23
บทที1 เทคโนโลยีการศึกษา การทํางานโดยใชเทคโนโลยี เปนการทํางานที่นําความรูทางวิทยาศาสตรมาประยุกตใช เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทํางานนั้นใหเกิดผลดีมากยิ่งขึ้น เมื่อนําเทคโนโลยี มาใชในวงการศึกษาจึงเรียกวา เทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งเทคโนโลยีการศึกษานั้นมีบทบาทตอการ เรียนการสอนมาทุกยุคทุกสมัยตั้งแตการบรรยาย กระดานชนวน แผนโปรงใส เครื่องฉายตาง จนกาวมาสูยุคอิเล็กทรอนิกสที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (Computer Technology) และการจัดระบบ สารสนเทศ (Management Information System) มีบทบาทอยางสําคัญในการเรียนการสอนยุค โลกาภิวัตน (Globalization) ดังนั้นการที่จะศึกษาองคประกอบตาง ในเทคโนโลยีการศึกษา จึง จําเปนจะตองทราบความหมายของคําตางๆเหลานี้ใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการศึกษา ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีการศึกษา ที่นักการศึกษาและนักเทคโนโลยี การศึกษากลาวถึงและใชกันอยูเปนประจํา มีอยูหลายคําดังนีเทคโนโลยี (Technology) เปนคํามาจากภาษาลาตินวา Texere แปลวา การสานหรือการ สราง และถาพิจารณารูปศัพทภาษาอังกฤษ Techno แปลวา วิธีการ logy แปลวา วิทยา ตามรูปศัพท เทคโนโลยีจึงแปลวา ศาสตรที่วาดวยวิธีการ ซึ่งมีผูไดพยายามใหความหมายของคํานี้ไวมากมาย เชน เดล (Edgar Dale, 1969, p. 610) ไดใหความหมายของเทคโนโลยีวา เทคโนโลยี ประกอบดวยผลรวมของการทดลอง เครื่องมือ และกระบวนการ ซึ่งสิ่งทั้งหลายเหลานี้เกิดจากการ เรียนรูทดลอง และไดรับการแกไขปรับปรุงมาแลว กูด (Carter V. Good, 1973, p. 592) ไดกลาวถึงความหมายของเทคโนโลยีวา การ ประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรใหเปนระบบเพื่อแกปญหา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน .. 2542 (2546, หนา 538) ไดใหความหมายของ คําเทคโนโลยีไวดังนี เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นําเอาความรูทางวิทยาศาสตร มาใชใหเกิด ประโยชนในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม

บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

บทที่ 1 เทคโนโลยกีารศึกษา

การทํางานโดยใชเทคโนโลยี เปนการทํางานที่นําความรูทางวิทยาศาสตรมาประยุกตใช เพื่อเพิ่มประสทิธิภาพและประสิทธิผลของการทํางานนัน้ใหเกิดผลดีมากยิ่งขึ้น เมือ่นําเทคโนโลยีมาใชในวงการศึกษาจึงเรยีกวา เทคโนโลยีการศึกษา ซ่ึงเทคโนโลยีการศึกษานัน้มีบทบาทตอการเรียนการสอนมาทุกยุคทุกสมัยตั้งแตการบรรยาย กระดานชนวน แผนโปรงใส เครื่องฉายตาง ๆ จนกาวมาสูยุคอิเล็กทรอนิกสที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (Computer Technology) และการจัดระบบสารสนเทศ (Management Information System) มบีทบาทอยางสําคัญในการเรียนการสอนยคุ โลกาภิวัตน (Globalization) ดังนั้นการทีจ่ะศึกษาองคประกอบตาง ๆ ในเทคโนโลยกีารศึกษา จึงจําเปนจะตองทราบความหมายของคําตางๆเหลานี้ใหเขาใจอยางถองแทเสียกอน ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีการศึกษา ความหมายของคําที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีการศึกษา ทีน่ักการศึกษาและนักเทคโนโลยีการศึกษากลาวถึงและใชกันอยูเปนประจํา มีอยูหลายคําดงันี้ เทคโนโลยี (Technology) เปนคํามาจากภาษาลาตินวา Texere แปลวา การสานหรือการสราง และถาพิจารณารูปศพัทภาษาอังกฤษ Techno แปลวา วิธีการ logy แปลวา วทิยา ตามรูปศัพทเทคโนโลยีจึงแปลวา ศาสตรที่วาดวยวิธีการ ซ่ึงมีผูไดพยายามใหความหมายของคํานี้ไวมากมาย เชน เดล (Edgar Dale, 1969, p. 610) ไดใหความหมายของเทคโนโลยีวา เทคโนโลยีประกอบดวยผลรวมของการทดลอง เครื่องมือ และกระบวนการ ซ่ึงสิ่งทั้งหลายเหลานี้เกิดจากการเรียนรูทดลอง และไดรับการแกไขปรับปรงุมาแลว กูด (Carter V. Good, 1973, p. 592) ไดกลาวถึงความหมายของเทคโนโลยีวา การประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรใหเปนระบบเพื่อแกปญหา พจนานกุรมฉบับราชบัณฑติยสถาน พ.ศ. 2542 (2546, หนา 538) ไดใหความหมายของคําเทคโนโลยีไวดังนี้ “เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นําเอาความรูทางวิทยาศาสตร มาใชใหเกิดประโยชนในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม”

Page 2: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

2

จากความหมายดังกลาวขางตนพอสรุปไดวา เทคโนโลยี คือ การนําแนวความคิด ความรู กระบวนการ และวธีิการทางวิทยาศาสตรมาประยุกตใชในงานสาขาตาง ๆ อยางมีระบบ เพื่อใหบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ถานําเอาเทคโนโลยีไปใชแกปญหาในดานใด จะเรียกวาเทคโนโลยีทางดานนั้น เชน เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีการแพทย เทคโนโลยีอุตสาหกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา เปนตน โสตทัศนศึกษา (Audio Visual Education) หมายถึงสาขาวิชาหนึ่งในวิชาการศึกษาเปนเทคนคิการศกึษาวาดวยเร่ืองสื่อการเรียนการสอน วัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่ใชประกอบการเรียนการสอน โดยการรับรูจากประสาทหแูละประสาทตาเปนสําคัญ ทําใหผูเรียนไดรับประสบการณ และเกิดการเรียนรูในสาระเรื่องราวตาง ๆ ได จากผลการวิจยั นกัเทคโนโลยีการศึกษา เชื่อวาประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษยทาํใหเกิดการรับรูไดมากนอยไมเทากัน โดยมีผลการวิจยัของบริษัทโซโคนีแวคคัมออย ในเรื่องการเรยีนรูของมนุษย (Cobun, 1968, p. 93) พบวา ล้ินสัมผัสรับรูได 1% กายสัมผัสรับรูได 1.5% นาสิกสัมผัสรับรูได 3.5% โสตสัมผัสรับรูได 11% และประสาทตาสัมผัสสามารถรับรูได 83% จะเหน็ไดวาประสาทหแูละประสาทตารับรูไดมากกวาประสาทอืน่ ๆ ดังนั้น คําวา “โสตทัศนศึกษา”อาจจะมีที่มาจากผลของการวิจยัดังกลาว โสตทัศนวัสด ุ (Audio Visual Materials) หมายถึงวัสดทุี่ใชประกอบการฟงและการด ูสวนมากเปนวสัดุที่มีราคาคอนขางถูก มีน้ําหนักเบา มีความสิ้นเปลืองหรือสูญเสียไดงาย บางชนิดตองใชรวมกับโสตทัศนอุปกรณตาง ๆ วัสดุประเภทนี้นยิมเรียกทับศัพทวา “ซอฟตแวร (Software)” เรียกกนัโดยทัว่ไปวา “ส่ือเบา” ตอมาไดมีการบัญญัติศัพทใหมเรียกวา “ลมุนภัณฑ” โสตทัศนอุปกรณ (Audio Visual Equipment) หมายถงึ เครื่องมือหรือ “ส่ือหนัก” ที่มีราคาคอนขางสูง มีน้ําหนักมาก ใชไดนานและคงทนตามสภาพ เชน เครื่องฉายภาพนิ่ง โทรทัศน เปนตน เครื่องมือหรือส่ือประเภทนี้นิยมเรียกทับศัพทวา “ฮารดแวร (Hardware)” ตอมาไดมีการบัญญัติศัพทเรียกวา “กระดางภัณฑ” โสตทัศนูปกรณ เปนคําที่มักนิยมใชอีกคําหนึ่ง มีความหมายเชนเดยีวกับ “โสตทัศน-อุปกรณ” แตเนนตรงทีว่าตองเปนเครื่องมือที่ทําใหเกิดเสียงในการไดยินและทําใหเกิดภาพในการมองเห็น เชน เครื่องฉาย เครื่องเสียง วีดิทัศน วีซีดี เปนตน โสตทัศนกิจกรรม (Audio Visual Activities) หมายถึงการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อสนับสนุนและสงเสริมการเรียนการสอน ซ่ึงสวนใหญอยูในรูปของการใชวิธีการตาง ๆ เชน นาฏการ การสาธิต การจัดนิทรรศการ เปนตน กจิกรรมที่จัดขึ้นอาจใชวัสดหุรืออุปกรณตาง ๆ ประกอบดวย ก็ได

