123
คูอการประกันคุณภาพการศ กษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ป การศ กษา 2557 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาว ทยาลัยราชภัฏยะลา

คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศึกษา 2557

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Page 2: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 2 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

คํานาํ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาไดมีการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชาต ิพ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กรอบอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (พ.ศ.2551-2565) กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธีิการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศึกษา 2557 ฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับหลักสูตร และระดับคณะซึ่งเนื้อหาสาระในคูมือจะประกอบดวยระบบการประกันคุณภาพภายในหลักสูตร ระดับคณะ แนวทางการวิเคราะหและสรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตลอดจนกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อใชเปนกรอบแนวทางใหหนวยงานในคณะไดนําไปดําเนินการในสวนท่ีเกี่ยวของกับภารกิจของหนวยงานใหสอดคลองกันคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หวังเปนอยางย่ิงวาบุคลากรทุกทานของคณะ จะมสีวนผลักดันใหการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาดําเนนิการไปตามท่ีกําหนดไวในคูมอืฉบับนี้ไดอยางมปีระสทิธิผล

(ผูชวยศาสตราจารย สุพร สุนทรนนท)

คณบดคีณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

Page 3: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 3 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สารบัญหนา

สวนที่ 1 ขอมูลทัว่ไปเก่ียวกับคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4-121) ชื่อหนวยงาน ท่ีตัง้ และประวัตคิวามเปนมาโดยยอ2) ปรัชญา ปณธิาน เปาหมายและวัตถุประสงค3) โครงสรางองคกรและโครงสรางการบริหาร4) รายชื่อผูบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการประจําคณะ5) หลักสตูรและสาขาวชิาท่ีเปดสอน6) จํานวนนักศึกษา7) จํานวนอาจารยและบุคลากร8) งบประมาณและสถานท่ี9) นโยบายการพัฒนาคณะ10)เอกลักษณหรือวัฒนธรรมของคณะ

สวนที่ 2 การประกันคุณภาพการศกึษา 13-221) เหตุผลและความจาํเปนของการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา2) กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการประกันคุณภาพการศึกษา3) การประกันคุณภาพการศึกษา4) ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษากับการประกันคณุภาพการศึกษา5) ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในและการประเมนิคุณภาพ

สวนที่ 3 การประกันคุณภาพภายใน 23-281) พัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน2) การประกันคุณภาพการศึกษาราอบใหม (ปการศึกษา 2557-2561)3) กระบวนการและวธีิการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ปการศึกษา 2557-2561)

สวนที่ 4 นยิามศัพท 29-35สวนที่ 5 ระบบการประกันคณุภาพการศกึษาภายใน ระดบัหลักสูตร 36-76สวนที่ 6 ระบบการประกันคณุภาพการศกึษาภายใน ระดบัคณะ 77-100สวนที่ 7 แนวทางการวเิคราะหและสรุปผลการประกันคณุภาพการศกึษาภายใน 101-105ภาคผนวก 106

Page 4: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 4 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 1ขอมูลทั่วไปเก่ียวกับคณะมนษุยศาสตรและสงัคมศาสตร

1) ชื่อหนวยงาน ที่ต้ัง และประวัตคิวามเปนมาโดยยอ

คณะวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จัดตัง้ขึ้นตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2518 มีหัวหนาคณะเปนผูบริหารสูงสุด

ตอมาในป พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานนาม “สถาบัน ราชภัฏ” แทนวทิยาลัยครู วทิยาลัยครูยะลาจงึเปลี่ยนชื่อเปน “สถาบันราชภัฏยะลา” และในป พ.ศ. 2538 ไดมีพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พุทธศักราช 2538 มีผลทําใหการเรียกชื่อหนวยงานตาง ๆ ในสถาบันมีการเปลี่ยนแปลง ชื่อคณะวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เปลี่ยนเปนคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และเรียกผูบริหารสูงสุดในคณะวา “คณบดี ”

ในป พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พ.ศ. 2547 ลงประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 121 ตอนพิเศษ 23 ก. ลงวันท่ี 14 มิถุนายน 2547 สถาบันราชภัฏยะลาจึงไดนามใหมวามหาวทิยาลัยราชภัฏยะลา

ในป พ.ศ. 2549 มีการพัฒนาระบบราชการ โดยการกํากับดูแลของสํานักงานมาตรฐานการศึกษาโครงสรางการบริหารงานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครอบคลุมมหาวิทยาลัยท้ังหมดในประเทศมหาวทิยาลัยราชภัฏยะลายังคงแบงออกเปน 4 คณะ คอื คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะครุศาสตร และคณะวทิยาการจัดการ

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ประกอบดวย 4 หนวยงานใหญ คือ สํานักงานคณบดี ภาควิชามนุษยศาสตร ภาควิชาสังคมศาสตร และภาควิชาศิลปกรรมศาสตร ดําเนินงานตามภารกิจและพันธกิจของมหาวทิยาลัยทุกประการ โดยเฉพาะการผลติบัณฑติสาขาศิลปศาสตร ตามความตองการของสังคม

หลักสูตรท่ีคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ไดเปดสอนมาตามลําดับ มดีังนี้

พ.ศ. 2518 เปดสอนระดับปริญญาตรีรุนแรก บังคับวชิาเอกภาษาอังกฤษวชิาโทภาษาไทย

พ.ศ. 2520 เปดสอนวชิาเอกภาษาอังกฤษ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑติพ.ศ. 2522 เปดสอนวชิาเอกภาษาไทย สังคมศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑติพ.ศ. 2524 เปดสอนวชิาภาษาอังกฤษ หลักสูตร 4 ป และวชิาประวัตศิาสตร

หลักสูตร 2 ปพ.ศ. 2528 เปดสอนวชิาศิลปกรรมและออกแบบประยุกตศิลป หลักสูตร

อนุปริญญาศิลปศาสตรพ.ศ. 2529 ขยายหลักสูตรอนุปริญญาศิลปศาสตรเปดสอนวชิาเอก

นาฏศิลปและการแสดงพ.ศ. 2531 เปดสอนวชิาเอกการพัฒนาชุมชน หลักสูตร 4 ป

Page 5: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 5 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

พ.ศ. 2541 เปดสอนวชิาเอกรัฐประศาสนศาสตรหลักสูตร 4 ปพ.ศ. 2543 เปดสอนระดับปริญญาโท (ศศ.ม.) สาขาสังคมศาสตรเพื่อการ

พัฒนา และเปดสอนวชิาเอกพัฒนาชุมชน หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวชิาศิลปศาสตร

พ.ศ. 2546 เปดสอนวชิาเอกวัฒนธรรมศึกษา หลกัสูตร 4 ปพ.ศ. 2547 เปดสอนวชิาเอกภาษาจนี หลักสูตร 4 ปพ.ศ. 2551 เปดสอนวชิาเอกออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป

เปดหลักสูตรวชิาเอกภาษามลายูกลางพ.ศ. 2555 เปดสอนวชิาเอกนติศิาสตรพ.ศ. 2558 เปดสอนวชิาเอกสารสนเทศศาสตร

2) ปรัชญา ปณธิาน เปาหมายและวัตถุประสงค

ปรัชญา

" ความรูเย่ียม เปยมคุณธรรม นําสังคม ธํารงวัฒนธรรม "

วสิัยทศัน

ภายในป 2560 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรเปนผูนําในดานการผลติบัณฑติใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต

พันธกิจ

1. ผลติบัณฑติสาขาศิลปศาสตร ใหมมีาตรฐานตามวชิาชีพ มคีณุธรรม จริยธรรมสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการดํารงชีวติ

2. สงเสริมและสนับสนุนการวจิัยท่ีเกี่ยวของกับทองถิ่น การวจิัยเพื่อสรางองคความรูใหมและนําผลการวจิัยไปประยุกตใชทางการศึกษาและการแกปญหาของชุมชนและสังคม

3. บริการทางวชิาการแกสังคม ดวยการถายทอดความรูและเทคโนโลยี โดยการใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหเกดิประโยชนตอชุมชน สนับสนุนใหเกดิการพึ่งพาตนเองได

4. อนุรักษ ทํานุบํารุง และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่น และของชาติ

Page 6: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 6 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

วัตถุประสงค

1. เพื่อผลติบัณฑติสาขาศิลปศาสตร ใหมคีวามรู คณุธรรม สามารถพัฒนาสงัคมไดอยางมีประสทิธิภาพ

2. สามารถใหการบริการทางวชิาการ และเปนแหลงขอมูลขาวสารใหกับสังคม3. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและองคความรูทางดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร4. สามารถสรางและพัฒนาการเรียนรูเขาสูระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเปนสากล5. เพื่อพัฒนาบุคลากรของคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรใหมคีวามรูท่ีทันสมัยอยูเสมอ

คุณลักษณะบัณฑติทีพ่งึประสงค

1. มคีวามรูสามารถนําไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพและชวยพัฒนาสังคม

สวนรวม

2. มคีุณธรรม จริยธรรม สามารถเปนผูช้ีนําสังคมในทางท่ีถูกตอง

3. มคีวามสํานกึในความเปนไทย รักษาภูมปิญญาทองถิ่น และอนุรักษวัฒนธรรม

อันดงีามของชาติ

4. มคีวามรับผดิชอบตอตนเอง ทองถิ่น และสังคมโดยสวนรวมและตระหนักในการปฏบัิตตินตามวถิชีีวติแบบประชาธิปไตย

5. เปนผูมโีลกทัศนท่ีกวางไกลมคีวามรอบรูทันตอเหตุการณของสังคมโลก สามารถปรับตัวใหเขากับการเปลีย่นแปลงของสังคมยุคโลกาภิวัตนไดอยางมปีระสทิธิภาพ

6. มคีวามใฝรู และมทัีกษะการศึกษาคนควา และเรียนรูดวยตนเอง

7. มรีะเบียบ วนัิย อดทน สูงาน

8. มกีารวเิคราะห การแกปญหา และการตัดสนิใจบนพื้นฐานของขอเท็จจริงท่ีเปน

วทิยาศาสตรและตามหลักธรรม

9. มทัีกษะดานภาษาและการใชสารสนเทศท่ีตดิตอสื่อความหมายกับผูอื่น ซึ่งเปนพื้นฐานการดําเนนิชีวติในสังคมยุคปจจุบัน

Page 7: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 7 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

3) โครงสรางองคกร และโครงสรางการบรหิารโครงสรางการบรหิารงาน

สํานักงานคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สพุร สนุทรนนท์

คณบดีคณะมนษุยศาสตร์และสงัคมศาสตร์

อาจารย์สมิทธ์ วงศ์วิวฒัน์

รองคณบดี

ฝ่ายบริหารและเครือขา่ยต่างประเทศ

อาจารย์

รองคณบดี

ฝ่ายวิชาการและวิจยั

นายซูลฟีกอร์ มาโซ

ผู้ อํานวยการ

สํานกังานคณบดี

ไป /

นางวิชลุดา สงัข์แก้ว

นางสาวโสภนา เจือมณี

นายอกัมาล เบ็ญหาวนั

นกัวิชาการคอมพิวเตอร์

นายชลธิวฒัน์ นุ้ยไกร

หวัหน้างานจดัการศกึษา / นกัวิชาการศกึษา

นายเซาพี แคและ

นกัวิชาการศกึษา

นางสาวจิรชยา ฉวีอินทร์

นกัวิชาการช่างศิลป์

นางสาวขวญัตา ทวีสขุ

หวัหน้างานวิจยัและบริการวิชาการ

นางสาวสวรรยา กลุทวี

นกัวิชาการศกึษา

งาน งานจดัการศึกษา งานวิจัยและบริการวิชาการ

อาจารย์สวพร จนัทรสกลุ

รองคณบดี

ฝ่ายกิจการนกัศึกษาและศิลปวฒันธรรม

Page 8: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 8 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

4) รายชื่อผูบรหิาร กรรมการบรหิาร กรรมการประจําคณะ/ สาํนัก / สถาบัน ชุดปจจุบัน

1. ผูบรหิารคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

1.1 ผูชวยศาสตราจารยสุพรสุนทรนนท คณบดี

1.2 อาจารยสมทิธ วงศววัิฒน รองคณบดฝีายบริหารและเครือขายตางประเทศ

1.3 อาจารยสุปรีญา นุนเกลี้ยง รองคณบดฝีายวชิาการและการวจิัย

1.4 อาจารยสวพร จันทรสกุล รองคณบดฝีายกจิการนักศึกษา

1.5 อาจารยซูลฟกอร มาโซ ผูอํานวยการสํานักงานคณบดี

2. คณะกรรมการบรหิารคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

2.1 ผูชวยศาสตราจารยสุพร สุนทรนนท ประธานกรรมการ

2.2 ผูชวยศาสตราจารยสุภา วัชรสุขุม รองประธานกรรมการ

2.3 ผูชวยศาสตราจารยศิริลักษณ คัมภิรานนท กรรมการ

2.4 ผูชวยศาสตราจารยเอกฉัตร วทิยอภิบาลกุล กรรมการ

2.5 อาจารยศรีประไพ อุดมละมุล กรรมการ

2.6 อาจารยปราโมทย ศรีปลั่ง กรรมการ

2.7 อาจารยพอหทัย ซุนสัน้ กรรมการ

2.8 อาจารยมลวิรรณ รักษวงศ กรรมการ

2.9 อาจารยวรนาถ แซเซน กรรมการ

2.10 อาจารยคอลเียาะ เจะโด กรรมการ

2.11 อาจารยซูไรดา เจะนิ กรรมการ

2.12 อาจารยไซนยี ตําภู กรรมการ

2.13 อาจารยบุปผา ไชยแสง กรรมการ

Page 9: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 9 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2.14 อาจารยมูฮําหมัดสุกรี หะยีสะนิ กรรมการ

2.15 อาจารยซูลฟกอร มาโซ กรรมการและเลขานุการ

2.16 นายเลศิยศ เผื่ออํานาจ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

3. คณะกรรมการประจําคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

3.1 ผูชวยศาสตราจารยอับดุลรอซะ วรรณอาลี ประธานกรรมการ

3.2 ผูชวยศาสตราจารยสุพร สุนทรนนท รองประธานกรรมการ

3.3 ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสถยีร แปนเหลอื กรรมการผูทรงคุณวุฒิ

3.4 ผูชวยศาสตราจารยพทัิกษ พหุลรัตน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ

