4
ฉบับที่ 16/2560 วันที16 - 31 พฤษภาคม 2560 แนะนางานวิจัย การวิเคราะห์เชิงลึกสถานภาพการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน e-learning ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วลัยวัชร รอดชมภู รองศาสตราจารย์พัชรา อิงคนินันท์ สานักเทคโนโลยีการศึกษา งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์เชิงลึกสถานภาพการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน e-learning ของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนารายวิชา e-learning ของนักวิชาการการศึกษาทางไกลที่มีประสบการณ์และมีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างรายวิชา ตลอดจน ประสบการณ์ในการสอน เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน e-learning การ วิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากกรณีศึกษาผู้ให้ข้อมูล 9 ท่าน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเพื่อให้ได้ข้อมูล เชิงลึกที่อยู่ภายใต้คาถามการวิจัยต่อไปนี้ (1) สถานภาพการออกแบบรายวิชาและกระบวนการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. เป็นอย่างไร (2) การออกแบบรายวิชาและกระบวนการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. จะทาให้ดีขึ้นไดอย่างไร จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ซาเพื่อให้ได้ประเด็นสาคัญที่บอกเล่าด้วยการสัมภาษณ์ หลักฐานทาง วิชาการ และบันทึกทางวิชาการที่เป็นวิธีการเก็บข้อมูล ได้ประเด็นสาคัญ 8 ประเด็นเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนา รายวิชา e-learning ดังต่อไปนี้ (1) นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ พัฒนา และสอน e-learning (2) อาจารย์ผู้สอน หรืออาจารย์นักเนื้อหา (3) อาจารย์นักเทคโนโลยีการศึกษา (4) กิจกรรมการเรียนการสอน e-learning (5) กระบวนการ สอน (6) วิธีการประเมินผล (7) นักศึกษาและผู้เรียน (8) จุดอ่อนและจุดแข็งของการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. ผลการวิจัย จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิงลึกสามารถตอบคาถามการวิจัยได้ดังนี้คือ (1) มหาวิทยาลัยจะต้องกาหนดนโยบาย และจัดทาแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนและสามารถนาไปปฏิบัติได้ ตลอดจนปรับและเปลี่ยนองค์ประกอบสนับสนุนที่สาคัญ และส่งผลต่อการเรียนการสอน e-learning (2) ปรับเปลี่ยนบทบาทและทัศนคติของอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับการเรียน การสอน e-learning (3) จัดระบบและเตรียมกรอบการทางานสาหรับอาจารย์ นักเทคโนโลยีการศึกษา (4) การออกแบบ และสร้างรายวิชา e-learning ต้องทาในลักษณะการสอนเป็นทีม (5) จัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีให้สามารถ ตอบสนองการเรียนการสอน e-learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (6) จัดอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง คือ อาจารย์ผู้สอน อาจารย์นักเทคโนโลยีการศึกษาในเรื่องที่จาเป็นในการเรียนการสอน e-learning (7) สาธิตการออกแบบและสร้างรายวิชา และการสอน e-learning กระแสหลักสาหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง (8) มีการใช้แนวทางการประเมินในลักษณะ formative and summative assessments (9) จัดเตรียมกิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีภาษาอังกฤษ และแนวทางการเรียน แบบเปลี่ยนแปลงผู้เรียนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของสังคม

แนะน างานวิจัย - ird.stou.ac.third.stou.ac.th/assets/ฉบับที่-162.pdf · จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิง

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แนะน างานวิจัย - ird.stou.ac.third.stou.ac.th/assets/ฉบับที่-162.pdf · จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิง

ฉบับท่ี 16/2560 วันที่ 16 - 31 พฤษภาคม 2560

แนะน างานวิจัย การวิเคราะห์เชิงลึกสถานภาพการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน e-learning ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วลัยวัชร รอดชมภู รองศาสตราจารย์พัชรา อิงคนินันท์ ส านักเทคโนโลยีการศึกษา

งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์เชิงลึกสถานภาพการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอน e-learning ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาวิเคราะห์เชิงลึกเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนารายวิชา e-learning ของนักวิชาการการศึกษาทางไกลที่มีประสบการณ์และมีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างรายวิชา ตลอดจนประสบการณ์ในการสอน เพ่ือให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน e-learning การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากกรณีศึกษาผู้ให้ข้อมูล 9 ท่าน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเพ่ือให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่อยู่ภายใต้ค าถามการวิจัยต่อไปนี้ (1) สถานภาพการออกแบบรายวิชาและกระบวนการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. เป็นอย่างไร (2) การออกแบบรายวิชาและกระบวนการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. จะท าให้ดีขึ้นได้อย่างไร จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ซ้ าเพ่ือให้ได้ประเด็นส าคัญท่ีบอกเล่าด้วยการสัมภาษณ์ หลักฐานทางวิชาการ และบันทึกทางวิชาการที่เป็นวิธีการเก็บข้อมูล ได้ประเด็นส าคัญ 8 ประเด็นเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนารายวิชา e-learning ดังต่อไปนี้ (1) นโยบายที่เก่ียวข้องกับการออกแบบ พัฒนา และสอน e-learning (2) อาจารย์ผู้สอนหรืออาจารย์นักเนื้อหา (3) อาจารย์นักเทคโนโลยีการศึกษา (4) กิจกรรมการเรียนการสอน e-learning (5) กระบวนการสอน (6) วิธีการประเมินผล (7) นักศึกษาและผู้เรียน (8) จุดอ่อนและจุดแข็งของการเรียนการสอน e-learning ของ มสธ. ผลการวิจัย จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิงลึกสามารถตอบค าถามการวิจัยได้ดังนี้คือ (1) มหาวิทยาลัยจะต้องก าหนดนโยบายและจัดท าแผนปฏิบัติการที่ชัดเจนและสามารถน าไปปฏิบัติได้ ตลอดจนปรับและเปลี่ยนองค์ประกอบสนับสนุนที่ส าคัญ และส่งผลต่อการเรียนการสอน e-learning (2) ปรับเปลี่ยนบทบาทและทัศนคติของอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับการเรียน การสอน e-learning (3) จัดระบบและเตรียมกรอบการท างานส าหรับอาจารย์ นักเทคโนโลยีการศึกษา (4) การออกแบบและสร้างรายวิชา e-learning ต้องท าในลักษณะการสอนเป็นทีม (5) จัดเตรียมโครงสร้างพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีให้สามารถตอบสนองการเรียนการสอน e-learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (6) จัดอบรมบุคลากรที่เก่ียวข้อง คือ อาจารย์ผู้สอน อาจารย์นักเทคโนโลยีการศึกษาในเรื่องที่จ าเป็นในการเรียนการสอน e-learning (7) สาธิตการออกแบบและสร้างรายวิชา และการสอน e-learning กระแสหลักส าหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง (8) มีการใช้แนวทางการประเมินในลักษณะ formative and summative assessments (9) จัดเตรียมกิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีภาษาอังกฤษ และแนวทางการเรียนแบบเปลี่ยนแปลงผู้เรียนให้สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของสังคม

Page 2: แนะน างานวิจัย - ird.stou.ac.third.stou.ac.th/assets/ฉบับที่-162.pdf · จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิง

Page 2

ข่าวประชาสัมพันธ ์

สถาบันวิจัยและพัฒนา เพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารด้านการวิจัยผ่าน แอพพลิเคชั่น ไลน์

(Application Line) ผู้สนใจสามารถ scan QR Code ด้านล่าง เพ่ือรับข้อมูลข่าวสารด้านการวิจัยได้ทันที

“รับข่าวทันใจ ด้วย PR Line สวพ.”

ข้อมูลการเผยแพร่และใช้ประโยชน์จากงานวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนา ขอเชิญคณาจารย์ มสธ. ส่งผลงานวิจัยเพ่ือตีพิมพ์เผยแพร่หรือใช้ประโยชน์ในระดับชาติหรือ

ระดับนานาชาติ (ไตรมาสท่ี 2 ) ในช่วง 1 มกราคม 2560 – 31 มีนาคม 2560 โดยขอให้กรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มแนบ

ท้ายพร้อมหลักฐาน หรือดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.ird.stou.ac.th และจัดส่งไปยังฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่งานวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนา อนึ่ง สถาบันวิจัยและพัฒนา จะท าการสรุปและรวบรวมรายงานผลงานวิจัยที่คณาจารย์ได้น าไป

ตี พิมพ์ เผยแพร่และ/หรือใช้ประโยชน์ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ สอบถามรายละเอียดเ พ่ิมเติม ได้ที่

นายสุรเดช อธิคม หมายเลขติดต่อ โทร. 0 2504 7589

Page 3: แนะน างานวิจัย - ird.stou.ac.third.stou.ac.th/assets/ฉบับที่-162.pdf · จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิง

Page 3

วิจัย นอก รั้ว

ส านักงบประมาณ มีความประสงค์ให้การสนับสนุนทุนโครงการวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก และโครงการวิจัยและพัฒนาภาครัฐร่วมเอกชนในเชิงพาณิชย์ ประจ าปีงบประมาณ 2561 ผู้ สนใจสามารถดาวน์ โหลด เอกสารและรายละเ อียดเ พ่ิม เติม ได้ที ่

http://research.swu.ac.th/ และส่งเอกสารขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยได้ที่ เครือข่ายวิจัยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน (สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ภายในวันที่ 2 มิถุนายน 2560 หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย เครือข่ายวิจัยเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนบน โทร.0 2649 5000 ต่อ 11081, 11015

