคล่ีคลายเปนผลอยางใดอยางหน่ึง การแบงกลุมของเรื่องส้ัน

เปล้ือง ณ นคร (2540, หนา 130-131) ไดแบงเร่ืองส้ันออกเปน 4 ชนิดคือ 1. ชนิดผูกเร่ือง (Plot story) คือชนิดท่ีมีเคาเร่ืองซับซอน นาฉงนใจ และจบลงในลักษณะ ท่ีผูอานคาดหมายไมถึง หรือไมนึกวาจะเปนเชนนัน้

Page 3: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

8

2. ชนิดท่ีเพงจะแสดงลักษณะของตัวละคร (Character story) เปนชนดิท่ีผูเขียนถือตัวละครเปนใหญ และตองการที่จะเสนอลักษณะอยางหนึ่งอยางใดของคนเปนสําคัญ

3. ชนิดท่ีถือฉากเปนสวนสําคัญ (Atmosphere story) โดยที่ผูเขียนบรรยายสถานท่ีแหงหนึ่ง ซ่ึงมีลักษณะทําใหเกิดความรูสึกนึกคิดไปตาง ๆ พฤติการณและตัวละครเก่ียวพันอยูกบัฉาก

4. ชนิดท่ีแสดงแนวความคิดเห็น (Theme story) โดยท่ีผูเขียนมีอุดมคติหรือตองการช้ีใหเห็นความจริงอยางหนึ่งของชีวิต

สวนสุชาติ สวสัดิ์ศรี (2518, หนา 38-40) ไดแบงกลุมของเร่ืองส้ันไว 5 กลุมดังนี ้ 1. กลุมอัตถนิยม (Realism) ลักษณะการเขียนจะใชการบรรยายฉาก ตวัละคร ตลอดจนการสรางปญหาและขอขัดแยงตาง ๆ เปนไปในเชิง “สมจริง” ท้ังหมด การดําเนินเร่ืองมักจะเรียบงายและเขาใจไดทันที “โดยถือรูปแบบการมองภายนอกเปนหลัก” (Objectivity) และ “ความจริงท่ีเหน็คือความจริงท่ีแสดง” (Naturalism)

2. กลุมสัญลักษณ (Symbolism) ลักษณะการเขียนจะใชสัญลักษณอยางใดอยางหน่ึงปรากฏในการบรรยายฉาก ตวัละคร ตลอดจนรวมท้ังการสรางปญหาและขอขัดแยงตาง ๆ การดําเนนิเร่ืองมักใชกลวิธี “ยอนกลับไปกลับมา” แสดงความซับซอนของจิตใตสํานกึ โดยใชแบบ “การมองภายในเปนหลัก” (Subjectivity)

3. กลุมเหนือจริง (Surrealism) ลักษณะการเขียนจะใชส่ิงท่ีดูเหมือนเปนจริงมาเปรียบเทียบกับเร่ืองราวท่ีเปนไปไดและเปนไปไมได บางคร้ังจะใชสัญลักษณ บางคร้ังใชการเลาเร่ืองท่ีเปนโลกแหงภาพฝน บางคร้ังใชลักษณะใกลเคียงกบักลวิธีการเขียนนวนยิายวทิยาศาสตร บางคร้ังใชวิธีวาดภาพยอนกลับไปกลับมาแบบเทคนิคของภาพยนตรรุนใหม 4. กลุมกะเทาะสังคม (Satirical) ลักษณะการเขียนเปนไปในเชิงสมจริง หากแตเสียดสีสะทอนภาพสังคม ทํานองคลายกับเปนนทิานเปรียบเทียบ

5. กลุมแปลกแยก (Alienation) ลักษณะการเขียนมีจดุอยูตรงท่ีเล็งเห็นวาสภาพมนษุยในสังคมปจจุบันไดถูกตัดขาดออกจากความเชื่อและกฎเกณฑแบบเกา การดําเนินเร่ืองคอนขางเปน

“รําพึงของจิตใตสํานึก” (Monologue subconscious) เสียเปนสวนมาก บางทีก็ใชการเปรียบเทียบกบัสัญลักษณและการเสียดสีเยาะเยยมาอธิบายถึงการกระทําของตัวละคร ลักษณะท่ีคลายกับไรเหตุผล ส้ินหวังและถูกสังคมเมินหนาเชนนี้ปรากฏออกมาใหเหน็ในแงของชีวติท่ีไรสาระ คณะกรรมการกลุมผลิตชุดวชิา ภาษาไทย 7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2539,

หนา 662) ไดแบงกลุมของเรื่องส้ันออกเปน 10 ประเภท ตามแนวคิดของนักเขียนทางตะวันตก ดังนี ้

Page 4: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

9

1. คลาสสิก (Classicism) คือเร่ืองท่ีเขียนตามแนวความคิดแบบเดิม โดยอาศัยเคาโครงเร่ืองจากเร่ืองประวตัิศาสตร หรือวรรณคดีของชาติตาง ๆ เชน กรีก โรมัน จีน อินเดีย เร่ืองคลาสสิกของไทยน้ันนิยมใชเคาโครงเร่ืองนิยายไทยซ่ึงเปนเร่ืองสมมุติ มักใชอภนิิหารในการแกปญหา 2. โรแมนติก (Romanticism) คือเร่ืองท่ีมุงใหความสําคัญของอารมณ ความรูสึก และญาณสังหรณ มากกวาคุณคาทางปญญา เนื้อหามักเกีย่วกับ รัก โลภ โกรธ หลง และความอิจฉาริษยาของมนุษย 3. สัจนิยม (Realism) คือเร่ืองท่ีเลียนแบบเหตุการณจริง ๆ ในสังคมแลวสอดแทรกจินตนาการของผูเขียนลงไป โดยมีจุดมุงหมายเพื่อตีแผแงมุมตาง ๆ ของชีวิตมนุษยอยางตรงไปตรงมา และกลาวถึงความเปนไปในสังคมดวย 4. ธรรมชาตินิยม (Naturalism) คือเร่ืองท่ีมุงแสดงความสําคัญของธรรมชาติวามีความจําเปนตอชีวิตมนุษย เร่ืองประเภทนี้จึงเสนอแนวคิดท่ีสมจริงเชนเดยีวกับเร่ืองประเภทสัจนิยม

5. เหนือธรรมชาติ (Surrealism) คือเร่ืองท่ีแสดงความคิดฝนของผูแตงในลักษณะฝนเฟอง โลดโผน หรือเกี่ยวกับภูตผีปศาจ เวทมนตคาถา ส่ิงลึกลับมหัศจรรย 6. สัจนิยมใหม (Neo-realism) คือเร่ืองท่ีสะทอนสภาพชีวิตในสังคมท่ีแทจริง มีรายละเอียดสอดคลองกับเปาหมายของการดํารงชีวิต พรอมท้ังสอดแทรกแนวคิดในการพัฒนาสังคมอยางมีอุดมการณ แนวคิดนี้พฒันามาจากแนวคิดสัจนิยม

7. อิมเพรสชั่นนิสม (Impressionism) คือเร่ืองท่ีเขียนจากความประทับใจ มิไดมุงแสดงเนื้อเร่ือง หรือเหตุการณตาง ๆ ในเร่ือง แตพรรณนาสภาพของอารมณ ความรูสึกอยางละเอียด ผูอานจะสัมผัสเร่ืองราวไดดวยอารมณเชนกัน

8. เอกเพรสชั่นนิสม (Expressionism) คือเร่ืองท่ีมุงบรรยายส่ิงตาง ๆ ท้ังรูปธรรม นามธรรม

โดยใชถอยคําสํานวนแปลก ๆ ใหม ๆ หรือใชโวหารที่คมคาย เปรียบเทียบ เร่ืองประเภทนี้คลายกับอิมเพรสชั่นนิสม คือไมเนนท่ีเนื้อเร่ือง 9. สัญลักษณนิยม (Symbolism) คือเร่ืองท่ีมีกลวิธีการเขียนในลักษณะเปรียบเทียบส่ิงท่ีเปนรูปธรรมแทนนามธรรม ไมกลาวถึงส่ิงใดส่ิงหนึ่งในลักษณะตรงไปตรงมา 10. ธรรมนิยม (Moralism) คือเร่ืองท่ีมุงสอนหลักธรรมและหลักปรัชญา เนื้อเร่ืองจะเนนคุณคาของคนดีมีความเสียสละกลาหาญ เอ้ือเฟอเผ่ือแผ รักษาเกยีรติยศช่ือเสียง สายทิพย นกุูลกิจ (2534, หนา 183-184) ไดสรุปไวการแบงกลุมของเร่ืองส้ันไทยไวดังนี้ หากใชลักษณะการแตงเปนเกณฑ ก็จะแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ เร่ืองส้ันประเภทเนนโครงเร่ืองหมายถึงเร่ืองส้ันแนวเกาท่ีนิยมยดึ “เหตุการณ” เปนหลักแลวจบลงแบบหักมุม กับเร่ืองส้ันประเภทไมเนนโครงเร่ือง หมายถึงเร่ืองส้ันแนวใหมท่ีนิยมยดึ “ความคิดหรืออารมณของผูแตง”เปนหลักแลวจบเร่ืองตามสภาพความเปนจริงในชีวิต

Page 5: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

10

ถาจะใชเนื้อหาเปนเกณฑ กจ็ะสามารถแบงกลุมเร่ืองส้ันออกไปไดอีกหลายแบบ เชน แบงเนื้อหาตามสภาพความเจริญของสังคมออกเปน 2 กลุมคือ เร่ืองส้ันท่ีมีเนื้อหาเกีย่วกับชีวิตในชนบท

และเร่ืองส้ันท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตในเมืองหลวง ถาแบงเนื้อหาตามประโยชนของผูอาน ก็จะแบงไดเปน 2 ประเภท คือ เร่ืองส้ันท่ีมีเนื้อหาแสดง “กิจกรรมสวนตัว” กับ เร่ืองส้ันท่ีมีเนือ้หาแสดง “กิจกรรมทางสังคมและการเมือง”

หากจะแบงกลุมเร่ืองส้ันตามจุดมุงหมายในการแตง กจ็ะแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ กลุมเร่ืองส้ันแนวประเทืองอารมณ หมายถึง เร่ืองส้ันท่ีผูแตงมุงใหผูอานเกดิความบันเทิงใจเปนหลักสําคัญ กับเร่ืองส้ันแนวประเทืองปญญา หมายถึง เร่ืองส้ันท่ีผูแตงมุงใหผูอานเกิดความรูความคิด

หรือเกิดความเขาใจในเร่ืองราวความเปนไปของชีวติและสังคม

และถาจะแบงตามแนวคิดหรือปรัชญาของเร่ือง ซ่ึงผูแตงไดรับอิทธิพลมาจากตะวันตก

ก็จะแบงออกเปนกลุมตาง ๆ หลายแนวดวยกัน เชน แบงเปนเร่ืองส้ันกลุมสะทอนแนวคิดจนิตนยิม

(Romanticism) แนวคิดอุดมคตินิยม (Idealism) แนวคิดสัจจนยิม (Realism) แบบธรรมชาตินิยม

(Naturalism) แนวคิดเหนือจริง (Surrealism) แนวคิดสัญลักษณนยิม (Symbolism) และแนวคิด

อัตถิภาวะนิยม (Existentialism) เปนตน

จากการแบงกลุมของเร่ืองส้ันท่ียกมาขางตนจะเห็นไดวา การแบงกลุมของเร่ืองส้ันสามารถแบงออกไดหลายลักษณะข้ึนอยูกับวาจะใชอะไรเปนเกณฑในการแบง องคประกอบของเร่ืองส้ัน

สุดารัตน เสรีวฒัน. (2522, หนา 12) แบงองคประกอบของเร่ืองส้ันเปน 4 องคประกอบคือ แกนเร่ือง โครงเร่ือง ตัวละคร และบรรยากาศ ประทีป เหมือนนิล (2519, หนา 39-45) และสนิท ตั้งทวี (2529, หนา 229-230) แบงองคประกอบของเร่ืองส้ันเปน 4 องคประกอบคือ โครงเร่ือง ตัวละคร ฉาก และบทสนทนา สุจิตรา จรจิตร (2547, หนา 85-88) และปราณี สุรสิทธ์ิ (2541, หนา 399) แบงองคประกอบของเร่ืองส้ันเปน 5 องคประกอบคือ แกนเร่ือง โครงเร่ือง ฉาก ตัวละคร และบทสนทนา สายทิพย นกุูลกิจ (2534, หนา 181), ไพโรจน บุญประกอบ (2539, หนา 44) และ ดนยา วงศธนะชัย (2542, หนา 149-151) แบงองคประกอบของเร่ืองส้ันเปน 6 องคประกอบคือ แกนเร่ือง โครงเร่ือง ตัวละคร บทสนทนา ฉากและบรรยากาศ คณะกรรมการกลุมผลิตชุดวชิา ภาษาไทย 7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2539,

หนา 638) แบงองคประกอบของเร่ืองส้ันเปน 9 องคประกอบคือ โครงเร่ือง เนื้อเร่ือง แกนของเร่ือง ตัวละคร ฉาก บทสนทนา เทคนิคในการเสนอเร่ือง ทวงทํานองการแตง และทรรศนะของผูแตง จากการแบงองคประกอบของเร่ืองส้ันท่ีกลาวมาท้ังหมด แมจะมีความแตกตางกันใน

Page 6: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

11

การแบงแตก็พอสรุปไดวาเร่ืองส้ันมีองคประกอบคือ โครงเร่ือง ตัวละคร แกนเร่ือง ฉาก บทสนทนา และเทคนิคในการเสนอเร่ือง ลักษณะของเร่ืองส้ัน

บุญยงค เกศเทศ (2535, หนา 320-321) กลาวถึงลักษณะของเร่ืองส้ันท่ีดีวา 1. มีโครงเร่ืองเพียงโครงเร่ืองเดียว ในการผูกเคาโครงเร่ืองนั้น ผูประพันธจะตองมีกลวิธีหรืออุบายท่ีจําใหเร่ืองนัน้นาสนใจ มีแยบยลกลในเพ่ือใหผูอานเห็นวาตัวละครในเร่ืองเปนฝายท่ี

ทําใหเกิดมีเร่ืองหรือมีเหตุข้ึน เร่ืองหรือเหตุท่ีเกิดข้ึนนั้นไดทําใหเกิดปญหาหรืออุปสรรคแก ตัวละคร ในอันท่ีจะตองตอสูแกไขจนบรรลุผลอยางใดอยางหนึ่ง 2. มีแกนเร่ืองเพียงอยางเดียว 3. มีตัวละครนอย เร่ืองส้ันบางเร่ืองอาจมีตัวละครเพียงตัวเดียว ก็สามารถดําเนินเร่ืองไปได มักเปนเร่ืองเกีย่วกับการตอสูกับตนเอง หรือเร่ืองท่ีตัวละครระบายความรูสึก หรือความในใจของตัวใหผูอานมีสวนไดรับรู 4. มีความยาวไมมากนกั ซ่ึงความยาวของเร่ืองส้ันมักกําหนดกันดวยจาํนวนคํา 5. มีเทคนิคเฉพาะในการปดเร่ืองซ่ึงมี 2 ลักษณะคือ ปดเร่ืองแบบพลิกความคาดหมาย และการปดเร่ืองแบบธรรมดา 6. มีฉากนอย ดวยเหตุท่ีเร่ืองส้ันมีการจํากัดความยาว ดังน้ันเร่ืองส้ันจึงมีฉากนอย และ แตละฉากใชถอยคําอยางประหยดัรัดกมุ ไมจําเปนตองใหรายละเอียดหรือพรรณนาจนถ่ีถวน

สมบัติ จําปาเงิน (2539, หนา 112-113) กลาวถึงลักษณะเฉพาะของเร่ืองส้ันดังนี ้ 1. เร่ืองส้ันจะตองมีโครงเร่ือง โครงเร่ืองคือกลวิธีแหงการสรางเร่ืองใหสนุกสนาน

โดยมีขอขัดแยงระหวางตัวละคร และจบลงดวยผลอยางใดอยางหน่ึง 2. มีจุดมุงหมายอยางเดียว และมีผลอยางเดียว หมายความวาเร่ืองส้ันเร่ืองหนึ่งจะตอง มีการแสดงทัศนะหรือแงคิดแงใดแงหนึ่งเพียงแงเดียว 3. ใชเวลานอย หมายถึงวาเร่ืองส้ันไมควรดําเนินเร่ืองสืบเนื่องนานเกนิไปจะทําใหเร่ือง ยืดยาวออกไปกวาจะจบเร่ืองได การใชเวลานานยอมทําใหการติดตอสืบเนื่องของเหตุการณคลายความกระชับลง ยิ่งใชเวลานอยเทาใด เร่ืองยิ่งชัดข้ึนเทานัน้

4. มีตัวละครนอย เพราะลักษณะของเร่ืองบอกวามีความมุงหมายเดียว มผีลอยางเดียว จึงตองกลาวถึงเร่ืองเดียว ฉะนั้นตัวละครตองมีนอยคือมีเฉพาะเร่ืองท่ีจะดําเนินตอไปใหถึงจุดหมายและจบไดเร็วท่ีสุด

5. มีขนาดส้ัน ตองเขียนดวยการประหยัดถอยคําตรงไปตรงมา จะพรรณนายืดยาดไมได โดยปกติเร่ืองส้ันขนาดพอเหมาะควรอยูระหวาง 4,000-5,000 คํา แตกไ็มแนเสมอไป บางเร่ืองอาจใชคําเพียง 1,500 คํา หรือบางเร่ืองอาจยืดไปถึง 7,000-8,000 คําก็ได

Page 7: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

12

เจือ สตะเวทิน (2516, หนา 238-239) กลาวถึงลักษณะสําคัญของเร่ืองส้ันวามี 5 ประการ คือ 1. โครงเร่ือง (Plot) หมายถึงการผูกเคาโครงของเร่ือง เปนการรางเร่ืองอยางคราว ๆ วาจะใหเหตุการณเกิดข้ึนอยางไร ดําเนินไปอยางไร และจบอยางไรจึงจะสามารถแสดงจุดมุงหมายของเร่ืองไดเดนชัดท่ีสุด และจะตองคํานึงถึงความนาติดตามดวย 2. เร่ืองส้ันจะตองมีจุดมุงหมายของเร่ืองเพียงประเด็นเดียว เร่ืองส้ันเร่ืองหนึ่งควรแสดง โลกทัศนหรือความคิดแงใดแงหนึ่งของชีวติเพียงประการเดียว 3. เร่ืองส้ันตองใชฉากและเวลาในการดําเนนิเร่ืองนอย ผูเขียนจะตองแสดงออกใหส้ัน

กระชับ โดยใชศิลปะของการเขียน

4. เร่ืองส้ันตองมีตัวละครนอย เพื่อดําเนินเร่ืองไปสูจุดหมายสําคัญของเร่ืองไดรวดเร็ว และเปนเอกภาพ

5. เร่ืองส้ันตองมีขนาดส้ัน มหีลักพอสรุปไดวาคําทุกคําท่ีเขียนลงไปจะตองมีผลตอการ มุงไปสูจุดหมายของเร่ือง ไมบรรยายหรือพรรณนายดืยาวโดยใชเหตุ

คณะกรรมการกลุมผลิตชุดวชิา ภาษาไทย 7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2539,

หนา 662) กลาวถึงลักษณะของเร่ืองส้ันวา เร่ืองส้ัน เปนบันเทิงคดีท่ีมีลักษณะคลายนวนิยายมาก แตกตางกันเพียงบางสวนดังนี้ คือ 1. มีโครงเร่ืองงาย ๆ ไมซับซอน ดําเนนิเร่ืองโดยการสรางปมปญหาแลวมีการคล่ีคลายปญหาหรืออาจจบเร่ืองอยางพลิกความคาดหมาย 2. มีแกนของเร่ือง หรือแนวคิดเพียงแนวคิดเดียว 3. มีการสรางจุดสนใจของเรื่องเพียงจุดเดยีว คือจดุสุดยอดของเร่ือง (Climax)

4. มีฉากนอยและชวงระยะเวลาของเร่ืองส้ัน เหตุการณในเร่ืองจะเกิดในสถานท่ีแหงเดียวและใชเวลาส้ัน ถาเปนเร่ืองราวท่ีใชเวลานานตองกลาวสรุปอยางรวบรัด

5. มีตัวละครนอย ตัวละครสําคัญควรมีเพียง 2-3 ตัว 6. ใชภาษาอยางรัดกุมท้ังดานการบรรยายฉาก ตวัละคร บทสนทนา และสํานวนโวหาร อ่ืน ๆ

7. มีขนาดส้ัน การกําหนดขนาดของเร่ืองส้ันสามารถกําหนดจากจํานวนคํา คือต้ังแต 1,000 ถึง 10,000 คํา ร่ืนฤทัย สัจจพนัธุ (2532, หนา 68-69) กลาวถึงลักษณะของเร่ืองส้ันในปจจุบัน ดังน้ี

ดานรูปแบบ รูปแบบของการเขียนเร่ืองส้ันมีวิวัฒนาการเปน 2 ลักษณะที่เห็นไดชัดคือ

1. ใช “เหตุการณ” เปนหลัก ทําใหมีลักษณะโครงเร่ืองแบบฉบับ เร่ืองส้ันแบบนี้ไดรับอิทธิพลจากงานเขียนของนักเขียนตะวนัตก เชน กีย เดอ โมปสซังค โอ.เฮนร่ี ผูเขียนจะเร่ิมตน

Page 8: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

13

ดวยการเสนอปมปญหาใหผูอานสงสัย แลวใชกลวิธีตาง ๆ ดึงความสนใจของผูอานใหติดตามเร่ือง ผูเขียนจะขมวดปมหรือเขม็งเกลียวปญหาใหเครงครัดข้ึนจนผูอานแทบจะรูสึกวาหายใจไมออก หรือลืมหายใจ แลวจึงคอยคลายปมนี้ออก แลวจบเร่ืองในแบบหกัมุมหรือพลิกความคาดหมาย ทําใหผูอานเกดิความประหลาดใจ สนเทห ตื่นเตน พิศวง ฯลฯ จนทําใหผูอานประทับใจและจดจาํเร่ืองนั้น เร่ืองส้ันในลักษณะเชนนี้มักจะดําเนินเร่ืองดวยบทสนทนาท่ีคมคายและมักสรางโครงเร่ืองใหแปลก เหลือเช่ือ เกินความคาดหมาย เชน ซาเกาะ ของ มนัส จรรยงค จําปูน ของ เทพ มหาเปารยะ สัญชาติญาณมืด ของ อ.อุดากร ลักษณะของเร่ืองส้ันแบบนี้นยิมกนัมากจนกระท่ังเม่ือ 10 ปมานี ้ 2. ใช “ความคิด” หรือ “อารมณ” เปนหลัก เร่ืองส้ันชนิดนี้ดําเนนิเร่ืองดวยการพรรณนาหรือการบรรยายความคิด ความรูสึกไปเร่ือย ๆ จนรูสึกวาความรูสึกนึกคิดท้ังส้ินท้ังปวงของเขาหล่ังไหลออกมาจนหมดส้ินแลว พอแกความตองการแลวจึงหยุด ลักษณะเชนนี้ทําใหเร่ืองส้ันชนดินี้บางเร่ืองไมมีตัวละคร และบทสนทนาเลย มีแตบทพรรณนาของผูแตง ลักษณะการแตงเร่ืองส้ันชนิดนี้เปนท่ีนยิมมากในงานเขียนของนกัเขียนรุนใหม ซ่ึงหลาย ๆ คนกลาววาเขาไมสนใจรูปแบบแตสนใจจะแสดงความคิด ส่ือความหมายและความรูสึกมากกวา เม่ือถึงบทจบ เร่ืองจะจบไปเฉย ๆ

ซ่ึงบางเร่ืองอาจจะไมสอดคลองกับความคิดของผูอาน ในแงนกัอานพบวานักอานบางคนไมพอใจงานเขียนในรูปแบบใหมเชนนี้ เหตุผลอยางหนึ่งคือผูอานรูสึกวาเปนเร่ืองไรสาระ เพราะนักเขียนบางคนพรรณนาถึงอารมณสวนตัวทําใหผูอานรูสึกเหมือนแอบอานบันทึกความในใจของใครสักคน เหตุผลอีกอยางหนึ่ง ผูอานมีความเห็นวาอานไมรูเร่ืองเพราะนักเขียนบางคนมีความรูสึกลึกซ้ึงซับซอนตอส่ิงท่ีเขาพบเห็นในสังคม และผูเขียนเปดเผยความคิดและความรูสึกของเขาตอส่ิงนั้นออกมา บางคนช้ีนําทางออกมีขอสรุปใหผูอาน บางคนปลอยปญหาท้ิงไวใหผูอานหาคําตอบและแนวทางแกไขเอาเอง การท่ีมผูีไมพอใจงานเขียนเร่ืองส้ันในแนวเชนนี้เปนเพราะรูปแบบการเขียนเชนนี้ไมมีเหตุการณเปนเคร่ืองชักชวนใหคนอานติดตาม ผูอานตองพยายามตาม “ความคิด” หรืออารมณของผูเขียน ซ่ึงจบัไดยากกวา “เหตุการณ” แตหากผูอานทําไดกจ็ะรูสึกเพลิดเพลินและประทับใจไมยิง่หยอนไปกวารูปแบบการเขียนเร่ืองส้ันชนดิแรกเลย รูปแบบท้ังสองชนิดนี้ไมมีชนิดใดดีกวากนั หรือดอยกวากัน เพราะเปนววิัฒนาการ การเขียน รูปแบบอยางเกาท่ีนิยมใชเหตุการณเปนหลักแลวจบแบบหักมุม ก็ยังนิยมกนัอยูบาง เชน

งานเขียนของไมตรี ลิมปชาติ ซ่ึงทําไดดีเดน เพราะไมตรีสราง “น้ําเสียง” ของเร่ืองในแบบเสียดสี

ประชดประชัน ลอเลียนแบบเจ็บ ๆ คัน ๆ ใครจะชอบอานแบบใดก็แลวแตความนยิมของการอานแตละคน รูปแบบใดก็ไมสําคัญเทากับ “ฝมือ” ของผูเขียน เพราะส่ิงท่ีผูอานตองการนัน้คือ ไดรับรสชาติดื่มด่ํา มีความเพลิดเพลินในการอาน จะดวยเหตุการณท่ีผูเขียนผูกเร่ืองไว หรือดวยอารมณ ความรูสึก ความคิด ก็ตาม นกัเขียนท่ีมีฝมอืเทาน้ันจึงจะสะกดใจผูอานไวได

Page 9: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

14

ดานเนื้อหา วิวฒันาการในดานเน้ือหาของเรื่องส้ันจะเปล่ียนแปลงไปตามสภาพของสังคม

เร่ืองส้ันก็เชนเดียวกับนวนิยายคือ สะทอนภาพและแสดง “จิตสํานึก” ของผูแตงไปตามสภาพของสังคม เร่ืองส้ันในระยะแรกสวนมากมักมีแกนเร่ืองแสดงความรักบาง อิทธิพลของศาสนาพุทธในเร่ืองกรรมบาง ความเช่ือท่ีงมงายไรสาระบาง ฯลฯ ตอมามีการสะทอนปญหาสังคม ผลกระทบของการเมืองตอประชาชน ในชวงท่ีมีเสรีภาพและประชาธิปไตยในการแสดงออก กวีและนักเขียน