Page 3: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

3

เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) เปรื่อง กุมทุ (2518, หนา 3) กลาววา เทคโนโลยีการศึกษาหมายถึง เปนการนาํเอาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณมาใชในการเรยีนการสอน มีการออกแบบ ดําเนินการตามแผนและมกีารประเมินผลภายใตจดุมุงหมายที่กําหนดไว อยางมีระบบ ชัยยงค พรหมวงศ (2523, หนา 24) กลาววา เทคโนโลยีการศึกษาเปนระบบการประยุกตผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร (วัสดุ) และผลิตกรรมของวิศวกรรมศาสตร (อุปกรณ) โดยยดึหลักทางพฤตกิรรมศาสตร (วิธีการ) มาชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษา ทั้งในดานบริหาร ดานวิชาการและดานบริการ หรืออีกนัยหนึ่ง เทคโนโลยีการศึกษาเปนระบบการนําวสัดุอุปกรณและวธีิการมาใชในการปรับปรุงประสิทธิภาพการศึกษาใหสูงขึ้น ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526, หนา 2) กลาววา เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึงวิธีการนําความรู แนวความคิดและกระบวนการ ตลอดจนเครื่องมอืและวัสดุตาง ๆ อันเปนผลจากความเจรญิ กาวหนาทางวทิยาศาสตรมาใชรวมกนัอยางมีระบบ เพือ่แกไขปญหาและเกื้อหนุนพัฒนาการศึกษาใหกาวหนาตอไปอยางมีประสิทธิภาพ กิดานันท มลิทอง (2543, หนา 5) กลาววา เทคโนโลยกีารศึกษาเปนการประยกุตเอาเทคนิค วิธีการ แนวความคดิ วัสด ุ อุปกรณ และสิ่งตาง ๆ อันสืบเนื่องมาจากเทคโนโลยีมาใชในวงการศึกษา นอกจากนี้แลว ยงัเกี่ยวของถึงบุคคลและองคกรตาง ๆ โดยเปนกระบวนการที่ซับซอนของการประยกุตส่ิงทั้งหลายเหลานั้นมาใชเพื่อการวางแผน วิเคราะหปญหา และแกปญหาทาง การศึกษา จากความหมายตางๆที่กลาวมานี้ จะเห็นไดวา เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง การประยุกตวิทยาการตางๆ นํามาใชแลวบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ เกิดประโยชนทางการศึกษา การประยุกตดังกลาวนี้อาจจะใชวัสดุ อุปกรณ และเทคนิควิธี อยางใดอยางหนึ่ง หรือสองสามอยางนํามาใชรวมกนัอยางเปนระบบก็ได นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) คําวา นวัตกรรม เดิมใชวา นวกรรม หมายถึง การกระทําหรือการปฏิบัติใหม ๆ อาจเปนกระบวนการ ส่ือหรือส่ิงประดษิฐที่คิดคนขึน้ใหม ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526, หนา 20) ไดใหความหมายไววา นวตักรรม หมายถึงวิธีการปฏิบัติใหม ๆที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะไดมาจากการคิดคนพบวธีิการใหม ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแตงของเกาใหใหมเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหลานี้ไดรับการทดลองพัฒนาจนเปนที่เชื่อถือไดแลววาไดผลดใีนทางปฏิบัติ ทําใหระบบกาวไปสูจุดหมายปลายทางไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 4: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

4

มนตรี แยมกสิกร (2526, หนา 4) กลาววา นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง วิธีการปฏิบัติทางการศึกษาใหม ๆ ซ่ึงแปลกไปจากที่เคยปฏิบัตมิาแตเดิม และไดสรุปแนวความคิดเกี่ยวกบันวัตกรรมการศึกษาไวใน 5 ประเด็น ดังนี ้ 1. เปนความคิดทางการศึกษาทีไ่มทราบมากอนในวงการศึกษา ทั้งที่ความคิดหรือการปฏิบัตินั้นมีอยูมาแตเดิมแลว เชน การนําคอมพิวเตอรมาใชในการศกึษา ซ่ึงแตเดิมมิไดใชในวงการศึกษา หรือการนําวิธีระบบมาใชในวงการธุรกิจอุตสาหกรรม เปนตน 2. เปนความคิดหรือปฏิบัติการทางการศึกษาใหม อาจเนื่องดวยการดัดแปลงปรับปรุงความคิดเกา ทีส่ามารถนํามาปฏิบัติไดในปจจุบัน เชน เดมิอาจมีความคดิจะใชส่ือมวลชนเพื่อการศึกษา แตกระทําไมไดเพราะเครื่องมือส่ือสารการศึกษายังไมพรอม ตอมาในสมัยปจจุบนั ส่ิงแวดลอมเอื้ออํานวยใหจึงสามารถกระทําได เปนตน 3. การปฏิบัตินั้นอาจมีมาแตเดมิแลว แตลาสมัยหรือลํ้าสมัยเกินไป ตอมาไดมีการฟนฟูทํากันใหม โดยอาจสืบเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ เชน 3.1 อาจเปนเพราะจุดมุงหมายหลายประการที่เห็นวาปฏิบัตกิารเชนนั้น สามารถนํามาใชใหสําเร็จได 3.2 การเปลี่ยนแปลงบางอยาง ทําใหแนวความคิดเกีย่วกับการปฏิบตัิเดิมที่เคยลมเหลวมากอน ไดรับการฟนฟูมาทําใหสําเร็จได 3.3 เจตคติ (Attitudes) ของคนที่เกี่ยวของ เปลี่ยนแปลงใหสามารถยอมรับ แนวความคิดที่มีมาแตเดิมได เชน ผูบริหาร ครูเกา เปนตน 4. เกิดมีสถานการณใหมที่สวนประกอบตาง ๆ มารวมกัน มีองคประกอบตาง ๆ สมบูรณขึ้น ทําใหสําเร็จได เชน การสอนแบบใหคนควาดวยตนเอง แตเดิมขาดตํารา ขาดหองสมุด ตอมามีส่ิงเหลานี้เพียงพอก็สามารถกระทําได 5. ความคิดหรือการปฏิบัติใหมที่เกิดขึ้น แตเปนสิ่งที่ไมเคยมีใครคนพบมากอนเลย เปนสิ่งที่ใหมจริง ลักษณะเชนนี้มักจะถูกตอตาน ประเดน็นี้ยอมขึ้นอยูกับการทดลองหรือการพิสูจน กิดานันท มลิทอง (2543, หนา 256) กลาววา นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง นวัตกรรมที่จะชวยใหการศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผูเรียนสามารถเกิดการเรยีนรูไดอยางรวดเรว็มปีระสิทธิผลสูงกวาเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนดวยนวัตกรรมเหลานั้น และประหยดั เวลาในการเรียนไดอีกดวย ในปจจุบันมีการใชนวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอยาง ซ่ึงมีทั้งนวัตกรรมที่ใชกันแพรหลายและที่กําลังแพรหลาย เชน ส่ือหลายมิติ ความเปนจริงเสมือน อินเทอรเน็ต และการสอนบนเวบ็ เปนตน

Page 5: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

5

จากความหมายดังกลาวขางตนพอสรุปไดวา นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง ส่ือ ส่ิงประดิษฐหรือกระบวนการปฏิบัติที่เกิดขึ้นใหมทางการศึกษา ใชแลวเกิดผลดีบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการ ไดประโยชนและประหยดัมีประสิทธิภาพ นวัตกรรมการศกึษา อาจเปนสื่อ ส่ิงประดิษฐ และวิธีการหรอืกระบวนการใหมๆทางการศึกษา ที่มีผูคิดคนทดลองใชแตยังไมแพรหลาย แลวคอย ๆ พัฒนาจนไดรูปแบบที่สมบูรณ เกดิผลในทางปฏิบัติจริง จึงจะไดรับการยอมรับในทีสุ่ด ความสัมพันธของเทคโนโลยีกับนวัตกรรม ชัยยงค พรหมวงศ (2523, หนา 25) กลาววา นวัตกรรมเทียบไดกับหนอไม และเทคโนโลยีเทียบไดกับลําไผ เทคโนโลยีจึงตองผานขั้นตอนการเปนนวตักรรมกอนเสมอ เทคโนโลยีเปนศาสตรที่วาดวยวิธีการในการปฏิบัติที่มีระบบ วิธีการบางอยางใชไปแลวนานเขา หรือนําไปใชตางสถานที่ ตางเวลา ก็อาจจะไมไดผลหรือไดผลนอยลง จําเปนตองมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหมใหเหมาะสมกบัสภาพกาล หรืออาจตองคิดวิธีการใหมขึ้นมาอยูเร่ือยๆ ดังนั้น เทคโนโลยี กับนวัตกรรม จึงมักจะใชควบคูกนัอยูเสมอ คําใหมที่ใชเรียกแทนทั้งสองคํานี้คือ “อินโน-เทค (Inno-Tech)” จากความสัมพันธของเทคโนโลยีกับนวัตกรรมที่เรารูจักกันดีแลวนั้น อาจจัดทําเปนตารางเปรียบเทียบไดดังนี ้ ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบเทคโนโลยีกับนวัตกรรม

เทคโนโลยี นวัตกรรม 1. เปนสวนหนึ่งของระบบงานปจจุบัน 2. เปนการนําความรูทางวิทยาศาสตรมาประยุกต ใชอยางเปนระบบ 3. เปนการนําความรูมาใชปฏิบัติใหบังเกดิผลดี หรือนํามาใชในการแกปญหาดานใดดานหนึ่ง 4. เมื่อใชไปนานๆหรือนําไปใชตางสถานที่ ตาง เวลา อาจไมไดผล ตองมีการพัฒนา 5. เปนระบบและกระบวนการ