3.5 นายมาโนชญ บุญญานุวัตร กรรมการผูทรงคุณวุฒิ

3.6 นายดอเลาะอาลี สาแม กรรมการผูทรงคุณวุฒิ

3.7 อาจารยสมทิธ วงศววัิฒน กรรมการจากรองคณบดี

3.8 ผูชวยศาสตราจารยสุภา วัชรสุขุม กรรมการจากอาจารยประจําคณะมนุษยศาสตรฯ

3.9 อาจารยศรีประไพ อุดมละมุล กรรมการจากอาจารยประจําคณะมนุษยศาสตรฯ

3.10 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชมพูนุท ศรีพงษ กรรมการจากอาจารยประจําคณะวทิยาการจัดการ

3.11 ผูชวยศาสตราจารยสมภพ เภาทอง กรรมการจากอาจารยประจําคณะวทิยาศาสตรฯ

3.12 อาจารยซูลฟกอร มาโซ เลขานุการ

3.13 นายเลศิยศ เผื่ออํานาจ ผูชวยเลขานุการ

Page 10: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 10 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

5) หลักสูตรและสาขาวชิาทีเ่ปดสอนปการศึกษา 2557 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏยะลา

เปดสอนหลักสูตรตางๆ ดังนี้

ระดับปรญิญาตร ี มี 9 หลกัสูตร

1. สาขาวชิาภาษาไทย

2. สาขาวชิาภาษาอังกฤษ

3. สาขาวชิาภาษามลายู

4. สาขาวชิาภาษาจนี

5. สาขาวชิารัฐประศาสนศาสตร

6. สาขาวชิาการพัฒนาชุมชน

7. ออกแบบนวัตกรรมทัศนศิลป

8. ออกแบบศิลปกรรม

9. สาขาวชิานติศิาสตร

ระดับปรญิญาโท มี 1 หลักสูตร

สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา

6) จํานวนนักศกึษาปการศึกษา 2557 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มีจํานวนนักศึกษาท้ังหมด 1,842 คน จําแนก

ออกเปนนักศึกษาปริญญาตรี ภาคปกต ิจํานวน 1,588 คน ภาคพเิศษ จํานวน 254 คน

7) จํานวนอาจารยและบุคลากรปการศึกษา 2557 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มอีาจารยประจําท่ีปฏิบัติงานจริง 83 คน และ

ลาศึกษาตอ 11 คน รวมจํานวนท้ังหมด 94 คน และบุคลากรสายสนับสนุนจํานวน 8 คน

Page 11: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 11 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

8) งบประมาณ และอาคารสถานที่งบประมาณ

ในปงบประมาณ 2558 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรไดรับการจัดสรรงบประมาณจากมหาวิทยาลัยจํานวนท้ังสิ้น 5,846,800 บาท โดยสามารถแบงเปน งบประมาณแผนดิน จํานวน 1,936,800 งบประมาณรายได(บํารุงการศึกษา) จํานวน 1,965,300 บาท งบประมาณรายได (กศ.ปช) จํานวน 1,944,700 บาท

นอกจากนี้คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรไดจัดทําแผนการใชจายงบประมาณประจําปโดยเปนคาใชจายดาน บริหารสํานักงาน จํานวน 916,242 บาท การจัดการเรียนการสอน จํานวน 2,614,423 บาท พัฒนานักศึกษาจํานวน 1,145,309 บาท ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จํานวน 198,626 บาท บริการวิชาการ จํานวน 198,800 บาทงานวจิัยเพื่อสรางองคความรู จํานวน 238,400 บาท และ การพัฒนาบุคลากร จํานวน 535,000 บาท ซึ่งรวมเปนเงินท้ังสิ้น 5,846,800 บาท

อาคารสถานที่

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มีสํานักงานคณะฯ ตั้งอยูท่ี ช้ัน 1 อาคาร 24 (ปกขวา) นอกจานี้ ยังมีสํานักงานของแตละหลักสูตรท่ีสังกัดคณะฯ ตัง้อยูช้ันท่ี 5 และ 6 ของอาคาร 24 ดวย

9) นโยบายการพัฒนาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

นโยบายดานประกันคณุภาพ

เรงรัดใหหลักสูตร/ภาควิชาของคณะมนุษยศาสตรและสังคมสาสตร มีระบบการสงเสริมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ โดยเนนการจัดการศึกษาใหไดมาตรฐานเปนท่ียอมรับและมคีวามเปนสากลมีความพรอมสําหรับการตรวจสอบท้ังภายในและภายนอกและเรงรัดพัฒนาคุณภาพบัณฑติอยางตอเนื่อง

นโยบายดานการผลติบณัฑติ

เรงรัดใหมกีารผลติบัณฑติท่ีมมีาตรฐานตามวชิาชีพ มคีุณธรรม จริยธรรม สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการดํารงชีวติ ภายใตบริบทของทองถิ่น (POSITIONING) และมคีวามเปนสากล

นโยบายดานการวจัิย

มุงสรางงานวจิัยโดยการบูรณาการเรียนการสอนกับการวจิัยเพื่อใชพัฒนาการเรียนการสอนและมุงพัฒนางานวจิัยท่ีตอบสนองความตองการของทองถิ่น

นโยบายดานการบรกิารวชิาการ

มุงเนนการบูรณาการวชิาการกบัการเรียนการสอนโดยใหสามารถตอบสนองความตองการของทองถิ่น

Page 12: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 12 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

นโยบายดานศลิปวัฒนธรรม

มุงเนนการอนุรักษ ทํานุบํารุง และเผยแพรศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่น และชาต ิโดยเนนใหเกดิ การเรียนรูการยอมรับอัตลักษณ และศิลปวัฒนธรรมเพื่อใหเกดิสันตสิุขในสังคมพหุวัฒนธรรม

นโยบายดานการบรหิารทรัพยากรบุคคล

มุงเนนการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงรุก โดยการบริหารท่ีเนนการเพิ่มมูลคาใหองคกร โดยยึดกระบวนการการมสีวนรวมท้ังภายในและภายนอกหนวยงาน

10) เอกลักษณหรอืวัฒนธรรมของคณะ

เกงไอที มจีติอาสา สูงาน สื่อสารภาษามลายูกลางได

คานยิมขององคกร

C – HUSO

C = Creativity

H = Harmony

U = Unity

S = Social

O = Optimism

1. มคีวามรับผดิชอบ (Responsibility)2. มคีวามเสยีสละ (Sacrifice)3. ตรงตอเวลา (Time)4. มุงม่ัน สูงาน (Commitment)5. สามัคคี (Harmony)6. คดิสรางสรรค (Creativity)7. จริงใจ (Sincere)8. มคีุณธรรม (Morality)9. มสีวนรวม (Participation)

Page 13: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 13 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 2การประกันคุณภาพการศกึษา ระดับอุดมศกึษา

1. เหตุผลและความจําเปนของการประกันคุณภาพการศกึษา ระดับอุดมศกึษา1.1 ความจําเปนของการประกันคุณภาพการศกึษาภารกจิหลักท่ีสถาบันอุดมศึกษาจะตองปฏบัิตมิี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัยการใหบริการ ทาง

วิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การดําเนินการตามภารกิจท้ัง 4 ประการดังกลาว มีความสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนาประเทศท้ังระยะสั้นและระยะยาว ปจจุบันมีปจจัยภายในและภายนอกหลายประการท่ีทําใหการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเปนสิ่งจําเปนท่ีจะตองเรงดําเนินการ ปจจัยดังกลาวคอื

1) คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศท่ีมีแนวโนมแตกตางกันมากขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดผลเสยีแกสังคมโดยรวมของประเทศในระยะยาว

2) ความทาทายของโลกาภิวัตนตอการอุดมศึกษา ท้ังในประเด็นการบริการการศึกษาขามพรมแดน และการเคลื่อนยายนักศึกษาและบัณฑิต การประกอบอาชีพของบัณฑิตในอนาคต อันเปนผลจากการรวมตัวของประเทศในภูมภิาคอาเซยีน ซึ่งท้ังสองประเด็นตองการการรับประกันของคุณภาพการศึกษา

3) สถาบันอุดมศึกษามีความจําเปนท่ีจะตองสรางความม่ันใจแกสังคมวาสามารถพัฒนาองคความรู และผลิตบัณฑิต ตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศใหมากขึ้น ไมวาจะเปนการสรางขีดความสามารถในการแขงขันระดับสากล การพัฒนาภาคการผลิตจริงท้ังอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต ความเปนอยูระดับทองถิ่นและชุมชน

4) สถาบันอุดมศึกษาจะตองใหขอมูลสาธารณะ (public information) ท่ีเปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสียเสยี ท้ังนักศึกษาผูจางงานผูปกครองรัฐบาลและประชาชนท่ัวไป

5) สังคมตองการระบบอุดมศึกษาท่ีเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสวนรวม (participation) มีความโปรงใส (transparency) และมคีวามรับผดิชอบซึ่งตรวจสอบได (accountability) ตามหลักธรรมาภิบาล

6) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในรวมถึงใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษาทําหนาท่ีประเมนิคุณภาพภายนอก โดยการประเมนิผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศใชมาตรฐานการอุดมศึกษา เมื่อวันท่ี 7 สิงหาคม 2549 เพื่อเปนกลไกกํากับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหนวยงาน โดยทุกหนวยงานระดับอุดมศึกษาจะไดใชเปนกรอบการดําเนนิงานประกันคุณภาพการศึกษา

8) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เมื่อวันท่ี 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดประกาศแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เมื่อวันท่ี 16 กรกฎาคม 2552 เพื่อใหการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพือ่การประกันคุณภาพของบัณฑติในแตละระดับคุณวุฒแิละสาขาวชิา

Page 14: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 14 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

9) กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันท่ี 24เมษายน 2554 เพื่อเปนกลไกสงเสริมและกํากับใหสถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาใหมีมาตรฐานตามประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุม

1.2 วัตถุประสงคองการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึษาสถาบันอุดมศึกษารวมกับตนสังกัดจําเปนตองพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมี

วัตถุประสงคดังนี้1) เพื่อใหสถาบันไดมีการพัฒนามุงสูวิสัยทัศน และยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน โดยระบบ

ดังกลาวจะตองเปนไปตามเจตนารมณของ พรบ. และเปนไปตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว มาตรฐานระดับชาติและนานาชาติ

2) เพื่อตรวจสอบและประเมนิผลการดําเนนิงานตั้งแตระดับหลักสูตร คณะวิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวม ตามระบบคุณภาพและกลไกท่ีสถาบันนั้น ๆ กําหนดขึ้น โดยวิเคราะหเปรียบเทียบผลการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีในองคประกอบคุณภาพตางๆ วาเปนไปตามเกณฑและไดมาตรฐาน

3) เพื่อใหหลักสูตร คณะวชิาหรือหนวยงานเทียบเทาและสถาบันอุดมศึกษาทราบสถานภาพของตนเองอันจะนําไปสูการกําหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสูเปาหมาย (targets) และเปาประสงค (goals) ท่ีตั้ง ไวตามจุดเนนของตนเอง

4) เพื่อใหไดขอมูลท่ีสะทอนจุดแข็ง จุดท่ีควรปรับปรุง ตลอดจนขอเสนอแนะในการพัฒนาการ ดําเนินงานเพื่อนําไปปรับปรุงผลการดําเนนิการในแตละระดับอยางตอเนื่อง เพื่อยกระดับขดีความสามารถของสถาบัน

5) เพื่อใหขอมูลสาธารณะท่ีเปนประโยชนตอผูมีสวนไดสวนเสีย ทําใหม่ันใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสรางผลผลติทางการศึกษาท่ีมคีุณภาพและไดมาตรฐานตามท่ีกําหนด

6) เพื่อใหหนวยงานตนสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ มีขอมูลพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับการสงเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางท่ีเหมาะสม

2. กฎหมายที่เก่ียวของกับการประกันคุณภาพการศกึษา2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่เก่ียวของ

กับการประกันคุณภาพการศกึษาระดับอุดมศกึษาพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดจุดมุงหมาย

และหลักการของการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนคุณภาพและมาตรฐาน โดยกําหนดรายละเอียดไวในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งประกอบดวย “ระบบการประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” เพื่อใชเปนกลไกในการผดุงรักษาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา

การประกันคุณภาพภายใน เปนการสรางระบบและกลไกในการพัฒนา ติดตามตรวจสอบและประเมินการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนดโดยสถานศึกษาและหรือหนวยงานตนสังกัด โดยหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษากําหนดใหมรีะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเนื่องมีการจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสภาสถาบันหนวยงานตนสังกัด และหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

Page 15: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 15 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

การประกันคุณภาพภายนอก เปนการประเมนิคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อใหมีการติดตามและ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความมุงหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแตละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือเรียกชื่อยอวา “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ไดกําหนดใหสถานศึกษาทุกแหงตองไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 คร้ังในทุกรอบ 5 ป นับตั้งแตการประเมนิคร้ังสุดทาย และเสนอผลการประเมนิตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของและสาธารณชน

2.2 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศกึษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาและแกปญหาอุดมศึกษาท่ีไรทิศทาง ซ้ําซอน ขาดคุณภาพ และขาดประสิทธิภาพ โดยใชกลไกการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเปนกลไกหลักในการดําเนินการ กลาวคือ ใหมีการสรางกลไกการประเมินคุณภาพสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกจิของสถาบันในแตละกลุม ซึ่งมีพื้นท่ีบริการและจุดเนนระดับการศึกษาท่ีตางกัน รวมท้ังมีพันธกิจและบทบาทในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศตางกันตามความหลากหลาย ท้ังการพัฒนาฐานราก สังคม เศรษฐกิจรวมถึงการกระจายอํานาจในระดับทองถิ่น การขับเคลื่อนภาคการผลิตในชนบท ทองถิ่นและระดับประเทศ จนถึงการแขงขันในโลกาภิวัตน ซึ่งระบบอุดมศึกษาแตละกลุมเหลานี้ จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงอุดมศึกษา และสงผลกระทบท่ีเปนประโยชนตอประเทศอยางมีนัยสําคัญ อาทิ สามารถสรางความเปนเลิศไดตามพันธกิจของตัวเอง สามารถตอบสนองตอยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศดีขึ้น สงผลเชิงบวกตอการผลิต พัฒนาและการทํางานของอาจารย สามารถปรับจํานวนของบัณฑติในสาขาท่ีเปนความตองการของสังคม ลดการวางงาน โดยท่ีสถาบันอุดมศึกษาในกลุมเหลานี้มีกลไกรวมกันในการประกันคุณภาพ เพื่อใหนักศึกษาสามารถตอยอด ถายโอนแลกเปลี่ยนกันไดระหวางกลุม และในระยะยาวการประเมนิคุณภาพควรนําไปสูระบบรับรองวิทยฐานะ (accreditation)ท่ีนักศึกษาและสาธารณะใหความเชื่อถอื เปนฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมท้ังการโอนยายหนวยกติ

จากกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ในป 2551 กําหนดประเภทหรือกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม คอื

กลุม ก วทิยาลัยชุมชน หมายความถงึ สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตระดับตํ่ากวาปริญญาตรี จัดฝกอบรมสนองตอบความตองการของทองถิ่น เพื่อเตรียมกําลังคนท่ีมีความรูเขาสูภาคการผลิตจริงในชุมชน สถาบันสนับสนุนรองรับการเปลี่ยนอาชีพพื้นฐาน เชน แรงงานท่ีออกจากภาคเกษตร เปนแหลงเรียนรูท่ีสงเสริมใหประชาชนไดมีโอกาสเรียนรูตลอดชีวติอันจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนและการพัฒนาท่ีย่ังยนื

กลุม ข สถาบันที่เนนระดับปริญญาตรี หมายความถึง สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเพื่อใหไดบัณฑิตท่ีมีความรูความสามารถเปนหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาคสถาบันมีบทบาทในการสรางความเขมแข็งใหกับหนวยงาน ธุรกิจ และบุคคลในภูมิภาค เพื่อรองรับการดํารงชีพสถาบันอาจมกีารจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑติศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาโทดวยก็ได

กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง หมายความถึง สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุมสาขาวิชา ท้ังสาขาวิชาทางวิทยาศาสตรกายภาพ วิทยาศาสตรชีวภาพ สังคมศาสตรหรือมนุษยศาสตร รวมท้ังสาขาวชิาชีพเฉพาะทาง สถาบันอาจเนนการทําวทิยานพินธหรือการวจิัย หรือเนนการผลติบัณฑติท่ีมีความรู ความสามารถทักษะและสมรรถนะในการประกอบอาชีพระดับสูง หรือเนนท้ังสองดาน รวมท้ังสถาบันอาจมีบทบาทในการพัฒนา

Page 16: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 16 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ภาคการผลิตจริงท้ังอุตสาหกรรมและบริการ สถาบันในกลุมนี้อาจจําแนกไดเปน 2 ลักษณะคือ ลักษณะท่ี 1 เปนสถาบันท่ีเนนระดับบัณฑติศึกษา และลักษณะท่ี 2 เปนสถาบันท่ีเนนระดับปริญญาตรี

กลุม ง สถาบันที่เนนการวจัิยข้ันสูงและผลติบัณฑติระดับบัณฑติศกึษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอกหมายความถึง สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก และเนนการทําวิทยานิพนธและการวิจัยรวมถึงการวิจัยหลังปริญญาเอก สถาบันเนนการผลิตบัณฑิตท่ีเปนผูนําทางความคิดของประเทศ สถาบันมีศักยภาพในการขับเคลื่อนอุดมศึกษาไทยใหอยูในแนวหนาระดับสากล มุงสรางองคความรู ทฤษฎีและขอคนพบใหมทางวชิาการ

ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงตองสรางกลไกการประเมินคุณภาพใหสอดรับกับการแบงกลุมสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุมดังกลาว

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555–2559) กําหนดใหอุดมศึกษาไทยในชวงป 2555-2559ตองมกีารพัฒนาอยางกาวกระโดดเพื่อเปนแหลงความรูท่ีตอบสนองการแกไขปญหาวิกฤติและช้ีนํา การพัฒนาอยางย่ังยืนของชาติและทองถิ่นโดยเรงสรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งขึ้นภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและตองสงเสริมการพัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันไดในประชาคมอาเซยีนและประชาคมโลกโดยใหความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพผลิตกําลังคนท่ีมีศักยภาพตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สามารถทํางานเพื่อดํารงชีพตนเอง และเพื่อชวยเหลือสังคมมีคุณธรรมมีความรับผิดชอบและมีสุขภาวะ ท้ังรางกายและจิตใจรวมท้ังพัฒนาอาจารยใหเปนมอือาชีพและผูเช่ียวชาญมืออาชีพใหเปนอาจารยพัฒนาวิชาชีพ อาจารยใหเปนท่ียอมรับของสังคม มีการจัดการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใชความรูเทคโนโลยีและนวัตกรรมความคิดสรางสรรคบนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาเพื่อ ประโยชนสุขท่ีย่ังยนืของประเทศไทยท้ังนี้โดยอาศัยการบริหารจัดการอุดมศึกษาเชิงรุกและพระราชบัญญัติอุดมศึกษา เปนเคร่ืองมือสําคัญในการขับเคลื่อนวิสัยทัศนป 2559 “อุดมศึกษาเปนแหลงองคความรูและพัฒนากําลังคนระดับสูงท่ีมีคุณภาพเพื่อการพัฒนาชาตอิยางย่ังยนืสรางสังคมการเรียนรูตลอดชีวติตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11(พ.ศ. 2555-2559) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพยีงมบีทบาทสูงในสังคมประชาคมอาเซยีนและมุงสูคุณภาพอุดมศึกษาระดับนานาชาต”ิ

2.3 มาตรฐานการอุดมศึกษา ท่ีปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 7 สิงหาคม 2549ประกอบดวยมาตรฐาน 3 ดาน ไดแก มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษาและมาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานยอยท้ัง 3 ดานนี้ อยูในมาตรฐานการศึกษาของชาตท่ีิประกอบดวยมาตรฐานยอย 3 มาตรฐานเชนกัน คือ มาตรฐานท่ี 1 คุณลักษณะของคนไทยท่ีพึงประสงค ท้ังในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานท่ี 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานท่ี 3 แนวการสรางสังคมแหงการเรียนรู/สังคมแหงความรู แตละมาตรฐานยอยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคลองและสัมพันธกับมาตรฐานยอยของมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุงหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ

นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีเปนมาตรฐานแมบทแลว คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดจัดทํามาตรฐานสถาบันอุดมศกึษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2551 เพื่อนําไปสูการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาตามกลุมสถาบันท่ีมีปรัชญา วัตถุประสงค และพันธกิจในการจัดตั้งท่ีแตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพและประสทิธิผล ประกอบดวยมาตรฐานหลัก 2 ดาน คอื มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา และ

Page 17: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 17 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

มาตรฐานดานการดําเนนิการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา และกําหนดกลุมสถาบันอุดมศึกษาเปน 4 กลุม ไดแกกลุม ก วิทยาลัยชุมชน กลุม ข สถาบันท่ีเนนระดับปริญญาตรี กลุม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุม ง สถาบันท่ีเนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังไดจัดทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศกึษาแหงชาต ิพ.ศ.2552 เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเปนการประกันคุณภาพบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกําหนดใหคุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชาตองเปนไปตามมาตรฐานผลการเรียนรูอยางนอย 5 ดาน คือ ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.4 กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธีิการประกันคุณภาพการศึกษาหลังจากท่ีพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใช สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา (ทบวงมหาวทิยาลัยเดมิ) ในฐานะหนวยงานตนสังกัดท่ีทําหนาท่ีกํากับดูแลสถาบันอุดมศึกษาไดเสนอระบบการประกันคุณภาพการศึกษาใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาเพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติฉบับดังกลาว ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี 21 มีนาคม 2543 ไดมีมติเห็นชอบกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ทบวงมหาวทิยาลัยเดมิ) ซึ่งตอมาไดจัดทําเปนประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2545 เพื่อใชเปนแนวปฏิบัติ สาระสําคัญของประกาศฉบับนี้ระบุใหทบวงมหาวิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริมสถาบันอุดมศึกษาจัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาใหมีประสทิธิภาพและประสทิธิผล รวมท้ังใหมกีารประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาจากภายใน หรือโดยหนวยงานตนสังกัดท่ีมีหนาท่ีกํากับดูแลสถาบันการศึกษาเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการประเมนิคุณภาพจากภายนอก รวมถงึสนับสนุนใหมกีารแตงตัง้คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาขึ้นในแตละคณะวิชาหรือสถาบันอุดมศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ แนวทาง วิธีการตรวจสอบและประเมนิระบบกลไกและประเมนิผลการดําเนนิงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของแตละคณะวชิาหรือสถาบันอุดมศึกษา

หลังจากดําเนนิการตามประกาศฉบับป พ.ศ.2545 ไประยะหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดจัดทํากฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศกึษาพ.ศ. 2546 เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชาตพิ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2)พ.ศ.2545 ในมาตรา 5 และมาตรา 47 วรรคสองโดยสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในของกฎกระทรวงฉบับนี้ยังคงไวตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2545 ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดถือปฏิบัติมาอยางตอเนื่อง ตอมาในป 2553 กระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธิกีารประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 แทนฉบับเดิม โดยรวมการประกันคุณภาพภายในและภายนอกของการศึกษาทุกระดับไวในฉบับเดียวกัน โดยมีการปรับใหคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาทําหนาท่ีหลัก 2 ประการคือ 1) วางระเบียบหรือออกประกาศกําหนดหลักเกณฑและแนวปฏบัิตเิกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ 2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแกสถานศึกษา โดยนําผลการประเมินคุณภาพท้ังภายในและภายนอกไปปรับปรุงคุณภาพการศึกษา อยางตอเนื่อง นอกจากน ้ียังมีการปรับเปลี่ยนใหระบบการประกันคุณภาพภายใน

Page 18: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 18 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ประกอบดวย การประเมนิคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ และกําหนดใหหนวยงานตนสังกัดจัดใหมีการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาอยางนอยหนึ่งคร้ังในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมท้ังเปดเผยผลการตดิตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน

3. การประกันคุณภาพการศกึษากอนมีประกาศพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ทบวงมหาวิทยาลัยไดตระหนักดีถึง

ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและไดจัดทําประกาศทบวงมหาวทิยาลัยเร่ืองนโยบายและแนวปฏบัิติในการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษามาตั้งแตป พ.ศ.2539 เพื่อเปนแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตามหลักการสําคัญ 3 ประการ คอื การใหเสรีภาพทางวชิาการ (academic freedom)ความมอิีสระในการดําเนนิการของสถาบัน (institutional autonomy) และความพรอมของสถาบันท่ีจะรับการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกตามหลักการของความรับผดิชอบท่ีตรวจสอบได (accountability)

ตอมาพระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชิต พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 ไดระบุใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัตริะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กําหนดใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ สนับสนุนทรัพยากร ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวชิาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหงและกฎหมายท่ีเกี่ยวของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงมีหนาท่ีรวมกับสถานศึกษาในการจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมรีายละเอียดดังนี้

3.1 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน3.1.1 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ดวยกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553ขอ 33 ใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดําเนนิการของสถานศึกษา เพื่อใหมปีระสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่องและเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก สถาบันจึงมีอิสระในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเหมาะสมสอดคลองกับระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเปนระบบประกันคุณภาพท่ีใชกันแพรหลายในระดับชาตหิรือนานาชาติ หรือเปนระบบเฉพาะท่ีสถาบันพัฒนาขึ้นเอง แตไมวาจะเปนระบบคุณภาพแบบใด จะตองมีกระบวนการทํางานท่ีเร่ิมตนจากการวางแผน การดําเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ท้ังนี้ เพื่อใหการดําเนินภารกิจของสถาบันบรรลุเปาประสงคและมีพัฒนาการอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็เปนหลักประกันแกสาธารณชนใหม่ันใจวาสถาบันอุดมศึกษาสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพหลักการท่ีสําคัญในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพและตัวบงช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา

หลักการสําคัญในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษามดีังตอไปนี้1) สงเสริมพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุนของการอุดมศึกษาภายใตความสอดคลองกับ

หลักเกณฑท่ีกําหนดในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธีิการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553

Page 19: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 19 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2) เปนระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีครอบคลุมปจจัยนําเขา และกระบวนการ ซึ่งสามารถสงเสริมและนําไปสูผลลัพธของการดําเนนิการอยางมปีระสทิธิภาพ

3) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา รอบใหม ประกอบดวย การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยจะเร่ิมใชในปการศึกษา 2557

- ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีการดําเนินการตั้งแต การควบคุมคุณภาพ การตดิตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประเมินฯ จะมุงไปท่ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตามการดําเนนิงานใหเปนไปตามท่ีกําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมคีุณภาพ

- ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับคณะและระดับสถาบัน เปนการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีคณะและสถาบันพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดําเนินการของสถานศึกษา ซึ่งจะประเมินตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีคณะและสถาบันตองการใหคณะและสถาบันพัฒนาตามศักยภาพและประเภทของกลุมสถาบัน ซึ่งเปนการประเมินความเขมแข็งทางวชิาการ

4) ใหอิสระกับสถาบันอุดมศึกษาในการออกแบบระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน5) เชื่อมโยงกับระบบคุณภาพอื่นท่ีกําหนดและเปนนโยบายของ กก. โดยเฉพาะเร่ืองกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ และการเชื่อมโยกับการประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. เพื่อไมใหเปนการทํางานซ้ําซอนเกนิความจําเปนหรือสรางภาระการทํางานของหนวยงาน

3.1.2 มาตรฐาน ตัวบงช้ี และเกณฑประเมนิคุณภาพมาตรฐานท่ีเปนกรอบสําคัญในการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการ

อุดมศึกษา ในขณะเดียวกันสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ตองดําเนินการใหเปนไปตามมาตรฐานและหลักเกณฑอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของอีกมาก เชน เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมนิคุณภาพภายนอกของ สมศ. หรือกรอบการปฏบัิตริาชการตามมติดิานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณมีหาวทิยาลัยของรัฐ เปนตน

กําหนดตัวบงช้ี เปน 2 ประเภท คอื ตัวบงช้ีเชิงปริมาณ และตัวบงช้ีเชิงคุณภาพ ดังนี้1) ตัวบงช้ีเชิงคุณภาพจะระบุเกณฑมาตรฐานเปนขอๆ กําหนดเกณฑการประเมินตัวบงช้ี