ตางผลิตงานเขียนออกมาเปนจํานวนมาก งานเหลานั้นมักจะปลุกเราความคิดของผูคนใหรับรู ปญหาบานเมือง ชักชวนใหรวมมือรวมใจกันตอสูเพื่อสรางสรรคสังคมที่ดีกวา นักเขียนเร่ืองส้ันแนวสรางสรรคท่ีเปนท่ีรูจักกันท่ัวไป ไดแก สถาพร ศรีสัจจัง วิสา คัญทัพ สุรชัย จันทิมาธร วัฒน วรรลยางกูล อุดม ทองนอย ฉะนั้น เร่ืองส้ันท่ีมีเนื้อหาแสดง “กิจกรรมสวนตัว” หรือแสดง “กิจกรรมทางสังคม และการเมือง” มีอยูพอ ๆ กัน ความพอใจในการอานเร่ืองส้ันแบบใดหรือเขียนแบบใดเปนรสนิยมและความพอใจของแตละบุคคล ฉะนั้นจึงไมควรมีคําวิจารณวา นี่ “ซาย” นั่น “ขวา” หรือนี่ “น้ําเนา”

นั่น “สรางสรรค” หากนักเขียนท้ังสองกลุมตางมีเจตนาที่ดีและรับผิดชอบตอผูอาน

สุชาติ สวัสดิ์ศรี (2518, หนา 42-47) กลาวถึงลักษณะของเรื่องส้ันสมัยใหมดังนี ้ ดานรูปแบบ รูปแบบของเร่ืองส้ันสมัยใหม จะมีลักษณะแตกตางจากเร่ืองส้ันในยุคแรกดังนี ้ 1. โครงเร่ืองไมยึดเอกภาพในลักษณะเดิม ท่ีประกอบดวยตอนข้ึนตน ตอนกลาง และตอนจบ หากแตจะเปนโครงเร่ืองแบบใหมท่ียึดถือ “สถานการณ” ของตัวละครมาเปนจดุดําเนินเร่ือง การข้ึนตนจึงไมเรียกรองความสนใจในลักษณะเดิม และการจบจะไมยดึหลัก “หักมุม” เปนทางออกเสมอไป

2. จุดมุงหมายไมแสดงผลท่ีเกิดข้ึนอยางเดียว แตจะท้ิงใหผูอานคิดเอาเองไดหลายอยาง การดําเนนิเร่ืองและบุคลิกของตัวละครจะปรากฏส่ิงท่ีแสดงออกถึง “ความคลุมเครือ” ของชีวิต

บนโลกสมัยใหม 3. เวลาของสถานการณท่ีเกิดข้ึนในเร่ืองมักจะไมกําหนดลงไปแนชัด แตจะปลอยใหความรูสึกของผูอานเปนเคร่ืองกําหนดตามเหตุการณ 4. ตัวละครท่ีใชในเร่ืองก็ไมกําหนดแนชดั แตจะข้ึนอยูกบักลวิธีของผูเขียนแตละคน

ลักษณะของตัวละครจะไมกาํหนดวาคือใคร สวนใหญจะใชสรรพนามเปนเคร่ืองกํากบั เชน

เขา ขาพเจา เรา ผม โดยไมบอกวาเปนใคร มาจากไหน แตผูอานจะรูมากข้ึนเร่ือย ๆ เม่ือลงมือ อานวาเขากําลังจะทําอะไร 5. ขนาดของเร่ือง มีขนาดไมแนนอนข้ึนอยูกับเอกลักษณของนักเขียนแตละคนอาจมี

ท้ังขนาดท่ีคอนขางส้ัน ขณะเดียวกันก็มีบางเร่ืองคอนขางยาว จะไมยึดถือเอามาตรฐานแบบเกา มาวัดความสมบูรณของเร่ือง

Page 10: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

15

6. การดําเนินเร่ืองมีกลวิธี “ยอนกลับไปสูอดีต” และ “เดินทางไปสูอนาคต” เพิ่มเขามา พรอม ๆ กับกลวิธี “ยอนกลับไปมา” (Flash-back)

7. การบรรยาย การทําบทสนทนา การแสดงความคิดมีลักษณะท่ีดึงเอาจติใตสํานึกออกมา ตีแผ ทํานองท่ีเรียกไดวาเปนการ “เปดเผยตัวเอง” (Self-revelation) มากข้ึน ส่ิงท่ี “ถูกเอามาบรรยาย”

นั้นเปนการวิเคราะหถึงแรงกระตุนและปฏิกิริยาโตกลับของอารมณตาง ๆ ทํานองคลายกับเปน

“คําสารภาพ” หรือ “การแอบมองเร่ืองของคนอ่ืน” ดังนัน้ลักษณะท่ีใชจึงมักปลอยใหภาษาของ จิตใตสํานึกหล่ังไหลพร่ังพรูออกมา ทํานองท่ีเรียกกนัวา Stream of Consciousness ของคนเขียน

หรือไมเชนนัน้ก็ออกมาในรูปแบบท่ีเรียกวา Monologue คือ ตัวละครพูดกับตัวเอง บางเร่ือง หันกลับไปใช “การบรรยายบทสนทนา” แทนการใชเคร่ืองหมายอัญประกาศ ดานเนื้อหา เนือ้หาของเร่ืองส้ันสมัยใหมจะมีลักษณะ ดังนี้ 1. ตัวเอกเปนลักษณะของคนธรรมดาสามัญท่ีมีชีวิตเรียบงาย อยูในสังคมสมัยใหมท่ีตองการกําหนดชะตากรรมของตนเอง แตในขณะเดียวกนัลักษณะของสังคม “คนกินคน”

ก็มีสวนบีบบังคับใหตัวละครตกเปนเหยื่อของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ไมทางตรงก็ทางออม

2. สภาพ “คนกินคน” และลักษณะสมัยใหมท่ีทําใหคนกลายเปนสวนเกิน ไมเปนสวนหน่ึงของสังคม ลักษณะดังกลาวมีสวนเปล่ียนภาพลักษณของตัวเอกในเร่ืองส้ันจากเนื้อหาเดิมท่ีเคยบอกวาตองเกงกลาสามารถ เขาใจตัวเองและผูอ่ืนไดทะลุปรุโปรงใหกลายมาเปนเนื้อหาใหมท่ีภาพลักษณของตัวเอกมีลักษณะคาน หรือไมก็ขบถกับตัวเองดังท่ีเรียกวา Anti-hero

จากลักษณะของเร่ืองส้ันท่ียกมาขางตน พอจะสรุปไดวา ลักษณะของเรื่องส้ันคือ มีโครงเร่ืองเพียงโครงเร่ืองเดียว ดําเนินเร่ืองอยางกระชับรวดเร็ว มีแกนเร่ืองเพียงอยางเดียว มีตัวละครนอย ใชฉากและเวลาอันจํากัด สวนลักษณะของเร่ืองส้ันในปจจุบัน ใชเหตุการณหรือสถานการณ และใชอารมณหรือความคิดเปนหลัก สวนดานเนื้อหามีการเปล่ียนแปลงไปตามสภาพของสังคม

ตัวเอกของเร่ืองมีลักษณะเปนแบบ Anti-hero

ทวงทํานองและสํานวนภาษาในการเขียนเร่ืองส้ัน

ถวัลย มาศจรัส (2540, หนา 83-85) แบงประเภทของทวงทํานองการเขียนออกเปน

6 ประเภท คือ 1. ทวงทํานองการเขียนเรียบ ๆ (Simple Style)

ทวงทํานองเขียนแบบนี้เปนลีลาการเขียนท่ีใชถอยคําและภาษางาย ๆ ตัดความซับซอนท้ังหลายท้ิงไปทําใหผูอานหนังสือดวยความสบาย ๆ ส่ือความหมายไดดีแกชนทุกช้ัน

2. ทวงทํานองกระชับรัดกุม (Terse Style)

การเขียนทวงทํานองนี้ใชคําส้ันท่ีใหความหมายชัดเจน คําทุกคําท่ีนํามาใชลวนมีความหมายตรงไปตรงมา มีความกระชับ รัดกุม คํามีน้ําหนัก และเต็มไปดวยความหมาย

Page 11: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

16

3. ทวงทํานองเขียนเขม (Vigorous Style)

ทวงทํานองเขียนแบบนี้เปนสํานวนท่ีเขมขน เขียนเพ่ือเราความสนใจใหผูอานคลอยตาม

ตัวหนังสือมีพลังเขมกระตุกอารมณของผูอานใหคิดตาม คิดแยง มกีารเปรียบเปรย เยาะเยย ถากถาง ยกยอง ทําใหเกิดความฉงนฉงาย ยอกยอน บางคร้ังก็ใชถอยความท่ีเกนิจริงไปบาง แตก็นาอาน

นาติดตาม

4. ทวงทํานองเขียนมีความเปนประจักษภาพ (Graphic Style)

ทวงทํานองเขียนท่ีมีความเปนประจักษภาพ หมายถึง การเขียนท่ีทําใหผูอาน อานแลวมองเห็นภาพตามท่ีผูเขียนตองการจะบอกไดอยางแจมชัด

5. ทวงทํานองเขียนสละสลวย (Elegant Style)

ทวงทํานองการเขียนสละสลวย เปนการเขียนท่ีพิถีพิถันกบัการนําถอยคํามาใช คําแตละคําจะเปนคําท่ีมีความงดงาม ความคิดความเหน็ท่ีแสดงออกมาก็สละสลวย พร้ิงพราย 6. ทวงทํานองเขียนสูงสง (Elevated Style)

ทวงทํานองเขียนลักษณะนี้จะเปนภาษาเขียนในวรรณคดสํีาคัญ ๆ เชน พระปฐมสมโพธิ-กถา ลิลิตโองการแชงน้ํา ฯลฯ เปนการเขียนดวยถอยคําท่ีมีศัพทแสงสูง ๆ ท่ีบงบอกถึงภูมิรูของผูเขียน ความคิดความอานท่ีแสดงออกมาก็สูงสง บางคร้ังเขียนออกมาเปนปรัชญาท่ีลึกซ้ึง สวน บุญยงค เกศเทศ (2536, หนา 30) กลาวถึงลักษณะของทวงทํานองการเขียนท่ีดี ดงันี้ - มีความชัดเจนแจมแจง ไมคลุมเครือหรือแยงได

- ใชคําพื้น ๆ อานเขาใจงาย ผูกประโยคส้ัน ๆ ไมซับซอน

- มีความกระชับ เขียนไดกะทัดรัด และตรงจุดมุงหมาย - มีความถูกตอง ใชภาษาตรงตามความนิยม และตามระเบียบแบบแผนของภาษา

- รูจักเลือกสรร พูดในส่ิงท่ีควรพูด และละเวนในส่ิงท่ีไรสาระหรือไมเปนประโยชน

- มีแนวคิดใหม ๆ แปลก ๆ เปนท่ีนาสนใจของผูอาน

- มีความบริสุทธ์ิแหงลีลา พยายามใชคําไทย คําสุภาพและคําท่ีมีอํานาจ ละเวนคําแสลง คําหยาบ

- ระมัดระวังภาษาพูด ศัพทยาก ๆ หรือภาษาตางประเทศ ฯลฯ

- มีความไพเราะกลมกลืน ผูกประโยคไดสละสลวย ใชคําเกล้ียงเกลา ไมขรุขระสะดุดห ูขอความทุกตอนทุกยอหนาเช่ือมคําไดสนิท

- สามารถโนมนาวผูอานใหสนใจและประทับใจเร่ืองท่ีเขียน

Page 12: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

17

ทวงทํานองการเขียนท่ีดีนัน้ ตองใชคํานอยท่ีสุด แตมีความแจมแจงท่ีสุดและเขาใจงายท่ีสุด

นอกจากนั้น บุญยงค เกศเทศ (2535, หนา 324-329) ยังกลาวถึงสํานวนภาษาเขียนท่ีใชในเร่ืองส้ันอีกวามี 6 ประเภท ไดแก 1. สํานวนภาษาแนวปรัชญา หมายถึง สํานวนภาษาท่ีคมคาย ชวนคิด ทําใหผูอานไดแนวทางแหงความคิด

2. สํานวนภาษาแนวเปรียบเทียบ หมายถึง สํานวนท่ีเทียบส่ิงหนึ่งกับส่ิงหนึ่งเพื่อใหผูอานเห็นภาพท่ีสมบูรณชัดเจนเพราะไดเปรียบกับส่ิงท่ีคนสวนใหญยอมรับหรือรับรูแลว 3. สํานวนภาษาแสดงภาพพจน หมายถึง สํานวนภาษาท่ีเม่ืออานแลว ผูอานสามารถวาดภาพไดโดยไมตองเปรียบเทียบกับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง โดยมากจะเปนการบรรยาย 4. สํานวนภาษาแนวเสียดสี หมายถึง สํานวนภาษาท่ีแสดงความเยาะเยยถากถาง หรือกระทบกระเทียบเปรียบเปรยใหเกิดความรูสึกและความหมายถึงส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีมิไดกลาวถึงโดยตรง 5. สํานวนภาษาชวนขัน หมายถึง สํานวนท่ีอานแลวเกิดความรูสึกชวนหัวเราะ ขบขัน

อาจจะเกิดความคิดในลักษณะตาง ๆ ตามมาหลังจากความขบขัน เชน ความคิดกระตุนใหเกิด

ความต่ืนตัวทางการเมือง ความคิดเกี่ยวกับสภาพสังคม ความคิดเกี่ยวกับขอบกพรองของส่ิงหนึ่ง ส่ิงใด ฯลฯ

6. สํานวนภาษาไพเราะสละสลวย หมายถึง สํานวนท่ีใหความร่ืนรมยทางภาษา อานแลวเกิดความรูสึกท่ีสวยสดงดงาม สรางอารมณทางสุนทรียรส เหมือนกับท่ีมีผูเรียกวา “บทกวีรอยแกว”

นั่นเอง การวิเคราะหเร่ืองส้ัน

สายทิพย นกุูลกิจ (2534, หนา 187-189) ไดเสนอแนวทางในการวิเคราะหเร่ืองส้ันไว 5 ประการ ดังนี้ 1. วิเคราะหรูปแบบของเร่ืองส้ัน ไดแก การศึกษาวเิคราะหวา เร่ืองส้ันนั้นมีรูปแบบการเขียนเปนแบบใด เปนแบบเกาท่ีนิยมใชเหตุการณเปนหลัก หรือเปนแบบใหมท่ีนยิมใชความคิดความรูสึกของตัวละครที่มีตอสถานการณท่ีเกิดข้ึนเปนหลัก นอกจากนีก้็อาจวเิคราะหยอยตอไป

อีกวา เร่ืองส้ันท่ียึดเหตุการณเปนหลัก หรือท่ีเรียกวาเปนเร่ืองส้ันประเภทมีโครงเร่ืองนั้นมีแนว การเขียนเนนดานใดมากท่ีสุด เชน เนนโครงเร่ือง ตัวละคร ฉากและบรรยากาศหรือแนวคิด และเร่ืองส้ันท่ียึดเอาความคิดความรูสึกของตัวละครเปนหลัก หรือท่ีเรียกวาเปนเร่ืองส้ันประเภทไมมีโครงเร่ืองนั้นมีแนวการเขียนแบบใดปรากฏอยางเดนชัด เชน การเขียนแบบอัตถนิยม การเขียน

แบบเสียดสี การเขียนแบบเหนือจริง หรือการเขียนแบบใชสัญลักษณ ฯลฯ การท่ีแนะนําใหผูอาน

Page 13: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

18

พจิารณารูปแบบของเร่ืองส้ันอยางละเอียดนั้นเปนเพราะวา การแบงประเภทของเร่ืองส้ันจะชวยใหผูอานพิจารณาเร่ืองเนื้อหา และกลวิธีการแตงไดถูกตองและรวดเร็วยิ่งข้ึนวามีลักษณะสอดคลองกันหรือไมและเพราะเหตุใด

2. วิเคราะหจุดมุงหมายในการแตง ไดแก การพิจารณาหาเจตนาของผูแตงวา แตงเร่ืองนั้น ๆ

โดยมุงจะใหผูอานเห็นธรรมะขอใด เห็นชีวิตในแงใด หรือโลกทัศนดานไหน เพราะผูแตงยอมมีเจตนาที่จะแสดงอะไรสักอยางหนึ่งอยูเสมอ และความมุงหมายดังกลาวนี้ก็คือส่ิงท่ีปรากฏในรูป

ของสารัตถะ (Theme) หรือแกนของเร่ืองนัน่เอง นอกจากผูแตงจะมุงหมายส่ืออะไรสักอยางมาใหผูอาน ซ่ึงปรากฏในรูปของสารัตถะของเร่ือง (Theme) แลว บางคร้ังผูแตงก็อาจจะแสดงแนวความคิดหรือปรัชญาในการแตงเร่ืองนั้น ๆ

ใหปรากฏอีกดวยวา ผูแตงมีความเช่ือม่ันในแนวคิดหรือปรัชญาใด เชน แนวคิดแบบอุดมคตินิยม

(Idealism) แนวคิดแบบธรรมชาตินิยม (Naturalism) หรือ แนวคิดแบบอัตถิภาวะนิยม

(Existentialism) เปนตน ผูอานและผูวจิารณจึงควรวิเคราะหใหไดวาผูแตงแสดงแนวคิดหรือ ปรัชญาใดไวในเร่ือง และแนวคิดดังกลาวนีเ้หมาะกับเนื้อเร่ืองหรือไมเพราะเหตุใด

3. วิเคราะหเนือ้เร่ือง ไดแก การพิจารณาวาองคประกอบของเร่ืองส้ันมีความสมจริงมากนอยเพยีงไร องคประกอบของเร่ืองส้ันท่ีควรจะพิจารณาทีละสวน ไดแก โครงเร่ือง ตัวละคร บทสนทนา ฉาก บรรยากาศ แกนของเร่ือง - การวิเคราะหโครงเร่ือง ไดแก การพจิารณาวาปมของเรื่องคืออะไร จุดสุดยอดของเร่ืองอยูตรงไหน ตอนหนวงเร่ืองคือตอนใด ผูแตงคลายปมของเร่ืองไวในตอนไหน ผูแตงใชวิธีการ เปด-ปดเร่ืองอยางไร ผูแตงผูกเร่ืองไดสมเหตุสมผลและมีความสัมพันธตอเนือ่งกันหรือไม ผูแตงสามารถสะทอนภาพสังคมรวมสมัยไดลึกซ้ึง กวางขวาง และสมจริงเพียงไร ผูอานไดประสบการณจาก การอานมากนอยเพียงไร หรือเกิดความรูสึกรวมไปกับตัวละครในดานใดบาง เปนตน

- การวิเคราะหตัวละคร ไดแก การพิจารณาจัดลําดับความสําคัญของตัวละครไดวา ตวัละครตัวใดเปนตัวเอก ตัวละครตวัใดเปนตัวประกอบ และวิเคราะหลักษณะนิสัยตัวละครเหลานี้ไดวา มีอุปนิสัยคงที่หรือไม ถาตัวละครมีอุปนิสัยไมคงท่ี ควรพิจารณาดวยวาการเปล่ียนแปลงนิสัยของ ตัวละคร สมเหตุสมผลหรือไม สอดคลองกับโครงเร่ืองมากนอยเพียงไร และตัวละครเหลานี้ มีลักษณะสมจริงหรือไม อยางไร เปนตน

- การวิเคราะหบทสนทนา ไดแก การพิจารณาคําพูดของตัวละครแตละตัววาสอดคลองกับภูมิหลังของตัวละคร (อันไดแก ชาติกําเนิด การอบรมเล้ียงดู การศึกษา ประสบการณ ฯลฯ) ท่ีผูเขียนกาํหนดไวในเรื่องหรือไมและมีความสมจริงเพียงไร บทสนทนาน้ันชวยบอกลักษณะนิสัย ใจคอ ตัวละครไดมากนอยเพียงไร หรือชวยใหดําเนินไปไดอยางไร และชวยสรางบรรยากาศของเร่ือง ใหดูสมจริงยิ่งข้ึนหรือไม เปนตน

Page 14: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

19

- การวิเคราะหฉาก ไดแก การพิจารณาวาสถานท่ีและเวลาท่ีเกิดเร่ืองนัน้ ๆ มีอิทธิพลตอ ตัวละครหรือเร่ืองอยางไร ผูแตงพรรณนาฉากไดถูกตองชัดเจนและสมจริงหรือไม ฉากท่ีพรรณนานั้นกอใหเกิดบรรยากาศอะไร ฉากชวยส่ือแนวคิดของผูแตงไวดวยหรือไม เพราะเหตุใด

- การวิเคราะหบรรยากาศ ไดแก การพจิารณาวาบรรยากาศท่ีผูแตงบรรยายไวดูสมจริง และสอดคลองกับฉากหรือไม - การวิเคราะหแกนเร่ือง ไดแก การวิเคราะหหาจดุมุงหมายของผูแตงท่ีตองการจะส่ือ ไปยังผูอาน ดงัไดกลาวไวในหัวขอจุดมุงหมายของผูแตงแลว 4. วิเคราะหศิลปะการแตง ศลิปะการแตงนบัเปนสวนสําคัญยิ่งของการเขียนเร่ืองส้ัน

เพราะศิลปะการแตงจะแสดงใหเห็นถึงฝมือและความสามารถเฉพาะตัวของผูแตงแตละคน

ซ่ึงยากท่ีจะเลียนแบบกันได ผูอานจะสังเกตศิลปะการแตงของผูแตงแตละคนไดจากส่ิงตอไปนี้ คือ ก. กลวิธีในการแตง (Technique)

ข. ทวงทํานองการแตง (Style)

ดังนั้น การวิเคราะหศิลปะการแตง จึงหมายถึงการวิเคราะหกลวิธีในการแตงและการวิเคราะหทวงทํานองการแตงนั่นเอง 4.1 การวิเคราะหกลวิธีการแตง คือ การพิจารณาวาผูแตงมีวิธีการท่ีทําใหงานเขียนของเขามีลักษณะเดน แปลก มีคุณคานาสนใจและชวนใหติดตามอานอยางไร และใชไดผลมากนอยเพียงไร กลวิธีการแตงท่ีควรพิจารณาจึงไดแก กลวธีิการตั้งช่ือเร่ือง กลวิธีการเลาเร่ือง กลวิธีการเปด-ปดเร่ือง กลวิธีการเรียงลําดับเหตุการณในเร่ือง กลวธีิการสรางความสนใจใครรู กลวิธีการสรางตัวละครและฉาก เปนตน

4.2 การวิเคราะหทวงทํานองการแตงของผูแตง ไดแก การพิจารณาเร่ืองการใชคํา การใชสํานวนโวหาร วิธีการเรียบเรียงประโยค และทัศนคติของผูแตงวา มีลักษณะเฉพาะตัวอยางไร มีขอดีหรือขอดอยในดานในบาง และลักษณะดังกลาวนีม้ีสวนชวยเสริมใหงานของผูแตงมีความดีเดนยิ่งข้ึนหรือไม เพราะเหตุใด เปนตน

5. วิเคราะหคุณคาของเร่ืองส้ัน ไดแก การพิจารณาวาผูอานไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอานเร่ืองนั้น ๆ มากนอยเพยีงไร เพราะเหตุใด ไดแนวคิดหรือคติในการดําเนินชีวิตหรือไม อยางไร หรือไดแนวคิดไปพรอมกบัความเพลิดเพลินอยางไร เปนตน

สุจิตรา จรจิตร (2547, หนา 88-89) เสนอแนวทางการอานและพจิารณาเร่ืองส้ันไววา ควรพิจารณาส่ิงตาง ๆ เหลานี้ 1. พิจารณารูปแบบการแตง โดยศึกษาวาเร่ืองส้ันนั้น ๆ มีรูปแบบการแตงแบบใด ยึดอะไรเปนหลัก เชน เร่ืองส้ันท่ียึดเหตุการณเปนหลัก หรือเร่ืองส้ันท่ียึดความรูสึกนึกคิดของตัวละคร

Page 15: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

20

2. พจิารณาจดุมุงหมายการแตง โดยพิจารณาเจตนา หรือจุดมุงหมายของผูแตงวามุงหวังอะไร ซ่ึงจะเหน็ไดจากแกนของเร่ือง หรือสารัตถะสําคัญของเร่ือง 3. พิจารณาเนือ้เร่ือง โดยพิจารณาองคประกอบท้ังหมดท่ีปรากฏในเนื้อเร่ือง ไดแก 3.1 โครงเร่ือง โดยพิจารณาวาผูเขียนกําหนดโครงเร่ืองในลักษณะใด ซับซอนหรือไม เปดเร่ือง ดําเนินเร่ือง และปดเร่ืองอยางไร ปมของเร่ืองชัดเจนหรือไม การคล่ีคลายปมเปนอยางไร ตลอดจนพิจารณาความสัมพันธตอเนื่องของเร่ืองดวย 3.2 ตัวละคร พิจารณาวาตัวละครใดเปนตัวละครรอง ลักษณะนิสัยของตัวละครนั้น

ๆ เปนอยางไร ตลอดจนลักษณะนิสัยตัวละครน้ันสมจริงหรือไม 3.3 บทสนทนา โดยพิจารณาลักษณะของบทสนทนาของตัวละครแตละตัว การใชบทสนทนาในการแสดง ลักษณะนิสัยของตัวละคร การดาํเนินเร่ืองใหรวดเร็ว ตลอดจนสรางบรรยากาศของเร่ืองไดอยางสอดคลองสมจริงหรือไม 4. พิจารณาศิลปะการแตง ศลิปะการแตงจะชวยทําใหเร่ืองส้ันนาสนใจมากข้ึน ศิลปะการแตงจะเปนลักษณะเฉพาะตนของนักเขียน เปนการแสดงความสามารถของนักเขียน การพิจารณาศิลปะการแตงจะพิจารณาใน 2 สวน คือ กลวิธีการแตง โดยพิจารณากลวธีิการเสนอเร่ือง กลวิธีการเรียงลําดับเหตุการณในเร่ือง กลวิธีการสรางตัวละคร และอีกสวนคือ ทวงทํานองการแตง โดยพิจารณาการใชภาษา สํานวน โวหาร และการเรียบเรียงประโยค 5. พิจารณาคุณคาท่ีไดรับ โดยพิจารณาวาเร่ืองส้ันนั้น ๆ ใหคุณคาในการดําเนินชีวิตหรือไม ใหขอคิดเตือนใจอะไรบาง และความเพลิดเพลินท่ีไดรับจากการอาน

ดนยา วงศธนะชัย (2542, หนา 151-154) เสนอแนวทางการอานและประเมินคาเร่ืองส้ันวา ควรพิจารณาจากประเด็นตาง ๆ ตอไปนี้ 1. วิเคราะหองคประกอบของเร่ือง การพิจารณาเพ่ือวเิคราะหองคประกอบของเร่ืองส้ันจะคลายคลึงกับนวนิยาย คือ เปนการพิจารณา โครงเร่ือง ตัวละคร บทสนทนา ฉาก และบรรยากาศ 1.1 โครงเร่ือง โครงเร่ืองของเร่ืองส้ันในปจจุบันอาจแบงไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ

คือ เร่ืองส้ันท่ีมีโครงเร่ือง และ เร่ืองส้ันท่ีไมมีโครงเร่ือง ดังนั้นการพิจารณาโครงเร่ืองของเร่ืองส้ันจึงควรพิจารณาแยกเปน 2 แนว ดังนี ้ - การพิจารณาเร่ืองส้ันชนิดท่ีมีโครงเร่ือง ส่ิงท่ีจะพจิารณาคือ โครงเร่ืองจะตอง ไมซับซอน เหตุการณตาง ๆ ในเร่ืองตองเรียงลําดับอยางชัดเจนและมีความยาวไมมากนัก

การผูกเร่ือง ตองสรางปมใหเห็นชัดเจนและมีการคล่ีคลายปมกอนจบเร่ือง การจบเร่ืองของเร่ืองส้ันชนิดนี้จะตองสรางความประทับใจใหผูอานใหมากท่ีสุด สัดสวนของเร่ือง ไดแก ตอนเร่ิมเร่ือง ตอนดําเนนิเร่ือง และตอนจบเร่ือง ตองมีสัดสวนพอเหมาะ การดําเนินเร่ืองตองรวดเร็วไมลาชา