1. ไมเปนสวนหนึ่งของระบบงานปจจุบัน 2. กอนนํามาใชงานตองมีการพิสูจนดวยการวิจัย หรืออยูในระหวางการวจิยัวามีประสิทธิภาพ 3. มีการพัฒนาตามขั้นตอนคอื คิดคน ทดลอง และนํามาใช 4. เปนสิ่งใหมทั้งหมดหรือบางสวน เชน ปรับ ปรุงของเกาใหใหมเหมาะสมกับกาลสมัย 5. นําวิธีการจดัระบบมาใชเพื่อใหได Output ที่ออกมามีประสิทธิภาพสูงกวา Input

ที่มา (ผูเรียบเรยีง)

Page 6: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

6

ความสําคัญของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งในการชวยแกปญหาทางดานการศึกษา ทั้งในดานการบรหิาร การจดัการเรียนการสอน และการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชเพื่อเพิ่มพนูประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเรียนรู ประเทศไทยไดตระหนกัถึงความสําคัญในดานนี้โดยการบรรจุเร่ืองเทคโนโลยีการศึกษาไวในหมวด 9 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 โดยรัฐบาลจะเปนผูจัดสรรคลื่นความถี่และสื่อตัวนําเพื่อเผยแพรการศึกษา สงเสริมและสนับสนนุใหมกีารผลิตและพฒันาสื่อทกุรูปแบบ มกีารพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิตและผูใชเทคโนโลย ีสงเสริมใหมีการวิจยัและพัฒนาการผลิตและการพฒันาเทคโนโลยีเพื่อการศกึษา มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่การศึกษา และมีหนวยงานกลางทําหนาที่พิจารณาเสนอนโยบายแผน สงเสริมและประสานการวจิยัรวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพือ่การศึกษา (กดิานันท มลิทอง, 2543, หนา 18)

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กฎหมายแมบททางการศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย

หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

มาตรา ๖๓ รัฐตองจัดสรรคลื่นความถี่ ส่ือตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอื่นที่จําเปนตอการสงวิทยุกระจายเสียง วทิยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปแบบอื่น เพื่อใชประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจําเปน มาตรา ๖๔ รัฐตองสงเสริมและสนับสนนุใหมกีารผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวชิาการ ส่ือส่ิงพิมพอ่ืน โดยเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงนิสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศกึษา ทั้งนี้โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม มาตรา ๖๕ ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิต และผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึษา เพื่อใหมีความรูความสามารถ และทกัษะในการผลิต รวมทั้งการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา ๖๖ ผูเรียนมีสิทธิไดรับการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได เพื่อใหมีความรูและทกัษะที่เพยีงพอที่จะใชเทคโนโลยเีพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรูดวยตนเองไดอยางตอเนื่องตลอดชีวติ

Page 7: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

7

มาตรา ๖๗ รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจยัและพัฒนาการผลิต และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหเกิดการใชที่คุมคาและเหมาะสมกับกระบวนการเรยีนรูของคนไทย มาตรา ๖๘ ใหมีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรฐั คาสัมปทาน และผลกําไรที่ไดจากการดําเนินกิจการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคมจากทุกฝายทีเ่กี่ยวของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรประชาชน รวมทั้งใหมกีารลดอัตราคาบริการเปนพิเศษในการใชเทคโนโลยีดังกลาวเพื่อการพัฒนาคนและสังคม หลักเกณฑและวิธีการจดัสรรเงินกองทุนเพือ่การผลิต การวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๙ รัฐตองจัดใหมหีนวยงานกลางทําหนาที่พจิารณาเสนอนโยบายแผน สงเสริม และประสานการวิจยั การพัฒนาและการใช รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา นอกจากประเทศไทยแลว ประเทศสหรัฐอเมริกาไดตระหนักถึงความสําคัญของเทคโนโลยีการศึกษาโดยไดสนับสนุนในการนําเทคโนโลยีมาใชในโรงเรียนตั้งแตป พ.ศ. 2493 เปนตนมา ไดใหเงินอดุหนนุทางดานเทคโนโลยีการศึกษา การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพือ่ใชในการเรียนการสอน รวมทั้งจัดตั้งเครือขายโทรคมนาคมและการวางแผนดานเทคโนโลยีการศึกษา ในป พ.ศ. 2539 ประธานาธิบดีบิลล คลินตันแหงสหรัฐอเมริกาไดประกาศใหมกีารเชื่อมตอหองเรยีนทุกหองในสหรัฐอเมริกาเขากับทางดวนสารสนเทศ “ดวยคอมพิวเตอรและซอฟตแวรช้ันดีพรอมดวยครูที่ไดรับการฝกอบรมมาเปนอยางด”ี มีการประกาศถึงจุดมุงหมายของเทคโนโลยีการศึกษาไว 4 ประการ คือ 1. หองเรียนทกุหองมีการเชื่อมตอกับทางดวนสารสนเทศ 2. ครูและนักเรยีนทุกคนจะมีคอมพิวเตอรใชในหองเรยีน 3. ครูทุกคนในประเทศจะตองไดรับการฝกอบรมในการใชคอมพิวเตอรและทางดวนสารสนเทศ 4. ในทุกโรงเรียนจะตองมีซอฟตแวรที่มีประสิทธภิาพและทรัพยากรการเรียนรูออนไลน จากตัวอยางในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา จะเห็นไดวาเทคโนโลยกีารศึกษานับเปนสวนสําคัญอยางยิ่งในการพฒันาการศึกษาของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเรยีนการสอนทัง้ในและนอกหองเรียน

Page 8: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

8

ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทยนัน้ สวนใหญเราไดรับการถายทอดวิทยาการทางดานนี้มาจากประเทศสหรัฐอเมริกา จะเหน็ไดจากเมืองไทยเรา เปดสอนวิชาเทคโนโลยีการศึกษาในระดับปริญญาโทเปนครั้งแรกที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร เรียกวา วิชาเอกโสตทศันศึกษา แมแบบของหลักสูตร เลียนแบบมาจากตางประเทศ คือจากมหาวิทยาลัยอินเดียนา สหรัฐอเมริกา ตอมาจึงไดมีการปรับปรุงเนื้อหาใหเหมาะสมกับเมืองไทยเรามากขึ้น ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา ตอไปนี้ขอนําเสนอแนวคิดของสมาคมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology) ใชช่ือยอวา AECT ไดใหความหมายไวเมื่อป พ.ศ. 2537 วา (Seels & Richey, 1994, p. 9) “เทคโนโลยีการศึกษาเปนทฤษฎีและการปฏิบัติของการออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการประเมินของกระบวนการและทรัพยากรสําหรับการเรียนรู” จากความหมายดังกลาวทําใหมองเห็นถึงแนวคิดในวงกวางมากยิ่งขึ้นของเทคโนโลยีการศึกษาที่สามารถนําเทคโนโลยีมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดเพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรูของผูเรียนได ความหมายนี้ไดแบงเทคโนโลยีการศึกษาออกเปน 5 ขอบขาย (Domains) ไดแก การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation) โดยแตละขอบขายจะโยงเขาสูศูนยกลางของทฤษฎีและการปฏิบัติ (กิดานันท มลิทอง, 2548, หนา 10-11) ซ่ึงอธิบายแตละขอความไวดังนี้

ภาพที่ 1.1 ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษา ที่มา (กิดานันท มลิทอง, 2548, หนา 10)

ทฤษฎี การปฏบิัติ

การออกแบบ

การพัฒนา

การใช

การจัดการ การประเมิน

Page 9: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

9

1. การออกแบบ (Design) จะเปนสวนชวยเหลือสนับสนุนเชิงทฤษฎีใหญที่สุดของเทคโนโลยีการศึกษา อาทิเชน การออกแบบระบบการสอน การออกแบบสาร กลยุทธการสอน และลักษณะเฉพาะของผูเรียน 2. การพัฒนา (Development) ที่มีความสมบูรณจะเปนสวนเกื้อหนุนมากที่สุดในการปฏิบัติ อาทิเชน เทคโนโลยีการพิมพ เทคโนโลยีโสตทัศน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีแบบบูรณาการ 3. การใช (Utilization) หลังจากไดมีการพัฒนาเปนอยางดีทั้งในดานทฤษฎีและการปฏิบัติ กอใหเกิด การใชส่ือ การแพรกระจายนวัตกรรม การใชงานและความเปนองคกร นโยบายและกฏระเบียบ 4. การจัดการ (Management) จะเปนสวนหนึ่งที่มีอยูเสมอในทุกขอบขายทั้งนี้เพราะตองมีการรวบรวมและจัดการทรัพยากรเพื่อการสนับสนุนในแตละภารกิจ อาทิเชน การจัดการโครงการ การจัดการระบบการสงผาน และการจัดการสารสนเทศ 5. การประเมิน (Evaluation) เปนขอบขายที่ตองอาศัยการวิจัยจากขอบขายอื่นๆ อาทิเชน การวิเคราะหปญหา การวัดผลแบบอิงเกณฑ การประเมินความกาวหนา และการประเมินขั้นสรุป จากขอบขายทั้ง 5 ของเทคโนโลยีการศึกษา ซ่ึงอธิบายมาดังกลาวขางตน ยังมีขอความที่เกี่ยวของกับความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา และจําเปนจะตองอธิบายใหเขาใจดังนี้ 1. ทฤษฎีและการปฏิบัติ ในวงการวิชาชีพตางๆ จะตองมีพื้นฐานความรูที่สนันสนุนการปฏิบัติ เชนเดียวกับในแตละขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษาที่รวมเอาองคความรูที่ไดมาจากทั้งการวิจัยและประสบการณ ความสัมพันธระหวางทฤษฎีและการปฏิบัติตางไดรับการเกื้อหนุนจากขอบขายของวิชาการที่เจริญเติบโตสมบูรณเต็มที่แลว โดยทฤษฎีจะประกอบดวยมโนทัศน การสราง หลักการ และการวินิจฉัย สวนการปฏิบัติเปนการประยุกตใชองคความรูในการแกปญหา และการปฏิบัติจะสามารถชวยเอื้อใหกับฐานความรูโดยใชสารสนเทศที่ไดมาจากประสบการณ 2. กระบวนการและทรัพยากร ความหมายนี้จะตีกรอบในเรื่องของกระบวนการและผลผลิต กระบวนการเปนขั้นตอนของการปฏิบัติหรือกิจกรรมที่มีผลสงตรงไปยังผลลัพธเฉพาะ เชน ขั้นตอนของระบบการสงผานในการประชุมทางไกล การออกแบบระบบการสอน ฯลฯ สวนทรัพยากรเปนแหลงสนับสนุน ซ่ึงรวมถึงระบบเกื้อหนุน ส่ิงแวดลอม และวัสดุอุปกรณการเรียนการสอน