สถาบนับณัฑติพัฒนบรหิารศาสตร ์ ขอเชญิเขา้รว่มการอบรมเชงิปฏบิตักิารหลกัสตูร “เสน้ทางลดัสูค่วามเปน็เลศิทางการวจิยัในยคุ 4.0 Plus” เพ่ือเปน็ชอ่งทางในการสง่เสรมิและสนบัสนนุใหค้ณาจารยเ์ครอืขา่ยอุดมศกึษาตา่งๆ ไดเ้พ่ิมพูนความรูด้า้นการวจิยั (เนน้เชงิปรมิาณ) เพ่ือใหเ้กดิความรูค้วามเขา้ใจทีถ่กูตอ้งและน าไปสูก่ารขยายผลใน การเรยีนการสอนดา้นการวจิยัแกน่สิตินกัศกึษา รวมทัง้การเขยีนขอ้เสนอเพ่ือขอรบัทนุสนบัสนนุการวจิยั ความส าเรจ็

ในการตพิีมพ์บทความทางวชิาการ/วจิยัในฐานขอ้มลูตา่งๆ น าไปสูก่ารพัฒนางานวจิยัทีม่มีาตรฐานและคณุภาพ จ านวน 2 รุน่ คอื รุน่ที ่1 ในวนัที ่25 - 26 พฤษภาคม 2560 และรุน่ที ่2 ในวนัที ่19 - 20 มถินุายน 2560 ณ หอ้งประชมุจรีะ บญุมาก อาคารสยามบรมราชกมุาร ีสถาบนับณัฑติพัฒนบรหิารศาสตร ์ ผูส้นใจสามารถดรูายละเอียดไดท้ี ่e-mail : [email protected] หรอื โทร. 0 2374 4252

มหาวทิยาลยัสงขลานครนิทร ์คณะศลิปศาสตร ์รว่มกบั Faculty of Defence Studies and Management, National Defence University of Malaysia, Malaysia คณะมนษุยศาสตรแ์ละสงัคมศาสตร ์มหาวทิยาลยัขอนแกน่ และคณะศลิปศาสตร ์มหาวทิยาลยัมหดิล ขอเชญิเขา้รว่มประชมุวชิาการระดบันานาชาตดิา้นมนษุยศาสตรแ์ละสงัคมศาสตร ์ครัง้ที ่9 ภายใตห้วัขอ้ เรือ่ง “ Challenges in the 21st Century : Sustainable Development in

Multicultural Society” ในวนัที ่26 พฤษภาคม 2560 ณ ศนูยป์ระชมุนานาชาตฉิลองสริริาชสมบตัคิรบ 60 ป ีมหาวทิยาลยั- สงขลานครนิทร ์อ าเภอหาดใหญ ่จงัหวดัสงขลา มวีตัถปุระสงคเ์พ่ือเปน็เวทใีหน้กัวชิาการ นกัวจิยั นกัศกึษาระดบับณัฑติศกึษา ไดร้ว่มแลกเปลีย่นความรูป้ระสบการณท์างวชิาการ การเผยแพรอ่งคค์วามรูท้ีเ่ปน็ประโยชนด์า้นการเรยีนการสอนและการวจิยั สามารถน าความรูท้ีไ่ดร้บัไปพัฒนาองคก์ร สถาบนั และประเทศชาต ิตลอดจนน าไปสูก่ารสรา้งความรว่มมอืและการพัฒนาตนเอง ใหก้า้วไปสูม่าตรฐานการเปน็นกัวชิาการทีด่ ี ผูส้นใจสามารถสอบถามเพ่ิมเตมิไดท้ี ่โทร. 0 7428 6675, 0 7428 6718 หรอื e-mail : [email protected] หรอืเวบ็ไซต ์www.iw2.libarts.psu.ac.th/registration

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC Academic Day ในวันพุธที่ 7 มิถุนายน 2560 ณ ห้อง 5302 - 4 อาคาร 5 ชั้น 3 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นช่องทางในการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของคณาจารย์

และนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสู่สาธารณชน เพ่ือเสริมสร้างเครือข่ายและความร่วมมือทางการวิจัยและวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และเพ่ือเสริมสร้างชื่อเสียงและภาพลักษณ์ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนออนไลน์เข้าร่วมงานได้ที่ www.utcc.ac.th/academicday หรือ โทร.0 2697 6382

Page 4: แนะน างานวิจัย - ird.stou.ac.third.stou.ac.th/assets/ฉบับที่-162.pdf · จากการศึกษาพบว่า ข้อมูลเชิง