Page 16: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

21

- การพิจารณาเร่ืองส้ันชนิดท่ีไมมีโครงเร่ือง เร่ืองส้ันชนิดนี้จะไมมีการเปดเร่ือง ดําเนินเร่ือง และปดเร่ือง ท่ีเปนไปตามข้ันตอนอยางสมบูรณเหมือนเร่ืองส้ันชนิดมีโครงเร่ือง แตอาจจะเปนเร่ืองท่ีนําเอาเหตุการณ หรือสถานการณใดสถานการณหนึ่งข้ึนมาเสนอเฉพาะ จุดเทานัน้ การนําเสนอเร่ืองชนิดนี้จะใชการบรรยายความรูสึกนึกคิดเปนหลัก อาจจะเปน

ความรูสึกตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หรือเปนความขัดแยงในอารมณของตัวละครเอง การบรรยายจะใช แบบ “กระแสสํานึก” ดังนั้นการพิจารณาเร่ืองส้ันชนิดไมมีโครงเร่ืองจึงมุงไปท่ี “ความขัดแยง”

เพราะเร่ืองส้ันชนิดนี้จะใช ความขัดแยง เปนตัวควบคุมใหเร่ืองดําเนนิไปตามท่ีผูเขียนตองการ ส่ิงท่ีผูอานจะพิจารณา คือ กลวิธีในการสรางความขัดแยง วามีความพถีิพิถัน แนบเนยีน สมจริง นาเช่ือถือ และไดผลตามประสงคหรือไมเพยีงไร 1.2 ตัวละคร ในเร่ืองส้ันนอกจากจะตองมีตวัละครนอยแลวยังตองพจิารณาถึงความสมเหตุสมผลในพฤติกรรมของตัวละครอีกดวย อีกท้ังยังตองพิจารณาวาพฤติกรรมนั้น ๆ

ของตัวละคร มีผลโดยตรงตอเหตุการณสําคัญในเร่ืองหรือไม การเสนอตัวละครยอยมีความจําเปนเพียงไร จะเปนการปลอยตัวละครอยางฟุมเฟอยหรือไม 1.3 บทสนทนา บทสนทนาจะชวยใหการดาํเนินเร่ืองของเร่ืองส้ันรวดเร็วข้ึน

และยังชวยใหเห็นลักษณะนสัิยของตัวละครชดัเจนยิ่งข้ึนอีกดวย ดังนั้นการพิจารณาบทสนทนา ในเร่ืองส้ัน นอกจากจะมองในแงของความสมจริง ซ่ึงหมายถึงมองวาคําพูดของตัวละครสอดคลองกับภูมิหลังของตัวละครหรือไมแลว ยังตองพิจารณาในแงของความจําเปนในการใชบทสนทนาน้ัน

ๆ อีกดวย เพราะสําหรับเร่ืองส้ันแลวบทสนทนาที่ยาวเกินความจําเปนจะทําใหเร่ืองนั้นยาวมากข้ึน

จนอาจเสียคุณลักษณะของเร่ืองส้ันได 1.4 ฉากและบรรยากาศ แมฉากในเร่ืองส้ันสวนใหญจะขาดรายละเอียด เพราะ มีขอจํากัดเกี่ยวกับขนาด แตก็ควรจะตองบรรยายใหผูอานเห็นภาพไดชัดเจน มีความจําเปนท่ีฉากจะตองสอดคลองกับเนื้อเร่ืองและการแสดงของตัวละคร ในดานบรรยากาศกเ็ชนกนั จะพจิารณาวามีความสมจริง และสอดคลองกับฉากหรือไม 2. วิเคราะหศิลปะการประพันธ เนื่องจากเร่ืองส้ันมีขอจํากัดในเร่ืองของขนาด ผูเขียน

จึงตองใชกลวธีิและความชํานาญในการสรางเร่ืองใหนาสนใจ การวิเคราะหศิลปะการประพันธ จึงเปนการพจิารณาถึงส่ิงตอไปนี ้ 2.1 กลวิธีในการประพันธ (Technique) จะพิจารณาวา กลวิธีในการประพันธ ท่ีผูเขียนใชเหมาะสมกับเนื้อหาหรือไม งานเขียนน้ันมีลักษณะเดน แปลก มีคุณคานาสนใจและ ชวนใหติดตามอานเพียงไร การพิจารณากลวิธีการแตงจะมุงไปท่ีกลวธีิในการเลาเร่ือง กลวิธีใน

การลําดับเหตุการณ กลวิธีการปด-เปดเร่ือง กลวิธีการสรางความสนใจใครรู กลวิธีการสรางตัวละครและฉาก เปนตน

Page 17: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

22

2.2 วิเคราะหทวงทํานองการแตง (Style) ทวงทํานองการแตงเปนลักษณะเฉพาะตัวของผูเขียนแตละคนซ่ึงจะปรากฏอยูในงานเขียนนั้น ๆ การพิจารณาทวงทํานองการแตง จึงเปนการพิจารณาเร่ือง การใชคํา การใชสํานวนโวหาร วิธีการเรียบเรียงประโยค และทัศนคติของผูแตงวามีลักษณะเฉพาะตัวอยางไร มีขอดีขอดอยในดานใดบาง และลักษณะดังกลาวมีสวนชวยเสริมใหงานของผูเขียนมีความดีเดนยิ่งข้ึนหรือไม 3. วิเคราะหรูปแบบของเร่ืองส้ัน รูปแบบของเร่ืองส้ันท่ีปรากฏอยูในปจจุบันมี 2 ลักษณะคือ เร่ืองส้ันชนิดมีโครงเร่ือง จะนิยมใชเหตุการณเปนหลัก สวนเร่ืองส้ันชนดิไมมีโครงเร่ือง จะนยิมใชความรูสึกของตัวละครที่มีตอสถานการณเปนหลัก การวเิคราะหจึงเปนการพิจารณาวาเร่ืองส้ันนั้น

ๆ มีรูปแบบการเขียนเปนแบบใด นอกจากนั้นยังตองพิจารณาตอไปอีกวาถาเปนเร่ืองส้ันแบบยึดเหตุการณเปนหลักนั้น ผูเขียนไดใหความสําคัญกับสวนใดมากท่ีสุด เชน เนนท่ีโครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก บรรยากาศ หรือแนวคิด สวนเร่ืองส้ันท่ียึดความคิดความรูสึกของตัวละครเปนหลัก มีแนวการเขียนแบบใดปรากฏอยางเดนชัด เชน เปนแนวเขียนแบบอัตถนิยม การเขียนแบบสัญลักษณนิยม

การเขียนแบบเหนือจริง หรือการเขียนแบบเสียดสี เปนตน

4. วิเคราะหจุดมุงหมายของการแตง เปนการพิจารณาถึงจดุมุงหมายของผูเขียนในการเขียนงานนั้น ๆ ซ่ึงจุดมุงหมายเหลานั้นจะเปนสารท่ีผูเขียนตองการส่ือถึงผูอาน ผูเขียนอาจเขียนเร่ืองนัน้

ๆ ข้ึนโดยมุงใหผูอานไดเห็นแงมุมตาง ๆ ของชีวิต โลกทัศน และสัจธรรม ความมุงหมาย หรือเจตนาดังกลาวของผูเขียนมักปรากฏในสารัตถะหรือแกนของเร่ืองนั่นเอง ผูแตงจึงตองพิจารณา และจับแกนเร่ืองใหได จึงจะทราบจุดมุงหมายของผูเขียน นอกจากแกนเร่ืองแลวแนวคิดและปรัชญาท่ีผูแตง แสดงออกมาในเร่ืองส้ันกจ็ะชวยใหผูอานเขาถึงจุดมุงหมายในการแตงไดอีกวิธีหนึ่ง 5. วิเคราะหคุณคาของเร่ืองส้ัน เปนการพจิารณาวาเร่ืองส้ันนั้น ๆ มีคุณคาตอผูอานใน

ดานใด ซ่ึงแบงไดเปน 2 ดานคือ 5.1 คุณคาทางดานอารมณ ซ่ึงหมายความวา ผูอานไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอานมากนอยเพยีงใด ความสนุกสนานน้ันอาจเกิดจากการไดตดิตามเร่ืองราว เหตุการณ และพฤติกรรมของตัวละครวาคล่ีคลายหรือดําเนินไปอยางไร ปมปญหาของเร่ืองจะคล่ีคลายหรือแกไขไปในรูปแบบใด นัยของส่ิงเหลานี้จะปลุกเราอารมณทําใหผูอานรูสึกสนุกสนาน

เกิดความสนใจท่ีจะติดตามอานจนจบเร่ือง ถาหากเร่ืองราวเปนไปตามท่ีคิดไวก็จะรูสึกพอใจเปนเสมือนกับการใหรางวัลแกตวัเอง แตถาผิดไปจากท่ีคิดไวก็สนุกท่ีจะหาเหตุผลวา เหตุใดผูเขียน

จึงดําเนนิเร่ืองราว สรางเหตุการณหรือตัวละครใหเปนไปในทํานองนัน้

5.2 คุณคาทางดานสติปญญา หมายความวา เม่ืออานเร่ืองส้ันนั้น ๆ จบลงแลว ไดแงคิด หรือทรรศนะเก่ียวกับ ชีวิต โลก ส่ิงแวดลอม หรือสังคมอยางไร การอานเร่ืองส้ันเพื่อ ประเทืองปญญา จึงข้ึนอยูกบัตัวผูอานท่ีจะตองเลือกอานเร่ืองในแนวที่ใหคุณคา และสารประโยชน

Page 18: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

23

นอกจากนั้น ธัญญา สังขพันธานนท (2539, หนา 158-160) ไดสรุปแนวทางการวเิคราะหเร่ืองส้ัน ดังน้ี

1. โครงเร่ือง วิเคราะหปญหาและขอขัดแยง โครงเร่ืองท่ีดีตองมีความสมเหตุสมผล ความนาสนใจใครติดตามและความสัมพันธกับองคประกอบอ่ืน ๆ ในเรื่อง 2. ตัวละคร สารสําคัญในการวิเคราะหตัวละครคือ การพจิารณากลวิธีในการสรางตัวละคร ลักษณะบทบาทและบุคลิกภาพ รวมไปถึงการพิจารณาน้าํเสียงและทาทีของผูแตงท่ีมีตอตัวละครนั้น ๆ ตัวละครท่ีดีตองมีลักษณะสมจริง มีการพัฒนาอยางสมเหตุสมผลและชวยทําใหเกิดความเขาใจในชีวิตมนุษย 3. แกนเร่ือง การวิเคราะหประเมินคาแกนเร่ืองทําไดโดยการพิจารณาวิธีการนําเสนอ แกนเร่ือง ความสมจริงและคุณคาท่ีผูอานควรจะไดรับ

4. ฉากและสถานท่ี ควรดูท่ีความสมจริง นาเช่ือถือ ความสัมพันธกับตัวละคร การสรางบรรยากาศในทองเร่ืองและความสัมพันธกับองคประกอบอ่ืน ๆ

5. มุมมอง การวิเคราะหประเมินคาการใชมมุมองควรเร่ิมจากการศึกษาวาเร่ืองนั้น ๆ

ใชมุมมองแบบใด มีเหตุผลอยางไรในการเลือกใช รวมไปถึงความคงท่ีในการใช และความเหมาะสม

6. ลีลาในการใชภาษาและทาทีของผูแตง ควรวิเคราะหจากการใชคํา ความเปรียบ และรูปแบบของประโยค ลีลาการใชภาษาจะแสดงใหเห็นน้ําเสียง หรือทาทีของผูแตงในลักษณะ ตาง ๆ กัน

เอกสารท่ีเก่ียวของกับเร่ืองส้ันแนวทดลอง ความหมายของวรรณกรรมแนวทดลอง อิราวดี ไตลังคะ (2549) ใหความหมายของวรรณกรรมแนวทดลองวา วรรณกรรมแนวทดลองเปนการนําเสนอเร่ืองเลาในรูปแบบใหม เนนท่ีการเลนรูปแบบ โดยการทํางานเขียนให แตกออกเปนสวน ๆ ทําใหเร่ืองขาดความตอเนื่อง อาจมีการผสมผสานงานหลายประเภทเขาไป

ในตัวเร่ืองดวย เชน บทสนทนา บทสัมภาษณ โฆษณา คําในพจนานุกรม คําขวัญ โฆษณาชวนเช่ือ

ฯลฯ ซ่ึงท้ังหมดนี้อาจไมไดเกี่ยวเนื่องอะไรกับเร่ืองราวท่ีเลาก็เปนได ตรีศิลป บุญขจร (อางในร่ืนฤทัย สัจจพันธุ, 2549, ทิศทางเร่ืองส้ันไทย) ใหความเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรมแนวทดลองสรุปไดวา การทดลอง หมายความวานกัเขียนไมย่ําอยูกับท่ี

มีความพยายามท่ีจะหากลวธีิการนําเสนอ ทําใหเร่ืองส้ันของไทยมีความหลากหลายและกลวิธีนําเสนอก็เปนการนําเสนอท่ีแตละคนคิดคนกลวิธีของตนเอง ดังนัน้ จะเหน็วามีท้ังแนวทางเร่ืองส้ัน

Page 19: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

24

ท่ีมุงปฏิเสธการเขียนแบบสัจนิยม...แสวงหาวิธีการใหมๆ ในการนําเสนอ และเร่ืองส้ันท่ีใชแนวทางประสานศิลป คือใชท้ังวรรณศิลปทัศนศิลป และกราฟฟคอารตมาชวยเลาเร่ือง สวนวนิทร เลียววาริณ (อางในร่ืนฤทัย สัจจพันธุ, 2549, ทิศทางเร่ืองส้ันไทย) ใหความเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรมแนวทดลองวา “ผมวาการคิดอะไรใหมออกมา มันก็เปนการทดลองอยูแลว ไมจําเปนตองเปนการทดลองรูปแบบ เชน ใชกราฟฟคหรือภาพถายมาชวยเสมอไป ในระยะหลายปท่ีผานมามีคนท่ีโยงวาแนวทดลองคือการทําอะไรท่ีพิสดารในดานรูปแบบ ซ่ึงผมวาแคบไป ผมวาการเลาเร่ืองเบาใหมตางๆ ก็เปนการทดลองอยางหนึ่ง การเลาเร่ืองโดยไมมีพล็อตก็เปนการทดลองแบบหนึ่ง”

นอกจากนั้นสุชาติ สวัสดิ์ศรี (2535, หนา 14) ก็ไดนิยามคําวา “แนวทดลอง” ไวอยางนาสนใจวา หมายถึง “นวัตกรรม” (Innovation) ทางศิลปะท่ีศิลปน กวี นักเขียน นักประพันธ นักประดษิฐ คิดคน และสรางสรรค ออกมาเพื่อใหเกิด ความแตกตาง กบัความแปลกตาง ไปจากของเดิม เพื่อกอใหเกดิกรรมวิธีใหมๆ และแนวทางใหมๆ ท่ีศิลปนและนักเขียน-นักประพันธจะแสวงหา “พื้นท่ีลึกลับ” อันเปนของตนเอง และเปนการสราง “สมบัติรวม” ชนิดใหมใหสาธารณะได “ทดลอง” รับรู จากความหมายของวรรณกรรมแนวทดลองท่ีผูรูหลายทานขางตนกลาวมาพอสรุปไดวา คําวา วรรณกรรมแนวทดลอง หมายถึง การนําเสนองานเขียนออกมาในรูปแบบท่ีแปลกใหมไปจากเดิม ไมมีกฎเกณฑหรือรูปแบบการแตงท่ีแนนอนตายตัว ผูแตงมีอิสระท่ีจะเลือกกลวิธีใดก็ไดมาใชในการนําเสนอเร่ืองราวตามความตองการของผูแตงเอง ลักษณะของเร่ืองส้ันแนวทดลอง สุชาติ สวัสดิ์ศรี (2535, หนา 17) ใหขอสังเกตท่ีเปนภาพรวมดานกวางของงานเขียนประเภท “ทดลอง” เทาท่ีสรุปจากการอานงานประเภทน้ีในท่ีหลายแหงและจากหนังสือหลายเลมวา “นาจะ”เปนดังนี้ 1. เร่ืองส้ันแนวทดลองเปนการเสนอเร่ืองราวแบบ “นามธรรม” (Abstract) มากกวา เร่ืองราวแบบ “รูปธรรม” (Concrete)

2. เร่ืองส้ันแนวทดลองเปนการ “สําแดง” (Express) พลังและอารมณซับซอนภายในมากกวาเปนการ “แสดง” (Impress) ความประทับใจแบบพื้นๆ

3. เร่ืองส้ันแนวทดลองเปนลักษณะในเชิง “เหนือจริง” (Surreal) มากกวาลักษณะ “ตามท่ีเปนจริง” (Real)

4. เร่ืองส้ันแนวทดลองมุงแสวงหาคุณคาในทาง “ภาพฝน” (Fantasy) มากกวาคุณคา ในทาง “ขอเท็จจริง” (Fact)

Page 20: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

25

5. เร่ืองส้ันแนวทดลองมีลักษณะในเชิง “อัตวิสัย” (Subjective) มากกวาลักษณะเชิง “วัตถุวิสัย” (Objective)

6. เร่ืองส้ันแนวทดลองมองเรื่องราวเหมือนดูลงมาจากท่ีสูง (Vertical) มากกวามอง เร่ืองราวเหมือนดูในระดับสายตา (Horizontal)

7. เร่ืองส้ันแนวทดลองใหความสําคัญแก “ความคิด” (Idea) และ “สถานการณ” (Situation)

มากกวาใหความสําคัญในการสรางตัวละคร (Character)

8. เร่ืองส้ันแนวทดลองมีโครงสรางยืดหยุนไปในทาง Anti-plot มากกวาเปน plot ท่ีวางไวสมบูรณตายตัว 9. เร่ืองส้ันแนวทดลองใหความสําคัญแก “รูปความคิดริเร่ิม, แปลกใหม” (Original Idea)

มากกวาใหความสําคัญแก “รูปภาษา” (เชน ภาษาสวยท่ีเรียกกันวา belles letters นั้นมิไดถือเปนหลักในการพจิารณา แตหากคํานึงถึง “ภาษาท่ีส่ือความ” ไดเหมาะสมกับ “รูปความคิด” ท่ีนํามาใชใน

แตละเนื้องาน) มีลักษณะการสรางภาพลักษณ อุปมาอุปไมยและความเปรียบ มุงใชภาษาท่ีกระตุนจินตนาการอยางฉับพลันและอยางแรง 10. เร่ืองส้ันแนวทดลองใหความสําคัญแก “มิติท่ี 4” อันวาดวยเร่ืองเวลาท่ีตองสัมพัทธ (Relative) และสัมพันธ (Relation) ไปพรอมกัน

11. เร่ืองส้ันแนวทดลองมีลักษณะของตัวเอกท่ีเปน Anti-hero มากกวาเปน Hero ตามภาพลักษณแบบเกา 12. เร่ืองส้ันแนวทดลองมีลักษณะของการต้ังคําถาม (Question) มากกวาเปนการอธิบาย (Explain)

13. เร่ืองส้ันแนวทดลองมีลักษณะการบรรยายแบบ “การประกอบสวน” (Collage) มากกวาเปนการบรรยายแบบ “เก็บละเอียด” (Decorate) มีลักษณะของการเขียนแบบอัตโนมัติ (Automatic)

และการเขียนแบบ “เลียนอยางคนบา” เพื่อศึกษาจิตไรสํานึกใหถึงท่ีสุด

14. เร่ืองส้ันแนวทดลองเปน “แนวหนากลาตาย” ท่ีเสนอเร่ืองราว “ลํ้ายุค” (Avant-garde)

ในทางเอาจริงจัง มากกวามุงใชความออนแอและความเปน “ยอดนยิม” (Popular) มาเปนเคร่ืองมือ 15. เร่ืองส้ันแนวทดลองก็คือ การทดลอง มันคือ “เกม” ทางปญญาท่ีเลนกันไดทุกคน...

ข้ึนอยูกับ “ภาวะทางจิตใจ” ของผูเลนแตละคนท่ีจะควบคุมการเลนของตนใหออกมาตาม “เกม”

ท่ีตองการ...มันคือศิลปะแหงการโกหกใหแนบเนยีนและนาประทับใจ

Page 21: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

26

เอกสารท่ีเก่ียวของกับกลวิธีในการนําเสนอเร่ืองส้ัน

บุญยงค เกศเทศ (2535, หนา 330-331) ไดสรุป ภาษาและแนวกลวิธีท่ีนักเขียนเร่ืองส้ัน

รวมสมัยไดใช ซ่ึงแยกเปนประเภทยอย ๆ ไดดังนี ้ 1. เสนอเร่ืองโดยการบอกเลา การเสนอเร่ืองโดยวิธีนี้ กระทําโดยผูเขียนทําหนาท่ีเปนผูบรรยายเหตกุารณท่ีเกดิข้ึนคลายกับการเลาถึงประสบการณของตนเอง ตัวละครท่ีปรากฏในเร่ืองจะถูกกลาวถึงในฐานะบุคคลท่ี 3

2. เสนอเร่ืองแบบบรรยายคล่ืนสํานึก การเสนอเร่ืองแบบน้ีอาศัยการบรรยายความรูสึกนึกคิดเปนหลัก อาจจะเปนความรูสึกตอตานส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ความขัดแยงในอารมณซ่ึงผูแสดงคล่ืนสํานึก

อาจเปนผูเสนอตอผูอานเองหรืออยูในฐานะบุรุษท่ี 3 โดยมีผูเขียนเปนส่ือกลางก็ได 3. เสนอเร่ืองโดยการสรางตัวละคร การเสนอเร่ืองในลักษณะนี้ จะมีโครงสรางคลายกับ

การเขียนนวนยิายหรือเคาโครงของบทละคร ผูทําหนาท่ีถายทอดเรื่องราวหรือส่ือสารความคิดความรูสึกตอผูอานจะประกอบดวยตัวละครหลายตัว แตละตัวมีบทบาทมากนอยข้ึนอยูกับผูเขียนจะตองการเนนบทบาทของตัวละครใด

4. เสนอเร่ืองโดยการใชสัญลักษณ เปนการใชสัญลักษณแทนส่ิงท่ีตองการกลาวถึง เปนท่ีนิยมกนัในหมูนักเขียนรวมสมัยสวนหน่ึง เชน ตองการกลาวถึงสันติภาพ กลับพูดถึงนกพิราบแทน

หรือตองการพดูถึงความทารุณโหดราย แตใชยักษแทนความดุรายท่ีตองการบรรยาย บางคนยังคิดคนสัญลักษณข้ึนใชเองโดยเฉพาะ ผูอานตองอาศัยการพินิจพิจารณาโดยถ่ีถวนจึงจะสามารถตีความได 5. เสนอเร่ืองโดยเนนปรัชญาหรือแนวคิด การเสนอเร่ืองแนวปรัชญาจะไมสนใจโครงสรางหรือเนื้อหาวาเปนส่ิงท่ีสําคัญ หากมุงจะสอดแทรกขอความท่ีเนนใหผูอานไดแนวความคิด หรือหลักปรัชญา โดยผูเขียนจะหาจังหวะการสอดแทรกไวอยางเหมาะสม

กุหลาบ มัลลิกะมาศ (2531, หนา 116-117) กลาวถึงกลวิธีเกี่ยวกับผูเลาเร่ืองวา ผูเลาเร่ือง (Point of view) มีความหมายเทากับวา “เร่ืองนี้เลาตามทัศนะของใคร” ซ่ึงผูแตงอาจเลือกผูเลาเร่ืองไดหลายแบบคือ 1. ผูแตงไมแสดงวาตัวละครตัวใดเปนผูเลาบรรยายเร่ือง แตจะบรรยายไปตามเร่ืองท่ีมี ตัวละครมีบทบาทตาง ๆ ท้ังท่ีเปนเหตุการณและความรูสึกนึกคิดภายในใจของตัวละครแตละตัว ผูแตงเปนผูลวงรูหมดทุกส่ิงทุกอยางเกี่ยวกับตัวละคร และนํามาบรรยายไดถวนถ่ีครบทุกคนและครบขณะจิตของตัวละครเหลานั้นตามเนื้อเร่ือง วิธีนี้เปนวิธีท่ีนักเขียนสมมุติตนเองวาเปนผูรูแจงและผูแตงเปนผูเลาเอง (Omniscient point of view)

Page 22: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

27

2. ผูแตงกําหนดใหตวัละครตวัใดตัวหนึ่งในเร่ืองเปนผูเลาเร่ืองของตนเองโดยใชคําวา ผม

ดิฉัน หนู ขาพเจา ฯลฯ เปนผูเลาเร่ืองแสดงถึงเหตุการณหรือขอขัดแยงใด ๆ ท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง นั่นก็คือ ตวัละครในเร่ืองเปนผูเลา (First person point of view) วิธีนี้ใชตัวละครเอกเลาเร่ืองตนเอง ในปจจุบันนี้มกีลวิธีในการเลาเร่ืองแปลกออกไปอีกหลายวิธี เชน กลวิธีเลาโดยใชบุรุษท่ี 1 เปน

ผูเลา แตมีวิธีการท่ีเรียกวา กระแสจิตประวตัิ (Stream of consciousness) คือบุรุษท่ี 1 เลาเร่ืองตนเองโดยปรากฏเปนรูปกระแสความคิดประหวัดไปถึงเหตุการณตาง ๆ

3. ผูแตงกําหนดใหตวัละครตวัใดตัวหนึ่งในเร่ืองเปนผูเลา (Third person point of view)

โดยสมมุติวาตัวละครตัวนั้นไดอยูเหตุการณ หรือรวมรูเร่ืองตาง ๆ เปนอยางด ี

4. วรรณคดีบางเร่ือง ผูแตงเลือกผูเลาเร่ืองหลายแบบประสมกัน นับวาผูแตงไดใชกลวธีิ ในการแตงอยางเต็มฝมือหลายแบบ และไดสรางความหลากหลายใหแกการดําเนินเร่ือง กลวิธีเลือกผูเลาเร่ืองหลายแบบเชนนี้ ยอมมีประโยชนในการแตงแตกตางกันไป ผูแตงท่ีมีฝมือยอมเลือกวิธีการท่ีเหมาะสมทีสุ่ดกับเนื้อเร่ือง บางเร่ืองเหมาะสมท่ีจะใหผูแตงเปนผูเลาเสียเอง เชน เร่ืองท่ีเนนเนื้อหาและพฤติกรรมตาง ๆ แตบางกรณีตวัละครควรเปนผูเลา เชน เร่ืองท่ีเกี่ยวกับความรูสึก อารมณลึกซ้ึงละเมียดละไม หรือความปนปวนในจิตใจของตัวละคร ปราณี สุรสิทธ์ิ (2541, หนา 406-408) กลาวถึงกลวิธีการเลาเร่ืองในเร่ืองส้ันวา ในเร่ืองส้ันเร่ืองหนึ่งจะมีเหตุการณ หรือสถานการณสําคัญท่ีผลักดันใหตวัละครโลดแลนไปตามกระแสของความเปนไปได ตองปะทะกบัความขัดแยงในรูปแบบตาง ๆ ตั้งแตเร่ิมตนจนจบเร่ือง ผูเขียนมีวิธีบอกผูอานอยางไรวา ตัวละครมีความรูสึกนึกคิดอยางไร หรือผูเขียนตองการจะบอกอะไรแกผูอาน

ผูเขียนมองเหตุการณท่ีเกิดข้ึนอยางไร มองจากมุมไหน การจะบอกผูอานนี้บอกจากทัศนะของใคร วิธีการบอกผูอานนี้เรียกวากลวิธีการเลาเร่ือง ซ่ึงมาจากภาษาอังกฤษวา “Point of View” บางทานเรียกวา “มุมมอง” ซ่ึงมีอยู 4 แบบ คือ 1. ใหตวัละครสําคัญในเร่ืองเปนผูเลา (The first-person narrator as a man character)