Page 10: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

10

3. สําหรับการเรียนรู ขอความนี้เนนถึงผลของการเรียนรูและระบุอยางชัดเจนวาการเรียนรูเปนจุดมุงหมายสําคัญและการสอนนับเปนหนทางที่ทําใหเกิดการเรียนรูขึ้นได การเรียนรูจะมีขึ้นเมื่อมีความเปลี่ยนแปลงในความรู ทักษะ และทัศนคติ ซ่ึงสิ่งเหลานี้นับเปนบรรทัดฐานสําคัญของการสอน ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษาตามที่แสดงในภาพที่ 1.1 ทําใหเห็นไดวาความสัมพันธระหวางทั้ง 5 ขอบขายจะไมเรียงลําดับกันเชิงเสนตรงแตจะเปนการเสริมรวมกัน ภายในแตละขอบขายจะมีองคประกอบยอยเพื่ออธิบายถึงลักษณะของขอบขายนั้น ถึงแมวาเมื่อมีการทําวิจัยอาจมุงเนนไปยังกลุมใดกลุมหนึ่งหรือสวนยอยโดยเฉพาะ แตในทางปฏิบัติจริงแลวจะเปนการทํางานรวมกันในทั้งกลุมหรือหลายกลุมรวมกัน ตัวอยางเชน เมื่อมีการทํางานในกลุมของการพัฒนาจะมีการใชทฤษฎีจากกลุมการออกแบบ เชน การออกแบบระบบการสอนและทฤษฎีการออกแบบสารรวมดวย หรือเมื่อมีการใชในกลุมการออกแบบยอมนําหลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสื่อจากกลุมการพัฒนาและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหปญหาและการวัดผลจากกลุมการประเมินผลมาใชรวมดวย ดังนี้เปนตน ในสวนทีเ่กีย่วกับขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษานี ้ ชัยยงค พรหมวงศ (2523, หนา 38) ไดเสนอความเหน็ไววา เทคโนโลยีการศึกษา ควรจะมีบทบาทสําคัญตองานบริหารการศึกษา และงานทางดานวิชาการดวย ใหความสําคัญโดยถือวาเปนมิติที่ 3 ทางการศึกษา

ภาพที่ 1.2 มิติที่ 3 ทางการศึกษา ที่มา (ชัยยงค พรหมวงศ, 2523, หนา 38)

บริหาร วิชาการ

เทคโนโลยีการศึกษา

Page 11: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

11

ความหมาย และคุณคาของสื่อการเรียนการสอน ความหมายของสื่อการเรียนการสอน คําวา “ส่ือการเรียนการสอน” แตเดิมเรยีกกันวา “อุปกรณการสอน” ซ่ึงหมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่นํามาใชประกอบการสอน ตอมาในการเรยีนการสอนเนนที่ครูผูสอนเปนสําคัญ จึงใชคําวา “ส่ือการสอน” และในระยะหลัง ๆ นี ้ นักการศกึษาหันมาเนนที่ตวัผูเรียน จึงใชคําวา “ส่ือการเรียน” ในปจจุบันรวมเรยีกวา “ส่ือการเรียนการสอน” หรือบางครั้งนิยมเรียกกันคําเดียวส้ัน ๆ วา “ส่ือ"”เทานั้น ซ่ึงในเรื่องนี้ เสาวณีย สิกขาบัณฑิต (2532, หนา 85) กลาววา “ส่ือ” หมายถึงรูปแบบหรือสัญญาณที่เปนสัญลักษณที่มีความหมายและเปนที่เขาใจกันได ซ่ึงอาจจะเปนคําพูด ตวัหนังสอื รูปภาพ ทาทาง เครื่องหมายตาง ๆ ฯลฯ ซ่ึงสัญลักษณเหลานี้จะสงไปยังผูรับในลกัษณะตาง ๆ กัน ขึ้นกับชองทางการสงสาร วรรณา เจยีมทะวงษ (2532, หนา 1) กลาววา ส่ือการสอน หมายถึง ส่ิงซึ่งเปนตัวกลางในการถายทอดความรู ทักษะ และเจตคติใหแกผูเรียน หรือทําใหผูเรียนไดเรียนรูตามวัตถุประสงค วาสนา ชาวนา (2533, หนา 8) กลาววา ส่ือการสอน หมายถึง ส่ิงใดก็ตามที่เปนตัวกลางหรือพาหะ หรือพาหนะนําความรูไปสูผูเรียน และทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวเปนอยางด ี สรุปไดวา ส่ือการเรียนการสอน หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ที่เปนตัวถายทอดความรู อาจเปนชองทาง แนวทาง วิธีการหรือวัสดุ เครื่องมือ นําความรูจากแหลงความรูไปยังผูเรียน ทําใหผูเรียนเกิดการเรยีนรูตามจุดประสงคที่ตองการ คุณคาของสื่อการเรียนการสอน คุณคาของสื่อการเรียนการสอนอาจรวบรวมไวไดหลายประการ ดังนี ้ 1. ชวยใหผูเรียนเกิดการเรยีนรู เกิดความเขาใจ ทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น 2. ชวยเพิ่มพูนความจํา ประทับความรูสึก ทําใหผูเรียนเมื่อไดเรียนรูแลวจําไดเร็วและจําไดนาน เนื่องจากความประทับใจ 3. ชวยเพิ่มความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอน และทําใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น 4. ชวยสงเสริมการคิด การแกไขปญหาในกระบวนการเรียนการสอน 5. ชวยใหผูเรียนเรียนรูไดมากในเวลาที่จํากัด 6. ชวยใหผูเรียนมีประสบการณกวางขวางขึน้

Page 12: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

12

7. ชวยใหสามารถเรียนรูในสิ่งที่ยากลําบากไดโดยงาย สามารถเอาชนะขอจํากัดตาง ๆ ในธรรมชาติ ในเรื่อง เวลา ขนาด และระยะทาง ไดแก 7.1 ทําใหส่ิงที่เคลื่อนไหวเร็ว ใหชาลงได 7.2 ทําใหส่ิงที่เคลื่อนไหวชา ใหเคลื่อนไหวเรว็ข้ึนได 7.3 ทําใหส่ิงที่ใหญมาก มีขนาดเล็กลงได 7.4 ทําใหส่ิงที่เล็กมาก มีขนาดใหญขึ้นได 7.5 นําสิ่งที่อยูไกล มาศึกษาใกล ๆ ได 7.6 นําสิ่งที่อยูล้ีลับ มาศึกษาได 7.7 นําสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต มาศกึษาได 7.8 ทําสิ่งที่เปนนามธรรม ใหเปนรูปธรรมได 7.9 ทําสิ่งที่ยุงยากซับซอน ใหงายขึ้นได 7.10 บันทึกเหตุการณที่มนุษยไมสามารถสังเกตเห็น มาศกึษาได 8. ชวยใหการจัดการศกึษา การเรียนการสอนมีความสมบรูณและมปีระสทิธิภาพยิ่งขึน้ เชน การใชเครื่องคอมพิวเตอรใหทํางานทางดานการศึกษา 9. สามารถสนองในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคลได 10. สามารถจัดสอนโดยใชผูสอนจํานวนจํากัด กับผูเรียนไดโดยไมจํากัดจํานวน 11. ชวยใหการจัดการศึกษาเปนไปอยางสอดคลองกับสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็ได 12. ชวยใหการจัดการศึกษามีความเสมอภาพทางการศึกษา เชน ระบบการสอนทางไกล เปดโอกาสใหทุกคนสามารถที่จะรับการศึกษาไดตลอดชวีติ ไมจํากดัอยูเฉพาะแตในโรงเรียนเทานั้น 13. ชวยใหการจัดการศึกษาและการเรียนการสอน ตั้งอยูบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร เชน การนําเรื่อง “ระบบ” มาใชในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอน เปนตน 14. ชวยใหการจัดการศึกษาเปนไปไดอยางประหยัด การจําแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอน ในการจําแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอนนั้น สามารถที่จะจําแนกออกไดหลายแบบ หลายลักษณะ เนื่องจากในปจจุบันมีการใชส่ือรูปแบบตางๆมากมาย ในทัศนะของผูเรียบเรียงจึงขอจําแนกสื่อออกเปน 3 ประเภท เพื่อใหเห็นภาพลักษณอยางชัดเจนโดยจําแนกตามลักษณะของสื่อจากการพิจารณาตัวส่ือทั้งในดานวัสดุ อุปกรณ วิธีการ การใชงาน และระบบการทํางาน