เปน 5 ระดับ มคีะแนนตัง้แต 1 ถงึ 5 การประเมินเชิงคุณภาพนี้จะมีท้ังการนับจํานวนขอและระบุวาผลการดําเนินงานไดกี่ขอ ไดคะแนนเทาใด กรณท่ีีไมดําเนนิการใดๆ หรือดําเนินการไมครบท่ีจะได 1 คะแนน ใหถือวาได 0 คะแนน และการประเมนิโดยกําหนดการใหคะแนนตามท่ีไดคณะหรือสถาบันดําเนินการ และกรรมการประเมิน (peer review) จะพจิารณาผลการดําเนนิการนัน้ๆ รวมกันกอนท่ีจะบันทึกคะแนน โดยมรีะดับคะแนนอยูระหวาง 0-5

2) ตัวบงช้ีเชิงปริมาณอยูในรูปของรอยละหรือคาเฉลี่ย กําหนดเกณฑการประเมินเปนคะแนนระหวาง 1 ถึง 5 โดยเปนคาตอเนื่อง (มีจุดทศนิยม) สําหรับการแปลงผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ี (ซึ่งอยูในรูปรอยละหรือคาเฉลี่ย) เปนคะแนนทําโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ โดยท่ีแตละตัวบงช้ีจะกําหนดคารอยละหรือคาเฉลี่ยท่ีคดิเปนคะแนนเต็ม 5 ไว

คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ไดกําหนดใหมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาตางๆ นําไปใชเปนแนวทาง (Guideline)ในการจัดทําระบบการประกันคุณภาพภายในของแตละสถาบันตามความสมัครใจภายใตการกํากับดูแลของสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในจะครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการ

Page 20: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 20 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

อุดมศึกษาและพันธกิจดานการบริหารจัดการ ไดแก (1) พันธกิจดานการผลิตบัณฑิต (2) พันธกิจดานการวิจัย (3)พันธกิจดานการบริการวิชาการ (4) พันธกิจดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ สําหรับการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร จะเนนพันธกิจในดานการผลิตบัณฑิตเปนสําคัญ สวนพันธกิจดานอื่นๆ จะเปนการบูรณาการเขาไวดวยกัน หากเปนตัวบงช้ีในระดับคณะและสถาบันจะครอบคลุมพันธกิจหลักของการอุดมศึกษารวมท้ังการบริหารจัดการไดท้ังหมด ซึ่งสามารถช้ีวัดคุณลักษณะท่ีพงึประสงคตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของกับพันธกิจเหลานั้นไดท้ังหมด ในสวนท่ี 4 ถึงสวนท่ี 6 ของคูมือฉบับนี้จึงไดพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษานําไปเปนกรอบในการดําเนนิการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตัง้แตระดับหลักสูตร ระดับคณะและระดับสถาบัน การพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประเมินจะมุงไปท่ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับติดตามการดําเนนิงานใหเปนไปตามท่ีกําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ และตัวบงช้ีท่ีพัฒนาขึ้นควรเชื่อมโยงหรือเปนเร่ืองเดียวกันกับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเนนท่ีปจจัยนําเขาและกระบวนการ ซึ่งภายในตัวบงช้ีท่ีเปนกระบวนการใหสามารถสะทอนผลลัพธของการดําเนินการตามกระบวนการดังกลาวดวย

3.1.3 กลไกการประกันคุณภาพในดานของกลไกการประกันคุณภาพ ผูท่ีมีความสําคัญสงผลใหการดําเนินงานประสบ

ความสําเร็จและนําไปสูการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง คือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบันท่ีจะตองใหความสําคัญและกําหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีชัดเจนและเขาใจรวมกันทุกระดับโดยมอบหมายใหหนวยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุนใหเกิดการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง หนาท่ีสําคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุณภาพ พรอมท้ังกําหนดตัวบงช้ีและเกณฑการประเมินคุณภาพท่ีเหมาะสมสําหรับคณะและสถาบัน ระบบประกันคุณภาพท่ีใชตองสามารถเชื่อมโยงใหเกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ตั้งแตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร ระดับคณะวชิา ไปจนถงึระดับสถาบัน โดยอาจจําเปนตองจัดทําคูมอืคุณภาพในแตละระดับเพื่อกํากับการดําเนินงาน แตท่ีสําคัญคณะกรรมการหรือหนวยงานนี้ตองประสานงานและผลักดันใหเกิดระบบฐานขอมูลและสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพซึ่งสามารถใชงานรวมกันไดทุกระดับ

3.1.4 ระบบฐานขอมูลและระบบสารสนเทศการวัดและวิเคราะหผลการดําเนินงานเปนสิ่งจําเปนในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัด

และวิเคราะหผลการดําเนินงานจะไมสามารถทําไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ หากปราศจากฐานขอมูลและระบบสารสนเทศท่ีเปนจริง ถูกตองตรงกันทุกระดับตัง้แตระดับบุคคล ระดับหลักสูตร คณะวชิา และสถาบัน ตลอดจนเปนขอมูลท่ีสามารถเรียกใชไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น ระดับสารสนเทศท่ีดี มีประสิทธิภาพ จึงเปนปจจัยสําคัญย่ิงท่ีจะสงผลตอความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และสงผลตอคุณภาพในทุกขั้นตอนการดําเนินงานตั้งแตการวางแผน การปฏบัิตงิาน การตรวจสอบประเมนิ ตลอดจนถงึการปรับปรุงและพัฒนา

4. ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศกึษากับการประกันคุณภาพการศกึษาพระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ในหมวด 5 ท่ีวาดวยการ

บริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ไดกําหนดให คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาท่ีพิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาต ิและสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการ

Page 21: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 21 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

อุดมศึกษาจึงไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใชเปนกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระดบัหนวยงาน เพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาตอไป มาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีจัดทําขึ้นฉบับนี้ไดใชมาตรฐานการศึกษาของชาติท่ีเปรียบเสมือนรมใหญเปนกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสําคัญท่ีครอบคลุมเปาหมายและหลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเปนมาตรฐานท่ีคํานึงถึงความหลากหลายของกลุมหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อใหทุกสถาบันสามารถนําไปใชกําหนดพันธกจิและมาตรฐานของการปฏบัิตงิานได

คณะกรรมการการอุดมศึกษายังไดกําหนดเกณฑมาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา หลักเกณฑการขอเปดและดําเนนิการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑการกําหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑและแนวปฏบัิตเิกี่ยวกับการพจิารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานท่ีตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและวิชาชีพ รวมท้ังการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมคีวามทัดเทียมกันและพัฒนาสูสากล ซึ่งทําใหสถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางยืดหยุน คลองตัว และตอเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะทอนใหเห็นถงึมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดบัอุดมศึกษา

เพื่อใหการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามท่ีกําหนดท้ังมาตรฐานการศึกษาระดับชาต ิมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธกับมาตรฐานและหลักเกณฑท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จึงจําเปนตองมีระบบประกันคุณภาพท่ีพัฒนาขึ้นตามท่ีกําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ท้ังนี้ ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑท่ีเกี่ยวของ และการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพท่ี 1.1

แผนภาพที่ 1.1 ความเชื่อมโยงระหวางมาตรฐานการศกึษาและการประกันคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษาของชาติ

มาตรฐานท่ี 1คุณลักษณะของคนไทยท่ีพงึ

ประสงคท้ังในฐานะพลเมอืงและพลโลก

มาตรฐานท่ี 2แนวทางการจัดการศึกษา

มาตรฐานท่ี 3แนวการสรางสังคมแหงการ

เรียนรู/สังคมแหงความรู

มาตรฐานการอุดมศึกษา

มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑติ

มาตรฐานดานการบริหารจัดการอุดมศึกษา

มาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและ

สังคมแหงการเรียนรู

หลักเกณฑกํากับมาตรฐานรวมถงึมาตรฐาน

สถาบันอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

การประกันคุณภาพภายใน ภายใตตัวบงช้ีตามพันธกจิของการอุดมศึกษาและการบริหารจัดการ

ผลผลติทางการศึกษาท่ีไดคุณภาพ

Page 22: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 22 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

5. ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคณุภาพภายในและการประเมนิคณุภาพการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติท่ีตองดําเนินการ

อยางตอเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปจจัยท่ีเกี่ยวของกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดําเนนิงาน เพื่อนําไปสูการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอยางสมํ่าเสมอ ดวยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงตองดูแลท้ังปจจัยนําเขา (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ (output/outcome) ซึ่งตางจากการประเมินคุณภาพภายนอกท่ีเนนการประเมนิผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในกับการประเมนิคุณภาพภายนอกจงึเปนสิ่งจําเปน โดยไดเชื่อมโยงใหเห็นจากแผนภาพท่ี 1.2

แผนภาพที่ 1.2 ความสัมพันธระหวางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก

จากแผนภาพท่ี 1.2 จะเห็นวา เมื่อสถาบันอุดมศึกษามกีารดําเนนิการประกันคุณภาพภายในแลว จําเปนตองจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพภายใน โดยใชรูปแบบการจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในตามท่ีกําหนดในระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ (CHE QA Online) ซึ่งเปนการบันทึกผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาผานทางระบบออนไลน ตั้งแตการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานเอกสารอางอิง การประเมินตนเอง การประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพ เพื่อนําเสนอสภาสถาบันหนวยงานตนสังกัด หนวยงานท่ีเกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งขอมูลดังกลาวจะเปนขอมูลเชื่อมโยงระหวางการประกันคุณภาพภายในของสภาบัน การตดิตามตรวจสอบของตนสังกัด ดังนัน้ สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองจัดทํารายงานการประเมนิตนเองท่ีมคีวามลุมลึก สะทอนภาพท่ีแทจริงของสถาบันในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับหลักสูตรการดําเนนิการของคณะและสถาบัน เพื่อการผลติบัณฑติท่ีมคีุณภาพออกไปรับใชสังคม

การประกันคุณภาพภายใน การประเมนิคุณภาพภายนอก

การปฏบัิตงิานของสถาบัน

การประเมนิตนเองของสถาบัน

รายงานประจําปการตรวจ

เย่ียมรายงานผล

การประเมนิ

การตดิตามผล

ขอมูลปอนกลับ ตดิตามตรวจสอบโดยตนสังกัดทกุ 3 ป

ขอมูลปอนกลับ

Page 23: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 23 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 3การประกันคุณภาพการศกึษาภายใน

1. พัฒนาการของระบบการประกันคณุภาพการศกึษาภายในเปนท่ีทราบกันดวีาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจําเปนตองมกีารปรับปรุงอยางตอเนื่องตามระดับการ

พัฒนาของสถาบันการศึกษา ตามความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี สภาพสังคม เศรษฐกิจ ความรูและทักษะในอนาคตท่ีตลาดงานตองการ และพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียน ดังนั้น ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจึงมีการปรับปรุงมาโดยตลอด ปจจุบันระบบการประกันคุณภาพภายในเขาสูรอบท่ีสาม (2557-2561) และระบบการประเมนิคุณภาพภายนอกเขาสูรอบท่ีสี่ (2558-2562)

ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีพัฒนาโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ิมใชมาตั้งแตปการศึกษา 2550 เปนระบบแรกท่ีใหสถาบันอุดมศึกษาทุกแหงไดนําไปใชในการประเมินผลการดําเนินงานในทุกปการศึกษา และใหสถาบันอุดมศึกษาเพิ่มเติมประเด็นการประเมินท่ีสะทอนเอกลักษณของแตละสถาบัน ในรอบแรกนี้ตัวบงช้ีประเมนิผลการดําเนนิงานมท้ัีงตัวบงช้ีท่ีเปนปจจัยนําเขา กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ โดยครอบคลุมองคประกอบคุณภาพตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546 ตอบสนองเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของ รวมท้ังสอดคลองไปในทิศทางเดียวกันกับตัวบงช้ีการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิคณุภาพการศึกษา (องคการมหาชน) หรือ สมศ. ภายใตหลักการสําคัญคือไมเปนภาระซ้ําซอนในการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษา ตัวบงช้ีท่ีพัฒนาขึ้นสามารถประเมินไดครบทุกมิติของระบบการประกันคุณภาพ คือ ปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิตหรือผลลัพธ อีกท้ัง ยังมีความสมดุลระหวางมุมมองการบริหารจัดการท้ัง 4 ดาน คือ ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ดานกระบวนการภายใน ดานการเงิน และดานบุคลากรการเรียนรูและนวัตกรรม ในสวนของเกณฑการประเมิน มีท้ังเกณฑท่ัวไปท่ีใชกับทุกสถาบันและท่ีแยกใชเฉพาะกับสถาบันท่ีมีจุดเนนตางกัน ไดแก สถานท่ีเนนการผลิตบัณฑิตและการวิจัย สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม สถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และสถาบันท่ีเนนการผลิตบัณฑิตเพียงอยางเดียวเนื่องจากในระยะแรกนี้สถาบันอุดมศึกษาหลายแหงยังไมมกีระบวนการทํางานท่ีเนนวงจรคุณภาพอยางชัดเจน ตัวบงช้ีสวนใหญจงึเปนตัวบงช้ีท่ีเนนกระบวนการ

การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในรอบท่ีสอง พ.ศ.2553 ยังคงยึดหลักการเดยีวกับรอบแรก โดยนําแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 10 (พ.ศ.2550-2554) กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑและวธีิการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมติดิานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐมาเปนกรอบในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน อยางไรก็ตาม การพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพภายในรอบท่ีสองจะมุงเนนการประเมินเฉพาะปจจัยนําเขาและกระบวนการ สําหรับการวัดผลผลิตหรือผลลัพธนั้น สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดนําตัวบงช้ีท่ีใชในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามของสมศ.มาใช โดยถอืเปนสวนหนึ่งของตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพภายในท่ีสถาบันอุดมศึกษาตองดําเนนิการให

Page 24: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 24 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ครบถวนทุกมติขิองระบบประกันคุณภาพ คอื ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ ท้ังนี้ เกณฑท่ีพัฒนาขึ้นในรอบนี้ยังมีความแตกตางจากรอบแรกคือ มีการกําหนดประเภทเกณฑมาตรฐานท่ัวไปท่ีใชกับทุกกลุมสถาบันอุดมศึกษาและเกณฑมาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุมสถาบันอุดมศึกษา ไดแก กลุม ข สถาบันท่ีเนนระดับปริญญาตรีกลุม ค1 สถาบันเฉพาะทางท่ีเนนระดับบัณฑิตศึกษา กลุม ค2 สถาบันเฉพาะทางท่ีเนนระดับปริญญาตรีและกลุม ง สถาบันท่ีเนนการวจิัยขัน้สูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอกตามนิยามท่ีกําหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา

2. การประกันคณุภาพการศกึษาภายในรอบใหม (พ.ศ.2557-2561)ในป พ.ศ.2557 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาโดยคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน

ระดับอุดมศึกษา ไดตระหนักถงึความสําคัญของหนวยยอยของการอุดมศึกษาท่ีทําหนาท่ีผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพ จึงไดกําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยใหพิจารณาเพิ่มเตมิในสาระท่ีเกี่ยวของในกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2551-2565) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 รวมท้ังกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552ท้ังนี้ไดกําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 3 ระดับ คือ ระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบันโดยมีองคประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามพันธกิจ 4 ดานของสถาบันอุดมศึกษา และเพิ่มเติมดานอื่นๆ ท่ีจําเปน สําหรับการพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท้ังระดับหลักสูตร คณะ และสถาบันดําเนนิการไปพรอมกัน หากเปนตัวบงช้ีท่ีเนนกระบวนการจะตองมีการประเมินผลลัพธภายใตการดําเนินการตามตัวบงช้ีกระบวนการดังกลาวดวย (process performance) ซึ่งไดกําหนดหลักการพัมนาไวดังนี้

การประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประกอบดวย 6 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 1การกํากับมาตรฐาน องคประกอบท่ี 2 บัณฑติ องคประกอบท่ี 3 นักศึกษา องคประกอบท่ี 4 อาจารย องคประกอบท่ี5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน และองคประกอบท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู ตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรครอบคลุมเร่ืองการสงเสริม พัฒนานักศึกษา การวางระบบกระบวนการจัดการเรียนการสอน จํานวนอาจารยตอนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา (โดยเฉพาะการคุมวิทยานิพนธใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร) ผลงานทางวชิาการ ผลงานวจิัยของคณาจารย สื่ออุปกรณการเรียนการสอนหองสมุดและแหลงการเรียนรูตางๆ การดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ รวมท้ังคุณภาพบัณฑิต ซึ่งจะพิจารณาจากการมีงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ คุณภาพผลงานตีพิมพและเผยแพรของนักศึกษาระดับบัณฑติศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 1 การผลติบัณฑติ องคประกอบท่ี 2 การวิจัย องคประกอบท่ี 3 การบริการวิชาการ องคประกอบท่ี 4 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และองคประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการ ตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะใหครอบคลุมการดําเนินงานของคณะ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของแตละหลักสูตรท่ีคณะดูแลรวมท้ัง กจิกรรมนักศึกษา การบริการนักศึกษา การใหบริการทางวชิาการ การวจิัย การบริหารจัดการและการประกันคุณภาพของคณะ

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก องคประกอบท่ี 1การผลิตบัณฑิต องคประกอบท่ี 2 การวิจัย องคประกอบท่ี 3 การบริการวิชาการ องคประกอบท่ี 4 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และองคประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการ ตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา

Page 25: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 25 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ภายในระดับสถาบัน พิจารณาใหเปนไปตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ไดแก มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา ประกอบดวยดานกายภาพดานวชิาการ ดานการเงนิ ดานการบริหารจัดการ มาตรฐานดานการดําเนนิการตามภารกจิของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบดวย ดานการผลติบัณฑติ ดานการวิจัย ดานการใหบริการทางวชิาการแกสังคม ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ท้ังนี้ ควรมุงเนนการประกันคุณภาพการดําเนินการของสถาบันเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของแตละคณะ โดยครอบคลุมในดานกายภาพและภารกิจของสถาบันรวมถงึการประกันคุณภาพในภาพรวม

จุดมุงหมายของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในแตละระดับ เพื่อการควบคุมคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาในระดับหลักสูตร ระดับคณะและระดับสถาบันใหไดขอมูลท่ีช้ีผลการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีไดคุณภาพตามมาตรฐานการอุดมศึกษาของแตละคณะ และภาพรวมของสถาบัน อันจะนําไปสูการกําหนดแนวทางและพัฒนาคุณภาพตามเกณฑและมาตรฐานท่ีตัง้ไวอยางตอเนื่อง เพื่อจัดทํารายงานประจําปท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพภายในเสนอตอสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทุกปการศึกษา ตลอดจนเพื่อรองรับการติดตามตรวจสอบอยางนอยหนึ่งคร้ังในทุกสามปตามกฎกระทรวงฯ รวมท้ังการสรางความม่ันใจตอสังคมในเร่ืองคุณภาพบัณฑิตโดยผูเรียนมีงานทํา ผูเรียนมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และเพื่อประกอบการพิจารณาขึ้นทะเบียนหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาต ิพ.ศ.2552

อยางไรก็ตาม ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในรอบใหมนี้จะมุงเนนท่ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรใหมีการดําเนินการตั้งแตการวางระบบคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ การประเมินคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพ เพื่อสรางความม่ันใจใหกับผูใชบัณฑิตและสงเสริมสนับสนุน กํากับตดิตามการดําเนนิงานของคณะและสถาบันใหเปนไปตามมาตรฐานและวิสัยทัศนท่ีสถาบันอุดมศึกษากําหนด โดยใหสะทอนผลการจัดการศึกษาไดอยางมคีุณภาพ มกีารควบคุมคุณภาพในทุกขัน้ตอนของการผลิตบัณฑิตในแตละปการศึกษาโดยคณะกรรมการประจําหลักสูตร มีการตรวจสอบติดตามคุณภาพผลการผลิตบัณฑิต โดยคณะกรรมการประจําคณะและคณะกรรมการระดับสถาบันในทุกปการศึกษา มีความเชื่อมโยงกับระบบการประเมินคุณภาพภายนอกท่ีจะมีการรับรองคุณภาพการศึกษาระดับชาติ รวมท้ังมีการประเมินคุณภาพเพื่อใหไดขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีสะทอนผลของการผลิตบัณฑิตในแตละปการศึกษา เพื่อสรางความเชื่อม่ันในคุณภาพของบัณฑติท่ีสําเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษา

อนึ่ง คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาไดออกประกาศ เร่ือง หลักเกณฑและ แนวปฏบัิติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557 โดยระบุใหสถาบันอุดมศึกษามีอิสระในการเลือกพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการและความมีอิสระในการดําเนินการของสถานศึกษา เพื่อใหมปีระสทิธิภาพและประสทิธิผลในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง สอดคลองกับบริบทของสถาบันอุดมศึกษาและเปนไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาเกณฑมาตรฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของและเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ท้ังนี้ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีสถาบันอุดมศึกษาเลือกใช ตองสนองตอเจตนารมณของสถาบันอุดมศึกษาและกฎกระทรวง วาดวยระบบหลักเกณฑ และวิ ธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 อาจเปนระบบท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาพัฒนาขึ้น หรือเปนระบบท่ีเปนท่ียอมรับในระดับสากลท่ีสามารถประกันคุณภาพได ตัง้แตระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน เชน ระบบ AUN-QA หรือ ระบบ EdPEx หรือเปนระบบท่ีสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาขึ้นเอง ท้ังนี้ โดยผานการพิจารณาจากสภาสถาบันและเสนอคณะกรรมการประกันคุณภายในระดับอุดมศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาตองรายงานผลการประเมินคุณภาพ

Page 26: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 26 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ภายในตอตนสังกัด เพื่อพิจารณาและเปดเผยตอสาธารณะ เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 และขอ 6 แหงกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวธีิการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553

3. กระบวนการและวธิกีารประกันคุณภาพการศกึษาภายใน (ปการศกึษา 2557-2561)เพื่อใหการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน จึงควรมีแนวทางการจัดกระบวนการประกันคุณภาพ

การศึกษาภายในตามวงจรคุณภาพ ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การดําเนินงานและเก็บขอมูล(Do) การประเมนิคุณภาพ (Check / Study) และการเสนอแนวทางการปรับปรุง (Act) โดยมรีายละเอียดดังนี้

P = เร่ิมกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแตตนปการศึกษา โดยนําผลการประเมินปกอนหนานี้มาใชเปนขอมูลในการวางแผนโดยตองเก็บขอมูลตั้งแตเดือนมิถุนายน กรณีใชระบบเปดปดภาคการศึกษาแบบเดิม หรือตั้งแตเดอืนสงิหาคม กรณใีชระบบเปดปดภาคการศึกษาตามอาเซยีน

D = ดําเนนิงานและเก็บขอมูลบันทึกผลการดําเนนิงานตัง้แตตนปการศึกษา คือเดือนท่ี 1 – เดือนท่ี 12 ของปการศึกษา (เดอืนมถิุนายน – พฤษภาคม ปถัดไป หรือเดอืนสงิหาคม – กรกฎาคม ปถัดไป)

C/S = ดําเนินการประเมินคุณภาพในระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน ระหวางเดือนมิถุนายน – สิงหาคมหรือเดอืนสงิหาคม – ตุลาคม ของปการศึกษาถัดไป

A = วางแผนปรับปรุงและดําเนนิการปรับปรุงตามผลการประเมนิ โดยคณะกรรมการบริหาร ระดับหลักสูตรระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยนําขอเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน (รวมท้ังขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปและเสนอตัง้งบประมาณปถัดไป หรือจัดทําโครงการพัฒนาและเสนอใชงบประมาณกลางปหรือ งบประมาณพเิศษก็ได

วธีิการประกันคุณภาพภายใน กําหนดไวดังนี้1. สถาบันวางแผนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในประจําปการศึกษาใหม2. สถาบันเก็บขอมูลระยะ 12 เดือนตามตัวบงช้ีท่ีไดประกาศใชบนระบบ CHE QA Online และใหมีการ

ประเมนิคุณภาพการศึกษาภายในเปนประจําทุกปท้ังระดับหลักสูตร คณะวชิา และสถาบัน3. หลักสูตรเตรียมการประเมินตนเองระดับหลักสูตรและจัดทํารายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตร

ผานระบบ CHE QA Online4. คณะหรือหนวยงานเทียบเทานําผลการประเมินระดับหลักสูตรมาจัดทํารายงานการประเมินตนเองระดับ

คณะ5. คณะหรือหนวยงานเทียบเทาประเมนิตนเองบนระบบ CHE QA Online และยืนยันผลการประเมินหลักสูตร

ท่ีไดประเมนิไปแลว6. สถาบันนําผลการประเมินระดับหลักสูตร ผลการประเมินระดับคณะวิชา มาจัดทํารายงาน การประเมิน

ตนเองระดับสถาบัน7. สถาบันประเมินตนเองบนระบบ CHE QA Online และยืนยันผลการประเมินตนเองระดับ หลักสูตร คณะ

วชิา พรอมนําผลการประเมนิเสนอสภาสถาบันเพื่อพจิารณาวางแผนพัฒนาสถาบันในปการศึกษาถัดไป8. ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษานําผลการประเมนิและขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ท่ีสถาบันแตงตั้ง (รวมท้ังขอเสนอแนะของสภาสถาบัน) มาวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน แผนปฏิบัติการประจําปและแผนกลยุทธ

Page 27: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 27 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

9. สงรายงานประจําปท่ีเปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ผานระบบ CHE QA Online ภายใน 120 วันนับจากสิ้นปการศึกษา

สถาบันอุดมศึกษาตองมกีารประเมนิตนเองตามตัวบงช้ีและเกณฑการประกันคุณภาพภายในทุกปการศึกษาท้ังระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดบัสถาบัน ตามลําดับโดยสถาบันอุดมศึกษาเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการประเมินและสงผลการประเมินใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบผานระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพ(CHE QA Online) ท้ังนี้ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร 1 ชุด อาจประเมินไดมากกวาหนึ่งหลักสูตรหากเปนหลักสูตรในสาขาวิชาเดียวกัน เชน หลักสูตรสาขาวิชาเดียวกันท้ัง ในระดับปริญญาตรีและบัณฑติศึกษา

ในกรณท่ีีตองการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 องคประกอบของคณะกรรมการประเมนิคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร กําหนดไวดังนี้

- ผูทรงคุณวุฒจิํานวนอยางนอย 3 คน โดยเกินกวากึ่งหนึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน และอยางนอยหนึ่งคนตองมคีุณวุฒติรงกับสาขาวชิาท่ีขอรับการประเมนิ

- ประธานกรรมการเปนผูทรงคุณวุฒภิายนอกสถาบันท้ังนี้ คณะกรรมการทุกคนตองเปนผูท่ีขึ้นทะเบียนผูประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตรของ

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาคุณสมบัติเฉพาะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตร ของแตละระดับการศึกษาเปน

ดังนี้- ระดับปริญญาตรี คณะกรรมการมคีุณวุฒปิริญญาโทขึ้นไปหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการ ระดับ

ผูชวยศาสตราจารยขึ้นไป- ระดับปริญญาโท คณะกรรมการมคีุณวุฒปิริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการ ระดับรอง

ศาสตราจารยขึ้นไป- ระดับปริญญาเอก คณะกรรมการมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการ ระดับ

ศาสตราจารยขึ้นไปในกรณีท่ีประสงคนําผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาในระดับสถาบัน ไปใชในการ

ประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของสถาบันอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ องคประกอบของคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ระดับสถาบัน กําหนดไวดังนี้

- ผูทรงคุณวุฒ ิจํานวนอยางนอย 5 คน ท้ังนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของสถาบัน- ประธานกรรมการประเมินฯ เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันท่ีขึ้นทะเบียนประธาน

คณะกรรมการประเมนิคุณภาพการศึกษาภายในของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา- กรรมการ เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันท่ีผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ.