ผูเขียนกําหนดใหตวัเอกของเร่ืองเปนผูเลาเร่ืองของตนเองโดยใชคําวา ผม ดิฉัน ขาพเจา หนู เรา เลาถึงเหตุการณหรือขอขัดแยงท่ีเกดิข้ึนกับตัวเอง บางคร้ังเลาในลักษณะท่ีเรียกวา กระแสจิตประหวดั (Stream of Consciousness) คือตัวเอกเลาเร่ืองของตนโดยปรากฏเปนรูปกระแสความคิดประหวดัไปถึงเหตุการณตาง ๆ วิธีนี้นาสนใจเพราะทําใหผูอานเห็นจริงเห็นจัง 2. ใหตวัละครรองในเร่ืองเปนผูเลา (The first person narrator as a minor character) ผูเขียนกําหนดใหตัวละครท่ีบทบาทรองลงไปมีหนาท่ีเลา โดยสมมติวา ตัวละครตัวนัน้อยูในเหตกุารณหรือรวมรูเร่ืองตาง ๆ เพราะใกลชิดและรูจกัตัวเอกเปนอยางดี การเลาแบบน้ีมีขอดีคือ ตัวละครรองสามารถบรรยายการกระทํา อุปนิสัยใจคอ คุณงามความดขีองตัวละครสําคัญ และตัวละครอ่ืน ๆ

Page 23: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

28

ตามท่ีตนไดยนิไดฟงมาทุกแงทุกมุม เหมือนเปนคนกลางที่ไดยนิ ไดเห็นการสนทนา การทะเลาะวิวาท ฯลฯ ของบุคคลอ่ืน แลวนําเร่ืองท่ีตนไดยนิไดเห็นมาเลาอีกตอหนึง่ จึงเปนมุมมองของบุรุษ

ท่ี 3 (Third person point of view)

3. ผูแตงในฐานะเปนผูรูแจงเปนผูเลาเอง (The omniscient author) ในกรณีนีน้ักเขียนจะไมใหตวัละครตัวใดตัวหนึ่งเปนผูเลา แตจะใชวิธีบรรยายไปตามเร่ืองท่ีตัวละครมีบทบาท ท้ังนี้เปนเหตุการณและความรูสึกนึกคิดภายในใจของตัวละคร ผูแตงเปนผูลวงรูหมดทุกส่ิงทุกอยางเกี่ยวกบัตัวละคร และนํามาบรรยายไดอยางถวนถ่ี ไมวาตัวละครนั้น ๆ จะคิดอะไร รูสึกอยางไร และทําอะไร บางคราวผูแตงก็อาจจะสอดแทรกความเห็นหรือคําพูดของตนเกีย่วกับพฤติกรรมของตัวละคร มีผูวิจารณวา การเลาเร่ืองวิธีนี้ไมเหมาะกับการเขียนเร่ืองส้ัน เพราะจะทําใหเร่ืองกระชับและมีเอกภาพไดยาก เหมาะท่ีจะใชกับนวนิยายท่ีมีชวงเวลาในเร่ืองยาว และครอบคลุมเนื้อหาเร่ืองราวอยางกวางขวาง 4. ผูแตงในฐานะเปนผูสังเกตการณเปนผูเลา (The author as an observer) การใชกลวธีิผูเขียนจะไมสามารถเขาไปอยูจิตใจของตัวละคร แตจะทําหนาท่ีเสมือนคนรายงาน ส่ิงท่ีตนเห็น

หรือไดยนิไดฟง ไดสังเกตการสนทนาหรือการกระทําของตัวละครเทานั้น ไมอาจทราบความรูสึกนึกคิดของตัวละคร ผูเขียนมีหนาท่ีเหมือนคนนอกท่ีคอยสังเกตการณ เร่ืองส้ันท่ีใชกลวิธีนี้จึงคลายบทละครมาก จึงไดชื่ออีกอยางวา Dramatic point of view นักเขียนเปรียบเสมือนกลองโทรทัศน ท่ีจับภาพการแสดงอยูหรืออาจเหมือนผูกํากบัละคร เร่ืองท้ังหมดเผยใหผูอานรูโดยส่ิงท่ีเกิดข้ึน

และส่ิงท่ีมีการพูดกัน ความรูสึกนึกคิดใด ๆ ในใจของตัวละครเปนส่ิงท่ีคนอานไมรู วาณิช จรุงกิจอนันต (2538, หนา 42-47) ไดใหรายละเอียดเก่ียวกับเร่ืองของมุมมอง ดังน้ี

เคร่ืองมือในการเขียนนยิายที่สําคัญอยางยิ่งอยางหนึ่ง ซ่ึงภาษาอังกฤษเรียกวา Point of view

อันจะขอเรียกเปนภาษาไทยวา “มุมมอง” หมายความงาย ๆ ใหเขาใจไวกอน วาหมายถึงวา เม่ือนักเขียนเขียนนิยายเร่ืองนั้นเขาวางตัวเองไวตรงไหน มองเห็นเหตุการณท่ีเกดิข้ึนจากมุมไหน

การจะดูมุมมองในนิยายเร่ืองใดก็ตาม ใหอานดูแลวตอบคําถามสองขอ คือ หนึ่ง-ใครเปนคนเลาเร่ืองนั้น สอง-ใครคนน้ันเกี่ยวของกับเร่ืองท่ีเลาอยางไร หรืออยูในฐานะอะไรเม่ือเลาเร่ือง ซ่ึงจะตองพจิารณาตอบคําถามท้ังสองนี้ไปพรอมกัน

นักวิชาการวรรณกรรมสายหน่ึงแยกประเภทของมุมมองไวเปนประเภทดังนี ้ 1. บุคคลท่ีหนึ่งเปนผูเลาเร่ือง 2. บุคคลท่ีหนึ่งเปนผูสังเกตการณ 3. นักเขียนเปนผูสังเกตการณ 4. นักเขียนใหตัวเองแทนตัวละครทุกตัว

Page 24: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

29

นักวิชาการอีกสายหน่ึงกแ็บงประเภทของมุมมองน้ีไวในลักษณะคลายกัน คือ 1. มุมมองในแบบท่ีคนเขียนพูดและรูสึกแทนตัวละครทกุตัว 2. มุมมองท่ีมีขอจํากัดมากกวาหนึ่ง คือเปนแบบที่คนเขียนพูดหรือรูสึกแทนตัวละครเชนกัน แตไมทุกตัวหรือไมพูดหรือรูสึกหมดหรือมากเทากับขอหนึ่ง หรืออาจจะเปนแบบบุคคลท่ีสามเปนผูเลาเร่ือง เปนมุมมองของบุคคลท่ีสามซ่ึงอาจจะเปนตัวละครตัวเอกหรือตัวรองในเร่ืองนัน้

3. มุมมองของบุคคลท่ีหนึ่ง ผูเลาเร่ืองหรือบรรยายจะเปนตัวเอกของเร่ืองหรืออาจจะเปน

ตัวละครท่ีไมสําคัญตัวอ่ืน

4. มุมมองจากภายนอก หมายความวาถาหากเร่ืองในนิยายนั้นเกิดข้ึนในวงกลม ผูบรรยายหรือผูเลาเร่ืองก็เปรียบเสมือนอยูนอกวงกลม มองเขาไปและเลาเร่ืองตามภาพของเหตุการณท่ีเห็น

ยังมีอีกทัศนะหนึ่งของนักวชิาการในเร่ืองนี้ กลาวไวคอนขางละเอียด

1. มุมมองแบบท่ีนักเขียนรูไปหมด (Omniscient)

เรียกไดวานักเขียนเลือกท่ีจะเขียนอยูบนสวรรค มองเห็นเหตุการณความเปนไปทั้งหมด

รูหมดวาใครทําอะไรท่ีไหน คิดอยางไรทําอยางไร อาจจะเลือกเนนท่ีตวัละครตัวใดตัวหนึ่ง แลว เล่ือนไปจับเนนท่ีอีกตัวหนึ่งได และอาจจะเสนอตัวละครไดท้ังในแบบสามมิติหรือสองมิติ สามารถท่ีจะเขาไปอยูในจิตใจของตวัละครทุกตัวได อาจจะสอน อธิบาย ส่ือความหมายแสดงนัย เลาเร่ืองอยางเปนกลางหรือเลาเร่ืองเขาขางฝายใดฝายหนึ่งไดตามตองการ นักเขียนเร่ืองส้ันมักจะไมใชมุมมองแบบนี้ เพราะเปนการยากท่ีจะทําใหเร่ืองแนนกระชับและมีเอกภาพตามท่ีควรจะเปน มุมมองอ่ืน ๆ แบบท่ีมีขอจํากัดจะชวยใหเร่ืองกระชับและบรรลุเปาหมายไดดกีวา โดยท่ัวไปแลวมุมมองแบบน้ีจะใชกนัในนยิายแบบท่ีมีชวงเวลาในเร่ืองยาว และครอบคลุมเนื้อหาเร่ืองราวกวางขวาง 2. มุมมองแบบบุคคลท่ีหนึ่ง วิธีนี้นักเขียนเลือกท่ีจะดําเนนิเร่ืองโดยใชบุคคลท่ีหนึ่งเปนผูบรรยาย ซ่ึงบุคคลท่ีหนึ่งในท่ีนี้อาจจะเปนตัวนักเขียนเอง หรืออาจจะเปนตัวละครตัวตัวหนึ่ง บุคคลท่ีหนึ่งนี้ อาจจะเขาไปเกี่ยวพนักับตัวละครตวัเอกหรือตัวรอง หรืออาจจะไมยุงเกีย่วกับตัวละครตัวใดเลยก็ได โดยอาจจะเปนเพยีงผูเฝามองอยูเฉย ๆ ไมมีโอกาสท่ีจะรูความรูสึกนึกคิดใดของตัวละครได นอกจากการเดา นักเขียนนยิายทั่วไปไมนิยมใชมุมมองแบบนี้ เพราะเปนเร่ืองยากท่ีจะทําใหเร่ืองนาสนใจ ไดตลอด แตนกัเขียนนิยายเก่ียวกับเร่ืองลึกลับส้ัน ๆ อาจจะทําใหเร่ืองสนุกต่ืนเตนไดมากดวยมุมมองชนิดนีเ้พราะมุมมองที่วานี้มีขอไดเปรียบท่ีชัดเจนอยู

Page 25: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

30

ประการแรกกคื็อมุมมองแบบนี้ชวยพรางความจริงท่ีเกดิข้ึนในเร่ืองไดดี ประการตอมาคือโครงเร่ืองท่ีใชมุมมองแบบน้ีจะเขียนคอนขางงาย เพราะผูบรรยายอาจจะยักยายเลาเร่ืองนั้นเร่ืองนี้กอนหลังไดโดยไมตองวางแผนใหวุนวายซับซอน

แตมุมมองแบบนี้ก็ตองอาศัยฝมือและความเช่ียวชาญในการเขียนสูงอยู นักเขียนจะตองวางตัวไวในใจของผูบรรยายและอยูอยางนัน้ ไมวาจะในเร่ืองการใชศัพทใชภาษา การมองโลก

ดวยทัศนะท่ีจาํกัด (ตามบุคลิกของตัวละครหรือผูบรรยาย) ประเภทท่ีตัวละครเปนชาวนาไรการศึกษา แตรูสึกนึกคิดราวกับอาจารยมหาวิทยาลัยท่ีสอนวิชาเกี่ยวกับลัทธิการเมืองนั้น

เปนความผิดพลาดประการหนึ่งของการใชมุมมองทํานองนี้ ผูบรรยายตองจํากัดตัวเองไวอยางม่ันคง ไมใหมีส่ิงหนึ่งส่ิงใดท่ีลนหรือเกินจากท่ีตัวละครหรือตัวเขาพึงมีพึงเปน ไมวาจะในเร่ืองความเกงกลาสามารถ ความเปนผูดีชั้นสูง หรือความฉลาดเฉลียว ตลอดจนความรูสึกตอส่ิงท่ีเขามากระทบ จะตองระมัดระวังเปนอยางมาก มฉิะนั้นความไมสมจริงตาง ๆ จะปรากฏออกมา นักเขียนเร่ืองเกี่ยวกับการรําลึกหรือเลาเร่ืองในอดีตนิยมใชมุมมองแบบนี้ และขอไดเปรียบของการใชมุมมองแบบบุคคลท่ีหนึ่งนี้อยูท่ีวามันสามารถจะทําใหเดนิเร่ืองไดเร็วกวาการใชเร็วกวาการใชมุมมองแบบอ่ืน ๆ

3. มุมมองแบบบุคคลท่ีสาม

มุมมองแบบนีจ้ะวาไปกอ็าจเปนแบบเดยีวกับมุมมองแบบท่ีหนึ่ง คือแบบท่ีนักเขียนรู ไปหมด แตไมใชมุมมองแบบบุคคลท่ีสาม ในท่ีนีแ้บงออกไดเปนสามหวัขอยอย คือ 3.1 บุคคลท่ีสามแบบมีขอจํากัด วิธีนีจ้ะจํากัดเร่ืองท้ังหมดไวในโลกของตัวละครเพียงตัวเดยีว เปดเผยใหคนอานรูแตจําเพาะส่ิงท่ีตัวละครนั้นรูหรือเขาไปมีสวนรวม หรือมีประสบการณรวม โดยใชสรรพนาม “เขา” หรือ “เธอ” โดยไมใชสรรพนามอยาง “ผม” หรือ “ฉัน”

หรือ “ขาพเจา” มุมมองแบบบุคคลท่ีสามมีขอจํากัดนีเ้ปนท่ีนิยมอยูในปจจุบันชวยใหเร่ืองกระชับและมีเอกภาพไดมาก 3.2 บุคคลท่ีสามแบบบุคลาธิษฐาน (Subjective) วิธีนี้มีขอจํากัดนอยลง โดยให ตัวละครตัวเอกหรือผูบรรยายอธิบายพฤตกิรรมของตัวละครอ่ืน ๆ ได ผูเขียนยังตองอยูในใจของ ตัวละครเอกหรือผูบรรยายแตใหตวัละครตวัเอกหรือผูบรรยายนัน้คาดเดาเร่ืองได 3.3 บุคคลท่ีสามแบบธรรมาธิษฐาน (Objective) นักเขียนในตระกูล “เฮมิงเวย”

นิยมเขียนมุมมองแบบน้ี ซ่ึงดูเหมือนจะเปนแบบที่ยากท่ีสุดในการท่ีจะทําใหเร่ืองนาสนใจ นกัเขียนเปรียบเสมือนกลองโทรทัศนท่ีจับภาพการแสดงอยู หรืออาจจะเหมือนผูกํากับละคร เร่ืองท้ังหมดเผยใหผูอานรูโดยส่ิงท่ีเกิดข้ึนและส่ิงท่ีมีการพูดกัน ความรูสึกนึกคิดใด ๆ ในใจของตัวละครเปน

ส่ิงท่ีคนอานไมรู

Page 26: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

31

ความสําเร็จของเร่ืองท่ีใชมุมมองแบบน้ี ข้ึนอยูกับฝมือของนักเขียนท่ีจะเลือก การแสดงออกท่ีเหมาะสม ประกอบกับบทสนทนาท่ีคอย ๆ เปดเผยความรูสึกนึกคิดของตัวละคร พวกเลียนแบบเฮมิงเวยท่ีมอืไมถึงจะทําใหเร่ืองนาเบ่ือสําหรับคนอานเปนอยางมาก

สําหรับนิยายขนาดยาวแลวมุมมองแบบนี้ออกจะใชไดยาก เพราะการท่ีจะรักษาความนาสนใจของเร่ืองไวนัน้ นักเขียนจําเปนท่ีจะตองรูความคิดของตัวละครสวนใหญในเร่ือง การเขียนนิยายยาว ๆ จึงนิยมท่ีจะใชในแบบท่ีหนึ่ง คือแบบท่ีนักเขียนรูไปหมดมากกวา อยางไรก็ตาม สําหรับนิยายส้ัน ๆ ท่ีเขมขนแลว มุมมองแบบธรรมาธิษฐานท่ีวานี ้ก็ทาทายนกัเขียนท่ีมีฝมือเปนอยางมาก

ไพโรจน บุญประกอบ (2539, หนา 66-70) กลาววากลวิธีในการเลาเร่ือง หมายถึง วิธีการ ท่ีผูเขียนเลือกแสดงเร่ืองราวจากมุมใดมุมหนึ่ง กลวิธีในการเลาเร่ืองท่ีใชกันในเร่ืองส้ันท่ัวไปมีอยู 4 กลวิธีดังนี ้ 1. ตัวละครตัวใดตัวหนึ่งเปนผูเลาเร่ือง (First Person Point of View) อาจจะเปนตัวเอกหรือตัวประกอบกไ็ด เร่ืองส้ันท่ีใชกลวิธีนี้ ตัวละครท่ีเปนผูเลาเร่ืองจะใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 คือ ฉัน ผม

ขาพเจา เลาส่ิงท่ีตนประสบต้ังแตตนจนจบ

2. ผูเขียนเปนผูเลา (Third Person Point of view) กลวิธีนีย้งัแบงยอยไดอีก 2 ชนิดคือ 2.1 ผูเขียนเลาอยางผูรูแจง กลาวคือรูและสามารถบรรยายความรูสึกนึกคิดของ ตัวละครทุกตวั รูทุกส่ิงทุกอยางท่ีเกดิข้ึน รูแมแตเสนสนกลในท่ีตวัละครบางตัวหรือทุกตัวในเร่ืองไมรู 2.2 ผูเขียนเลาเร่ืองโดยหยั่งรูจิตใจของตัวละครเพียงตวัเดยีว เหตุการณท้ังหลายในเร่ืองก็คือเหตุการณท่ีตัวละครตัวนี้รูเทานั้น ผูอานจะไดทราบเร่ืองราวจากสายตาของตัวละครตัวนี้ ไมทราบส่ิงท่ีตัวละครตัวนี้ไมรูและไมทราบความรูสึกนึกคิดอยางแทจริงของตัวละครอ่ืน ๆ

กลวิธีนี้คลายคลึงกับกลวิธีท่ี 1 ความแตกตางอยูท่ีผูเขียนจะไมใชสรรพนามบุรุษ

ท่ี 1 แตใชสรรพนามบุรุษท่ี 3 หรือช่ือตัวละครแทน ความแตกตางอีกประการหนึ่งคือ กลวิธีเลาเร่ืองโดยหยั่งรูจิตใจของตัวละครเพียงตัวเดยีวนี ้ผูเขียนมีโอกาสวาดภาพพฤติกรรมและวเิคราะหสภาพจิตใจของตัวละครไดดแีละสมจริง นาเช่ือถือกวากลวิธีท่ี 1 เนื่องจากเปนการมองผานจากสายตา คนอ่ืน มิใชตวัละครบรรยาย วิเคราะหตัวเอง ซ่ึงอาจจะมีความลําเอียง เขาขางตน สรางความเช่ือถือในความรูสึกของผูอานไดนอยกวา 3. เลาเร่ืองโดยกระแสจิตประหวัด (Stream of Consciousness) เปนการเลาเร่ืองแบบบันทึกความคิดคํานึงของตัวละคร ความคิดของตัวละครดําเนนิไปอยางไร ผูเขียนกจ็ะเขียนไปอยางนั้น

บางคร้ังอาจจะสับสน ไมมกีารเรียงลําดับหรือจัดระเบียบความคิด ซ่ึงก็เปนไปตามธรรมชาติความ

นึกคิดในจิตใจของมนุษย

Page 27: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

32

เร่ืองส้ันท่ีมแีกนเร่ืองแสดงอารมณมีแนวโนมท่ีจะใชกลวิธีนี้มากกวาเร่ืองประเภทอ่ืน

เพราะอารมณ ความคิด ความรูสึก ตางเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนภายในตัว บางทีเพราะมีอารมณจึงคิด

บางคร้ังความคิดทําใหเกิดอารมณหรือมีความรูสึกอยางใดอยางหน่ึงผูกพันกนัเปนวฏัจักร 4. เลาเร่ืองโดยใชกลวิธีผสม (Mixed Point of View) หมายถึง การใชกลวิธีการเลาเร่ือง ดังท่ีกลาวมาแลวตั้งแต 2 วิธีข้ึนไปในเร่ืองเดียวกัน กลวิธีในการเขียนแบบนี้ใชในการเขียน

นวนยิายมากกวาเร่ืองส้ัน

ธัญญา สังขพันธานนท. (2539, หนา 197-204) อธิบายเร่ืองของมุมมองไวอยางละเอียด

ดังนี ้ คําวา Point of view ในภาษาไทยมีใชแตกตางกันหลายคํา เชน กลวิธีในการเสนอเร่ือง กลวิธีในการเลาเร่ือง ทรรศนะ และมุมมอง แตไมวาจะใชคําใด ท้ังหมดก็หมายถึงวิธีการเลาเร่ืองของนักเขียนหรือผูแตง กลาวคือ ในเร่ืองเลาแตละเร่ือง นกัเขียนจะเปนผูกําหนดหรือเลือกวา จะใหใครเปนคนเลาเร่ือง หรือจะเลาเร่ืองโดยผานสายตาหรือ “มุมมอง” ของใคร ปกติเวลาอานเร่ืองส้ันหรือนวนิยาย ผูอานจะรูสึกเหมือนไดยินเสียงของผูเลาเร่ืองปรากฏอยู แตเสียงเลาในนวนิยายหรือเร่ืองส้ันนั้นเปนเสียงท่ีปรากฏอยูในหนากระดาษหรือเรียกกนัวา “เสียงบนหนากระดาษ” เจาของเสียงบนหนากระดาษมิใชเปนเสียงของผูเขียนโดยตรง แตเปนเสียงของ “ผูเลาเร่ือง” (Narrator) โดยนัยนี้ มุมมองจึงหมายถึง การเลือกใชผูเลาเร่ืองของนักเขียนนั่นเอง ความสัมพันธระหวางนักเขียนกับมุมมอง โรลองค บารธส กลาววา “บุคคลท่ีพูด (ในเรื่องเลา) ไมใชบุคคลท่ีเขียน (ในชีวิตจริง) และบุคคลท่ีเขียน มิใชบุคคลท่ีเปน” คํากลาวนี้ชวยอธิบายความสัมพันธระหวางนักเขียนกับมุมมองไดดังนี ้ 1. บุคคลท่ีพูด หรือเจาของเสียงบนหนากระดาษ หรือผูเลาเร่ืองเปนคนละคนกับผูเขียน

หรือนักเขียน (Author) เพราะนักเขียนเปนผูกําหนดผูเลาเร่ืองอีกทีหนึ่ง 2. บุคคลท่ีเขียนมิใชบุคคลท่ีเปน หมายความวา เม่ือนกัเขียนสรางผูเลาเร่ืองหรือตัวละคร ใหเปนอยางไร ไมไดหมายความวา ผูเขียนหรือนักเขียนจะเปนเหมือนตัวละครนัน้ ๆ

จากท่ีกลาวมานี้ หากสรุปความสัมพันธระหวางผูเขียนกบัผูเลาเร่ืองก็อาจเปรียบไดวา ผูเลาเร่ืองเหมือนตัวหุน (Dummy) สวนผูเขียนหรือนกัเขียนคือคนเชิดหุน (Vebtrukigyust)

(Roberts) ผูเขียนจะใสน้ําเสียงหรือคําพูดใหกับตัวหุนโดยวิธีการของนกัเขียนคือการเขียนออกมาเปนถอยคํา ดุจเดียวกับท่ีนายหนังตะลุงคอยชักปากใหตวัหนังพูดและใสเสียงพูดใหกบัตัวหนัง ดังนั้นแมวา “หุน” หรือผูเลาเร่ืองจะเปนคนพูดหรือเปนคนเลาเร่ืองในหนากระดาษ แตโดยความจริงแลวจะถูกควบคุมโดยผูเชิดท่ีนั่งอยูเบ้ืองหลังอีกทีหนึง่

Page 28: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

33

เม่ือผูเลาเร่ืองถูกสมมุติหรือกาํหนดโดยนักเขียน การเลาเร่ืองจึงไมไดมองผานสายตาหรือมุมมองของนักเขียนเอง (ยกเวนนวนิยายอัตชีวประวัติ ท่ีผูเลาเร่ืองเปนบุคคลเดียวกับผูเขียน)

แตผานมุมมองหรือทรรศนะของผูเลาเร่ือง ซ่ึงอาจปรากฏตัวในทองเร่ืองในฐานะตัวละครตัวหนึ่ง หรือไมอาจปรากฏตัวก็ได ดงันั้นจึงกลาวไดอีกอยางวา มมุมองคือวิธีการเลาเร่ือง (The Way Story

Gets Told) ของนักเขียนสูผูอาน โดยการเสนอเร่ืองราวเหตุการณ ตวัละคร การกระทํา ฉากและสถานท่ี ผานสายตาหรือมุมมองของผูเลาเร่ืองท่ีผูเขียนกําหนดขึ้น และจากลักษณะท่ีกลาวนี้ มุมมองจึงไมเพยีงแตเปนองคประกอบหน่ึงของเร่ืองเลาเทานั้น แตยังเปนเทคนิคหรือกลวิธีในการแตง อีกดวย ประเภทของมุมมอง หากยดึผูเลาเร่ืองเปนหลักในการจําแนกมุมมอง ก็สามารถแบงออกไดเปน 2 แบบ ใหญ ๆ

คือ 1. มุมมองของผูเลาเร่ืองท่ีปรากฏตัวในฐานะตัวละครในเร่ือง (Narrator a Participant)

ผูเลาเร่ืองโดยใชมุมมองน้ี จะปรากฏตัวในเร่ืองในฐานะของตัวละครผูมีบทบาทและมีสวนรวม

ในเหตุการณและสถานการณตาง ๆ ผูเลาเร่ืองจะใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 (ฉัน, ผม ขาพเจา, เรา) แทนตัวเองในขณะเลาเร่ืองหรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวามุมมองของบุรุษท่ี 1 (First person point

of view) การใชมุมมองแบบนี้มีอยู 2 ลักษณะคือ ก. ผูเลาเร่ืองเปนตัวละครเอก (Major Character) หรือบางคร้ังเรียกวา “ผูเลาเร่ือง-ผูกระทํา” ในการเลาเร่ืองโดยใชมุมมองประเภทนี้ผูเลาเร่ืองจะปรากฏตวัในนวนิยายหรือ เร่ืองส้ัน

ในฐานะของตัวละครเอกและเปนผูเลาเร่ืองของเขาดวยปากคําของเขาเองมีตัวเองเปนศูนยกลาง ของเร่ือง และจะแสดงใหเหน็ความสัมพันธระหวางผูเลากับบุคคลและเหตุการณตาง ๆ ผูเลาจะเลาทุกส่ิงทุกอยางท่ีเขาประสบมา ไดยนิ ไดฟง ไดเหน็ดวยตัวเองหรืออาจจะเปนการบอกเลาจากผูอ่ืนในกรณีท่ีเขาไมอยูในเหตุการณนั้น ๆ ดังน้ันส่ิงท่ีนอกเหนือไปจากประสบการณตรงแลวเขาจะไมรูมากนัก จึงเปนมุมมองท่ีคอนขางจํากัดขอบเขต หรือท่ีเรียกวา “ทรรศนะจํากดัขอบเขต”

อยางไรก็ตาม เนื่องจากเปนการเลาโดยตัวของผูเลาเองจึงใหเร่ืองเลาดมูีความสมจริง นาเช่ือถือ รวมท้ังสามารถดึงดูดอารมณของผูอานใหคลอยตามไดมาก ข. ผูเลาเร่ืองเปนตัวละครรอง (Minor Character) หรือท่ีเรียกกนัวา “ผูเลาเร่ือง-ผูรูเหตุการณ” เปนการเลาเร่ืองโดยใชสรรพนามบุรุษท่ีหนึง่เชนเดยีวกัน แตปรากฏตัวในฐานะตัวละครรอง ท่ีทําหนาที่เลาเร่ืองของตัวละครเอกหรือตัวละครอ่ืน ๆ ในฐานะของผูท่ีรูเหตุการณ การเลาเร่ืองโดยวิธีนี้ ผูเลาอาจแสดงความคิดเห็นวิพากษวจิารณหรือคาดเดาความรูสึกของตัวละครอ่ืน ๆ ไปดวยก็ได อยางไรก็ตาม การแสดงความเห็นดังกลาวนีก้็เปน