Page 13: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

13

ของอุปกรณไดแก ส่ือพื้นฐาน ส่ือระบบอนาล็อก และสื่อระบบดิจิทัล (กิดานันท มลิทอง, 2548, หนา 137 – 139)

1. สื่อพื้นฐาน เปนสื่อการเรียนการสอนรูปแบบเกาที่ใชกันมาแตดั้งเดิม ส่ือเหลานี้สามารถผลิตขึ้นใชเองไดและถายทอดเนื้อหาไดดวยตัวเอง ไดแก 1.1 กระดานชอลค (Chalk Boards) 1.2 แผนปายผาสําลี (Flannel Boards) 1.3 แผนปายนิเทศ (Bulletin Boards) 1.4 แผนปายไฟฟา (Electric Boards) 1.5 แผนปายแมเหล็ก (Magnetic Boards) 1.6 ภาพตางๆ (Pictures) 1.7 สมุดภาพ (Pictorial Books) 1.8 ภาพสามมิติ (Three-Dimensional Pictures) 1.9 ภาพเขียนและภาพสเกทช (Drawings and Sketches) 1.10 ภาพถาย (Photographs) 1.11 แผนภูมิ (Charts) 1.12 แผนภาพ (Diagrams) 1.13 แผนสถิติ (Graphs) 1.14 ภาพโฆษณา (Posters) 1.15 การตูน (Cartoons) 1.16 แผนที่ (Maps) 1.17 ของจริง (Real Things) 1.18 ของจําลอง (Models) 1.19 ของลอแบบ (Mock-ups) 1.20 ของตัวอยาง (Speciments) 1.21 ตูอันตรทัศน (Dioramas) 1.22 พิพิธภัณฑโรงเรียน (School Museums) 1.23 การสาธิต (Demonstrations) 1.24 การแสดงนิทรรศการ (Exhibitions) 1.25 การศึกษานอกสถานที่ (Field-Trips) 1.26 การแสดงนาฏการ (Dramatizations)

Page 14: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

14

1.27 การเชิดหุน (Puppets) 1.28 เกม (Games) 1.29 กะบะทราย (Sand Tray) 1.30 การทดลอง (Experiments)

2. สื่อระบบอนาล็อก เปนสื่ออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชในการถายทอดเนื้อหาจากวัสดุใหเห็นเปนภาพขนาดใหญ หรือถายทอดเสียงจากวัสดุบันทึก แบงออกเปน 2.1 เครื่องฉาย เครื่องฉายเหลานี้เปนอุปกรณไฟฟาระบบอนาล็อกใชถายทอดเนื้อหาจากวัสดุที่ไมสามารถถายทอดเนื้อหาไดดวยตนเอง เชน แผนโปรงใส ฟลมสไลด ฟลมภาพยนตร ยกเวนเครื่องฉายภาพทึบแสงที่ใชขยายภาพของวัสดุทึบแสง เชน ภาพจากหนังสือ และวัสดุ 3 มิติ ซ่ึงสามารถถายทอดเนื้อหาไดดวยตนเองแตอาจมีขนาดเล็กทําใหไมสามารถเห็นไดทั่วถึงจึงตองนํามาใชกับเครื่องฉายภาพทึบแสงเพื่อฉายใหมีขนาดใหญขึ้นบนจอภาพ เครื่องฉายเหลานี้ไดแก 2.1.1 เครื่องฉายภาพขามศีรษะ (Over Head Projector) 2.1.2 เครื่องฉายภาพทึบแสง (Opaque Projector) 2.1.3 เครื่องฉายสไลด (Slide Projector) 2.1.4 เครื่องฉายภาพยนตร (Motion-Picture Projector) 2.2 เครื่องเสียง เปนอุปกรณแปลงสัญญาณคลื่นไฟฟาความถี่เสียงใหเปนคลื่นเสียงเพื่อใหเหมาะแกการไดยิน หรือใชเปนวัสดุอุปกรณในการรับหรือบันทึกเสียง อุปกรณเหลานี้ไดแก 2.2.1 เครื่องรับวิทยุ (Radio) 2.2.2 ลําโพง (Speaker) 2.2.3 เครื่องบันทึกเสียง (Tape Recorder) 2.2.4 เทปบันทึกเสียง (Magnetic Tape) 2.3 เครื่องแปลง/ถายทอดสัญญาณ เพื่อแปลง/ถายทอดสัญญาณภาพและเสียง ไดแก 2.3.1 กลองโทรทัศน (Video Camera) 2.3.2 เครื่องเลนวีดิทัศน (Video Player) 2.3.3 เครื่องรับโทรทัศน (Television) 2.3.4 เครื่องถายทอดสัญญาณภาพ (Visualizer) 3. สื่อระบบดิจิทัล เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ใชในการถายทอดเนื้อหาและแปลงสัญญาณเชนเดียวกับสื่อระบบอนาล็อก แตเปนสื่อที่ใชเทคโนโลยีระดับสูงโดยการใชระบบดิจิทัลแทนระบบอนาล็อก อุปกรณที่ใชระบบดิจิทัลจะมีการทํางานดวยการ “ปด” หรือ “เปด” สัญญาณ

Page 15: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

15

จึงมีความไดเปรียบในเรื่องของการบีบอัดและความเที่ยงตรงของขอมูลทําใหสามารถบรรจุและถายทอดขอมูลที่รับหรือบันทึกมาไดมากและแมนยํากวาระบบอนาล็อก นอกจากนี้อุปกรณระบบดิจิทัลยังมีขอดีที่สามารถนํามาใชกับคอมพิวเตอรไดโดยตรง ส่ือระบบดิจิทัลไดแก 3.1 เครื่องแปลง/ถายทอดสัญญาณ เปนอุปกรณในการแปลงและ/หรือถายทอดสัญญาณภาพและเสียง อาทิเชน 3.1.1 กลองดิจิทัล (Digital Camera) 3.1.2 เครื่องเลนวีซีดี (VCD Player) 3.1.3 เครื่องเลนดีวีดี (DVD Player) 3.1.4 เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร (Multi-Media Projector) 3.2 ส่ือมัลติมีเดีย ไดแก คอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่มีสมรรถนะทั้งการบันทึกและสงขอมูลมัลติมีเดียในรูปแบบของขอมูลตัวอักษร ภาพกราฟกทั้งภาพนิ่งและภาพแอนิเมชั่น ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศนและเสียง โดยสามารถมีปฏิสัมพันธโตตอบกับผูใชไดทันที การใชคอมพิวเตอรเพื่อนําเสนอขอมูลในหองเรียนจําเปนตองตอกับเครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอรเพื่อนําเสนอภาพขนาดใหญบนจอภาพแทนจอมอนิเตอรขนาดเล็กเพื่อใหทุกคนสามารถดไูดอยางทั่วถึง สื่อประสม (Multi – Medias) ส่ือประสม หมายถึง การใชส่ือการเรียนการสอนมากกวาหนึ่งอยางในแตละครั้ง โดยอาจเปนการใชกับผูเรียนกลุมใหญ กลุมยอย หรือในการศึกษารายบุคคล การใชส่ือประสมนี้โดยทั่วไปแลวจะใชส่ือแตละอยางเปนขั้นตอนไป แตในบางครั้งก็อาจใชส่ือหลายชนิดพรอมกันได ในปจจุบนัไดมีการนําวัสดุมาผลิตเปนชุดสื่อประสม โดยผลิตขึ้นตามขั้นตอนการใชของระบบการสอน โดยผลิตเปน “ชุดการสอน” (Teaching Package) สําหรับใหผูสอนใชสอนแตละวิชา และเปน “ชุดการเรียน” (Learning Package) ของแตละวิชาสําหรับผูเรียนใหสามารถใชเรียนไดดวยตนเอง เอ็ดการ เดล (Edgar Dale) ไดจัดแบงสื่อการสอนเพื่อเปนแนวทางในการอธิบายถึงความสัมพนัธระหวางสื่อโสตทัศนูปกรณตาง ๆในขณะเดียวกนักเ็ปนการแสดงขัน้ตอนของประสบการณการเรียนรูและการใชส่ือแตละประเภทในกระบวนการเรยีนรูดวย โดยพัฒนาความคดิของบรุนเนอร (Bruner) ซ่ึงเปนนักจติวิทยา นําสรางเปน “กรวยประสบการณ” (Cone of Experiences) เอ็ดการ เดล ไดนําเสนอลําดับขั้นของประสบการณการเรียนรูจากประสบการณรูปธรรมไปหาประสบการณนามธรรม (ดูภาพที่ 1.3)

Page 16: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

16

วจน

สัญลักษณ นามธรรม (Abstract)

ทัศนสัญลักษณ ภาพนิ่ง

วิทยุ การบันทึกเสียง

ภาพ ภาพยนตร (Iconics) โทรทัศน วีดิทัศน การจัดนิทรรศการ การศึกษานอกสถานที่ การกระทํา การสาธิต (Enactive) ประสบการณนาฏการ ประสบการณจําลอง ประสบการณตรง

ภาพที่ 1.3 กรวยประสบการณของเอ็ดการ เดล ที่มา (กิดานันท มลิทอง, 2543, หนา 92)