อยางนอยรอยละ 50 สวนผูประเมินจากภายในสถาบันตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือท่ีสถาบันจัดฝกอบรมใหโดยใชหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

คุณสมบัตเิฉพาะของคณะกรรมการประเมนิคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน เปนดังนี้1. ประธานกรรมการ

- ผูท่ีเปนหรือเคยเปนผูบริหารระดับคณบดหีรือเทียบเทาขึ้นไป และมปีระสบการณเปน ผูประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ในระดับคณะหรือเทียบเทา หรือ

Page 28: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 28 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

- ผูท่ีมีตําแหนงทางวิชาการระดับผูชวยศาสตราจารยขึ้นไป และมีประสบการณเปนผูประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ในระดับคณะหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือ

- ผูท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพจิารณาแลววามคีวามเหมาะสม2. กรรมการ

- กรณเีปนอาจารย ตองทําหนาท่ีเปนอาจารยประจํามาแลวไมนอยกวา 2 ป- กรณเีปนฝายสนับสนุน ตองทําหนาท่ีในระดับผูอํานวยการหนวยงานขึ้นไปมาแลว ไมนอยกวา 2 ป

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจะดําเนินการติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยางนอยหนึ่งคร้ังในทุกสามปและแจงผลใหสถานศึกษาทราบ รวมท้ังเปดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน เพื่อใหเปนไปตามขอ 36 แหงกฎกระทรวงวาดวยระบบหลักเกณฑ และวธีิการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553

Page 29: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 29 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 4นยิามศัพท

การจัดการความรู (Knowledge Management : KM) หมายถึง การรวบรวมองคความรูท่ีมีอยูในองคกรซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมท้ังปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิงแขงขันสูงสุด โดยท่ีความรูมี 2 ประเภท คอื

1. ความรูที่ฝงอยูในคน (Tacit Knowledge) เปนความรูท่ีไดจากประสบการณ พรสวรรค หรือสัญชาติญาณของแตละบุคคลในการทําความเขาใจในสิ่งตาง ๆ เปนความรูท่ีไมสามารถถายทอดออกมาเปนคําพูดหรือลายลักษณอักษรไดโดยงาย เชน ทักษะในการทํางาน งานฝมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะหบางคร้ัง จึงเรียกวาเปนความรูแบบนามธรรม

2. ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูท่ีสามารถรวบรวม ถายทอดได โดยผานวิธีตางๆเชน การบันทึกเปนลายลักษณอักษร ทฤษฎ ีคูมอืตาง ๆ และบางคร้ังเรียกวาเปนความรูแบบรูปธรรม

นพ.วิจารณ พานิช ไดใหความหมายของคําวา “การจัดการความรู” คือ เคร่ืองมือเพื่อการบรรลุเปาหมายอยางนอย 4 ประการไปพรอมๆ กัน ไดแก บรรลเุปาหมายของงาน บรรลุเปาหมายการพัฒนาคน บรรลุเปาหมายการพัฒนาองคกรไปเปนองคกรเรียนรู และบรรลุความเปนชุมชน เปนหมูคณะ ความเอื้ออาทรระหวางกันในท่ีทํางาน

การจัดการความรูเปนการดําเนนิการอยางนอย 6 ประการตอความรู ไดแก(1) การกําหนดความรูหลักท่ีจําเปนหรือสําคัญตองานหรือกจิกรรมของกลุมหรือองคกร(2) การเสาะหาความรูท่ีตองการ(3) การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสรางความรูบางสวนใหเหมาะตอการใชงานของตน(4) การประยุกตใชความรูในกจิการงานของตน(5) การนําประสบการณจากการทํางาน และการประยุกตใชความรูมาแปลกเปลี่ยนเรียนรู และสกัด “ขุม

ความรู” ออกมาบันทึกไว(6) การจดบันทึก “ขุมความรู” และ “แกนความรู” สําหรับไวใชงาน และปรับปรุงเปนชุดความรูท่ีครบถวน

ลุมลกึและเชื่อมโยงมากขึ้น เหมาะตอการใชงานมากย่ิงขึ้นโดยท่ีการดําเนนิการ 6 ประการนี้บูรณาการเปนเนื้อเดยีวกัน ความรูท่ีเกี่ยวของเปนท้ังความรูท่ีชัดแจง อยูใน

รูปของตัวหนังสือหรือรหัสอยางอื่นท่ีเขาใจไดท่ัวไป (Explicit Knowledge) และความรูฝงลึกอยูในสมอง (TacitKnowledge) ท่ีอยูในคน ท้ังท่ีอยูในใจ (ความเชื่อ คานิยม) อยูในสมอง (เหตุผล) และอยูในมือ และสวนอื่นๆ ของรางกาย (ทักษะในการปฏบัิต)ิ การจัดการความรูเปนกจิกรรมท่ีคนจํานวนหนึ่งทํารวมกันไมใชกจิกรรมท่ีทําโดยคน คนเดยีว

การตีพิมพในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หมายถึง การตีพิมพผลงานวิชาการฉบับสมบูรณในลักษณะของรายงานสบืเนื่องจากการประชุมวชิาการ วารสารวชิาการ หรือสิ่งพมิพทางวชิาการในระดับมหาวิทยาลัย หรือระดับคณะ และตองเปนผลงานท่ีผานการกลั่นกรอง (Peer review) โดยมบุีคคลภายนอกสถาบันรวมเปนกรรมการพจิารณาดวย

Page 30: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 30 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

การเทียบเคียงผลการดําเนินงาน (Benchmarking) หมายถึง วิธีการในการวัดและเปรียบเทียบผลผลิต บริการและวธีิการปฏิบัติกับองคกรท่ีสามารถทําไดดีกวา เพื่อนําผลการเปรียบเทียบมาใชในการปรับปรุงองคกรของตนเพื่อมุงความเปนเลศิทางธุรกจิ

การบูรณาการ (Integration) หมายถงึ การผสมกลมกลนืของแผน กระบวนการ สารสนเทศ การจัดสรร ทรัพยากรการปฏิบัติการ ผลลัพธ และการวิเคราะห เพื่อสนับสนุนเปาประสงคท่ีสําคัญของสถาบัน (organizationwide goal)การบูรณาการท่ีมปีระสทิธิผล เปนมากกวาความสอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน (alignment) ซึ่งการดําเนินการของแตละองคประกอบภายใน ระบบการจัดการ ผลการดําเนนิการมคีวามเชื่อมโยงกันเปนหนึ่งเดยีวอยางสมบูรณ

การเผยแพรงานสรางสรรคในระดับความรวมมอืระหวางประเทศ หมายถงึ โครงการรวมมอืระหวางประเทศไทยกับประเทศอื่น

การเผยแพรงานสรางสรรคในระดับนานาชาติ หมายถึง การเผยแพรท่ีเปดกวางสําหรับทุกประเทศ (อยางนอย 5ประเทศท่ีไมไดอยูในกลุมอาเซยีน)

การเผยแพรงานสรางสรรคในระดับภูมิภาคอาเซียน หมายถึง การเผยแพรเฉพาะในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ(อยางนอย 5 ประเทศนับรวมประเทศไทยดวย) และการใหคะแนนตามแหลงเผยแพร ไมจําเปนตองไปแสดงในตางประเทศ อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East AsianNations) มี 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวยีดนาม

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในท่ีประชุมวิชาการและบทความฉบับสมบูรณ (Full paper) ไดรับการตพีมิพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings) โดยม ีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานการประชุม หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบดวย ศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒ ิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒท่ีิมผีลงานเปนท่ียอมรับในสาขาวชิานัน้ๆ จากนอกสถาบันเจาภาพ อยางนอยรอยละ 25 โดยตองมีผูประเมินบทความท่ีเปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้นดวย และมีบทความท่ีมาจากหนวยงานภายนอกสถาบันอยางนอย 3 หนวยงาน และรวมกันแลวไมนอยกวารอยละ 25

การเผยแพรผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง การนําเสนอบทความวิจัยในท่ีประชุมวิชาการ และบทความฉบับสมบูรณ (Full paper) ไดรับการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceedings)โดยมีกองบรรณาธิการจัดทํารายงานฯ หรือคณะกรรมการจัดประชุม ประกอบดวยศาสตราจารยหรือผูทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก หรือผูทรงคุณวุฒิท่ีมีผลงานเปนท่ียอมรับในสาขาวิชานั้นๆ จากตางประเทศอยางนอยรอยละ 25และมีผูประเมินบทความท่ีเปนผูเช่ียวชาญในสาขานั้น และบทความท่ีมาจากตางประเทศ อยางนอย 3 ประเทศ และรวมกันแลวไมนอยกวารอยละ 25** บทความในการประชุมวิชาการท้ังระดับชาติและนานาชาติ ท่ีนําเสนอใหกองบรรณาธิการหรือคณะกรรมการจัดประชุมพิจารณาคัดเลือก ตองเปนฉบับสมบูรณ (Full Paper) และไดรับการตีพิมพ ซึ่งสามารถอยูในรูปแบบเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนกิสได

Page 31: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 31 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

งานวิจัย หมายถึง กระบวนการท่ีมีระเบียบแบบแผนในการคนหาคําตอบของปญหา หรือการเสาะแสวงหาความรูใหม ตลอดจนถึงการประดิษฐคิดคนท่ีผานกระบวนการศึกษา คนควาหรือทดลอง วิเคราะหและตีความขอมูลตลอดจน สรุปผลอยางเปนระบบ

งานสรางสรรค หมายถึง ผลงานศิลปะและสิ่งประดิษฐทางศิลปะประเภทตางๆ ท่ีมีความเปนนวัตกรรม โดยมีการศึกษาคนควาอยางเปนระบบท่ีเหมาะสมตามประเภทของงานศิลปะซึ่งมีแนวทางการทดลองหรือการพัฒนาจากแนวคิดสรางสรรคเดิมเพื่อเปนตนแบบหรือความสามารถในการบุกเบิกศาสตรอันกอใหเกิดคุณคาทางสุนทรีย และคุณประโยชนท่ีเปนท่ียอมรับในวงวิชาชีพตามการจัดกลุมศิลปะของอาเซียน งานสรางสรรคทางศิลปะ ไดแก(1) ทัศนศิลป (Visual Art) ประกอบดวย ผลงานดานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ ภาพถาย ภาพยนตร สื่อประสม สถาปตยกรรมและงานออกแบบประเภทอื่นๆ (2) ศิลปะการแสดง (Performance Arts) ประกอบดวยดุริยางคศิลป นาฏยศิลป รวมท้ังการแสดงรูปแบบตางๆ และ (3) วรรณศิลป (Literature) ซึ่งประกอบดวยบทประพันธและกวนีพินธรูปแบบตางๆ

แนวปฏบิัตทิี่ดี หมายถงึ วธีิปฏบัิต ิหรือขัน้ตอนการปฏบัิตท่ีิทําใหสถาบันประสบความสําเร็จ หรือสูความเปนเลิศตามเปาหมาย เปนท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหลักฐานของความสําเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏบัิต ิหรือขัน้ตอนการปฏบัิต ิตลอดจนความรูและประสบการณ บันทึกเปนเอกสาร เผยแพรใหหนวยงานภายในหรือภายนอกสามารถนําไปใชประโยชนได

ประสบการณดานการทําวิจัย หมายถึง มีประสบการณดานการทําวิจัยเปนผลสําเร็จมาแลวโดยมีหลักฐานเปนผลงานท่ีนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม (Proceedings) ท่ีมีกรรมการภายนอกมารวมกลั่นกรอง (Peer

Review) หรือตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการท่ีมีกรรมการภายนอกมารวมกลั่นกรอง (Peer Review) หรือเปนผลงานท่ีเปนรูปเลมซึ่งนําเสนอแหลงทุนวิจัยหรือนําเสนอผูวาจางในการทําวิจัยนั้นๆ และเปนผลงานท่ีแหลงทุนวิจัยหรือผูวาจางวิจัยไดตรวจรับงานเรียบรอยแลว ซึ่งเปนผลงานวิจัยท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญาของอาจารยประจําหลักสูตร โดยใหรายงานผลงานวิจัยของอาจารยประจําหลักสูตรทุกคนไวในเอกสารหลักสูตร ท้ังนี้การรายงานผลงานวิจัยท่ีตีพิมพใหรายงานในลักษณะของการเขียนบรรณานุกรม หรือการเขียนเอกสารอางอิงทางวชิาการ กลาวคอื ระบุชื่อเจาของผลงาน ชื่อผลงาน ปท่ีพมิพและแหลงตพีมิพเผยแพรผลงาน

ผลงานที่ไดรับการตพีมิพในวารสารวชิาการระดับชาติ หมายถงึ บทความจากผลงานวจิัยหรือบทความวิชาการท ี่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ท่ีมีชื่อปรากฏอยูในฐานขอมูล Thai Journal Citation Index Centre (TCI)หรือวารสารวชิาการระดับชาตติามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ผลงานที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ หมายถึง บทความจากผลงานวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการ (Journal) ท่ีปรากฏในฐานขอมูลสากล ไดแกฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank : www.scimagojr.com) หรือฐานขอมูล ISI Web of Science (ScienceCitationIndex Expand, Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือ ฐานขอมูล Scopusหรือวารสารวชิาการระดับนานาชาตติามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา

แผนกลยุทธ หมายถึง แผนระยะยาวของสถาบันโดยท่ัวไปมักใชเวลา 5 ป เปนแผนท่ีกําหนดทิศทางการพัฒนาของสถาบัน แผนกลยุทธประกอบไปดวยวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค วัตถุประสงค ผลการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน

Page 32: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 32 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

โอกาสและภัยคุกคาม กลยุทธตางๆ ของสถาบันควรคลอบคลุมทุกภารกิจของสถาบัน ซึ่งตองมีการกําหนดตัวบงช้ีความสําเร็จของแตละกลยุทธและคาเปาหมายของตัวบงช้ีเพื่อวัดระดับความสําเร็จของการดําเนินงานตามกลยุทธโดยสถาบันนําแผนกลยุทธมาจัดทําแผนดําเนนิงานหรือแผนปฏบัิตกิารประจําป

แผนกลยุทธทางการเงนิ หมายถงึ แผนระยะยาวท่ีระบุท่ีมาและใชไปของทรัพยากรทางการเงนิของสถาบันท่ีสามารถผลักดันแผนกลยุทธของสถาบันใหสามารถดําเนินการได แผนกลยุทธทางการเงินจะสอดรับไปกับแผนกลยุทธของสถาบัน สถาบันควรประเมนิความตองการทรัพยากรท่ีตองจัดหาสําหรับการดําเนินงานตามกลยุทธแตละกลยุทธและประเมนิมูลคาของทรัพยากรออกมาเปนเงินทุนท่ีตองการใช ซึ่งจะเปนความตองการเงินทุนในระยะยาวเทากับเวลาท่ีสถาบันใชในการดําเนินการใหกลยุทธนั้นบังเกิดผล จากนั้นจึงจะกําหนดใหเห็นอยางชัดเจนถึงท่ีมาของเงินทุนท่ีตองการใชวาสามารถจัดหาไดจากแหลงเงินทุนใด เชน รายไดคาธรรมเนียมการศึกษา งบประมาณแผนดินหรือเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงนิทุนสะสมของหนวยงาน เงนิบริจาคจากหนวยงานภายนอกหรือศิษยเกา หรือสถาบันจะตองม ีการระดมทุนดวยวธีิการอื่นๆ อีกเพิ่มเติม เชน การแปลงทรัพยสินทางปญญาเปนมูลคา รวมท้ังมีการวิเคราะหตนทุนของการดําเนนิงานดวย เชน ตนทุนตอหนวยในการผลติบัณฑติในแตละหลักสูตร โดยท่ีระยะเวลาของแผนกลยุทธทางการเงนิจะเทากับระยะเวลาของแผนกลยุทธของสถาบัน