Page 29: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

34

ทรรศนะของผูเลาเทานั้น ผูอานจะตองพจิารณาวาการแสดงความเห็นตาง ๆ มีความหมายหรือเกิดข้ึนดวยเจตนาอะไร 2. มุมมองของผูเลาเร่ืองท่ีไมปรากฏตัวในฐานะตวัละครในเร่ือง (Narrator a Non-

participant) ลักษณะการเลาเร่ืองโดยใชมุมมองแบบน้ี คือผูเลาเร่ืองจะไมปรากฏตัวในเร่ืองในฐานะตัวละครตัวใดตัวหนึ่ง จึงเปน “เสียงพูดบนหนากระดาษ” อยางแทจริง แตเหตุการณและเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนจะถูกเสนอผานการกระทํา คําพูดและทรรศนะของตัวละครท่ีถูกเอยถึงในสรรพนามบุรุษท่ี 3 (เขา, หลอน, เธอ, พวกเขา, มัน) การใชมุมมองของบุรุษท่ี 3 มีอยูดวยกนั 3 ลักษณะคือ ก. ผูเลาเร่ืองเปนผูรูแจง (All Knowing) หรือบางคร้ังเรียกกันวา “มุมมองแบบสายตาพระเจา” (Omniscient) เปนการเลาเร่ืองในลักษณะท่ีผูเลาเร่ืองเปนผูรูแจงท่ีลวงรูทุกส่ิง ทุกอยางเกี่ยวกับเร่ืองท่ีเลาและมีอํานาจเต็มท่ีในการควบคุมตัวละคร ความรูเกี่ยวกบัตัวละครของ ผูเลาไมมีขีดจาํกัด เปรียบเสมือนพระเจาผูรูแจงทุกส่ิงทุกอยาง ไมวาจะเปนพฤติกรรม การกระทําภายนอกและยงัลวงรูไปถึงความคิด จิตใจ สัญชาตญาณและความมุงมาดปรารถนาของตัวละคร ทุกตัว ผูเลาเร่ืองแบบผูรูแจงสามารถทําใหผูอานทราบถึงความคิดท่ีซอนเรนอยูในจิตใตสํานึก ของตัวละคร และสามารถวิเคราะหจิตใจของตัวละครไดดวย ผูเลาเร่ืองเปนผูรูแจง ไมเพยีงแตจะลวงรูลงในจิตใจของตัวละครเทานัน้ แตยังอยูนอกเหนือเง่ือนไขของกาลเวลา สามารถกลับไปกลับมาระหวางอดีต-ปจจุบัน-อนาคต และสามารถอยูในท่ีหลาย ๆ แหงในเวลาเดียวกัน นอกจากนีแ้ลวผูเลาเร่ืองยังสามารถวิพากษวิจารณหรือตัดสินตัวละครไดอยางเต็มท่ีและบอกกับผูอานอยางตรงไปตรงมาวาตัวละครนั้นดีหรือเลว ข้ีขลาดหรือกลาหาญ การเลาเร่ืองโดยใชวิธีแบบนี้ ทําใหผูอานรูจักตัวละครอยางหลากหลายรอบดาน

ข. ผูเลาเร่ืองรูแจงเฉพาะตัวละครเอก (Seeing into One Major Character)

เปนการเลาเร่ืองโดยใชสรรพนามบุรุษท่ี 3 เชนเดยีวกับแบบแรก แตจะมีความแตกตางกันตรงท่ี

- ผูเลาจํากัดการรูแจงเฉพาะตัวละครเอกเทานั้น ไมไดลวงรูตัวละครทุกตวัแบบมุมมองสายตาพระเจา เพราะถือวาตัวเอกเปนศูนยกลางของเร่ือง ผูอานจะทราบเหตกุารณ การกระทําของตัวละครอ่ืน ๆ โดยผานมุมมองของตัวละครเอก

- แมวาผูเลาเร่ืองจะเปนผูรูแจงไปถึงโลกภายในของตัวละคร แตกจ็ํากดัขอบเขตของการรูแจงนั้นดวยการเสนอภาพความเคล่ือนไหว การกระทําของตัวละครอยางเปนภววิสัย (Objective) แมแตการแสดงใหเห็นโลกภายในของตัวละคร ผูเลาเร่ืองก็จะแสดงใหเหน็โดยปลอยใหตวัละครนัน้พร่ังพรูกระแสสํานึกของตัวเองออกมา ผูอานจะรับทราบความรูสึกนกึคิด ภาวะ ของจิตใตสํานกึ การกระทํา อารมณ และความปรารถนาของตัวละครโดยการตีความ และสรุปจากกระแสสํานึกดังกลาว หรืออาจกลาวไดวา “ตัวละครคือจุดศูนยกลางหรือภาพสะทอนแหงจิตใต

Page 30: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

35

สํานึกของเขาเอง” โดยวิธีการเลาเร่ืองในลักษณะน้ี บางคร้ังเราจะเหน็วาตัวละครกําลังพูดหรือรําพึงกับตัวเอง (Monologue) การใชมุมมองในลักษณะน้ีภายหลังไดพัฒนามาเปนวิธีการเขียนท่ีเรียกวา “การเลาเร่ืองแบบกระแสสํานึก” (Stream of Consciousness)

ค. ผูเลาแบบภววิสัย (Not seeing into any Character) เปนการเลาเร่ืองท่ีผูเลาไมไดปรากฏในตัวเร่ือง และจํากดับทบาทของตัวเองเฉพาะเพียงการนําเสนอภาพการกระทํา การพูดจา สีหนาทาทางของตัวละครโดยปราศจากการกาวลํ้าไปอธิบายถึงโลกภายในของตัวละครท้ังหมด

การนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับตัวละครจึงมีลักษณะเปนภววสัิย วิธีการเลาเร่ืองแบบนี้มาจากวิธีการของการละคร (Dramatic) กลาวคือเปนการนําเสนอคําพูด การกระทําของตัวละคร โดยผูเลาจะไมแสดงความเหน็อธิบายหรือวจิารณและการตัดสินใหขอสรุปใด ๆ ท้ังส้ิน แตจะใหผูอานสรุปและตีความเอาเองจากขอมูลท่ีไดนําเสนอไปแลว ดวยการเลาเร่ืองท่ีผูเลาวางตัวอยางสงบเสง่ียมเชนนี้ จึงเปรียบวา ผูเลาเร่ืองเหมือน

“แมลงวันท่ีเกาะอยูบนฝาผนงั” (Knnedy) ซ่ึงแสดงใหเหน็คุณสมบัติของผูเลาวา มีลักษณะและตําแหนงของการมองเชนเดียวกับแมลงวันท่ีมีความสามารถพิเศษในการเลือกท่ีจะสังเกตหรือพินจิส่ิงตาง ๆ นั่นคือผูเลาเร่ืองจะตองรูจักเลือกและนําเสนอรายละเอียดตาง ๆ ท่ีสามารถส่ือใหเหน็ความหมายท่ีลึกซ้ึงได สมพร มันตะสูตร แพงพิพฒัน (2540, หนา 222-223) แบงกลวิธีในการเลาเร่ือง (Point of

view) ออกเปน 5 ลักษณะคือ

1. ใชบุรุษท่ี 1 เปนตัวละครสําคัญในเร่ืองเปนผูเลา (The first person narrator as a main

character) คือการใชตัวละครเลาเร่ืองของตนเองโดยใชสรรพนาม ผม หรือ ฉัน ขาพเจา หรือ เรา 2. ใชบุรุษท่ี 1 ซ่ึงเปนตัวละครรองในเร่ืองเปนผูเลา (The first person narrator as a minor

character) คลายกับวิธีแรก ตางกันแตวาใหตัวละครรองซึ่งใกลชิดกับตัวละครสําคัญหรือตัวละครเอกเปนผูเลา 3. ผูประพันธในฐานะผูรูแจงเปนผูเลา (The omniscient author) หมายถึงผูแตงเปนผูรู ทุกอยางเกี่ยวกับตัวละครทัง้พฤติกรรมและความรูสึกนึกคิด เปนผูเลา 4. ผูประพันธในฐานะผูสังเกตการณเปนผูเลา (The author as an observer) คลายกับวธีิท่ี 3

ตางกันท่ีผูประพันธไมสามารถทราบความรูสึกนึกคิดของตัวละคร ผูเลามีหนาท่ีเพยีงรายงานเฉพาะส่ิงท่ีตนเห็น ไดยินไดฟง ไดสังเกตพฤติกรรมและการสนทนาของตัวละครเทานั้น

5. ใชบุรุษท่ี 1 เปนผูเลาดวยวธีิกระแสจิตประหวัด (Stream of Consciousness) คือใหบุรุษ

ท่ี 1 เลาเร่ืองของตนเอง ตาปรากฏในรูปแบบกระแสความคิดประหวัดไปถึงเหตุการณตาง ๆ

Page 31: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

36

ยุวพาส ชยัศิลปวัฒนา (2544, หนา 131-138) อธิบายเร่ืองมุมมองวา มุมมอง (Point of view) คือ กลวิธีเลาเร่ืองโดยผานสายตา หรือทัศนะของใคร การใชผูเลาเร่ือง การท่ีผูแตงใหใครเปนผูเลาเร่ืองยอมมีความสําคัญและมีผลกระทบตอการเสนอเร่ืองท้ังในดานมุมมองและทัศนคติ ผูเลาเร่ืองตองทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางผูอานกับเร่ืองท่ีเลา ดังน้ัน ผูเลาเร่ืองเห็นเหตุการณอยางไร มทัีศนคติกับเร่ืองท่ีเกิดข้ึนอยางไรยอมตองเลาเร่ืองไปตามมุมมองของเขาเชนนั้น ผูเลาเร่ืองท่ีมีสวนรวมอยูในเหตุการณยอมตองรูเร่ืองดีกวาผูเลาเร่ืองท่ีเพียงแคผานมาเห็นเหตุการณเทานั้น และในทางกลับกันผูเลาเร่ืองมีสวนรวมอยูในเหตุการณอาจเลาเร่ืองอยางมีอคติแอบแฝงหรือลําเอียงเขาขางตัวเองมากกวาผูเลาเร่ืองท่ีไมมีสวนไดสวนเสียกับเร่ืองท่ีเลา ผูเลาเร่ืองในท่ีนี้ไมใชผูแตง ผูอานตองแยกผูแตงกับผูเลาเร่ืองออกจากกนั เพราะผูแตงเปนบุคคลจริง ๆ ในขณะท่ีผูเลาเร่ืองเปนเพียงบุคคลท่ีผูแตงสมมุติข้ึนมาใหทําหนาท่ีแทน

วิธีการใชผูเลาเร่ืองแบงออกไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ การใชบุรุษท่ี 3 เปนผูเลาเร่ือง (Third person point of view) และการใชบุรุษท่ี 1 เปนผูเลาเร่ือง (First person point of view) ในลักษณะแรก ผูเลาเร่ืองคือ บุคคลท่ีไมมีตัวตนอยูในทองเรื่อง และจะกลาวถึงตัวละคร ตาง ๆ ในทองเร่ืองดวยการเรียกช่ือเฉพาะของตัวละครหรือใชสรรพนามบุรุษท่ี 3 เวลาพูดถึงตัวละครเหลานั้น

สวนในลักษณะท่ีสอง ผูเลาเร่ืองคือตัวละครตัวหนึ่งในเรือ่งซ่ึงอาจเปนตัวละครสําคัญและมีสวนรวมอยูในเหตกุารณ หรือเปนตัวละครรอง หรือเปนเพียงผูเห็นเหตุการณก็ได ผูเลาเร่ืองใชสรรพนามบุรุษท่ี 1

นอกจากจะแบงมุมมองออกเปนสองลักษณะใหญ ๆ แลว ยังมีการแบงออกเปนลักษณะยอยตามขอบเขตความสามารถและขอจํากัดของผูเลาอีกดวย ดังนี ้ 1. การใชบุรุษท่ี 3 เปนผูเลาเร่ือง (Third person point of view)

1.1 ผูรูแจง (Omniscient) ผูเลาเร่ืองเปนผูรูเร่ืองท้ังหมด หรือมองอีกมุมหนึ่งก็คือ ผูแตงทําหนาท่ีเปนผูเลาเร่ืองเสียเอง ผูเลาเร่ืองในลักษณะนี้จึงมองเห็นเหตุการณทุกอยางไมวาอะไรจะเกิดข้ึนท่ีไหน รูจักตัวละครทุกตัวและสามารถหยั่งรูไปถึงความคิด ความรูสึก เสมือนนั่งอยูในจิตใจของตัวละครเหลานั้น นอกจากนี้ผูเลาเร่ืองยังสามารถแสดงความคิดเห็นสวนตัวสอดแทรก

เขามาในเร่ือง หรือวิพากษวจิารณตัวละครไดอยางเสรี 1.2 ผูรูแจงท่ีมีขีดจํากัด (Limited Omniscient) ผูเลาเร่ืองถูกจํากดัขอบเขตของความเปนผูรูทุกอยางอยูท่ีตัวละครตัวเดยีวแทนท่ีจะรูท้ังหมด ฉะนั้นเร่ืองท่ีเลาจึงมีศูนยกลางอยูท่ีตัวละครเดียวท่ีผูเลาเร่ืองสามารถเขารับรูความคิดและจิตใจไดเทานั้น

1.3 มุมมองเชิงละคร (Objective หรือ Dramatic point of view) ผูเลาเร่ืองทําหนาท่ีเปนเพยีงผูสังเกตการณอยูหาง ๆ และถายทอดเหตุการณท้ังหมดโดยไมมีการสอดแทรกความ

Page 32: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

37

คิดเห็น ไมวาจะเปนการติชม หรืออคติ หรือวิพากษวจิารณส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในเร่ือง อีกท้ังผูเลาเร่ืองจะไมเสนอการตีความเหตุการณหรือความนัยบางอยางในเร่ือง สถานะของผูเลาเร่ืองเปรียบเสมือนกลองถายรูปท่ีทําไดเฉพาะบันทึกและถายทอดเหตุการณตามท่ีเห็นและไมอาจเขาไปนั่งอยูในความคิดและจิตใจของตัวละครได ฉะนั้นการเสนอเร่ืองในลักษณะนี้ผูเลาเร่ืองจะบรรยายในส่ิงท่ีสามารถเห็นและไดยนิไดเทานั้น และไมสามารถอธิบายไดวาตัวละครแตละตัวคิดหรือรูสึกอยางไร เนื้อเร่ืองสวนใหญมกัจะออกมาในรูปของบทสนทนา ผูอานจึงตองทําความเขาใจโดยวิเคราะหและตีความจากรูปเหตุการณ พิจารณาคําพูดและสังเกตพฤติกรรมและแรงจงูใจของตัวละครเอาเอง 2. การใชบุรุษท่ี 1 เปนผูเลาเร่ือง (First person point of view)

ผูเลาเร่ืองมีสถานะเปนปุถุชนธรรมดาท่ีไมสามารถรูทุกเร่ือง หรือลวงรูความคิดคนอื่น ๆ

ได การเลาเร่ืองจึงตกอยูภายในขอบเขตท่ีผูเลาเร่ืองไดประสบพบเหน็ไดยินไดฟงมาหรือมีสวนรวมอยูในเหตุการณเทานัน้ รวมทั้งการถายทอดเหตุการณก็ข้ึนอยูกับความสามารถ ภูมิปญญาและ ภูมิหลังของผูเลาเร่ืองอีกดวย ดังน้ัน ขอมูล ความคิด ความเขาใจ และทัศนคติของผูเลาเร่ืองจึงอาจจะไมถูกตองหรือเช่ือถือไดเสมอไป บางคร้ังผูเลาเร่ืองอาจเลาอยางมีอคติแอบแฝงอยูดวย ทําใหเร่ืองเกดิการพลิกผันได การใชบุรุษท่ี 1 เปนผูเลาเร่ือง เปดทางใหผูแตงเสนอเหตกุารณพลิกผัน (Dramatic irony)

ไดอยางแยบยล อีกท้ังยังเอ้ือใหผูแตงแสดงความคิดเกีย่วกับขอบกพรองตาง ๆ ของความเปนมนุษยไดอยางดี และยังเปดโอกาสใหผูแตงแสดงขอแตกตางในการมองระหวางผูเลาเร่ืองกับผูอานอีกดวย นอกจากนี้ ยังมีวิธีเลาเร่ืองอีกลักษณะหน่ึง เรียกวา กระแสสํานึก (Stream of

consciousness) และบทพดูเดี่ยวในใจ (Interior Monologue)

กระแสสํานึก (Stream of consciousness) คือ วิธีการเลาเร่ืองท่ีผูแตงปลอยใหความคิด

ความรูสึก อารมณ ความทรงจํา ตลอดจนการรับรูทางประสาทสัมผัสของตัวละครไหลพร่ังพรูออกมา เร่ืองท่ีเลาจึงไมมีความตอเนื่องและไมมีการเรียบเรียงจัดลําดับ อีกท้ังผูแตงก็จะไมเขาไปแทรกแซง ตีความ หรืออธิบายความหมายใด ๆ ท้ังส้ิน เปนการคัดและถายทอดความรูสึกและ ความนึกคิดในจิตใจของตัวละครออกมาใหผูอานสัมผัสโดยตรง ผูแตงอาจใชวิธีการเลาเร่ืองแบบนี้ไปตลอดท้ังเร่ืองหรือใชเพยีงบางตอนหรือเฉพาะบางชวงของเร่ืองก็ได บทพูดเดี่ยวในใจ (Interior Monologue) คือ บทรําพึง หรือ การพูดในใจที่แสดงความคิดคํานึงของตัวละครออกมา ตวัละครจะบรรยายตามกระแสสํานึกและจังหวะความคิดท่ีผุดข้ึนมา ในจิตใจของเขาโดยท่ีผูแตงไมไปกาวกาย ฉะนั้นส่ิงท่ีถายทอดออกมาจงึอาจเปนภาษาท่ีใชผิด

ไวยากรณ ไมมีตรรกะ และเร่ืองท่ีเลาไมตอเนื่องตามลําดับการเกดิกอนหรือหลัง เพราะในหวง แหงความคิดคํานึงนี้ อดีต ปจจุบัน และอนาคตจะรวมเปนหนึ่งเดียว ผสมปนเปกันไปหมด

Page 33: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

38

เม่ือใดก็ตามท่ีผูแตงแทรกความคิดของตนเขาไปตีความ วิเคราะห หรือวิจารณการพูดในใจของตัวละคร จะเรียกวิธีการเหลานี้วา การวิเคราะหภายใน (Internal Analysis) เพราะถือวาส่ิงท่ีถายทอดออกมาน้ันเปนคําพูดของผูแตง ไมใชการพดูในใจของตัวละครอยางแทจริง นักวจิารณบางคนจะถือวา กระแสสํานึกกบับทพูดเดีย่วในใจนัน้ เปนคําท่ีใชสับเปล่ียนกันได แตโดยหลักการแลวมักจะนิยมใชกระแสสํานึกเม่ือตองการหมายถึงเทคนิคตาง ๆ ท่ีผูแตงใช เลาเร่ือง บรรยาย และแสดงสภาพท่ัวไปของตัวละคร ตลอดจนกระบวนการแหงจติสํานึกในตัวละคร และจะใชบทพูดเดีย่วในใจ เม่ือกลาวถึงเทคนิคเฉพาะท่ีถอดจิตสํานึกในจิตใจของตัวละครออกมาใหเห็น

การใชผูเลาเร่ืองแตละประเภทมีขอไดเปรียบ ขอเสียเปรียบ และขอจํากัดของการใชใน

ตัวของมันเอง การเลือกใชผูเลาเร่ืองของผูแตงจงึข้ึนอยูกับเนื้อเร่ืองและความคิดท่ีตองการเสนอ ท้ังนี้ผูแตงยอมตองเลือกการใชผูเลาเร่ืองท่ีจะชวยใหเขาสามารถบรรลุจุดมุงหมายของการเลาเร่ืองไดอยางดีท่ีสุด ผูแตงไมจําเปนตองใชผูเลาเร่ืองคนเดียวตลอดท้ังเร่ือง เขาสามารถเปล่ียนผูเลาเร่ืองไปมาไดตลอดเวลา เพื่อใหเร่ืองท่ีเลามีผลตามท่ีเขาตองการ แตสําหรับเร่ืองส้ันผูแตงมักจะคงอยู ท่ีผูเลาเร่ืองคนเดียว แตก็ไมมกีฎเกณฑบังคับตายตัว ท้ังนีข้ึ้นอยูกับความสามารถและฝมือของ ผูแตงวาจะคงรักษาเอกภาพของเร่ืองไวไดหรือไมถามีการใชผูเลาเร่ืองมากกวาหนึ่งคน

สุพรรณี โกศลวัฒน (2530, หนา 14-28) แบงวิธีการเลาเร่ืองออกเปน 4 ประเภทใหญ ๆ

ดังนี ้ 1. First Person Point of view ในบางตําราถือวาเปน Participant หรือผูมีสวนเกีย่วของ ในเร่ือง คือการเลาเร่ืองจากแงมุมของประธานเอกพจนบุรุษท่ี 1 หรือ “I” narration ซ่ึงการเลาใน

แงนี้ ประธานบุรุษท่ี 1 จะเขาพัวพันในเร่ืองดวย 1.1 บทบาทของ “I” ท่ีเกี่ยวของในเร่ือง โดยเปนไดท้ัง 1.1.1 Major Character หรือ Protagonist หรือ First Person Central คือ ผูเลาเองเปนตัวละครเอกของเร่ือง เปนวิธีการท่ีดูเปนธรรมชาติท่ีสุด เพราะผูอานจะรูสึกเหมือนไดฟงเจาของประสบการณนัน้ ๆ เลาดวยตัวเอง ผูเลาเปนเจาของเร่ือง เปนบุคคลท่ีมีสวนเกี่ยวของมากท่ีสุด แตผูอานควรแยกใหออกวา “I” ในเร่ืองเปนผูเขียน หรือเปนตัวละครเอกท่ีผูเขียนสรางข้ึนมา 1.2.2 Minor Character หรือ Observer หรือ First Person Peripheral คือ ผูเลาเองไมไดเปนตัวละครสําคัญของเร่ือง แตเปนเพียงตัวประกอบ หรือเปนผูสังเกตการณ เปน

ผูเลาเหตุการณสําคัญท่ีเกิดข้ึนกับตัวละครเอก และความเปนไปของเร่ือง โดยท่ีตัวผูเลาเองอาจเปนเพียงผูมองเหตุการณอยูหาง ๆ แลวรายงานตามท่ีตนเหน็ใหผูอานทราบ โดยตัวเองมิไดไปเกี่ยวของดวย หรือเกีย่วของเพียงเล็กนอย มิใชเขาไปเลนบทบาทหลักเสียเอง อยางไรก็ดี ผูเลาควรมีสายตา

Page 34: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

39

ท่ีเท่ียงตรง ไมลําเอียง เม่ือตองวิพากษวจิารณ ในบางคร้ังขอมูลท่ีผูเลาไดรับมาก็มิใชประสบพบเหน็มาดวยตนเอง แตไดรับเพยีงขอมูลช้ันสอง (Second-hand) ฟงตัวละครอื่นมาอีกทีหนึ่ง ดังนั้นถาผูเลาเลาโดยปราศจากอคติจึงจะเช่ือถือได 1.2 รูปแบบการเลาเร่ืองโดยใชประธานบุรุษท่ี 1 มีดังน้ี

1.2.1 Autobiography หรือ Pseudo-autobiography เปนการเลาส่ิงท่ีผูเขียนเองประสบมาดวยตนเอง หรือไดรูเห็น หรือไดยินไดฟงมาใหผูอานไดทราบ

บางคร้ังผูเขียนใชประธานบุรุษท่ี 1 ในการเลา เสมือนหนึ่งเปนประสบการณของตนเอง แตแทจริงแลวเปนเพียงเร่ืองท่ีแตงข้ึน (Pseudo-autobiography) “I”

เปนตัวละครท่ีผูประพันธแตงข้ึน โดยสมมติวาเปนตัวผูประพันธเอง

1.2.2 Epistolary เปนการเลาเร่ืองในรูปของจดหมายท่ีเขียนถึงกันระหวางตัวละครตาง ๆ นิยมใชการเขียนเปนจดหมายนี้กนัมากในชวงศตวรรษท่ี 18

ขอเสียอยางหนึ่งของการใชจดหมาย คือ เร่ืองมักจะดําเนินไปไดชาและ มีความยาวมาก เนื่องจากขาดการบรรยายเหตุท่ีเกดิข้ึนอยางฉับพลันทันใด ผูอาน ตองประติดประตอเร่ืองตาง ๆ เขาดวยกันทีละเล็กละนอยจากจดหมายของบุคคลตาง ๆ แตขอดีคือผูเขียนสามารถใชเวลาในการตีแผขบวนการข้ันตอน ความคิดและจิตใจของมนุษยไดอยางเต็มท่ี

อยางไรก็ดี วิธีการเลาเร่ืองแบบจดหมายของตัวละครนี้ นิยมกนัมากเฉพาะชวงศตวรรษที่ 18 สวนนักเขียนยุคใหมอาจมีใชอยูบางประปราย อาจจะเพียงแทรกจดหมายเขามาเปนบางตอนท่ีผูเขียนเห็นวาเหมาะสมกวาจะใชเลาเร่ืองอยางธรรมดา 1.2.3 Personal Authorial Interruption คือการท่ีผูเขียนกลาวแทรกความคิดเห็นสวนตัวในฐานะท่ีผูเขียนลงไปในขณะท่ีเร่ืองกําลังดําเนินไป แมผูเขียนจะใชประธานบุรุษ

ท่ี 1 ในการเลา หรือเลาจากแงมุมของตนเองก็ตาม แต “I” ในเร่ืองก็เปนตัวละครตัวหนึ่ง หรือ ตวัละครเอกในเร่ือง ดังน้ันเม่ือผูเขียนตองการคุยกับผูอานเปนสวนตัว เชน ตองการสอนศีลธรรม

ตองการแกตวัอะไรบางอยาง หรือตองการทําใหเกิดบรรยากาศเปนกันเองระหวางผูเขียนกับผูอาน

จึงตองเขียนแทรกลงไปในขณะท่ีเร่ืองกําลังดําเนินไป วธีิการกลาวแทรกเชนนี้ มกัไมคอยพบในเร่ืองสมัยใหม จะพบก็แตในนวนยิายยุคเกาเทานั้น

โดยสรุปแลว วิธีการเลาเร่ืองโดยใช “I” มีจดุออนอยูท่ีขอจํากัดบางประการ กลาวคือ ผูเลาจะไมสามารถลวงรูความคิดของตัวละครตัวอ่ืนได นอกจากของตนเองท่ีอาจทําไดก็เปนเพยีงการคาดเดาเทานั้น และไมสามารถรูถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึนในท่ีอ่ืน ๆ ท่ี “I” ไมไดอยูดวย ดงันั้นจึงมีวิธีการเลาเร่ืองอีกแบบหนึ่งท่ีจะสามารถแกปญหาดังกลาวไปได นั่นก็คือ วิธีการเลาแบบประธานบุรุษท่ี 3

ตอไปนี ้

Page 35: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

40

2. Third Person Point of view หรือ Non-Participant Point of View คือการเลาเร่ืองโดย ท่ีผูเลามิไดเปนตัวละครดวย เลาจากแงมุมของประธานบุรุษท่ี 3 มี 3 ชนดิ คือ 2.1 Omniscience (Omniscient-adjective) คือการเลาเร่ืองชนิดท่ีผูเลา หรือผูเขียน