Page 4

แนะน าการให้บริการของสถาบันวิจัยและพัฒนา

โปรดแจ้งผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา โทร. 0 2504 7581

การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย

มหาวทิยาลยัอีสเทริน์เอเซยี รว่มกบักรมกจิการผูส้งูอาย ุกระทรวงพัฒนาสงัคมและความมัน่คงของมนษุย ์เทศบาลนครรงัสติ และเทศบาลบงึยีโ่ถ ขอเชญิเขา้รว่มการประชมุวชิาการ “สงัคมคณุภาพเพ่ือการพัฒนาทีย่ัง่ยนื : ชวีติและสงัคมผูส้งูอาย”ุ ในวนัศกุรท์ี ่9 มถินุายน 2560 ณ หอ้งมณนีพรตัน ์สมาศยั อาคารเฉลมิพระเกยีรต ิ48

พรรษา มหาวทิยาลยัอีสเทริน์เอเซยี เพ่ือเปดิโอกาสใหก้บันกัวจิยั นกัวชิาการ และนกัศกึษาในระดบับณัฑติศกึษาไดน้ าเสนอผลงาน แลกเปลีย่นความรู ้และประสบการณท์างวชิาการรว่มกนั ในประเดน็ชวีติและสงัคมผูส้งูอาย ุผูส้นใจสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเตมิได้ที ่http://conference.eau.ac.th หรอื โทร. 0 2577 1028 ตอ่ 394 , 06 3807 3097

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลพระนคร ขอเชญิเขา้รว่มการประชมุวชิาการนานาชาต ิครัง้ที ่8 The 8th

RMUTP International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Development : Challenges towards the Digital Society ระหวา่งวนัที ่22 - 23 มถินุายน 2560 ณ โรงแรม

พูลแมน คงิเพาเวอร ์กรงุเทพฯ ผูส้นใจเขา้ดรูายละเอียดไดท้ี ่http://iconsci.rmutp.ac.th หรอื โทร. 0 2665 3777 ตอ่ 6071

ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับรัฐบาลฝรั่งเศส ด าเนินโครงการวิจัยร่วมภายใต้ความร่วมมือด้านอุดมศึกษาและการวิจัยระหว่างไทย-ฝรั่งเศส ประจ าปี พ.ศ. 2561-2562 ผู้สนใจสามารถศึกษา

รายละเอียดได้จากคู่มือชี้แจงการสมัครเข้าร่วมโครงการฯ และ Guideline of good practices พร้อมทั้งสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มที ่www.inter.mua.go.th ภายใต้หัวขอ้ “Announcement” โดยยืน่ข้อเสนอโครงการในนามสถาบันอุดมศึกษาได้ที ่ส านกัยทุธศาสตรอุ์ดมศกึษาตา่งประเทศ ส านกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา (วงเลบ็มมุซอง “โครงการ Franco-Thai”) เลขที ่328 ถนนศรอียธุยา แขวงทุง่พญาไท เขตราชเทวี กรงุเทพฯ 10400 ภายในวันท่ี 20 กรกฎาคม 2560 หรอืสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเตมิไดท้ี ่กลุม่ยทุธศาสตรก์ารพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ ส านักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ โทร. 0 2610 5394-6

มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลพระนคร ขอเชญิผูส้นใจสง่บทความเพ่ือตพิีมพ์ในวารสารเทคโนโลย ี สือ่สารมวลชน มทร.พระนคร โดยมวีตัถปุระสงคเ์พ่ือเผยแพรผ่ลงานทางวชิาการและวจิยัของบคุลากร คณาจารย ์ นกัวจิยั นสิตินกัศกึษา และผูส้นใจทัว่ไป ทัง้หนว่ยงานภายในและภายนอกมหาวทิยาลยั เพ่ือสง่เสรมิและสนบัสนนุ ผลงานวจิยัใหม้คีณุภาพและเปน็ทีย่อมรบัในแวดวงวชิาการตอ่ไป โดยเปดิรบับทความแบบเตม็รปูแบบ (Full Paper) รวมถงึบทความวชิาการ (Review Articles) ซึง่บทความสามารถเสนอไดท้ัง้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในสาขา

เทคโนโลยสีือ่สารมวลชน นเิทศศาสตรแ์ละสือ่สารมวลชน เทคโนโลยสีารสนเทศและการสือ่สาร ดจิทิลัคอนเทนท ์มลัตมิเีดยี และสาขาอ่ืนๆ ทีเ่ก่ียวขอ้ง โดยวารสารเทคโนโลยสีือ่สารมวลชน มทร. พระนคร ปทีี ่2 ฉบบัที ่1 (มกราคม-มถินุายน 2560) และฉบบัที ่2 (กรกฎาคม 2560-ธนัวาคม 2560) ผูส้นใจสามารถดรูายละเอียดไดท้ี ่http://mct.rmutp.ac.th หรอืตดิตอ่สอบถามไดท้ีก่องบรรณาธกิารวารสารเทคโนโลยสีือ่สารมวลชน มทร. พระนคร โทร. 0 2665 3777 ตอ่ 6815, 6817, 6833 หรอื e-mail : [email protected]