กรวยประสบการณของเอ็ดการ เดล ความหมายของกรวยประสบการณ กรวยประสบการณ (Cone of Experiences) คําวา “กรวย” หมายถงึ ของกลมกลวงมีปลายเรียวแหลม คําวา “ประสบการณ” หมายถึง ส่ิงที่พบหรือสัมผัสไดแกมนษุยเราไดพบหรือประสบดวยตนเองโดยใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน ไดแก ไดยิน ไดเห็น ไดลูบคลําสัมผัส ไดกล่ิน ไดล้ิมรส ก็นับไดวามนษุยผูนั้นมีประสบการณ กรวยประสบการณ เปนรูปแบบจําลอง (Model) รูปคลายกรวยคว่ําลง ฐานกลมปลายเรียวแหลมอยูดานบน แบงออกเปนประสบการณการเรียนรู 10 ขัน้ตอน เร่ืองของกรวยประสบการณนี้ เปนแนวคดิของ ดร.เอ็ดการ เดล (Dr. Edgar Dale) นักการศึกษาชาวอเมริกันแหงมหาวิทยาลัยโอไฮโอ (The Ohio State University) สหรัฐอเมริกา เอ็ดการ เดล (Dale, Edgar, 1969, p. 42-46) ทานกลาวไว

Page 17: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

17

สรุปไดวา ประสบการณการเรียนรูนั้นเรยีงลําดับจากประสบการณที่มีลักษณะเปนรูปธรรม (ประสบการณตรง) จากฐานลางของกรวยประสบการณแลวเรียงลําดับขั้นไป 10 ขั้น ซ่ึงเปนประสบการณที่มีความเปนรูปธรรมนอยลง ๆ จนถึงขัน้ที่ 10 (วจนสัญลักษณ) จะมีความเปนรูปธรรมนอยที่สุดหรือไมมเีลยก็หมายถึงเปนประสบการณนามธรรมนั่นเอง ดังปรากฏในภาพที่ 1.4 จะเปนประสบการณการเรยีนรูจากฐานลางของ “กรวย” ไดแก ประสบการณตรง ประสบการณจําลอง ประสบการณนาฏการ การสาธิต การศึกษานอกสถานที่ นิทรรศการ โทรทัศน วีดิทัศนและภาพยนตร ภาพนิ่ง วิทยแุละการบันทึกเสียง ทัศนสัญลักษณ และวจนสัญลักษณ ซ่ึงเปนขั้นที่ 10 อยูปลายเรียวแหลมของกรวยประสบการณ ประสบการณการเรียนรูขั้นตาง ๆ ในกรวยประสบการณนั้นมีทั้งประสบการณที่เปนรูปธรรมและประสบการณที่เปนนามธรรม คําวา “รูปธรรม (Concreteness)” หมายถึง ส่ิงที่ผูเรียนสามารถแตะตองหรือสัมผัสไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 และคําวา “นามธรรม (Abstractness)” นั้น หมายถึง ส่ิงทีม่ีแตนาม (ช่ือ) หรือเปนเพียงสัญลักษณเทานั้น มนษุยไมสามารถที่จะจับตองได หรือสัมผัสไดนอยที่สุด ในเรื่องของประสบการณการเรียนรูเปนทีย่อมรับกันโดยทัว่ไปวามนุษยจะเรียนรูไดสะดวกหรือเรียนรูไดดี หากไดศึกษาจากสื่อประสบการณที่เปนรูปธรรม และมนุษยจะเรียนรูไดไมสะดวกนกัหากไดศึกษาจากสือ่ประสบการณที่เปนนามธรรม ตอไปนี้จะกลาวในรายละเอยีดของกรวยประสบการณจากฐานขางลางตั้งแตขั้นที่ 1 ไปจนถึงขั้นที่ 10 ปลายบนเรียวแหลมของกรวยประสบการณ 1. ประสบการณตรง (Direct Purposeful Experiences) ในขั้นนีเ้ปนระดับขั้นพืน้ฐานของกรวยประสบการณทีแ่สดงถึงความเปนรูปธรรมและเปนประสบการณที่เราไดประสบมาโดยตรง ไดกระทําดวยตนเองจริงในชวีิตจริงอันเปนรากฐานการเรียนรูของมนุษยเรา และเปนพืน้ฐานของการศึกษาทั้งหมด ประสบการณเหลานี้เกิดขึน้จากการที่เราไดเหน็ ไดจับตอง ไดล้ิมรส ไดสัมผัส ไดกล่ิน มีความรูสึกตอส่ิงตาง ๆ หรือพดูอีกอยางหนึ่งก็คือวา ประสบการณในขั้นนี้เปนบางสิ่งทีเ่ราไดลงมือทํานั่นเอง ประสบการณตรงที่มีจุดมุงหมายหรือเรามีความตั้งใจกระทําจะดวยเหตุผลใดก็ตาม ถาเปนประสบการณในลักษณะเชนนี้เกิดขึ้นจะทําใหเราเกิดความรูสึกประทบัใจ และเกิดการเรียนรูในความเปนจริงนั้น ๆ ดังนั้นในวงการศึกษา ประสบการณที่ผูเรียนพึงจะไดรับ ไมเพยีงแตเปนประสบการณที่เราชอบเทานั้น แตประสบการณดังกลาวจะตองสามารถทําใหเราบรรลุวตัถุประสงคและเปาหมายของการศึกษาดวยการกระทําตาง ๆ เปนตนวา การไปรานสรรพสินคา การเตรยีมอาหาร การทําเฟอรนิเจอร การเดินทางทองเที่ยว การไปทําบุญที่วัด การทดลองในหองปฏิบัติการ และประสบการณตาง ๆ ที่คลายกับประสบการณที่กลาวขางตน ลวนแลวแตเปนประสบการณที่เราจะตองเขาไปมีสวนรวมและรับผิดชอบในผลลัพธที่

Page 18: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

18

ไดออกมาดวย และเปนสิ่งที่เราศึกษาโดยการกระทํา (Learning by doing) ดวยตัวเราเอง เราจะเห็นวาประสบการณตรงที่มีความหมายหรือมีเปาหมายไมไดมีบทบาทเฉพาะในกระบวนการเรียนเทานั้น แตยังเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของเราอกีดวย 2. ประสบการณจําลอง (Contrived Experiences) ในประสบการณขั้นนี้เปนประสบการณที่ผูเรียนไดรับจากการจําลองหรือเลียนแบบมาจากของจริง ทั้งนี้เพราะประสบการณจริงบางอยางนั้น อาจมีความลําบากหรือมีขอจํากัดตาง ๆ ในการนํามาใช เชน อาจมีขอจํากัดในเรื่อง ขนาด เวลา สถานที่ หรือบางทีไมสามารถนําเขามาเรียนรูในหองเรยีนได เพราะอาจเกิดอันตรายในบางกรณี ดังนั้นจึงจําเปนตองหาวิธีการทีจ่ะทําใหผูเรียนไดรับประสบการณนัน้ ๆ ไดเหมือนจริงมากที่สุด ฉะนัน้ประสบการณจําลอง จึงไดเขามามีบทบาทแทนประสบการณตรง ทั้งนี้ก็เพื่อทีจ่ะใหผูเรียนไดมีโอกาสศึกษาอยางละเอียดถ่ีถวน ตวัอยางประสบการณจําลอง ไดแก วัสดุสามมิติ หุนจําลอง สถานการณจําลองในลักษณะของหุนจําลอง สถานการณจําลองในลักษณะที่ใชเทคโนโลยีสมัยใหม เชน การฝกหัดขับขี่รถยนตโดยใชสถานการณจําลองคอมพิวเตอร มีกลไกของอุปกรณในการขับขี่ทีม่ีความสัมพันธเชื่อมโยงกับภาพเคลื่อนไหวในจอภาพ หรือการฝกขับเครื่องบินในสถานการณจําลอง เปนตน สถานการณจําลองที่ดีนั้น จะตองมีสวนคลายความเปนจริงมากที่สุด 3. ประสบการณนาฏการ (Dramatized Experiences) ประสบการณนาฏการบางครั้งเรียกวา “การแสดงละคร” เปนประสบการณที่เราจัดขึ้นแทนประสบการณจริงที่เปนอดีตไปแลว หรือเปนนามธรรมที่ยากเกินกวาจะเขาใจและไมสามารถใชประสบการณจาํลองได ในการจัดนัน้ไมจาํเปนตองลอกเลียนแบบหรือพยายามทําใหเปนสถานการณจริงทุกอยาง แตจดักระทําเทาที่จะกระทําไดโดยใหเหมาะสมกับจดุประสงคในการเรียน เนือ้หา และจะตองคํานึงถึงความสะดวกดวย ประสบการณนาฏการนี้ แมจะไมใชสภาพการณที่เกดิขึ้นจริงก็ตาม แตก็ชวยใหผูเรียนสามารถดูและเกดิความเขาใจไดงาย ช้ีใหเหน็ถึงรายละเอียดไดชัดเจนดวย ในการจดัประสบการณนาฏการนี้ ผูเรียนจะถูกแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ ผูที่อยูในฐานะผูแสดงและผูที่อยูในฐานะผูชม ซ่ึงเมื่อพิจารณาแลวผูเรียนทีอ่ยูในฐานะผูแสดงจะมีโอกาสไดรับรูประสบการณในลักษณะที่เปนรูปธรรมมากกวาผูเรียนที่เปนเพียงผูชมเทานัน้ ดังนัน้ในการจัดประสบการณนาฏการนี้ นอกจากผูเรียนจะไดมีสวนรวมในเหตุการณและความคิดนั้น ๆ แลวยังเปนการสงเสริมใหผูเรียนไดทํางานรวมกนั ใหรูจกัแบงหนาที่กัน และทํางานเปนหมูคณะไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย ตัวอยางไดแก การละเลนพื้นเมือง การแสดงในงานประเพณีตาง ๆ เชน แสดงการลอยกระทง การสรงน้ําพระในวันสงกรานต เปนตน