รูทุกส่ิงทุกอยางท่ีเกิดข้ึน ไมวาจะเปนท่ีใดและเม่ือใดผูเขียนจะเหน็ทุกส่ิง ไดยินทุกส่ิง เขาใจทุกส่ิง และสามารถเขาไปในจิตใจของตัวละครไดทุกตัว แลวเปดเผยความคิดของตัวละครเหลานั้น และวิเคราะห วิจารณส่ิงตาง ๆ ท้ังทางกายภาพและจิตภาพได ดังน้ันวิธีการเลาเร่ืองแบบนี้ จึงไดชื่ออีกชื่อหนึ่งวา Eye-of-god คือพระเนตรของพระเจาท่ีทรงรูเห็นทุกส่ิงทุกอยาง วิธีการเลาดังกลาวนี้ อาจแยกความแตกตางออกไปไดอีกเปน 2 สถานคือ 2.1.1 Neutral Omniscience คือการเลาจากแงมุมของบุรุษท่ี 3 รูเห็นทุก ส่ิงท่ีเกิดข้ึน ท้ังการกระทําและความคิดของตัวละคร แตผูเลามิไดวิจารณ หรือเติมความคิดเห็นสวนตัวของผูเลาเองลงไปดวย มิไดบอกวาการกระทําดังกลาวของตัวละครดีหรือเลวอยางไร เหมาะสมหรือไม ตัวละครคิดถูกตองแลวหรือยัง เปนตน

2.2.2 Editorial Omniscience คือการเลาจากแงมุมของบุรุษท่ี 3 รูเห็น

ทุกส่ิงท่ีเกิดข้ึนท้ังการกระทําและความคิดของตัวละคร แตในขณะเดยีวกันผูเลากว็ิพากษวจิารณ เสริมความคิดเห็นสวนตัวของผูเลาประกอบไปดวย

2.2 Limited หรือบางตําราเรียก Central Intelligence คือวิธีการเลาเร่ืองจากแงมุมของบุรุษท่ี 3 เชนเดียวกับ Omniscience ตางแตวาแบบ Limited นั้นผูเลาจะจํากัด (Limited,

restricted) การหยั่งรูถึงจิตใจของตัวละครเพียงตัวเดยีวเทานั้น ไมสามารถรูจิตใจ หรือความนึกคิดของตัวละครตวัอ่ืน ๆ ได ผูเลาจะเลือกเขาถึงจิตใจของตัวละครตัวใดตัวหนึ่ง ดังน้ันในบางคร้ัง จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา Selective Omniscience

2.3 Fly-on-the-wall หรือ Dramatic Point of view หรือ Objective Omniscience

เปนรูปแบบการเลาเร่ืองแบบท่ีตรงกันขามกับ Omniscience โดยส้ินเชิงกลาวคือในขณะท่ีการเลาแบบ Omniscience ผูเลาจะรูทุกส่ิงทุกอยาง วิเคราะหวิจารณและบรรยายทุกส่ิงทุกอยางได แมแต ในจิตใจของตวัละครทุกตัว ในทางตรงกันขาม Fly-on-the-wall จะไมเขาถึงจิตใจของตัวละครตัวใดเลย ผูเลาเพียงแตรายงานใหผูอานทราบตามท่ีเห็นเทานั้น ผูอานจะเปนผูตัดสินเอง จะวิเคราะหเอาเอง ผูเลาเปรียบเสมือนชางถายภาพออกมา ผูอานเปรียบเสมือนผูดู และวิจารณภาพเหลานั้น ดังน้ันจึงมีชื่อเรียกอีกช่ือหนึ่งวา The Camera ในบางตําราเปรียบเทียบวา เหมือนการไปชมละครบนเวที

ผูชมเห็นเหตุการณท่ีเกิดข้ึนบนเวที แตไมทราบวาตัวละครคิดอยางไร ผูชมตัดสินเอาเองจากส่ิงท่ี

ไดเหน็ และไดฟง

Page 36: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

41

อยางไรก็ดี ผูอานพึงสังเกตวา แมวาผูเขียนจะไมวิจารณลงไปตรง ๆ หรือไมเขาถึงจิตใจตัวละครตัวใดเลยก็ตาม การเลือกใชคําของผูเขียนก็มักจะเปนสวนท่ีชวยช้ีบงถึงความคิดเหน็

และทัศนคติทาทีของผูเขียนท่ีมีตอตัวละคร หรือเหตุการณนั้น ๆ แตละคําท่ีผูเขียนเลือกใชนั้น เปนตัวกําหนดทาทีของผูเขียนอยางไร ผูเขียนชอบตัวละครนั้น ๆ หรือไม ผูอานยอมพึงสังเกตเห็นได 3. Stream of Consciousness เปนการเลาเร่ืองแบบบันทึกความคิดของตัวละคร ความคิดของตัวละครแลนไปอยางไร ผูเขียนก็จะบันทึกไปอยางนัน้ ลําดับความคิดอาจจะสับสน หรือไมมีการเรียงลําดับ ไมมีเหตุผล ไมมีการจัดระเบียบความคิดกอนแลวจึงบันทึกลงไป ผูเขียนจะบันทึกตามความเปนจริงใหไหลล่ืนไปอยางธรรมชาติความนึกคิดของจติใจมนุษย ดังนั้น จะเหน็ไดวา การเขียนบางทีก็ไมเปนประโยคท่ีสมบูรณ อาจเปนแควลี หรือแคคํา ซ่ึงบางคร้ังแมแตคําก็ยังไมครบถวนสมบูรณ การเขียนแบบ Stream of Consciousness นี้มักจะเปนวิธีการของนวนิยายเชิงจิตวิทยา เพราะการบันทึกความคิดอานท่ีผานเขามาในใจของคนนั้นเปนการเหมาะสําหรับการวิเคราะห เชิงจิตวิทยา ในนวนิยายสมัยใหมท่ีใชวิธีการเลาเร่ืองแบบนี้ มักจะมีอิทธิพลของจิตวิทยาของฟรอยด (Freudian psychology) เขาแทรกอยูมาก มกีารใชการพูดในใจกับตัวเอง (Interior Monologue)

เขาประกอบดวยเปนการนําเสนอใหผูอานรูจักตัวละครอยางลึกซ้ึงยิ่งข้ึน

4. Mixed Point of View คือวิธีการเลาเร่ืองโดยการใชวิธีการตาง ๆ ท่ีกลาวมาผสมกัน

นักเขียนสมัยใหมสวนใหญมักจะใชการเลาเร่ืองหลายวิธีปนกัน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับวาวิธีใดจะเหมาะสมกับจุดประสงคของผูเขียนในแตละตอนของเร่ือง ตอนหนึ่งอาจจะเขียนโดยใชประธานบุรุษท่ีหนึ่งเปนผูเลาเร่ือง อีกตอนหนึ่งอาจจะใช Stream of Consciousness แทรกเขามาประกอบ เม่ือผูเขียนตองการจะเปดโปงความคิดของตัวละครนัน้ ๆ ในทํานองเดียวกัน ผูเขียนอาจเร่ิมเร่ืองดวยวิธีเลาแบบ Omniscience แทรกดวย Stream of Consciousness แลวนําเอาจดหมาย หรือสมุดบันทึกของ ตัวละครเขามาประกอบ ถาหากเหมาะสมและไดผลตามท่ีผูประพันธตองการ อิราวดี ไตลังคะ (2543, หนา 31-48) ไดอธิบายเร่ืองของกลวิธีการนําเสนอเร่ืองไวอยางนาสนใจ ดังนี ้ ส่ิงสําคัญประการแรกที่เราตองทําความเขาใจกอนก็คือ ผูเลาเร่ือง ไมใช ผูเขียน มักจะมี

การวิจารณท่ีเขาใจประเด็นนี้ผิดไปเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่ง เร่ืองเลาท่ีใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 นั้น

มักมีผูเขาใจวา “ฉัน” “ผม” “ขาพเจา” คือ ผูเขียนเร่ืองนัน้ ๆ ผูเลาเร่ืองจะเปนคนเดยีวกบัผูเขียนไมไดแน เพราะในบางกรณีผูเขียนเปนผูหญิง แตผูเลาเร่ืองเปนผูชาย หรือเปนเด็ก มแีมกระท่ังเร่ืองท่ีผูเลาเร่ืองเปนสัตว ดังนั้นเราตองแยกผูเขียน และผูเลาเร่ืองออกจากกันใหไดวา ผูเขียนอยูนอกเร่ือง แตผูเลาอยูในเรื่อง

Page 37: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

42

แทท่ีจริงแลว การเลือก “ผูเลาเร่ือง” เปนวิธีการนําเสนออยางหนึ่งของผูเขียนวาใครจะเปนคนเลาเร่ือง ดังน้ันการเลือกผูเลาเร่ืองจึงเปนวิธีการท่ีผูเขียนจะ “ควบคุม” ความรับรูของผูอานนั่นเอง ผูเลาเร่ืองมีอยูสองประเภทใหญ ๆ คือ ผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครในเร่ือง (Internal narrator) กับ

ผูเลาเร่ืองท่ีไมใชตัวละครในเร่ือง (External narrator)

ผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครในเร่ือง ท่ีเรียกกันวา ผูเลาเร่ืองแบบใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 นัน้มีสองประเภท คือ 1. ผูเลาเร่ืองท่ีเลาส่ิงท่ีตนเองประสบมา เรียกวา ผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครหลัก (Character

narrator) ในรวมเร่ืองส้ัน คืนหนาวท่ีเหลือแตดาวเปนเพื่อน ของ สุวรรณี สุคนธา มีอยูหลายเร่ือง ไดแก "ฉัน” ใน “บทแรกเร่ิมท่ี...ยินโทนิค” และ “เร่ืองของลูก” “เรา” ใน “ภูเขา ทะเล พระจันทร ของแสลง” และ “เฟองฟาแดงกับเร่ืองรัก ๆ ใครๆ” ผูเลาเร่ืองประเภทนี้เปนท่ีรูจักกนัดีอยูแลว แตผูเลาเร่ืองประเภทนี้ ในบางเร่ืองอาจมีความแตกตางออกไปอีก เชนเร่ือง ขางหลังภาพ

คือมี “ขาพเจา” ใน “ปจจุบัน” ของเร่ือง (Older narrator-I) กับ “ขาพเจา” เม่ือหกปท่ีแลว (Younger

Character-I) การแบงแยกความแตกตางเชนนี้เปนส่ิงท่ีสําคัญมาก เพราะทําใหเราเขาใจวา ตวัละคร “ขาพเจา” นั้นมีทัศนะท่ีแตกตางกันเม่ือเวลาผานไป

ตัวอยางของเร่ืองส้ันท่ี “เลน” การใชผูเลาเร่ืองท่ีมีผูเลาเร่ืองเปนตัวละครหลักคือเร่ือง “ปริศนารัก” ในรวมเร่ืองส้ัน คืนหนาวท่ีเหลือแตดาวเปนเพื่อน ของ สุวรรณี สุคนธา เร่ืองนี้มีผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครหลักสองคน คนแรกท่ีเลาเร่ืองกอนคือ “ฉัน” เปนหญิงมายท่ีหลงรักชายหนุม

คนหนึ่ง จนรูสึกวาขาดเขาไมได แตเม่ือเขาตีตัวออกหาง “ฉัน” ก็ตามรังควาน ผูเลาเร่ืองคนท่ีสองเปนชายหนุมท่ี “ฉัน” หลงรัก เลาเร่ืองเดียวกัน ทําใหผูอานไดเห็น “มุมมอง” ของ “ผม” ท่ีแตกตางออกไป การเลาเร่ืองโดยใชผูเลาเร่ืองเชนนีทํ้าใหผูอานตองตัดสินวาจะเขาใจหรือเห็นใจฝายใดดี

ใครเปนผูเลาเร่ืองท่ี “เช่ือถือได” ซ่ึงในเร่ืองนี้ผูอานอาจจะตัดสินไมไดเลย นี่คือ การท่ีผูแตง “เลน”

กับกลวิธีการใชผูเลาเร่ือง ดังนั้นในศาสตรของเร่ืองเลานี้จึงไดมีประเด็น “ผูเลาเร่ืองท่ีเช่ือถือได / เช่ือถือไมได”

(reliable / unreliable narrator) ข้ึนมาเม่ือมีการใชผูเลาเร่ืองแบบ I-narrator ผูแตงบางคนตองการลอเลียนตัวละครท่ีเลาเร่ืองอยางบิดเบือนเพราะความไมรู เพราะไมตั้งใจ หรือเพื่อผลประโยชนบางอยาง ผูอานจะไดความสนุกสนานอยางยิ่งจากการไดเห็นชองวางระหวางความจริงกับความเท็จ นวนยิายท่ีใชผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครหลักท่ีแปลกมากคือ เร่ืองเบญจรงคหาสี ของ รักรอย เร่ืองนี้ใชผูเลาเร่ืองแบบสรรพนามบุรุษท่ี 1 ท่ีแตกตางกับเร่ืองอ่ืนคือการใช “เรา” ซ่ึงหมายรวมถึงสาวหาคน คือ มนสินี ชองนาง วาตี พวงแสด และปาริมา ท่ีอาศัยอยูในบานท่ีคลายหอพัก จากนั้น

ผูเลาเร่ืองคือ “เรา” ก็เลาเร่ืองราวของแตละคน ซ่ึงมีท้ังประวัติความเปนมา ประสบการณท่ีแตละคน

Page 38: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

43

พบ รวมท้ังวพิากษวจิารณการกระทําและนสัิยใจคอของแตละคน โดยนวนิยายแบงออกเปนหาตอน

เลาชีวิตของแตละคน

ความแปลกจึงอยูท่ีตรงนี้ ในแงของการเลาเร่ืองนั้น การจะใชผูเลาเร่ือง “เรา” ซ่ึงแทนคน

ท้ังหาคนเลาเร่ืองของตัวละครหน่ึงในหาคนน้ัน เปนส่ิงท่ีไมสมเหตุสมผลเพราะทําใหเกิดความสับสน เนื่องจากขณะท่ีเลาเร่ืองของแตละคนนั้น “เรา” ตองหมายถึงส่ีคนท่ีเหลือ แตในเร่ืองนั้น

ท้ังส่ีคนไมไดมีความเหน็สอดคลองกันทําใหในท่ีสุดผูอานจะสับสนวา “เรา” คือใคร นอกจากนี้ “เรา” ยังถายทอดความคิดของตัวละครแตละตัวได ซ่ึงเปนไปไมไดเลยในแงของการเลาเร่ือง ในแงของศาสตรของการเลาเร่ือง ส่ิงท่ีพอจะอธิบายไดก็คือ ผูเลาเร่ือง “เรา” ในเร่ืองนี ้เปนการใชสรรพนามบุรุษท่ี 1 แบบแฝง (pseudo first person narrator) แทท่ีจริงแลวก็คือ ผูเลาเร่ืองแบบผูรูนั่นเอง 2. ผูเลาเร่ืองท่ีเปนพยาน (witness-narrator) เปนผูเลาเร่ืองท่ีไมไดเปนตัวละครหลัก แตเปนตัวละครรองในเร่ืองท่ีเปน “พยาน” รับรูส่ิงท่ีเกิดข้ึนกับตัวละครหลัก และนําเร่ืองนั้น ๆ มาเลา ลักษณะของผูเลาเร่ืองประเภทนี้คือ เปนผูเลาเร่ืองท่ีมีความรับรูจํากัด เพราะไมสามารถรับรูความคิดหรือเร่ืองราวทั้งหมดท่ีเกิดข้ึนกับตัวละครหลักได เหมาะกับเร่ืองแนวระทึกใจ เพราะผูอานจะรับรูเทา ๆ กับผูเลาเร่ือง สําหรับบันเทิงคดีไทยนั้นวิธีการใชผูเลาเร่ืองประเภทนี้พบในบันเทิงคดีรุนเกา ผูเลาเร่ืองท่ีไมใชตัวละครในเร่ือง ผูเลาเร่ืองแบบนี้ตางกับแบบแรกคือไมไดปรากฏเปน

ตัวละครในเร่ือง อาจแบงไดเปนสามแบบคือ 1. ผูเลาเร่ืองแบบผูประพันธ (Authorial narrator) เปนผูเลาเร่ืองท่ีไมใชตัวละคร แตเรียกตัวเองวา “ขาพเจาผูเขียน” หรือ “ผูเขียน” มักพบผูเลาเร่ืองแบบนี้ในงานรุนเกา อยางไรก็ตาม

ยังตองระลึกไวเสมอวา ผูเลาเร่ืองแบบผูประพันธนี้ไมใชผูเขียน ผูเลาเร่ืองแบบนี้มักแสดง ความคิดเหน็ วิพากษวจิารณตัวละคร รูอดตี ปจจุบัน และอนาคตของตัวละครทุกตัว 2. ผูเลาเร่ืองแบบเสมือนมีตัวตน (Person narrator) แบงออกเปนสองแบบ

แบบแรกคือ ผูเลาเร่ืองแบบผูรู (Omniscient) เปนผูเลาเร่ืองท่ีคลายกับผูเลาเร่ืองแบบผูประพันธคือ แสดงทัศนะ ความเหน็ ตีความ วิจารณได สามารถถายทอดอดีต ปจจุบัน และอนาคตของตัวละครได รูความคิดของตัวละคร ฯลฯ สวนท่ีตางคือ ผูเลาเร่ืองประเภทนี้จะไมเรียกตัวเองวา “ขาพเจา” หรือ “ผูเขียน” ผูเลาเร่ืองประเภทนี้จะเปนเพยีง “เสียง” แตผูอานจะรูสึกเสมือนวามีตวัตน

เพราะ “เสียง” ท่ีวิจารณหรือตัดสินตัวละครนั่นเอง เราจะรูสึกวาผูเลาเร่ืองมีทัศนะ หรือบรรทัดฐานในการตัดสินส่ิงตาง ๆ

แบบท่ีสองคือ ผูเลาเร่ืองแบบรับรูจํากัด (Limited) เปนผูเลาเร่ืองท่ีเลาความคิดความรูสึก

หรือความเปนไปของตัวละครตัวเดยีว ผูเลาเร่ืองแบบนี้ไมแตกตางกับผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลัก

Page 39: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

44

(Character narrator) เพราะผูอานรับรูความคิดของตัวละครไดตัวเดียว ส่ิงเดียวท่ีตางกนัคือ สรรพนามท่ีเรียกตัวละครเทานั้น สําหรับนวนิยายไทยไมใครใชผูเลาเร่ืองแบบนี้นกั

3. ผูเลาเร่ืองแบบไมแสดงทัศนะของตน (Impersonal narrator) หรือ แบบวัตถุวิสัย (Objective) หรือแบบตาของกลอง (Camera eye) เร่ืองท่ีมีผูเลาเร่ืองแบบนี้ดูคลายกับวา เหตุการณเกิดข้ึนเองโดยไมมีผูเลา คลายเรากําลังดภูาพยนตร เพราะผูเลาเร่ืองบรรยายเฉพาะลักษณะภายนอก

หรือเหตุการณ หรือบทสนทนา โดยท่ีไมเขาไปในความคิดของตัวละคร ทําใหผูอานตองตีความเอาเองจากการกระทําของตัวละคร จึงเปนเร่ืองท่ีเขาใจยาก นักเขียนท่ีมักใชผูเลาเร่ืองแบบนี้

การใชผูเลาเร่ืองท่ีไมเปนไปตามขนบ

วรรณกรรมรวมสมัยของไทยมีหลายเร่ืองท่ีผูเขียนพยายามใหความสําคัญแกการเลือกใช ผูเลาเร่ืองท่ีไมเปนไปตามขนบเพ่ือตองการความแหวกแนวเปนหลัก เร่ืองท่ีเดนมากเร่ืองหนึ่งคือ หมาเนาลอยน้าํ ของ ชาติ กอบจิตติ ท่ีอาจจะลอเลียนการใชสรรพนามในการเลาเร่ือง วามีผูเลาเร่ืองแบบสรรพนามบุรุษท่ีหนึ่งและสามแลว กน็าจะมีผูเลาเร่ืองแบบสรรพนามบุรุษท่ีสองได การท่ีผูเขียนใชสรรพนามบุรุษท่ีสอง ทําใหผูอานรูสึกใกลชิดกับเหตุการณหรือเขาถึงอารมณมากข้ึน

เพราะสรรพนามท่ีใชทําใหดปูระหนึ่งวาเปนประสบการณของผูอานเอง นับวาเปนการใชผูเลาเร่ืองเชนนี้เปนคร้ังแรกในบันเทิงคดีไทย ในเร่ือง บันทึกถึงวันพรุงนี้ ของ ละเวง ปญจสุนทร มีการสลับไปมาระหวางการใชผูเลาเร่ืองแบบรับรูจํากัด กับการใชผูเลาเร่ืองท่ีเปนตัวละครหลัก ในทางทฤษฎีเร่ืองเลา การใชผูเลาเร่ืองแบบรับรูจํากดั กับผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลักใหผลแบบเดียวกัน คือผูเลาเร่ืองแบบรับรูจํากัดเลาความคิดของตัวละคร “เล็ก” ตัวเดยีวเทานัน้ โดยไมเลาความคิดของคนในครอบครัวคนอ่ืน ๆ

เม่ือผูเขียนเปล่ียนไปใชผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลัก “ผม” ผูอานก็รับรูเฉพาะ “ผม” ซ่ึงก็คือ “เล็ก”

เทานั้นเชนกัน ดังน้ันในเร่ืองนี้แมจะเปล่ียนผูเลาเร่ืองเปนสองแบบ ผลก็เปนแบบเดียวกันคือผูอานรับรูจํากัดเทากัน ซ่ึงจะพิสูจนไดโดยการสลับสรรพนาม “ผม” และ “เขา” แทนท่ีกนั ดังนั้นการเปล่ียนผูเลาเร่ืองในเร่ืองนี้จึงไมมีผลตอการรับรูของผูอาน เพียงแตอาจจะทําให “แหวกแนว”

ไมเกิดความจําเจ สวนนวนิยายเร่ือง เพราะชีวติเปนของเรา ของ อรุณวดี อรุณมาศ นั้นนับไดวาแหวกแนวท่ีสุด เพราะเปนการสลับการใชผูเลาเร่ืองแบบผูรูกับผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลัก ผูเลาเร่ืองแบบผูรูเลาเร่ืองผานมุมมองของ “เพื่อน” และ “หญิง” สลับกัน สวน “หนุม” เปนผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลักท่ีใชสรรพนามวา “ผม” การเลาเร่ืองเปนการ “แยงกนัเลา” ระหวางผูเลาเร่ืองสองแบบนี้ท่ีกอใหเกิดความสับสนไดงาย ดังน้ันในการพิมพจึงตองใชตัวหนังสือตางกันเพื่อแยกมุมมอง

Page 40: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

45

ดังนั้นเร่ืองนีจ้งึเปนการเลาสลับไปมาระหวางผูเลาเร่ืองแบบผูรูท่ีไมไดเปนตัวละครในเร่ืองผานมุมมองของตัวละครหลักฝายหญิง กับผูเลาเร่ือง “ผม” ท่ีเปนตัวละครในเร่ืองและรับรูจํากัด คือไมสามารถรับรูความคิดของหญิงและเพื่อนได ตามทฤษฎีเร่ืองเลา ผูเลาเร่ืองสองแบบนี้ไมสามารถเลาเร่ืองพรอมกันได เพราะผูเลาเร่ืองแบบหนึ่งอยูในเร่ือง แตอีกแบบหนึ่งไมไดอยูในเร่ือง จึงเปนการขัดตรรกของการเลาเร่ือง การสลับผูเลาเร่ืองท่ีเปนไปไดก็เชน ใหท้ังหญิง เพ่ือน หนุม เปนผูเลาเร่ืองแบบตัวละครหลักเลาสลับกัน

หรือใหผูเลาเร่ืองแบบผูรูเลาผานมุมมองของตัวละครทั้งสามตัวสลับกัน ซ่ึงก็จะไดผลแบบเดียวกนั

คือผูอานรับรูเทากันไมวาจะใชแบบใด

กลวิธีการเลาเร่ือง : การนําเสนอเร่ือง ในการเลาเร่ืองท่ัว ๆ ไป เม่ือมีผูเลาเร่ืองดังท่ีไดอภิปรายไปแลว ก็ตองมีการนําเสนอเร่ือง ซ่ึงมักเปนการผสมผสานระหวางการสรุปหรือเลายอ (ประวัติครอบครัวของตัวละครหรือประวัติความเปนมาของตัวละคร) การพรรณนา (สภาพบานเมือง ภูมิประเทศ สถานท่ี) การถายทอดความคิดและความรูสึกของตัวละคร การเสนอบทสนทนาของตัวละคร ฯลฯ

การท่ีจะนาํเสนอเร่ืองอยางไรนั้นอยูท่ีลักษณะของผูเลาเร่ืองดวย เชนหากเร่ืองหนึ่งใชผูเลาเร่ืองแบบผูประพันธ หรือผูเลาเร่ืองแบบผูรู การเลาเร่ืองมักมีการสรุปหรือเลายอประวัติความเปน

มาของเร่ือง บางคร้ังผูเลาเร่ืองพรรณนาลักษณะของภูมิประเทศ หรือสถานท่ี การเลาของผูเลาเร่ืองแบบนี้จะมีลักษณะท้ังสรุปยอในเชิงของเวลา (Temporal) เชน สรุปประวัติบรรพบุรุษของตัวละครท่ีกินระยะเวลาเปนสิบ ๆ ป ภายในสองหนากระดาษ รวมท้ังการบรรยายในเชิงพื้นท่ี (Spatial) เชน

บรรยายส่ิงท่ีใหญท่ีสุด เชน ภูมิประเทศท่ีมองจากมุมสูงจนถึงส่ิงท่ีเล็กสุดได แตถาเปนผูเลาเร่ืองแบบไมแสดงทัศนะของตน การนําเสนอเร่ืองก็จะแตกตางออกไป คือจะไมมกีารเลายอความเปนมา การบรรยายสถานท่ีหรือภมูิประเทศ แตมักเปนลักษณะของการบรรยายแบบ “ตาของกลอง” ท่ีเนนเสนอลักษณะภายนอกของวัตถุ นอกจากนําเสนอภาพท้ังอดตีและปจจุบัน และลักษณะภายนอกของวัตถุแลว ส่ิงท่ีเร่ืองเลานําเสนอยังเปนความรูสึกและความคิดของตัวละคร เพราะเปนส่ิงสําคัญท่ีทําผูอานรูจักตัวละครมากข้ึน วิธีการท่ีจะถายทอดคําพดู ความคิดและความรูสึกของตัวละครนั้นมีหลายแบบตามความเห็นของ Chatman ดังนี ้ 1. ผูเลาเร่ืองสรุปความคําพูดหรือความคิดของตัวละครหรือรายงานผูอาน (Report) เพือ่ความรวดเร็วของการเลาเร่ือง 2. ผูเลาเร่ืองยกคําพูดของตัวละคร (Quotation) อาจเปนการยกคําพูดของตัวละครมาเสนอโดยตรง (Direct quotation) หรือยกความคิดของตัวละครมาเสนอโดยตรงก็ได

Page 41: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

46

นอกจากการยกคําพูดตัวละครมาเสนอโดยตรงแลว ยังมีกลวิธีท่ีผูเลาเร่ืองถายทอดความคิดหรือคําพูดของตัวละคร (Indirect quotation) ซ่ึงจะแตกตางกับแบบเสนอโดยตรง ตรงท่ีจะไมมีเคร่ืองหมายคําพูด และสรรพนามในเคร่ืองหมายคําพดูจะเปล่ียนจากสรรพนามบุรุษท่ี 1 เปนสรรพนามบุรุษท่ี 3

บางคร้ังตัวละคร “พูด” กับตัวเองโดยท่ีผูเลาเร่ืองไมไดเปนส่ือกลางถายทอด ลักษณะเชนนี้เรียกวา บทพูดเดี่ยวในใจ (Interior monologue) ลักษณะเหมือนการพูดเดีย่วในละคร (Soliloquy)

เพียงแตเปล่ียนเปนการพดูในใจเทานั้น บทพูดเดีย่วในใจใชผสมกับการเลาเร่ืองแบบอ่ืน ๆ

ดังนั้น การท่ีเราจะรูวาตอนใดเปนบทพดูเดีย่วในใจนั้นดท่ีู

1. การใชสรรพนามซ่ึงตองเปนสรรพนามบุรุษท่ี 1

2. ไมมีผูเลาเร่ืองมาเปนตัวกลางในการถายทอด

3. ตัวภาษาตองเปนภาษาของตัวละครเอง 4. อาจเปนขอความท่ีอาจอานไมเขาใจได เพราะตัวละครอาจคิดฟุงซาน หรืออาจเห็นอะไรบางอยางท่ีทําใหคิดถึงส่ิงนัน้ข้ึนมา ซ่ึงไมตอเนื่องกับความคิดกอนหนานี้ สําหรับวรรณกรรมของภาษาท่ีมีกาล (Tense) กาลของประโยคบทพูดเดี่ยวในใจตองเปนกาลปจจุบัน (Present Tense) ซ่ึงทําใหสามารถแยกบทพูดเดี่ยวในใจออกจากกลวิธีอ่ืนไดชัดเจน

แตอยางไรก็ตามแมในภาษาไทยจะไมมีกาล แตก็มีลักษณะอยางอ่ืน ๆ ท่ีทําใหเห็นแตกตางชัดเจนดังกลาวแลว บทพูดเดีย่วในใจ เปนกลวิธีในการเสนอความคิดของตัวละครในวรรณกรรม ใชในความหมายเดียวกับ กระแสสํานึก (Stream of Consciousness) ท้ังในตางประเทศและประเทศไทย แตก็มีผูไมเหน็ดวยกับการใชศัพทสองศัพทนี้ในความหมายเดียวกัน ใน Dictionary of Narratology

ใหความแตกตางไววา บทพูดเดี่ยวในใจ เสนอความคิดของตัวละครมากกวาเสนอภาพท่ีเห็น

และใชภาษาท่ีถูกตองตามหลักไวยากรณ ในขณะท่ี กระแสสํานึก เสนอท้ังความคิดและภาพท่ีเห็น

และลักษณะของภาษาอาจไมถูกตองตามหลักไวยากรณ สวน โรเบิรต โชลสและโรเบิรต เคลล็อก

กลาวไวใน The Nature of Narrative วา บทพูดเดีย่วในใจเปนศัพททางวรรณกรรมหมายถึง กลวิธีการเสนอความคิดตัวละครในวรรณกรรมโดยท่ีผูเลาเร่ืองไมไดเปนตัวกลางในการถายทอด กลวิธีนี้มีใชมานานแลว เชน ปรากฏในงานของโฮเมอร ในขณะท่ีกระแสสํานึกเปนคําท่ีปรากฏในงานจิตวิทยาของวลิเลียม เจมส เม่ือป ค.ศ. 1890 เปนศัพททางจิตวิทยาท่ีแสดงกระบวนการทางความคิด

เม่ือมีการนํามาใชในวรรณกรรมจึงหมายถึง การนําเสนอกระบวนความคิดของตัวละครท่ีไมตอเนื่อง ไมสมเหตุผล และภาษาไมถูกตองตามหลักไวยากรณ เชน ไมมีประธานของประโยค

ไมมีเคร่ืองหมายวรรคตอน (หมายถึงในภาษาอังกฤษ) สวนซีมอร แชตแมน ใน Story and

Page 42: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

47

Discourse: Narrative Structure in Fiction and Film มคีวามหมายเห็นคลายโชลส และเคลล็อกวา บทพูดเดีย่วในใจเปนกลวิธีทางวรรณกรรมท่ีเสนอความคิดตัวละครโดยที่ผูเลาเร่ืองไมไดเปนตัวกลางในการถายทอด ดังนั้นจะตองคงภาษาของตัวละครไว (เชน การใชสรรพนามบุรุษท่ี 1)

เพื่อเลียนแบบ “การพูดกับตัวเอง” ในใจ แตกระแสสํานึกเปนการนําเสนอกระบวนการคิดของ ตัวละครท่ีไมตอเนื่อง เพื่อใหเขาใจงายข้ึน เราอาจแยกความแตกตางของศัพทสองศัพทไดดงันี้ บทพูดเดีย่วในใจเปนกลวิธีการนําเสนอความคิดตัวละคร โดยท่ีไมมีผูเลาเร่ืองเปนตัวกลาง ดังนั้นจึงพบแทรกอยูกับการนําเสนอเร่ืองแบบอ่ืน ๆ เชน การสรุปของผูเลาเร่ือง การยกคําพูดและความคิดของตัวละครมาเสนอโดยตรง การถายทอดความคิดและคําพูดของตัวละคร โดยผูเลาเร่ือง บทสนทนา ฯลฯ หากเปนกระแสสํานึก จะตองคงความเปน Stream หรือ “กระแส” เอาไว นัน่คือตองมีความ “ตอเนื่อง” ของความคิด (ท่ีไมตอเนื่อง)

เอกสารท่ีเก่ียวของกับแนวคดิของเรื่องส้ัน

คําวา แนวคิด นั้น ผูเชี่ยวชาญบางทานเรียกวา แกนเร่ือง แกนเร่ือง สาระสําคัญของเร่ือง สารัตถะ ฯลฯ แตก็เปนคําท่ีแปลมาจากคําวา Theme เชนเดียวกัน มีผูใหคําจํากัดความคําวา แนวคิด

มากมายหลายทานดังนี ้ บุญยงค เกศเทศ (2536, หนา 30) ใหความหมายคําวา แนวคิด วาหมายถึง ความคิดท่ีสําคัญท่ีสุดของเร่ืองท่ีนักประพนัธตองการแสดงในหนังสือเลมนั้น ๆ ความคิดนี้เปนเสมือนแนวในการดําเนินเร่ืองของนักประพนัธดวย นักประพนัธจะแสดงแนวคิดของเขาไดโดยอาศยัตัวละคร นอกจากนี้ยังอาศัยบทสนทนาระหวางตัวละคร และนักประพันธก็จดัเหตุการณสถานการณในเร่ือง เพื่อย้ําแนวคิดนั้น ๆ ดวย แนวคิดมักมองเหน็งาย ถาปรากฏในเร่ืองท่ีมีทํานองแตงเปนเชิงส่ังสอน

หรือในเร่ืองท่ีแฝงไวดวยขอธรรมะและการส่ังสอน ผูอานจะเห็นแนวคิดไดไมยากนกั

ถวัลย มาศจรัส (2540, หนา 79) กลาววา แนวคิดนี้บางทานใชคําวาแกนเร่ือง แกนเร่ือง ซ่ึงมีความหมายเดียวกัน แนวคิดคือ สารัตถะสําคัญของเร่ืองส้ันเร่ืองใดเรื่องหนึ่งท่ีเขียนข้ึน

แกนเร่ืองจะทําหนาท่ีสะทอนประเดน็สําคัญ ของการนําเสนอใหผูอานเห็นและเขาใจถึงส่ิงท่ีผูเขียนตองการส่ือสาร ถาจะสรุปงาย ๆ แกนเร่ืองก็คือ ความหมายท่ีผูอานสรุปไดหลังจากอานงานเขียนเร่ืองนั้น ๆจบลง โดยสรุปจากขอความท่ีปรากฏอยูในเร่ืองท่ีเปนประโยคสําคัญ 2-3 ประโยค

หรือจากเหตุการณ การกระทําของตัวละคร คําพูดของตัวละคร เปนตน การเขียนเร่ืองส้ันท่ีมีคุณคา ผูเขียนจะตองเขียนใหผูอานเขาถึงแกนเร่ืองท่ีตนเองตองการส่ือสารใหได ไมทางใดก็ทางหนึ่ง

Page 43: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

48

สุจิตรา จรจิตร (2547, หนา 87) ใหความหมายวา สารัตถะของเร่ือง คือ ทัศนะท่ีผูแตงแสดงใหเห็นถึงธรรมชาติอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางของมนุษย หรือหมายถึง แนวคิดหรือจุดสําคัญของเร่ืองท่ีไมใชเนือ้เร่ืองหรือโครงเร่ือง แตเปนแกนหรือแกนของเร่ืองท่ีปรากฏตั้งแตตนจนปลายเร่ือง เช่ือมโยงเร่ืองท้ังหมดเขาดวยกัน โครงเร่ือง ฉาก ตัวละคร หรือบทสนทนา ลวนสรางข้ึนเพื่อแสดงออกถึงแกนของเร่ืองท่ีผูเขียนตองการ ซ่ึงส่ิงเหลานี้ตองผูกพันสอดคลองกับแกนของเร่ืองโดยตลอด

วาณิช จรุงกิจอนันต (2538, หนา 30) ใหคําจํากัดความวา สารสาระหรือแกนเร่ือง คือ สมมติฐานซ่ึงกลาวหรือแสดงนัยแฝงไวกบัการเลาถึงสถานการณท่ีกําหนดอันเกีย่วของกับบุคคล ท่ีกําหนด เหตุท่ีสารสาระมีอยูในนิยายไดนัน้ เปนเพราะมนุษยเรามีชีวิตอยูบนโลกเดยีวกัน รับรูอารมณในทํานองเดียวกนั มีปฏิกิริยาทํานองเดียวกนั ในสถานการณเดียวกัน เผชิญปญหาท่ัวไปคลายกัน

ธวัช ปณโณทก (2527, หนา 72-73) กลาวไววา แกนของเรื่อง หรือแนวคิด ไดแก แนวคิดหรือจุดสําคัญของเร่ือง ไมใชเนื้อเร่ือง หรือโครงเร่ือง แตเปนแนวคิดหรือทัศนะสําคัญของเร่ือง ซ่ึงปรากฏอยูในเร่ืองนั้น ๆ ตัง้แตตนจนจบ และเปนตัวเช่ือมโยงเร่ืองท้ังหมดใหเขาดวยกัน แนวคิดหรือทัศนะดังกลาวนี้เปนสวนท่ีผูเขียนเสนอมาเพ่ือใหผูอานทราบ ซ่ึงแกนของเร่ืองนีผู้เขียนอาจเสนอได 4 ลักษณะดวยกัน คือ 1. แกนของเร่ืองแสดงทัศนะ ผูเขียนมุงท่ีจะเสนอหรือแสดงทัศนะความเห็นตอคานยิม

ของสังคม คุณธรรม ความซ่ือสัตยตออาชีพ ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ หรือส่ิงท่ีตรงกันขามกับคุณธรรม

(อคุณธรรม) ทัศนะเหลานี้ผูเขียนจะแสดงทัศนะออกมาโดยตรงใหผานตัวละคร (เชน เปนทัศนะของตัวละคร) หรือเสนอผานพฤติกรรมของตัวละครที่สะทอนใหผูอานเห็นทัศนะดังกลาว ทัศนะ ท่ีนิยมในการเขียนเร่ืองส้ัน คือ - แกนของเร่ืองแสดงทัศนะตอคานิยมของสังคม เสนอทัศนะในการยกยอง 1)

ผูท่ีมีเกียรติยศ (วัดจากหนาท่ีตําแหนงการงาน) 2) ผูมีฐานะรํ่ารวยม่ังค่ัง 3) ผูท่ีไดรับการศึกษาสูง หรือมีปญญาสูง เปนตน

- แกนของเร่ืองท่ีแสดงทัศนะตอคุณธรรม เชน ความซ่ือสัตยตออาชีพ ตอชาติบานเมือง ความกตัญู ความเมตตาปราณ ีการเอ้ือเฟอเผ่ือแผตอเพ่ือนรวมโลก เปนตน

- แกนของเร่ืองท่ีแสดงทัศนะตอความเลวราย (อคุณธรรม) ซ่ึงสวนใหญผูเขียนมักจะเสนอใหเห็นผลของการเลวรายตอเพือ่นมนุษยวาไมควร ไมดี ไมงาม แตพยายามยกเหตุการณความชอกชํ้าของมนุษยท่ีไดรับ เพื่อเสนอใหผูอานเกิดความรูสึกเห็นใจ สงสาร

Page 44: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

49

2. แกนของเร่ืองแสดงอารมณ คือแกนของเร่ืองท่ีผูเขียนมุงท่ีจะแสดงอารมณ ความรูสึกของตัวละครในอาการตาง ๆ เชน วาเหว นอยใจในโชคชะตาชีวิต ความอิจฉาริษยา ความรัก

ความหึงหวง ความเกลียดและความกลัว เปนตน ผูเขียนมีความมุงหมายใหผูอานรู หรือรับรู ถึงอารมณความรูสึกเหลานั้นโดยผานตัวละคร คือใหผูอานเกดิอารมณรวมรับรู และรวมความรูสึกสํานึกคลอยไปกับอารมณของตัวละคร แตผูเขียนจะทําไดเพยีงไรนั้นก็นาจะอยูกับกลวิธีใน

การดําเนนิเร่ือง (เทคนิคการเขียน) ของผูเขียนแตละคน ซ่ึงบางคนก็ประสบความสําเร็จอยางดี

3. แกนของเร่ืองแสดงพฤติกรรม คือแกนของเร่ืองท่ีผูเขียนมุงเสนอทางพฤติกรรมของ ตัวละครเพื่อเปนแบบอยางในพฤติกรรมของมนุษยท่ีจะพึงปฏิบัติตาม ถาเห็นวาเปนพฤติกรรม

ท่ีพึงใจของตน (ผูอาน) ฉะนั้นผูเขียนจะสรางบุคลิกภาพของตัวละครใหเดนชัดและใหแสดงพฤติกรรมท่ีควรที่เหมาะแกคานิยมของสังคมปจจุบัน (ตามทัศนะของผูเขียน) แตนาจะเปนทัศนคติรวมของสังคม คือไมเปนบุคลิกภาพในอุดมคติเกินไป แตก็เปนบุคลิกภาพท่ีควรเปนในสังคมสมัยนั้น ๆ (สมัยท่ีเร่ืองส้ันนั้นบังเกิดมา) บุคลิกภาพดังกลาวจะแสดงพฤติกรรม ทัศนะตอสังคมอยางเปนแบบอยาง เชน นอบนอม เสียสละ รักชาติ ยึดม่ันในคุณธรรม บึกบึน เปนนกัสู เปนนักคิด

มีอุดมการณท่ีแนวแน เปนตน

4. แกนของเร่ืองแสดงสภาพและเหตุการณ ไดแก แกนของเร่ืองท่ีมุงแสดงใหเห็นสภาพชีวิตและสังคมสวนใดสวนหน่ึง หรือในชวงหนึ่งของชีวติตัวละคร เชน ชีวิตของชาวชนบทท่ียากไรแตกย็ังถูกคนเอาเปรียบ หรือเทวดาฟาดิน ธรรมชาติยงัไมอํานวยใหชีวิตมีความหวัง หรือชีวิตของหนุมอุดมคติท่ีมุงม่ันในการสรางตัวแบบสันโดษ แตก็ยงัถูกกล่ันแกลงจากเจาหนาท่ีของรัฐ (เนื่องจากเขาใจผิด หรือมีความขัดแยงทางสวนตัว หรือผลประโยชนขัดกัน) หรือโครงเร่ืองท่ี

แสดงใหเห็นชีวิตในโรงงาน ชีวิตชาวประมง ชีวิตของสังคมท่ีหางไกลความเจริญ เปนตน

สุพรรณี โกศลวัฒน (2530, หนา 65-68) อธิบายเร่ืองของแนวคิดวา Theme คือ แกนเร่ืองหรือสารัตถะของเร่ือง เปนองคประกอบท่ีเปนสาระสําคัญแฝงอยู ในเหตุการณ การกระทํา และคําพูดของตัวละคร สาระสําคัญดังกลาวนีต้องมีความเปนหนึ่งเดียวกนั

ควบคุมการดําเนินเร่ืองท้ังหมด และใหความหมายแกเร่ืองนั้น ๆ เปนสวนท่ีผูเขียนแสดงความคิดและความเขาใจของตนเก่ียวกับชีวิตและพฤติกรรมของมนุษย แกนเร่ืองนี้มีผูอธิบายวาคือ สวนท่ีสาระสําคัญของเร่ืองมารวมเปนแกนเดียวกนัคลายกับสวนท่ีเปน “นิทานเร่ืองนี้สอนใหรูวา...” ในนิทานอีสป แตท้ังนี้ไมจําเปนตองเปนเร่ืองของการ “สอนใหรูวา...” หรือสอนศีลธรรมแกผูอานเสมอไป เชน ผูใดประกอบกรรมใด ยอมไดรับผลกรรมนั้นตอบสนอง อาจเปนเพยีงการส่ือสารถึงผูอานอยางธรรมดา เชน ผูกลาหาญมกัโชคดีเสมอ เปนตน

ซ่ึงนาจะนับวาเปนการต้ังขอสังเกตของผูเขียนมากกวาการสอนศีลธรรม ถาเปนการต้ังคําถาม

Page 45: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

50

คําถามนั้นก็ไมจําเปนตองตอบ บางคร้ังผูเขียนอาจจะเขียนแกนเร่ืองลงไปโดยตรง โดยมิตองใหผูอานตองวิเคราะห แตก็มิใชทุกเร่ืองท่ีจะบอกแกนเร่ืองใหชัดเจนเชนนั้น บางเร่ืองบอกแกนเร่ืองอยางโจงแจงชัดเจน

สวนใหญการบอกแกนเร่ืองจะเปนเพียงแคบอกเปนนยั ผูอานวินิจฉัยสรุปเอาเองโดยปริยายก็มี นับวาเปนขบวนการทางนามธรรม ในนวนยิายแตละเร่ืองจะมีการดาํเนินเร่ืองท่ีบรรจุเอาสาระสําคัญของเร่ืองไวเสมอ

นวนยิายบางเร่ืองมีแกนเร่ืองเฉพาะตัวท่ีเขียนออกมาเปนประโยคชัดเจนแนนอน แตบางเร่ืองไมเปนเชนนั้น เชนเร่ืองท่ีมีทัศนคติ ทาที หรือการมองชีวิตจากแงมุมใดแงมุมหนึ่ง ซ่ึงไมอาจสรุปออกมาเปนคําพูด หรือเปนประโยคท่ีเปนแกนเร่ืองได อาจทําไดเพยีงเปนการช้ีแกนเร่ืองอยางกวาง ๆ ท่ัวไปไมเฉพาะเจาะจง เชน ชีวติมนุษยเปนเพยีงเศษธุลีดิน ไรความหมายโดยส้ินเชิง หรือในทางตรงกันขาม ชีวิตมนุษยนี้ชางมีคานกั แตบางเร่ืองอาจจะใชแกนเร่ืองอยางกวาง ๆ ดังกลาวนําไปดัดแปลงพัฒนาข้ึนจนกลายเปนแกนเร่ืองท่ีเพิม่ความเฉพาะตัวข้ึนได เชน ชีวิตมนุษยเปนเพียงเศษธุลีดิน ไรความหมายโดยส้ินเชิงภายใตสังคมเผด็จการ, ชีวิตมนุษยนี้ชางมีคานัก หากไดเอ้ือเฟอเผ่ือแผแกเพื่อนมนุษยดวยกนั

อันตรายของการเขียนแกนเร่ืองเชนนี้คือ ผูอานมักถือเอาวาเปนการสอนศีลธรรม เพราะใกลเคียงกันมาก ผูเขียนอาจชี้แนะวิถีทางการดํารงชีวิตของมนุษยอยาง มีคุณภาพ หรือกระตุนใหผูอานมีวิธีการปฏิบัติตนอยางใดอยางหน่ึง ซ่ึงท้ังสองอยางนี้มักจะมีเร่ืองของศีลธรรมเขาแทรกอยูอยางหลีกเล่ียงไมได เร่ืองประเภทสอนศีลธรรมแกผูอานนั้นเคยเปนท่ีนยิมกันในสมัยศตวรรษท่ี 18

และ 19 แตความนิยมกลับเส่ือมถอยลงไปในสมัยศตวรรษที่ 20 นี้ นักเขียนสมัยใหมมักพยายามชวยชี้ทางใหผูอานเขาใจชีวติจากแงมุมตาง ๆ กนัมากข้ึนเทานัน้ สวนจะปฏิบัติตนอยางไรตอไป ก็ใหข้ึนกับผูอานเอง ผูเขียนมิไดมุงท่ีจะขัดเกลาและอบรมบมนิสัยผูอาน หรือทําใหผูอานรูจักเครงครัดในศีลธรรมมากข้ึนแตอยางใด

ยุวพาส ชยัศิลปวัฒนา (2544, หนา 153-155) กลาวถึงประเด็นสําคัญเกีย่วกับแนวคิด และการวิเคราะหแนวคิดวา แกนเร่ือง คือ ความคิดหลักท่ีผูแตงตองการเสนอเปนความหมายรวมของเร่ืองท้ังเร่ือง ดังนั้น แกนเร่ืองจึงเปนตัวควบคุมองคประกอบทุก ๆ สวนในเร่ืองไมวาจะเปนโครงเร่ือง ตัวละคร ผูเลาเร่ือง ความขัดแยงของเรื่อง เหตุการณ สถานท่ี ตลอดจนแนวและลีลาการเขียน เพื่อใหบรรลุจุดประสงคหลักท่ีผูแตงตองการส่ือ ผูอานจะสรุปแกนเรื่องไดกต็อเม่ือไดอานเรื่องท้ังเร่ืองจบ ไดวิเคราะหองคประกอบตาง ๆ

ท่ีผูแตงใช ตลอดจนตีความหมายโดยรวมของเร่ืองแลว แกนเร่ืองจะส่ือความหมายมากกวาหวัขอ

Page 46: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

51

เร่ือง และในขณะเดียวกนัก็ไมใชการเลาเร่ืองยอ และในการพูดถึงแกนเร่ืองมักจะนิยมกลาวอยางกวาง ๆ

นอกจากนี้ ยังมีประเด็นสําคัญเกี่ยวกับแกนเร่ือง 3 ประการ คือ 1. แกนเร่ืองไมจําเปนตองเดน หรือเสนอสาระสําคัญเกี่ยวกับชีวิตและธรรมชาติของมนุษยเสมอไป เร่ืองประเภทสนกุขบขัน เร่ืองประเภทนักสืบ เร่ืองลึกลับ เร่ืองผจญภัย และเร่ืองนากลัว มักไมมีแกนเร่ือง เพราะผูแตงมีจุดมุงหมายเพียงเพื่อตองการใหผูอานเกดิความรูสึกเพลิดเพลิน

สนุก ตื่นเตน หรือสยดสยองกับเร่ืองท่ีตองการเสนอเทานั้น

2. แกนเร่ืองสามารถมีไดมากกวาหนึ่งแกนเร่ือง ดวยเหตุท่ีแกนเร่ืองไดจากการวิเคราะหความเนื้อเร่ือง บริบทของเร่ืองจึงเอ้ือและสนับสนุนความหลากหลายของแกนเร่ือง 3. แกนเร่ืองไมจําเปนตองสอดคลองกับความเช่ือ และคานิยมของผูอาน ผูอานอาจไมเห็นดวยหรือไมยอมรับแนวความคิดของผูแตง แตความคิดและทัศนะของผูแตงตองมีพลังพอท่ีจะนําความคิดและจนิตนาการของผูอานใหมีโลกทัศนท่ีกวางข้ึน พรอมกับผลักดันใหผูอานไดสํารวจไตรตรองบทสรุป คานิยม และความเช่ือของเขาเองเพ่ือใหรูถึงเหตุและผลวาทําไมเขาจึงปฏิเสธแนวความคิดของผูแตง สําหรับผูเร่ิมศึกษามีขอสังเกตในการสรุปแกนเร่ืองบางประการ ดังน้ี

1. ชื่อเร่ืองอาจเสนอแนะแนวความคิดบางอยางท่ีผูแตงตองการส่ือ 2. การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับตัวเอกของเร่ืองในขณะท่ีเร่ืองกําลังดําเนนิอยู ตวัเอกของเร่ืองไดคนพบหรือเกิดความเขาใจอะไรบางเก่ียวกับชีวิต และในขณะเดียวกันผูอานเกิดความเขาใจอะไรใหม ๆ ข้ึนมาบาง 3. ผูแตงเสนอแนวทางในการสังเกตชีวิตและธรรมชาติของมนุษยหรือไมอยางไร 4. สัญลักษณท่ีใชในเร่ืองอาจเสนอความคิดหลักของเร่ือง 5. แกนเร่ืองตองควบคุมเนื้อหารวมของท้ังเร่ือง ไมใชเฉพาะเพียงบางสวนเทานัน้

การวิเคราะหแกนเร่ืองสามารถพิจารณาไดหลายประเด็น อาทิ

1. เร่ืองนั้น ๆ มีแกนเร่ืองหรือไม 2. ผูแตงเสนอแกนเร่ืองอยางตรงไปตรงมาหรือบอกเปนนัย ๆ

3. เนื้อเร่ืองเสนอสาระอะไรเก่ียวกับชีวิตหรือประสบการณชีวิต

4. องคประกอบใดมีสวนในการเสนอแกนเร่ืองมากท่ีสุด

5. เหตุการณในเร่ืองทําหนาท่ีหลักในการเสนอสาระ และความคิดหรือไม 6. ตัวละครเรียนรูอะไรบางจากเหตุการณท่ีเกิดข้ึน

7. ความขัดแยงของเร่ืองแสดงถึงคานิยมและความคิดอะไรบาง 8. แกนเร่ืองท่ีเสนอเปนแกนเร่ืองเฉพาะหรือเปนสากล

Page 47: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

52

ธัญญา สังขพันธานนท (2539, หนา 182-187) อธิบายเร่ืองแนวคิดไวอยางละเอียด ดงันี้ แกนเร่ืองคือ สาระสําคัญท่ีผูแตงมีจุดประสงคตองการส่ือมายังผูอาน สาระสําคัญนั้นมักจะเกี่ยวกับความเปนจริงของชีวติเพื่อใหผูอานเกิดความหยั่งรู เขาใจและเปนขอคิดเตือนใจ แกนเร่ือง หรือความคิดอันเปนศูนยกลางของเร่ือง มักจะมีลักษณะดังตอไปนี ้ 1. แกนเร่ืองมักจะปรากฏในเร่ืองส้ันหรือนวนิยายท่ีมีจดุมุงหมาย 1.1 เร่ืองท่ีผูเขียนพยายามเสนอหรือตีแผใหเห็นความจริงในชีวิตมนุษย ซ่ึงเปนประสบการณรวม หรือไมกเ็ปนภาวะอันเปนธรรมชาติ ธรรมดาของมนุษย ไมวาจะเปนอารมณ ความรูสึกหรือการแสดงออก เชน ความรัก ความเกลียดชัง ความปรารถนา ความโลภ ฯลฯ ซ่ึงบทสรุปของแกนเร่ืองในลักษณะนี้ มักจะเปนไปตามประโยคท่ีวา “มนุษยเราก็มักเปนเชนนีแ้หละ”

1.2 เร่ืองท่ีผูเขียนประดิษฐคิดแตงข้ึน เพื่อพิสูจนกฎเกณฑหรือทฤษฎีเกี่ยวกับชีวิต

โดยการผูกเร่ืองใหมีความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ เชน โครงเร่ือง ตัวละคร ฉาก หรือการเลาเร่ือง เพื่อใหเร่ืองดังกลาวส่ือความหมายและเปนตัวพิสูจนใหเห็นวาทฤษฎีหรือสมมุติฐานนั้นเปนความจริง หรือมีความเปนไปได 2. แกนเร่ืองอาจมีลักษณะคลายคําสอนทางศีลธรรม หรือหลักในการใชชีวิต แตแกนเร่ืองไมจําเปนตองเปนเร่ืองเกี่ยวกบัคุณคาทางศีลธรรมเสมอไป แกนเร่ืองกบัศีลธรรมอาจแทนท่ีกนัไดหรือเปนอันเดยีวกันในบางคร้ัง แตก็ไมใชขอสรุปท่ีแนนอนตายตัว เพราะศีลธรรมมุงใหขอเตือนใจ แตแกนเร่ืองไมไดมุงสอนหรือใหขอคิดเพยีงอยางเดียว หากแตมุงใหผูอานไดตระหนักรู และเขาใจชีวิตเปนสําคัญ