Page 19: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

19

4. การสาธิต (Demonstrations) เปนการอธิบายขอเท็จจริง ความรู ความคิด หรือกระบวนการตาง ๆ ใหแกผูเรียน โดยอาศัยเครื่องมือ อุปกรณตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนคอยสังเกตหรือดู ซ่ึงผูสาธิตอาจจะใชวิธีการลงมือทําใหดูโดยตรงหรืออาจจะเปนการนําสื่ออ่ืน ๆ เชน ภาพยนตร โทรทศัน สไลด มาชวยในการสาธิตแทนกไ็ด ทั้งนี้เพราะสามารถทําใหผูเรียนรับรูไดโดยการเห็นและการไดยินไปดวย นอกจากนีย้งัชวยรวมจุดสนใจของผูเรียน ลดเวลาลองผิดลองถูกลงไดอีกดวย และการสาธิตที่ดียอมจะตองมีอุปกรณประกอบและผูสาธติตองรูจกัใชอุปกรณเหลานัน้เปนอยางดี จงึจะทําใหการสาธิตนัน้เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สวนกจิกรรมที่จัดขึน้ภายหลังการสาธิตนั้นยอมขึ้นอยูกับวัตถุประสงคเฉพาะทางการสอนวาตองการใหผูเรียนมีการอภปิรายซักถาม ลงมือปฏิบัติดวยหรือไม หรือเพียงแตใหสังเกตจากการสาธิตเทานั้น เชน การสาธิตการทําขนมจนี ผูสอนอาจจะไมคาดหวังวาผูเรียนจะตองทําขนมจีนดวยตัวเองได แตตองการเพียงใหผูเรียนทราบถึงขบวนการทําเทานั้น เปนตน การสาธิตปจจุบันนีไ้มไดใชเฉพาะการเรียนการสอนเทานั้น แตมีการนําไปใชเกี่ยวกับธุรกิจการคาดวย เชนนําไปใชในระบบการขายตรงมีการสาธิตการใชสินคาอยางถูกวิธี เพื่อจูงใจใหลูกคาสนใจในสินคาไดอีกดวย 5. การศึกษานอกสถานที่ (Field – Trips) การศึกษานอกสถานที่ หมายถึง การจัดพาผูเรียนใหไปพบหรือรับรูจากประสบการณตรง หรือจากแหลงความรูตาง ๆ ในชุมชน ในเรื่องที่สอดคลองกับประสบการณทีต่องการใหผูเรียนไดรับ ในการจัดแตละครั้งนัน้จะมจีุดมุงหมายของการจดัเสมอ ในการศึกษานอกสถานที่นั้นมักจะตองอาศัยการสังเกต และความใฝรูของผูเรียนเปนสาํคัญดวย เพราะถาผูเรียนไมใชการสังเกต ซักถาม หรือสัมภาษณผูรูแลว การจัดพาไปศึกษานอกสถานที่ก็คงใหผลไมตางไปจากการรับรูทีไ่ดจากตําราหรือแบบเรียนเทาไรนัก ตวัอยางของการไปศึกษานอกสถานที่ ไดแก การไปชมโบราณสถาน โบราณวัตถุ พพิิธภัณฑ โรงงานอุตสาหกรรม ฟารมโคนม สวนสัตว วนอุทยาน เปนตน 6. การจัดนิทรรศการ (Exhibitions) เปนการจดัแสดงวัสดุหรือผลงานที่ไดจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมใหเปนหมวดหมู โดยมีจุดมุงหมายใหผูดูมีความรูความเขาใจโดยอาศัยประสาทสัมผัสตาง ๆ ส่ิงที่จัดอาจประกอบดวย รูปภาพ แผนภูมิ ภาพโฆษณา ภาพยนตร สไลด หรือแมกระทั่งกิจกรรมทีผู่ชมไดมีสวนรวมในการกระทําดวย ในการจดันิทรรศการที่ดีนั้น ผูจัดตองคํานึงถึงพื้นฐานความรูของผูดูสวนใหญ ความสะดวก มีการประชาสัมพันธ ตลอดจนมีการประเมินผลการจัดดวย โดยท่ัวไปแลว นิทรรศการอาจแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ

Page 20: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

20

6.1 เปนการรวบรวมและจัดแสดงสิ่งตาง ๆ ไวในสถานทีใ่ดที่หนึ่งตลอดไป อาจมีการเปลี่ยนแปลงบางนาน ๆ คร้ัง เพื่อใหนาสนใจ ไดแก การจัดนิทรรศการตามพิพิธภัณฑสถานตาง ๆ เปนตน 6.2 เปนการจดัแสดงเรื่องราวเฉพาะอยางในบางโอกาสเพื่อแสดงวัตถุส่ิงของ หรือเนื้อหาใหม ๆ ซ่ึงกําลังเปนที่นาสนใจ ซ่ึงครูผูสอนควรมีการสนบัสนุนใหผูเรียนไดรวมกันจัดนิทรรศการในลักษณะนี้ขึ้นเปนครั้งคราว เพื่อใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมไดศึกษาคนควาและแสดงออกอยางกวางขวาง บางครั้งก็อาจจะจัดในรูปของการนําไปจัดยังสถานที่อ่ืน ๆ ได วัสดุและสิ่งของที่จดัแสดง จดัเตรยีมไวควรใหสะดวกตอการเคลื่อนยายจากที่หนึ่งไปยังอกีที่หนึ่ง 7. โทรทัศน วีดิทัศน และภาพยนตร (Television, Video and Motion Pictures) 7.1 โทรทัศน (Television) เปนสื่อที่ผูเรียนไดเห็นภาพและไดยนิเสยีงในเหตุการณตาง ๆ พรอมกัน อีกทั้งยังสามารถจําลองเหตุการณตาง ๆ ใหผูเรียนไดดแูละฟงอยางใกลเคยีงกับความเปนจริง นอกจากนั้นโทรทัศนยังเปนสิ่งที่ชวยเปนสือ่กลางในการสาธิตไดดี เพราะเปดโอกาสใหผูดูไดเหน็ขบวนการทั้งหมดไดอยางใกลชิด ชวยเนนตัวบุคคลใหเร่ืองนาชม เดน และชัดเจนดวย อยางไรก็ตามประสบการณที่ผูเรียนไดรับจากโทรทัศนจะมีคุณคามากนอยเพยีงใดนัน้ ยอมขึ้นอยูกับคุณภาพของการผลิตรายการโทรทัศนเปนสําคัญ 7.2 วีดิทัศน (Video) วีดิทัศนมีภาพเคลื่อนไหวไดเชนเดียวกับภาพยนตรหรือโทรทัศน แตกระบวนการผลิตซอฟทแวรโดยใชเทปโทรทัศนหรือแถบโทรทัศน (Video Tape) ซ่ึงสามารถถายทําไดงายกวาการถายทําภาพยนตร วีดทิัศนใชเปนสือ่ประสบการณใหกับผูเรียนไดเชนเดยีวกับโทรทัศนและภาพยนตร คือมีทั้งภาพเคลื่อนไหวไดพรอมเสียง ในปจจุบันนยิมใชกันมากเพราะสะดวกในการถายทํามากกวาการถายทําหรือผลิตมวนฟลมภาพยนตร 7.3 ภาพยนตร (Motion Pictures) ส่ือประสบการณนี้ สามารถายทอดใหผูเรียนไดรับรูโดยการไดเห็นภาพและไดยนิเสียง ตลอดจนรายละเอียดตาง ๆ เชนเดียวกับการไปศึกษานอกสถานที่ เพราะภาพยนตรสามารถกําจัดขอจํากดัในเรื่องเวลา สถานที่ ตลอดจนปญหาในการเดินทางตาง ๆ ทั้งยังสามารถตัดรายละเอียดปลีกยอยทีไ่มจําเปนและไมสําคัญออกไปได นอกจากนี้ยังสามารถนําเทคนิคในการถายทําตาง ๆ เชน เทคนิคการแสดงภาพชา (Slow Motion) เทคนิคการแสดงภาพเร็ว (Time-Lapse) มาชวยใหสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการใหผูเรียนไดรับรู อยางไรก็ตาม แมภาพยนตรจะมีขอดีขางตน แตภาพยนตรก็มีขอเสียที่ไมสามารถทําใหผูเรียนไดเกดิการรับรูโดยการใชประสาทสัมผัสที่นอกเหนือจากประสาทตาและหูไดเลย ตําราบางเลมจัดใหส่ือประสบการณภาพยนตรไวในขั้นที่สูงกวาโทรทัศน เพราะโทรทัศนหรือวีดทิัศนสามารถผลิตรายการไดรวดเร็วกวาภาพยนตร และโทรทัศนยังสามารถ

Page 21: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

21

นําเหตกุารณทีก่ําลังเกิดขึ้นในขณะนั้น ถายทอดออกมาใหผูชมไดในเวลาเดียวกับที่เหตุการณนั้นยงัดําเนินอยู ซ่ึงเรียกวา “การถายทอดสด” สวนภาพยนตรนั้น ไมสามารถทําไดในกรณีนี้ เพราะตองใชเวลาในการผลิตคือ การถายทํา ลางฟลม ตัดตอเสียกอนจงึจะนํามาฉายดูได 8. ภาพนิง่ ภาพเหมือนจริง วิทยุและการบันทึกเสียง (Still Pictures, Realistic Drawing, Radio and Recording) ประสบการณขั้นนี้เปนสื่อประสบการณทีเ่กี่ยวกับภาพและเสยีง ซ่ึงถือวาสื่อประเภทนี้มีลักษณะเปนรูปธรรม–นามธรรมพอ ๆ กัน มีตวัอยางที่พอจะยืนยนัไดวามีความเปนรูปธรรม-นามธรรมพอ ๆ กันนั้น ไดแก ส่ือภาพหรือเสียงสามารถที่จะสื่อความหมายไปถึงคนที่อานหนังสอืไมออก และอยูในทีห่างไกลสามารถรับรูขอมูลขาวสารตาง ๆ ได หรือแมแตการเรยีนรูก็สามารถเกิดขึ้นไดกับคนที่อานหนังสอืไมออก 8.1 ภาพนิ่ง ภาพเหมือนจริง (Still Pictures & Realistic Drawing) ไดแก ส่ือประสบการณประเภทภาพถาย ภาพจากหนังสือพิมพ วารสาร นิตยสารตาง ๆ ภาพเหมือนจริงภาพขาว-ดํา หรือภาพสีธรรมชาติ ทั้งนี้รวมทั้งภาพนิ่งจากการฉายดวย เชน ภาพจากการฉายสไลด ฟลมสตริป ภาพฉายจากเครื่องฉายทึบแสง ภาพตาง ๆ ที่นํามาใชในขั้นนี้ตองคํานึงถึงความเหมาะสมในเร่ืองของขนาด ความชัดเจน สี และความสมบูรณของภาพดวย เมื่อจะใชใหดดูวยวาเหมาะสมกับวฒุิภาวะของผูเรียนเพียงใด 8.2 วิทยแุละการบนัทึกเสียง (Radio & Recording) ส่ือประสบการณทางดานโสตศึกษาในรูปของเสียง ไดแก สาระจากวิทยุ วิทยุโรงเรียน เสียงจากเทปเสียง มีประโยชนมากในการใหความรูแกผูที่อยูหางไกล แตมีขอจํากดัอยูบางถาเปนวทิยุ เพราะวิทยุเปนสื่อทางเดียว (One-Way Communication) จึงมีปญหาในเรื่องการสงขอมูลยอนกลับจากผูเรียนไปยังผูสอน 9. ทัศนสัญลักษณ (Visual Symbols) เปนประสบการณการเรียนรูที่ผูเรียนไดรับรูโดยการมองเห็น อาจใชสัญลักษณที่เปนรูปภาพหรือตัวหนังสือก็ได แตตองสามารถถายทอดความหมายใหเขาใจไดถูกตอง ชัดเจน และรวดเร็ว นํามาใชแทนความหมายที่เปนขอเท็จจริง แนวความคิด กระบวนการตาง ๆ ในการใชทัศนสัญลักษณนี้จะดําเนินไปดวยดี หรือผูเรียนสามารถเขาใจและแปลความไดถูกตองนัน้ ก็ตองอาศยัพื้นฐานความรู ประสบการณและมโนมติ ตลอดจนความสามารถในการตีความหมายของผูเรียน รวมทั้งความชดัเจน ความถูกตองของทัศนสัญลักษณนัน้ ๆ เองดวย ตัวอยางของทัศนสัญลักษณ เชน แผนภูมิ ภาพโฆษณา กราฟ แผนที่ ภาพการตูน ภาพลายเสน ฯลฯ

Page 22: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

22

10. วจนสัญลักษณ (Verbal Symbols) เปนประสบการณขั้นสุดทาย มีลักษณะเปนนามธรรมมากที่สุด ไดแก ภาษาพูดหรือภาษาเขยีน ซ่ึงการที่ผูเรียนจะเขาใจวจนสัญลักษณไดก็ตองอาศัยประสบการณและมโนมตทิี่มีอยูเดิมของผูเรียน เพราะวจนสญัลักษณจะไมมีเครื่องแสดงใหทราบวาสญัลักษณนัน้ ๆ หมายถึง อะไรและผูที่จะสามารถเขาใจวจนสัญลักษณตรงกันได จะตองเปนผูที่มีประสบการณรวมกันพอสมควร ซ่ึงถาเรานําเอาภาษาพดูและภาษาเขียนมาเปรียบเทียบกัน ก็จะเห็นวาภาษาพูดนัน้มากอน สวนภาษาเขียนนัน้มาทหีลัง เพราะภาษาเขยีนเปนสัญลักษณทีใ่ชแทนภาษาพูด ดังนั้น ภาษาเขียนซึ่งเปนประสบการณที่อยูบนยอดสุดของกรวยประสบการณนัน่เอง อยางไรก็ตามแมภาษาพูดและภาษาเขียนหรือรวมเรียกวา วจนสัญลักษณ นีจ้ะมีลักษณะเปนนามธรรม แตก็มีประโยชนสําหรับสื่อความหมายในชีวิตประจําวันของมนษุย เราอาจจะพดูไดวาเราใชส่ือประเภทนี้มากที่สุดก็วาได หลักเกณฑในการเลือกใชสื่อการเรียนการสอน มีหลักเกณฑในการพิจารณาดังนี ้ 1. ความเหมาะสม ส่ือที่จะใชนั้นเหมาะสมกับเนื้อหาและวัตถุประสงคของการสอนหรือไม 2. ความถูกตอง ส่ือที่จะใชชวยใหนกัเรียนไดขอสรุปที่ถูกตองหรือไมในเนื้อหา 3. ความเขาใจ ส่ือที่ใชนั้นชวยใหนกัเรียนรูจกัคิดอยางมีเหตุผล และใหขอมูลที่ถูกตองแกนกัเรียนหรือไม 4. ประสบการณที่ไดรับ ส่ือที่จะใชนัน้ชวยเพิม่พูนประสบการณแกนักเรยีนหรือไม 5. เหมาะสมกับวยั ระดับชั้น จาํนวนผูเรียน ความสามารถ ความสนใจ รวมทั้งทักษะและรูปแบบการเรียนของนกัเรียนหรือไม 6. เหมาะสมกับทัศนคติและทกัษะของครูผูสอนหรือไม 7. ใชการไดดี ในแงกอใหเกดิประสิทธิภาพในการเรียนรูไดดีหรือไม 8. คุมกับราคาและการลงทุนในการผลิต และการนํามาใช 9. ส่ือนั้นชวยใหนักเรียนรวมกจิกรรมตามที่ครูตองการหรือไม 10. ระยะเวลาในการเสนอสื่อการเรียนการสอนนั้นเหมาะสมหรือไม 11. ส่ือนั้นชวยเสนอแนะกิจกรรมอื่น ๆ ที่นักเรียนอาจปฏิบตัิเพิ่มเติมไดหรือไม 12. มีส่ิงอํานวยความสะดวกในการใชส่ือนั้นแคไหน อาทิเชน สถานที่ แสงสวาง ส่ิงอํานวยความสะดวกอื่น ๆ เปนตน

Page 23: บทที่ 1 เทคโนโลยีการศึกษา - PSRUelearning.psru.ac.th/courses/25/lesson.pdfบทท 1 เทคโนโลย การศ กษา การท

23

บทสรุป เทคโนโลยีการศึกษา มุงนําเสนอเรื่องของสื่อการเรียนการสอนที่มีลักษณะเปนรูปธรรมไปจนถึงสื่อที่มีลักษณะเปนนามธรรม เร่ิมจากความหมายของคําทีเ่กี่ยวของไดแก เทคโนโลย ีโสตทัศนวัสดุ โสตทัศนอุปกรณ โสตทัศนกิจกรรม เทคโนโลยกีารศึกษา นวตักรรมการศึกษา เปนตน ความสําคัญของเทคโนโลยีการศึกษา ขอบขายของเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งไดแก การออกแบบ การพัฒนา การใช การจัดการ และการประเมิน ตามแนวคิดของสมาคมเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษาแหงสหรัฐอเมรกิา (AECT) แนวคิดของ ดร.ชัยยงค พรหมวงศ ในเรื่องมิติที่ 3 ทางการศึกษา ในเรื่องสื่อการเรียนการสอนไดนําเสนอเรื่องความหมาย คุณคาของสื่อการเรียนการสอน การจําแนกประเภทของสื่อการเรียนการสอนไดจําแนกสื่อออกเปน 3 ประเภทไดแก ส่ือพื้นฐาน ส่ือระบบอนาล็อก และส่ือระบบดจิิทัล เอ็ดการ เดล (Edgar Dale) ไดนําเสนอในเรื่องกรวยประสบการณ (Cone of Experiences) ซ่ึงแบงออกเปน 10 ขั้นเปนประสบการณการเรยีนรูจากสื่อทั้งหลาย จากสือ่ที่มีลักษณะเปนรูปธรรมซึ่งอยูในฐานลางของกรวยประสบการณขึ้นมาตามลําดับจนถึงปลายกรวยประสบการณที่เรียวแหลมซึ่งเปนขั้นที่มีลักษณะเปนนามธรรม การนําสื่อประสบการณตามแนวคิดของเอ็ดการ เดล ไปใชในการเรียนการสอนนิยมใชกันมากในบรรดาผูสอน โดยยึดเปนหลักในการอางอิงทางการศึกษา