3. บทสรุปเกี่ยวกับแกนเร่ือง มักจะเปนประโยคบอกเลา ท่ีรวบรวมเอาความคิดรวบยอด

(Concept) เกี่ยวกับสาระสําคัญหรือความคิดอันเปนศูนยกลางของเร่ืองเอาไว ความคิดรวบยอดดังกลาวจะเกิดข้ึนภายหลังท่ีผูอานไดอานเรื่องจบลง หรือสรุปไดในขณะท่ีอานเร่ือง ขอสรุปหรือความคิดรวบยอดเก่ียวกับแกนเร่ือง ในเร่ืองส้ันหรือนวนิยายแตละเร่ืองไมจําเปนตองเหมือนกันเสมอไป โดยธรรมชาติและความเปนปจเจกบุคคล ผูอานแตละคนอาจ ตีความหรือสรุปแกนเร่ืองแตกตางกันออกไป

4. แกนเร่ืองมักจะเกี่ยวของกับตัวละครเปนสําคัญ แตตัวละครจะแสดงบทบาทและถูกกําหนดโดยโครงเร่ืองอีกทีหนึ่ง ดังน้ันแกนเร่ืองจึงมีความสัมพันธกับโครงเร่ืองโดยตรง ผูเขียน

จะนําเหตุการณตาง ๆ มาผูกเขาจนเปนเร่ือง เหตุการณดังกลาวจะชวยย้าํและเสริมใหแกนเร่ืองเปดเผยออกมา ในเร่ืองบางเร่ือง แกนเร่ืองอาจปรากฏอยางชัดเจน แตบางเร่ืองแกนเร่ืองจะถูกซอนเอาไวภายใตองคประกอบและรายละเอียดตาง ๆ การวิเคราะหคนหาแกนเร่ืองจึงตองระมัดระวังมาก

เปนพิเศษ

Page 48: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

53

วิธีการงาย ๆ ในการคนหาแกนเร่ืองก็คือ การอานเร่ืองนั้นอยางระมัดระวัง พจิารณาตัวละครเอกและการกระทําของตัวละครในสถานการณตาง ๆ ตลอดจนดนู้ําเสียงของผูแตงและแงมุมอ่ืน ๆ เชน การใชสัญลักษณ การอานควรกระทําหลาย ๆ คร้ังและอยางละเอียด จากวธีิการท่ีกลาวมานี้จะชวยใหผูอานคนหาแกนเร่ืองได อิราวดี ไตลังคะ (2543, หนา 66-68) เสนอแนวทางในการหาแนวคิดตามทฤษฎีของ เคลลี กริฟฟธ และซีมอร แชตแมน ดังนี ้ แนวคิด หมายถึง ความคิดท่ีนําเสนอในเร่ือง ซ่ึงสรุปจากเหตุการณเฉพาะของโลกบันเทิงคดีออกมาเปนความเขาใจท่ัว ๆ ไปเกี่ยวกับโลกในชีวิตจริง การหาแนวคิดจึงมีความสําคัญเพราะ ทําใหผูอานคนพบความหมายของเร่ืองท่ีอาจนําไปสูความเขาใจชีวิตได นักวเิคราะหเร่ืองเลาโดยท่ัวไปไมไดแยกศึกษาแนวคิดออกจากองคประกอบอ่ืน ๆ

อาจเปนเพราะแนวคิดไมไดเปนกลวิธีในการเลาเร่ือง แตเปนขอสรุปทางความคิดจากเร่ือง แตก็มีนกัวเิคราะหบางคนใหแนวทางในการหาแนวคิดไวดังนี ้ เคลลี กริฟฟธ กลาววา เราสามารถหาแนวคิดไดจากกลอุปกรณ (Devices) ตาง ๆ 3 แบบ

คือ คูตรงขาม สัญลักษณ และพัฒนาการของเร่ืองและตัวละคร 1. คูตรงขาม (Binary opposition) หมายถึงความคิดท่ีตรงกันขามกันท่ีปรากฏในเร่ือง เชน

ความรัก/ความเกลียด ความงาม/ความนาเกลียด ความด/ีความเลว ความเปน/ความตาย ฯลฯ

ในแตละเร่ืองมักเสนอคูตรงขามอยางนอยหน่ึงคู โจนาธาน คัลเลอร กลาววา การหาคูตรงขามท่ีปรากฏในเร่ือง คือการหาความเหมือนและความตางในเชิงคุณภาพของวัตถุ คน ความคิด ฯลฯ

ซ่ึงอาจจะนําไปสูแนวคิดของเร่ืองได 2. สัญลักษณ (Symbol) คือส่ิงท่ีใชแทนความหมายอีกส่ิงหนึ่ง หรือส่ิงท่ีมีความหมายมากกวาความหมายตรงของมัน สัญลักษณมีท้ังความหมายท่ีเปนท่ีเขาใจกันท่ัวไป เชน สีดํา หมายถึง ความตาย, สีขาว คือ ความบริสุทธ์ิ, ความสวาง คือ ปญญา, ความมืด คือ ความตาย ความเศรา, รุงอรุณ หมายถึง ชีวิตใหม ความหวัง ฯลฯ สัญลักษณบางคําในบางที่อาจมีความหมายเฉพาะท่ีตีความไดโดยการอานจากบริบทในเร่ืองนั้น ๆ สัญลักษณท่ีปรากฏในเร่ืองมักมีความสําคัญเพราะผูเขียนอาจแฝงความหมายท่ีลึกซ้ึงเอาไว การตีความสัญลักษณจึงสามารถนําไปสูแนวคิดของเร่ืองได 3. พัฒนาการของเร่ืองและตัวละคร เม่ือเร่ืองพัฒนามาถึงจดุจบเราจะเหน็วาเร่ืองใหขอสรุปอะไรตอผูอาน

ซีมอร แชตแมน เห็นวาการหาแนวคิดของเร่ืองดูไดจากสัญลักษณเชนกัน นอกจากนีอ้าจสรุปไดจากช่ือเร่ือง และความเห็นของผูเลาเร่ือง

Page 49: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

54

ชือ่เร่ือง เปนส่ิงแรกท่ีสุดท่ีดงึดูดผูอานใหหยิบหนังสือข้ึนมา ชื่อเร่ืองบางเร่ืองบอกคราว ๆ

วาบันเทิงคดนีัน้ ๆ เปนเร่ืองเกี่ยวกับอะไร เชน

ชื่อเร่ืองท่ีเปนฉาก เชน ส่ีแผนดิน รัตนโกสินทร บึงหญาปาใหญ ชื่อเร่ืองท่ีเปนชีวิตของตัวละครหลัก เชน จนั ดารา พจมาน สวางวงศ ปริศนา ชื่อเร่ืองท่ีเปนสัญลักษณ เชน บุษบกใบไม ระบํามาร ปศาจ ชื่อเร่ืองท่ีนํามาจากกวีนิพนธ หรือสํานวน เชน สายบหยุดเสนหหาย ขม้ินกับปูน ความเหน็ของผูเลาเร่ือง บันเทิงคดีรุนเกามีผูเลาเร่ืองแบบผูรูแสดงความเห็นตอเร่ืองราว ของตัวละคร อาจแสดงความเห็นท่ีเปนแนวคิดของเร่ืองได

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการวิเคราะหเร่ืองส้ัน

ประทีป เหมือนนิล (2523) ทําการศึกษาวจิัยเร่ือง วเิคราะหวรรณกรรมเร่ืองส้ันของมนัส

จรรยงค ผลการวิจัยพบวา ในดานกลวิธีการแตงมี นิยมแตงเร่ืองส้ันชนิดสรางตัวละครมากท่ีสุด

เปดเร่ืองโดยการบรรยายฉาก ตัวละคร หรือเหตุการณตางๆท่ีเปนปมปญหาหรือแนวคิดสําคัญ

เพื่อนําเขาสูเร่ืองอยางรวดเร็ว ใชขอขัดแยงระหวางมนุษยกับมนษุยและระหวางมนุษยกับส่ิงแวดลอมเปนจุดเราใจในการดําเนินเร่ือง มีวิธีการเลาเร่ืองแบบผูประพันธเปนผูรูแจงเห็นจริง และปดเร่ืองแบบโศกนาฏกรรมมากท่ีสุด มีการสรางตัวละครไดอยางสมจริง ใชสํานวนภาษางายๆ

ส้ัน กะทัดรัดแตสามารถบรรยายไดเหน็ภาพพจน ฉากและบรรยากาศสวนใหญเปนเร่ืองราวในชนบทจึงสะทอนใหเห็นสภาพสังคมและวฒันธรรมในชนบทไดอยางกวางขวาง ขณะเดียวกัน

ก็แสดงใหเห็นโลกทัศนของ มนัส จรรยงค ในเร่ืองกฎแหงกรรมและเสนอทัศนะเกี่ยวกับปญหาสังคมในแงมมุตางๆไวมากมาย นอกจากนั้นชีวประวัตแิละบุคลิกภาพของ มนัส จรรยงค ยังมีอิทธิพลในเร่ืองส้ันของเขาอยางเดนชัด

ประกิจ จนัตะเคียน (2524) ทําการศึกษาวิจยัเร่ือง วิเคราะหวรรณกรรมเร่ืองส้ันของ อาจินต ปญจพรรค ผลการวิจัยพบวา วรรณกรรมเร่ืองส้ันของอาจินต ปญจพรรคมีกลวิธีการนําเสนอเปนการเลาเร่ืองจากประสบการณของตน โครงเร่ืองมีการเปดเร่ืองโดยการบรรยายฉาก

และตัวละครท่ีเปนแนวคิดเพือ่นําเขาสูเร่ือง ใชขอขัดแยงหรือปมปญหาระหวางมนุษยกับมนุษย เปนจุดสําคัญในการดําเนินเร่ือง การเลาเร่ืองใหผูประพันธในฐานะเปนผูรูแจงเห็นจริงเปนผูเลาเร่ืองเอง ตัวละครมีลักษณะสมจริง และปดเร่ืองแบบพลิกความคาดหมาย เนือ้เร่ืองมีการสอดแทรกอารมณขัน รวมท้ังแสดงใหเห็นโลกทัศนเกี่ยวกับชีวิตและสังคม แสดงคานิยมตางๆของกลุมบุคคลในเร่ือง ใหแงคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิตของมนุษยในสังคมดานมนุษยธรรม สะทอนภาพสังคมความเปนอยู และวัฒนธรรม โดยเนนความเปนอยูในชนบทปกษใต

Page 50: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

55

สุภา ศาตวรรณ (2525) ทําการศึกษาวจิัยเร่ือง วิเคราะหเร่ืองส้ันของ ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช

ผลการวิจัยพบวา ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช นิยมแตงเร่ืองส้ันประเภทเนนแนวคิด โดยเฉพาะแนวคิดทางการเมืองท่ีเกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีกลวิธีการแตงโดยเปดเร่ืองแบบบรรยาย มีการสรางความขัดแยงระหวางตัวละครกบัตัวละครดวยกันเอง ในการดําเนินเร่ือง ผูแตงเปนผูเลาเร่ืองในฐานะเปนผูรูแจงเหน็จริง ลําดับเร่ืองตามปฏิทิน และปดเร่ืองแบบเปนจริงในชีวิต แกนเร่ืองชี้ใหเห็นถึงความเปนจริงในสังคมมนุษย โดยเฉพาะสังคมการเมือง มีการนําเสนอแกนเร่ืองผาน

ตัวละคร ฉากมีความกลมกลืนกับเนื้อเร่ือง บางฉากมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของตัวละคร บทสนทนามีความสมจริง กระชับ สอดแทรกอารมณขัน มีความคมคาย ทวงทํานองการแตงท่ีเดนคือ การใชถอยคํา โวหารเปรียบเทียบ มกีารสรางอารมณขันเพื่อบรรเทาความรุนแรง การใชสัญลักษณ และการใชหางเสียงเสียดสีแกมลอเลียน

วาสนา ไชยรัตน (2534) ทําการศึกษาวจิัยเร่ือง การวิเคราะหเร่ืองส้ันของสุรชัย จันทิมาธร ผลการศึกษาพบวา ดานแนวการเขียน สวนใหญมีโครงเร่ืองเปนความรูสึกนึกคิดของตัวละคร ใชความขัดแยงระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมเปนสําคัญ มีวิธีการเลาเร่ืองแบบผูประพันธเปน

ผูรูแจงเห็นจริง และผูประพันธเปนผูสังเกตการณมากท่ีสุด โดยมีตัวละครสวนใหญเปนชนช้ันกลางและชนช้ันลางของสังคม ใชฉากและบรรยากาศโดยมากเปนสภาพสังคมเมืองหลวง ดานทวงทํานอง การแตงสามารถใชคําไดเหมาะสมกับตัวละครและเนื้อเร่ือง มีการใชคําซํ้า คําภาษาถ่ิน คําภาษาตางประเทศ และสํานวนโวหาร ส่ือความรูสึกนึกคิดตางๆ ผานตัวละครและเหตุการณตางๆในเร่ืองมายังผูอานไดเหมาะสม กอใหเกิดภาพพจน และอารมณสะเทือนใจกับผูอานไดเปนอยางดีดานแนวคิด มุงเสนอแนวคิดเกีย่วกบัปญหาตางๆ และขอบกพรองของสังคมท่ีควรจะไดรับการแกไขปรับปรุง ท้ังใน

ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา ความเช่ือ วัฒนธรรม และศาสนา สุนิสสา ศิวกุล (2541) ทําการศึกษาวจิัยเร่ือง การวิเคราะหเร่ืองส้ันของปกรณ ปนเฉลียว ผลการศึกษาพบวา มีกลวิธีการแตงโดยการใชประสบการณดานอาชีพของผูแตงซ่ึงเปนตํารวจมาผูกเปนเร่ือง มีโครงเร่ืองเกี่ยวกบัวิถีชีวิตชนช้ันกลางและชนช้ันลาง ตัวละครเอกสวนใหญเปนตํารวจ ฉากเปนสถานที่จริงในภาคอีสาน ภาคเหนอื และกรุงเทพมหานครท่ีผูแตงเคยปฏิบัติราชการอยู การเลาเร่ืองใหตัวละครในเร่ืองเปนผูเลา ดานทัศนะมีทัศนะเกี่ยวกับปญหาสังคม และทัศนะเกีย่วกบัอาชีพตํารวจท่ีมักถูกมองในทางลบ ภาพสะทอนท่ีปรากฏในเร่ือง คือ สภาพภูมิศาสตรทางภาคอีสานและภาคเหนือท่ีแหงแลงขาดการพัฒนา และสภาพเหตุการณดานการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา สังคม วัฒนธรรมชวง พ.ศ. 2489-2518

นอกจากนั้น สุปราณี มณฑานุช (2533) ไดทําการศึกษาวจิัยเร่ือง เร่ืองส้ันไทยแนวสัญลักษณของไทย พ.ศ. 2500-พ.ศ. 2530 ผลการศึกษาพบวา เร่ืองส้ันแนวสัญลักษณของไทย

Page 51: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

56

พ.ศ. 2500-พ.ศ. 2530 มีกลวธีิการเขียนโดยการใชสัญลักษณเพื่อส่ือสาระและแนวคิดอยูในองคประกอบของเร่ือง มีการใชสัญลักษณแทนความหมายไดเหมาะสม และส่ือสัญลักษณท่ีสัมพนัธกันอยางเปนระบบ ทําใหผูอานสามารถเขาใจสาระท่ีแทจริงของเร่ืองได การสราง โครงเร่ืองเปนแบบสรางเหตุการณในเร่ืองเปนสัญลักษณและสรางโครงเร่ืองแบบคล่ืนความคิด มกีารเปดเร่ือง 3

วิธีคือ แบบบรรยาย, แบบพรรณนา และแบบบทสนทนา ซ่ึงเกี่ยวพันกับสัญลักษณโดยตรง ปมปญหาในเร่ืองมีการสรางความขัดแยง 4 วธีิคือ ระหวางตัวละครกับธรรมชาติ, ระหวางตัวละครกับจิตใจของตัวละครเอง, ระหวางตัวละครกับสังคม และระหวางตัวละครกับตัวละครดวยกันเอง กลวิธีการลําดบัเร่ืองมี 3 วิธี คือ ลําดับเร่ืองตามเวลาปฏิทิน, ลําดับเร่ืองโดยใชกระแสความคิดท่ีหลากหลายของตัวละคร และลําดับเร่ืองโดยใชสวนประกอบแตละสวนท่ีแยกออกจากกนัมาเรียง ใหสัมพันธกนั มีกลวิธีการใชอนุภาคไดแก ความฝน, ฝนเฟอง และปรากฏการณหลอนของตัวละคร มีการปดเร่ืองโดยการท้ิงใหคิด ผูอานสามารถเขาใจความหมายของสัญลักษณไดกระจางตอนปดเร่ือง การเลาเร่ืองใหผูประพันธในฐานะเปนผูรูแจงเหน็จริงเปนผูเลาเร่ืองมากท่ีสุดเพราะสามารถ

ส่ือสัญลักษณไดงาย สวนแนวคิดท่ีพบไดแก แนวคิดเกีย่วกับการเมือง, แนวคิดเกีย่วกบัสังคม

และแนวคิดเกีย่วกับชีวิต ซ่ึงนําเสนอคอนขางซับซอนเพื่อแนะใหคิดไดลึกซ้ึงและกวางไกล งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับเร่ืองส้ันแนวทดลอง เบญจนาฎ วัฒนมณี (2539) ทําการวิจยัเร่ือง เร่ืองส้ัน “แนวทดลอง” ของไทยชวง พ.ศ. 2525-พ.ศ. 2535 ผลการศึกษาพบวา ดานกลวิธีการเลาเร่ืองมีการเลาเร่ืองแบบผูเขียนเลาเร่ืองในฐานะเปนผูสังเกตการณมากที่สุด ดานกลวธีิการนําเสนอเร่ืองนักเขียนแตละคนพยายามคิดคนรูปแบบใหมๆ ในการเขียนเร่ืองส้ันมานําเสนอ โดยมีการใชกลวิธีการเสนอเร่ืองแบบการใชสัญลักษณมากที่สุด รองลงมาเปนการนําเสนอเร่ืองแบบกระแสสํานึก ซ่ึงการใชสัญลักษณนัน้เปนสัญลักษณสวนตัวที่นกัเขียนคิดข้ึนเอง สวนสาระสําคัญของเร่ืองพบวา นักเขียนนิยมใชสารเกี่ยวกับสังคม คานิยม มากท่ีสุด รองลงมาเปนเร่ืองส้ันท่ีใชสารเกีย่วกับชีวิต อุดมการณ ศาสนา ความเช่ือ และเร่ืองราวทางวิทยาศาสตร ตามลําดับ โดยการนําเสนอสารนั้นแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีนําเสนอสารอยางตรงไปตรงมา และกลุมท่ีนําเสนอสารออกมาในรูปของสัญลักษณ อิทธิพลสําคัญท่ีทําใหเกิดเร่ืองส้ัน “แนวทดลอง” ไดแก การเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วของสภาพสังคม, การแพรกระจายของส่ือมวลชน, การมุงคิดคนสรางรูปแบบเฉพาะตัวของนักเขียน และอิทธิพลจากวรรณกรรมตะวันตก งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการวิเคราะหแนวคิด

นาธิกา มงคลคํานวณเขตต (2527) ศึกษาวจิัยเร่ือง เร่ืองส้ันไทยประเภทมุงเสนอแนวคิดระหวาง พ.ศ. 2475-2484 ผลการศึกษาพบวา แนวคิดท่ีเดนท่ีสุดคือ แนวคิดเร่ืองความรัก ผูเขียนให

Page 52: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

57

ความสําคัญกับความรักวาเปนความรูสึกท่ีมีคุณคา รองลงมาคือ แนวคิดเร่ืองสถานภาพของผูหญิง แนวคิดเร่ืองชีวิตและความเชื่อ สวนแนวคิดเร่ืองสังคมและการเมืองมีนอย ผูเขียนนยิมเลาเร่ืองแบบอัตนัยมากกวาปรนัย มีกลวิธีการนําเสนอแนวคิดผานโครงเร่ือง และผานผูเขียนโดยตรงหรือผานการเรียนรูจากประสบการณของตัวละคร การนําเสนอแนวคิดเปนไปอยางเรียบงาย ตรงไปตรงมา เปดเผย แจมชัด สามารถเขาใจไดไมยาก สวน วาสนา ศรีออนนิล (2539) ทําการศึกษาวิจยัเร่ือง วิเคราะหแนวคิดในเร่ืองส้ันของ ศรีดาวเรือง ผลการศึกษาพบวา มีแนวคิดกวางขวางและหลากหลาย สามารถจําแนกได 4 ประเด็น

ไดแก แนวคิดเกี่ยวกับสังคม, แนวคิดเกีย่วกับกลุมคนในสังคม, แนวคิดเกีย่วกับชีวิต และแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติและระบบนิเวศ เร่ืองส้ันของศรีดาวเรืองสามารถตีแผชีวิต ธรรมชาติ และสังคมไดสมจริง มีมมุมองกวางไกล แปลกใหม นาสนใจ มกีารสอดแทรกคานิยมอันดีงามของสังคม

โดยมุงหวังท่ีจะปลูกฝง และสงเสริมใหรักษาคานิยมท่ีดี ในทางเดยีวกนัก็ยังนําเสนอสภาพสังคม

ท่ีบกพรองเพื่อเปนขอเตือนใจอีกดวย นอกจากนั้นเร่ืองส้ันของศรีดาวเรืองยังแฝงแงคิดอันเปนประโยชน ใหความรูเร่ืองคติชนเกี่ยวกับความเช่ือ และประเพณี ใหความรูเกี่ยวกับสภาพการเมืองการปกครองอีกดวย งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับวินทร เลียววาริณ

เสาวนีย ทองถนอม (2544) ทําการวิจยัเร่ือง วิเคราะหเร่ืองส้ันของวินทร เลียววาริณ ตั้งแต พ.ศ. 2537-2542 ผลการศึกษาพบวา วินทร เลียววาริณ เปนนักเขียนท่ีสรางสรรคผลงานดวยความประณีตแหงองคประกอบของศิลปะ กลวธีิการเขียนเร่ืองส้ันมีลักษณะเฉพาะตนเดนและนาสนใจ ใชกลวิธีการนาํเสนอหลากหลายรูปแบบ มาเปนองคประกอบรวมของเรื่องส้ัน แตขณะเดยีวกัน

จะไมท้ิงเนื้อหาของเร่ือง ท้ังสามารถส่ือเร่ืองราว และความคิดท่ีซับซอนลึกซ้ึงดวยอรรถรสท่ีสรางอารมณและความรูสึกใหแกผูอาน ในดานแนวคิด ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสังคม แนวคิดเกีย่วกับชีวิต และแนวคิดเกี่ยวกับเร่ืองทางวิทยาศาสตร สวน วัชรา บุญจรรยา (2545) ศึกษาวิจยัเร่ือง วิเคราะหกลวิธีการนําเสนอเร่ืองในงานเขียนของ วินทร เลียววาริณ ผลการศึกษาพบวา ดานกลวิธีการเลาเร่ืองของ วินทร เลียววาริณ มีการเลาเร่ืองโดยใชตวัละครเปนผูเลามากท่ีสุด รองลงมาคือการเลาเร่ืองแบบผสมผสาน และการเลาเร่ืองโดยผูเขียนเปนผูเลาในฐานะบุรุษท่ีสาม ตามลําดับ ซ่ึงกลวิธีการเลาเร่ืองมักจบแบบหักมุมโดยยดึศิลปะของการอําพรางความจริงเปนสวนใหญ ดานกลวิธีการนําเสนอเร่ือง วินทร เลียววาริณ

มักนําเสนอปญหาอันเนื่องมาจากสัญชาตญาณของมนุษย นิยมการดําเนินเร่ืองยอนอดีตมากท่ีสุด

ในดานรูปแบบท่ีใชในงานเขียนมีท้ังรูปแบบทางเนื้อหา และรูปแบบทางรูปลักษณท่ีแปลกใหม การเสนอแนวคิดมีการเสนอแนวคิดเกีย่วกบัส่ิงภายนอกที่แวดลอมคน และแนวคิดเกีย่วกับส่ิงท่ี

เกี่ยวพันหรือใกลชิดกับคนในระดับท่ีลึกเขาไป

Page 53: บทที่ 2archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/thai20952yr_ch2.pdf · 2012-12-17 · 8 2. ชนิี่ดทักษณะของตเพวละคร งจะแสดงล

58

นอกจากนั้น วรรณพร ปนแกว (2547) ก็ไดศึกษาวิจยัเร่ือง การศึกษาวเิคราะหการส่ือความหมายในเร่ืองส้ันของ วินทร เลียววาริณ ผลการศึกษาพบวา การวางโครงเร่ืองมี 3 ลักษณะ ไดแก โครงเร่ืองแบบเนนเหตุการณ โครงเรื่องแบบเนนแนวคิดและความรูสึกของตัวละคร และโครงเร่ืองเนนการเช่ือมโยงจนิตนาการ การจบเร่ืองมี 5 ลักษณะ ไดแก การจบแบบหกัมุม การจบแบบยอนตน การจบแบบท้ิงทายใหคิด การจบดวยความสุข และจบดวยความเศรา การเลือกผูเลาเร่ืองมี 5 ประเภท ไดแก ผูเลาเร่ืองแบบเปนตัวละครหลัก ผูเลาเร่ืองแบบเปนตัวละครรอง ผูเลาเร่ืองแบบผูรู ผูเลาเร่ืองแบบผูรูจํากัด และผูเลาเร่ืองแบบไมแสดงทัศนะ กลวิธีการนําเสนอเร่ืองมี 16 แบบ

เชน บทบรรยายหรือพรรณนาสลับบทสนทนา บทสนทนา บทพูดเดี่ยว กระแสสํานกึ สัญลักษณ วรรณรูป วิธีแตกความคิด การใชถอยคําเพือ่สรางจินตนาการ และการใชรูปประกอบเรื่อง ฯลฯ

ดานความหมายพบความหมายเก่ียวกับชีวติมนุษย และความเก่ียวกับสังคมมนุษย นอกจากนี้ วินทร เลียววาริณ ใชกลวิธีการนําเสนอทางวรรณกรรมเพื่อส่ือความหมาย 3 กลวิธี ไดแก การสรางตัวละคร การเลือกกลวิธีการเลาเร่ือง และการนําเสนอเร่ือง รวมท้ังใชกลวิธีทางศิลปะเพื่อส่ือความหมายดวย ไดแก รูปภาพ สี และกราฟก สวนแบบลักษณในการเขียนเร่ืองส้ันของ วินทร เลียววาริณ มี 4 ลักษณะ ดังนี้ การประสานศิลป การใชจินตนาการลวง การเวนท่ีวาง ใหเติมจินตนาการ และการจบเร่ืองแบบหักมุม

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของ ทําใหผูวจิัยเกิดแนวความคิดท่ีศึกษาวิเคราะหกลวิธีการเขียนเร่ืองส้ันแนวทดลองของวินทร เลียววาริณ เพื่อท่ีจะไดทราบลักษณะเฉพาะใน

การสรางสรรคงานเขียนแนวทดลองของวนิทร เลียววาริณ และนําไปใชเปนบทอานเสริมความคิดสําหรับนักเรียนชวงช้ันท่ี 4