แผนปฏบิัตกิารประจําป หมายถึง แผนระยะสั้นท่ีมีระยะเวลาในการดําเนินงานภายใน 1 ป เปนแผนท่ีถายทอดแผนกลยุทธลงสูภาคปฏิบัติ เพื่อใหเกิดการดําเนินงานจริงตามกลยุทธ ประกอบดวย โครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ ท่ีจะตองดําเนนิการในปนัน้ๆ เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนกลยุทธ ตัวบงช้ีความสําเร็จของโครงการหรือกิจกรรม คาเปาหมายของตัวบงช้ีเหลานั้น รวมท้ังมีการระบุผูรับผิดชอบหลักหรือหัวหนาโครงการ งบประมาณในการดําเนินการรายละเอียดและทรัพยากรท่ีตองใชในการดําเนนิโครงการท่ีชัดเจน

พหุวทิยาการ หรอื สหวทิยาการ หลักสูตรพหุวทิยาการพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) หรือ สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หมายถึง การใชองคความรูหลายสาขาวิชา หลายศาสตรหรือหลายอนุศาสตร มาผสมผสานใชในการวิเคราะห วิจัยและสังเคราะหขึ้นเปนองคความรูใหม และพัฒนาเปนศาสตรใหมขึ้นหลักสูตรพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) หมายถึง หลักสูตรท่ีนําเอาความรูหลายศาสตรหรือหลายอนุศาสตรเขามาใชในการเรียนการสอน เพื่อประโยชนในการวเิคราะห วจิัย จนกระท่ังผูเรียนสามารถพัฒนาความรู องคความรูเปนศาสตรใหมขึ้นหรือเกดิอนุศาสตรใหมขึ้น

ตัวอยางหลักสูตรท่ีเปนพหุวิทยาการ เชน วิศวกรรมชีวการแพทย (วิศวกรรมศาสตร+แพทยศาสตร)ภูมศิาสตรสารสนเทศ (ภูมศิาสตร+เทคโนโลยีสารสนเทศ) วศิวกรรมนาโน (วศิวกรรมศาสตร+วทิยาศาสตรเคม)ี

ตัวอยางหลักสูตรท่ีไมใชพหุวิทยาการ เชน คอมพิวเตอรธุรกิจ การศึกษาเพื่อการพัฒนา (ท่ีมา :คณะอนุกรรมการปรับปรุงเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ในการประชุมคร้ังท่ี 7/2549 เมื่อวันท่ี 18ตุลาคม 2549)

พชิญพจิารณ (Peer review) หมายถงึ การตรวจเย่ียมโดยผูทรงคุณวุฒท่ีิมคีวามรู ความสามารถ และประสบการณซึ่งสามารถใหขอสังเกตและขอเสนอแนะเชิงพัฒนาแกสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนอยางมคีุณภาพและสอดคลองตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหขอเสนอแนะในเชิงพัฒนาแกสถาบันอุดมศึกษา

Page 33: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 33 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

-----------------------------------1 ดูเพิ่มเตมิ “คูมอืนโยบายการกํากับดูแลองคการที่ดี” สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.)2 ดูเพิ่มเติม “คูมือการจัดระดับการกํากับดูแลองคการภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี (GoodGovernance Rating)” สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สํานักงาน ก.พ.ร.)

ระบบและกลไกระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีมีการกําหนดอยางชัดเจนวาตองทําอะไรบางเพื่อใหไดผลออกมาตามท่ีตองการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะตองปรากฏใหทราบโดยท่ัวกันไมวาจะอยูในรูปของเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสหรือโดยวิธีการอื่น ๆ องคประกอบของระบบ ประกอบดวย ปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต และขอมูลปอนกลับซึ่งมคีวามสัมพันธเชื่อมโยงกันกลไก หมายถึง สิ่งท่ีทําใหระบบมีการขับเคลื่อนหรือดําเนินอยูได โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองคการหนวยงาน หรือกลุมบุคคลเปนผูดําเนนิงาน

สาขาวิชาที่สัมพันธกัน หมายถึง สาขาวิชาตามคุณวุฒิหรือตําแหนงทางวิชาการท่ีสัมพันธกับศาสตรท่ีเปดสอนมิใชสัมพันธกับรายวิชาท่ีเปดสอนในหลักสูตร เชน เปนศาสตรในกลุมสาขาวิชา (Field of Education) เดียวกันตาม ISCED2013 (คณะกรรมการการอุดมศึกษาในการประชุมคร้ังท่ี 12/2554 เมื่อ 17 พฤศจิกายน 2554 หนังสือเวียน ท่ีศธ 0506(2)/ว506 ลงวันท่ี 22 ธันวาคม 2554)

หนวยงานหรือองคการระดับชาติ หมายถึง หนวยงานภายนอกสถาบันระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป (เชน ระดับจังหวัด) หรือรัฐวสิาหกจิ หรือองคการมหาชน หรือบริษัทมหาชนท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย หรือองคการกลางระดับชาตท้ัิงภาครัฐและเอกชน (เชน สภาอุตสาหกรรม สภาหอการคา สภาวชิาชีพ)

หลักธรรมาภิบาล1 หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการตางๆ ใหเปนไปในครรลองธรรม นอกจากน ้ียังหมายถึงการบริหารจัดการท่ีดี ซึ่งสามารถนําไปใชไดท้ังภาครัฐและเอกชน ธรรมท่ีใชในการบริหารงานนี้มีความหมายอยางกวางขวาง กลาวคือ หาไดมีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเทานั้น แตรวมถงึ ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมและความถูกตอง ชอบธรรมท้ังปวง ซึ่งวญิูชนพงึมแีละพงึประพฤตปิฏิบัติ อาทิความโปรงใสตรวจสอบได การปราศจากการแทรกแซงจากองคการภายนอก เปนตน

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี (Good Governance) ท่ีเหมาะสมจะนํามาปรับใชในภาครัฐ มี 10 องคประกอบ ดังนี้2

1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติราชการท่ีบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนการปฏบัิตริาชการตามท่ีไดรับงบประมาณมาดําเนนิการ รวมถงึสามารถเทียบเคยีงกับสวนราชการหรือหนวยงานท่ีมีภารกิจคลายคลึงกันและมีผลการปฏิบัติงานในระดับช้ันนําของประเทศเพื่อใหเกิดประโยชนสุขตอประชาชน โดยการปฏิบัติราชการจะตองมีทิศทางยุทธศาสตร และเปาประสงคท่ีชัดเจน มีกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงาน ท่ีเปนมาตรฐาน รวมถงึมกีารตดิตามประเมนิผลและพัฒนา ปรับปรุงอยางตอเนื่องและเปนระบบ

2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกํากับดูแลท่ีดีท่ีมีการออกแบบกระบวนการปฏบัิตงิานโดยใชเทคนคิและเคร่ืองมือการบริหารจัดการท่ีเหมาะสมใหองคการสามารถใชทรัพยากร ท้ังดานตนทุน แรงงานและระยะเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกจิเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและผูมสีวนไดสวนเสยีทุกกลุม

3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การใหบริการท่ีสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด และสรางความเชื่อม่ัน ความไววางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความตองการของประชาชนผูรับบริการ และผูมสีวนไดสวนเสยีท่ีมคีวามหลากหลายและมคีวามแตกตาง

Page 34: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 34 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาท่ีและผลงานตอเปาหมายท่ีกําหนดไว โดยความรับผิดชอบนั้นควรอยูในระดับท่ีสนองตอความคาดหวังของสาธารณะ รวมท้ัง การแสดงถงึความสํานกึในการรับผดิชอบตอปญหาสาธารณะ

5) หลักความโปรงใส (Transparency) คือ กระบวนการเปดเผยอยางตรงไปตรงมา ช้ีแจงไดเมื่อมีขอสงสัยและสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารอันไมตองหามตามกฎหมายไดอยางเสรี โดยประชาชนสามารถรูทุกขั้นตอนในการดําเนนิกจิกรรมหรือกระบวนการตางๆ และสามารถตรวจสอบได

6) หลักการมีสวนรวม (Participation) คือ กระบวนการท่ีขาราชการ ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย ทุกกลุมมีโอกาสไดเขารวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจ รวมแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหาหรือ ประเด็นท่ีสําคัญท่ีเกี่ยวของ รวมคิดแนวทาง รวมการแกไขปญหา รวมในกระบวนการตัดสินใจ และรวมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุนสวนการพัฒนา

7) หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) คอื การถายโอนอํานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และ ภารกิจจากสวนราชการสวนกลางใหแกหนวยการปกครองอื่นๆ (ราชการบริหารสวนทองถิ่น) และภาคประชาชนดําเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอํานาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดําเนินการ ใหแกบุคลากร โดยมุงเนนการสรางความพึงพอใจในการใหบริการตอผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพิ่มผลติภาพเพื่อผลการดําเนนิงานท่ีดขีองสวนราชการ

8) หลักนติธิรรม (Rule of Law) คอื การใชอํานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับในการบริหาร ราชการดวยความเปนธรรม ไมเลอืกปฏบัิต ิและคํานงึถงึสทิธิเสรีภาพของผูมสีวนไดสวนเสยี

9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การไดรับการปฏิบัติและไดรับบริการอยางเทาเทียมกันโดยไมมีการแบงแยกดาน ชายหรือหญงิ ถิ่นกําเนดิ เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะ ของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกจิและสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝกอบรม และอื่นๆ

10) หลักมุงเนนฉันทามติ (Consensus Oriented) คือ การหาขอตกลงท่ัวไปภายในกลุมผูมีสวนไดสวนเสียท่ีเกี่ยวของ ซึ่งเปนขอตกลงท่ีเกิดจากการใชกระบวนการเพื่อหาขอคิดเห็นจากกลุมบุคคลท่ีไดรับประโยชนและเสียประโยชน โดยเฉพาะกลุมท่ีไดรับผลกระทบโดยตรงซึ่งตองไมมีขอคัดคานท่ียุติไมไดในประเด็นท่ีสําคัญ โดยฉันทามติไมจําเปนตองหมายความวาเปนความเห็นพองโดยเอกฉันท

อาจารย หมายถึง คณาจารย ซึ่งจะมีตําแหนงทางวิชาการท่ีประกอบดวย อาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

อาจารยประจํา หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีหนาท่ีหลักทางดานการสอนและการวิจัย และปฏิบัติหนาท่ี เต็มเวลาตามภาระงานท่ีรับผิดชอบในหลักสูตรท่ีเปดสอน (มิใชเต็มเวลาตามเวลาทําการ) (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548)

สําหรับอาจารยท่ีสถาบันจางเขามาเปนอาจารยประจําดวยเงินรายไดหนวยงานจะตองมีสัญญาจางท่ีมีการระบุระยะเวลาการจางอยางชัดเจนและไมนอยกวา 9 เดือน ในสัญญาจางจะตองระบุหนาท่ี ภาระงานใหชัดเจน ไมนอยกวาหนาท่ีของอาจารยประจําตามท่ีกําหนดตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548

การนับจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย ใหนับระยะเวลาการทํางานสําหรับอาจารยท่ีบรรจุใหม ในปท่ีประเมนิ ดังนี้

Page 35: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 35 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

9-12 เดอืน คดิเปน 1 คน6 เดอืนขึ้นไป แตไมถงึ 9 เดอืน คดิเปน 0.5 คนนอยกวา 6 เดอืน ไมสามารถนํามานับได

อาจารยประจําหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําเต็มเวลาท่ีมีภาระหนาท่ีในการบริหารหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน โดยวางแผน ตดิตาม ทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร และปฏิบัติงานประจําหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาท่ีเปดสอนไมนอยกวา 5 คน และทุกคนเปนอาจารยประจําเกนิกวา 1 หลักสูตรในเวลาเดยีวกันไมได ยกเวนอาจารยประจําหลักสูตรระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ในสาขาวชิาเดยีวกันได หรือเปนอาจารยประจําหลักสูตรในหลักสูตรพหุวิทยาการไดอีก 1 หลักสูตรโดยตองเปนหลักสูตรท่ีตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตรท่ีไดประจําอยูแลว (คณะกรรมการการอุดมศึกษาในการประชุมคร้ังท่ี 2/2549วันท่ี 2 กุมภาพันธ 2549) ท้ังนี้ กรณบัีณฑติศึกษาอนุโลมใหเปนอาจารยประจําหลักสูตรไดมากท่ีสุดเพียง 2 หลักสูตรเทานัน้

หากมกีารเปลี่ยนแปลงอาจารยประจําหลักสูตร ขอใหนําเสนอโดยดําเนินเชนเดียวกับการนําเสนอ หลักสูตรปรับปรุงเล็กนอย โดยนําเสนอตอสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือใหความเห็นชอบ และเสนอใหคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบตามแบบฟอรม สมอ.08 ภายใน 30 วัน

Page 36: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 36 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 5ระบบการประกันคุณภาพการศกึษาภายในระดบัหลักสูตร

ระบบการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน ระดับหลักสูตรในการผลิตบัณฑิตเพื่อใหบัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงคและเปนบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ การดําเนินงานและ

การบริหารงานระดับหลักสูตรถือวาสําคัญท่ีสุด ซึ่งควรมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรซึ่งมหีลักการดังตอไปนี้

1. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เปนการประกันคุณภาพการจัดการศึกษา วาหลักสูตรไดดําเนนิการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑมาตรฐานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ โดยใหพจิารณาองคประกอบท่ีสําคัญ ไดแก การกํากับมาตรฐาน บัณฑติ นักศึกษา อาจารย หลักสูตร การเรียนการสอนการประเมนิผูเรียน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู เพื่อใหสามารถผลติบัณฑติใหมคีุณภาพ

2. ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ใหเชื่อมโยงกับตัวบงช้ีการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 เพื่อประโยชนในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ซึ่ง สกอ. ไดกําหนดแนวทางการเผยแพรหลักสูตรไวในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏบัิตติามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาต ิพ.ศ.2552

3. ตัวบงช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เปนขอมูลพื้นฐานในสวนท่ีเกี่ยวของตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และตัวบงช้ีเชิงปริมาณในสวนท่ีเกี่ยวของกับคุณวุฒิ ตําแหนงทางวิชาการและผลงานทางวิชาการของอาจารย สําหรับตัวบงช้ีเชิงคุณภาพท่ีเนนกระบวนการ จะประเมินในลักษณะของพิชญพจิารณ (peer review) ซึ่งจะมรีายละเอียดของคําถามท่ีจะเปนแนวทางใหแกผูประเมินเพื่อใหสามารถนําไปพิจารณาตามบริบทของสถาบันได และไดกําหนดแนวทางในการใหคะแนนในแตละระดับสําหรับผูประเมินและผูรับการประเมินไดใชในการพจิารณา

4. สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดทําระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร โดยมีการดําเนินงานไดตามมาตรฐานเทียบเคียงกับมาตรฐานของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ท้ังนี้ ทุกระบบตองไดรับการเห็นชอบจากสภาสถาบันและเสนอคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษาพจิารณาใหความเห็นชอบ และใหมีการจัดสงผลการประเมินพรอมขอมูลพื้นฐานใหกับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อเผยแพรตอสาธารณ ตัวอยางการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ท่ีเทียบเคียงไดเชน ผลการประเมินหลักสูตรของ AUN QA ผลการประเมินหลักสูตรวิชาชีพท่ีไดรับการรับรองจากองคการวิชาชีพระดับนานาชาติ เชน AACSB (สําหรับหลักสูตรทางดานบริหารธุรกิจ) ABET (สําหรับหลักสูตรทางดานวศิวกรรมศาสตร) และหลักสูตรท่ีไดรับการตรวจประเมนิเปนประจําและผานการรับรองโดยสภาวชิาชีพ

Page 37: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 37 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

กรอบการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน ระดับหลักสูตรองคประกอบใน

การประกันคุณภาพหลักสูตร

ตัวบงชี้ อธบิายกระบวนการหรอืแสดงผลการดําเนนิงานในประเด็นที่เก่ียวของ

1. การกํากับมาตรฐาน 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนดโดย สกอ.

- ผลการบริหารจัดการหลั กสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี เกณฑ 4 ขอบัณฑติศึกษา เกณฑ 12 ขอ

2. บัณฑติ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

- ผลประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ (โดยผูใชบัณฑติ/ผูมีสวนไดสวนเสยี)

2.2 การไดงานทําหรือผลงานวิจัยของผูสําเร็จการศึกษา

- ผลบัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ- ผลงานของนักศึกษาปริญญาโท/เอกท่ีตีพิมพหรือเผยแพร

3. นักศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา - การรับนักศึกษา- การเตรียมความพรอมกอนเขาศึกษา

3 . 2 การส ง เส ริมและ พัฒนานักศึกษา

- การควบคุมการดูแลการใหคําปรึกษาวชิาการ และแนะแนวแกนักศึกษาในระดับปริญญาตรี- การควบคุมดูแลการใหคําปรึกษาวทิยานิพนธ และการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษา- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการเสริมสรางทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21

3.3 ผลท่ีเกดิกับนักศึกษา - อัตราการคงอยูของนักศึกษา- อัตราการสําเร็จการศึกษา- ความพึงพอใจและผลการจัดการขอรองเรียนของนักศึกษา

4. อาจารย 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย - การรับและแตงตัง้อาจารยประจําหลักสูตร- การบริหารอาจารย- การสงเสริมและพัฒนาอาจารย

4.2 คุณภาพอาจารย - รอยละอาจารยท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก- รอยละอาจารยท่ีมตํีาแหนงทางวชิาการ- ผลงานทางวชิาการของอาจารย- จํานวนบทความของอาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกท่ีไดรับการอางอิงในฐานขอมูล TCI และScopus ตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร

Page 38: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 38 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบในการประกันคุณภาพ

หลักสูตรตัวบงชี้

อธบิายกระบวนการหรอืแสดงผลการดําเนนิงานในประเด็นที่เก่ียวของ

4.3 ผลท่ีเกดิกับอาจารย - อัตราการคงอยูของอาจารย- ความพงึพอใจของอาจารย

5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน

5.1 สาระของรายวชิาในหลักสูตร - หลักคดิในการออกแบบหลักสูตร ขอมูลท่ีใชในการพัฒนาหลักสูตรและวัตถุประสงคของหลักสูตร- ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร ใ ห ทั น ส มั ย ต า มความกาวหนาในศาสตรสาขานัน้ๆ- การพิจารณาอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษา

5.2 การวางระบบผู สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน

- การพจิารณากําหนดผูสอน- การกํากับ ตดิตาม และตรวจสอบการจัดทํา มคอ.3 และมคอ.4- การแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษา- การกํากับกระบวนการเรียนการสอน- การจัดการเรียนการสอนท่ีมกีารฝกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี- การบูรณาการพันธกิจตางๆ กับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี- กา รช วย เหลื อ กํ ากั บ ติ ด ตา ม ในกา ร ทํ าวิทยานิพนธและการคนควาอิสระและการตีพิมพผลงานในระดับบัณฑติศึกษา

5.3 การประเมนิผูเรียน - การประเมินผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ- การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรูของนักศึกษา- การกํากับ การประเมิน การจัดการเรียนการสอนและ ประเมนิหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7)- การประเมินวิทยานิพนธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษา

5.4 ผลการดําเนินงานหลักสูตรตา มก รอบมาตรฐ า นคุ ณ วุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

- ผลการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

6 . สิ่ ง ส นั บส นุ นก า ร 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู - ระบบการดําเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน

Page 39: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 39 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบในการประกันคุณภาพ

หลักสูตรตัวบงชี้

อธบิายกระบวนการหรอืแสดงผลการดําเนนิงานในประเด็นที่เก่ียวของ

เรียนรู โดยมีสวนรวมของอาจารยประจําหลักสูตรเพื่อใหมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู- จํานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู ท่ี เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารยตอสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

Page 40: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 40 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีหนาท่ีหลักสําคัญประการหนึ่งคือการพิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา

และมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนการศึกษาแหงชาติ โดยคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยไดจัดทํามาตรฐานการอุดมศึกษาและเกณฑมาตรฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อสงเสริมใหสถาบันอุดมศึกษาไดพัฒนาดานวิชาการและวิชาชีพรวมท้ังการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหมีความทัดเทียมกัน และไดประกาศใชเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับตางๆ มาอยางตอเนื่อง ซึ่งปจจุบันไดมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับตางๆ พ.ศ.2548 เพื่อประโยชนในการรักษามาตรฐานวิชาการและวิชาชีพเปนสวนหนึ่งของเกณฑการรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา โดยสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปดดําเนินการหลักสูตรใหมหรือหลักสูตรปรับปรุงตองใชเกณฑมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2548 เปนหลักในการพัฒนาหลักสูตรและดําเนนิการใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรดังกลาว

ในการควบคุมกํากับมาตรฐาน จะพจิารณาจากการบริหารจัดการหลักสูตรทุกหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีไดประกาศใชเมื่อ พ.ศ.2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552ตลอดระยะเวลาท่ีมีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรดังกลาว โดยหลักสูตรระดับปริญญาตรีจะพิจารณาตามเกณฑดังกลาว 4 ขอ และหลักสูตรระดับบัณฑติศึกษา จะพจิารณาตามเกณฑดังกลาว 12 ขอ โดยมรีายละเอียดดังนี้

Page 41: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 41 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 1.1 การบรหิารจัดการหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึษาเกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุ

1 . จํ า น ว น อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ าหลักสูตร

ไมนอยกวา 5 คน และเปนอาจารยประจํ า เกิ นกว า 1หลั กสู ตร ไม ได และประจํ าหลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนัน้

ไม น อยกว า 5 คนและ เป นอา จ า รย ปร ะ จํ า เ กิ น ก ว า 1หลั กสู ตร ไม ไ ด และประจํ าหลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนัน้

ไม น อยกว า 5 คนและ เป นอา จ า รย ปร ะ จํ า เ กิ น ก ว า 1หลั กสู ตร ไม ไ ด และประจํ าหลักสูตรตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรนัน้

บันทึกขอความท่ี ศธ0506(2)/ว569 ลว.18 เม.ย. 2549 กําหนดวา อาจารยประจําสามารถเปนอาจารยประจําหลักสูตร ท่ี เปนหลักสูตรพหุวิ ท ย า ก า ร (Multidisciplinary)ไ ด อี ก 1หลักสูตร โดยตองเปนหลักสูตรท่ีตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตรท่ีไดประจําอยูแลว อาจารยประจําหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา สามารถเปนอาจารยประจําหลักสูตรในระดับปริญญาเอกหรือปริญญาโทในสาขาวิชาเดียวกันไดอีก 1 หลักสูตรบันทึกขอความท่ี ศธ0506(4)/ว254 ลว.11 ม.ีค. 2557 กําหนดวา กรณีหลักสูตรปริญญาตรีท่ีมีแขนงวิชา /กลุ มวิ ชา ชีพ กํ าหนดใหตองมีอาจารยประจําหลักสูตรจํานวนไมนอยกวา 3 คน ใหครบทุกแขนงวิชา/กลุมวิชาของหลักสูตร โดยมีคุณวุฒิครอบคลุมแขนงวชิา/กลุมวชิาท่ีเปดสอน

Page 42: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 42 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุ2. คุณสมบัติของอาจารยประจําหลักสูตร

คุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาผูชวยศาสตราจารย ในสาขาท่ีตรงหรือสัมพันธกับสาขาวิชาท่ีเปดสอนอยางนอย 2 คน

มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป น อ า จ า ร ยผู รั บผิ ดชอบหลักสู ตร ห รืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรืออาจารยผูสอบวิทยานิพนธหรืออาจารยผูสอน

มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป น อ า จ า ร ยผู รั บผิ ดชอบหลักสู ตร ห รืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรืออาจารยผูสอบวิทยานิพนธหรืออาจารยผูสอน

3 . คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง อ า จ า ร ยผูรับผดิชอบหลักสูตร

คุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาเอกห รื อ เ ที ย บ เ ท า ห รื อ ดํ า ร งตําแหนงรองศาสตราจารยขึ้นไปในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันจํานวนอยางนอย 3คน

คุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาเอกห รื อ เ ที ย บ เ ท า ห รื อ ดํ า ร งตําแหนงศาสตราจารยขึ้นไป ในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันจํานวนอยางนอย 3คน

4. คุณสมบัตขิองอาจารยผูสอน 1 . อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ า ห รื อผูทรงคุณวุฒภิายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาโทหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาผู ช ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย ใ นสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน และ2. มีประสบการณดานการสอนและ3. มปีระสบการณในการทําวิจัย

1 . อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ า ห รื อผูทรงคุณวุฒภิายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารย ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันและ2. มีประสบการณดานการสอนและ3. มปีระสบการณในการทําวิจัย

หลักสูตรปริญญาโท ตามบันทึกขอความท่ี ศธ0504(4)/ว867 กําหนดวา ใหอาจารยท่ีมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกเปนอาจารยผูสอนในหลักสูตรระดับปริญญาโทได แมจะยังไมมีผลงานวิจัยหลังจากสําเร็จการศึกษา ท้ังนี้ ภายในระยะเวลา 2 ป นับจากวันท่ีเร่ิมสอน จะมีตองมีผลงานวิจัยจึงจะสามารถเปนอาจารยผูสอนในระดับปริญญาเอก และเปนอาจารยประจําหลักสูตร อาจารยท่ี

Page 43: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 43 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

ปรึกษาวิทยานิพนธ และอาจารยผุสอบวิทยานิพนธในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกได

5 . คุณสมบัติ ของอาจารย ท่ีป รึกษาวิทยานิพนธหลักและอาจารย ท่ีปรึกษาการคนควาอิสระ

1. เปนอาจารยประจําท่ีมคีณุวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทา งวิ ชาการ ไม ตํ่ า กว า รองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวชิาท่ีสัมพันธกัน และ2. มปีระสบการณในการทําวิจัยท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1. เปนอาจารยประจําท่ีมคีุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทา งวิ ชาการ ไม ตํ่ า กว า รองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวชิาท่ีสัมพันธกัน และ2. มปีระสบการณในการทําวิจัยท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

การพิจารณากรณีอาจารยเกษียณอายุงานหรือลาออกจากราชการดังนี้1. หลักสูตรสามารถจางอาจารย ท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรซึ่ ง เกษียณอายุงานหรือลาออกจากราชการ กลับเขามาทํางานแบบเต็มเวลาหรือบางเวลาได โดยใชระบบการจางพนักงานมหาวทิยาลัย คอืมีสัญญาจางท่ีใหคาตอบแทนเปนรายเดือนและมีการกําหนดภาระงานไวอยางชัดเจน อาจารยดั งกล าวสามารถปฏิ บัติ หน า ท่ี เป นอาจารยประจําหลักสูตร อาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก อาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธรวม อาจารยผูสอบวทิยานพินธและอาจารยผูสอนได2. “อาจารยเกษียณอายุงาน” สามารถป ฏิ บั ติ ห น า ท่ี อ า จ า ร ย ท่ี ป รึ ก ษ าวิทยานิพนธหลักไดตอไปจนนิสิตสําเร็จการศึกษา หากนักศึกษาไดรับอนุมัติ

Page 44: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 44 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุโ ค ร ง ร า ง วิ ท ย า นิ พ น ธ ก อ น ก า รเกษียณอายุ

6 . คุณสมบัติ ของอาจารย ท่ีปรึกษาวทิยานพินธรวม (ถามี)

1 . เป นอาจารยประจํ าห รือผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ภ า ย น อ ก ท่ี มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันและ2. มปีระสบการณในการทําวิจัยท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1 . เป นอาจารยประจํ าห รือผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ภ า ย น อ ก ท่ี มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันและ2. มปีระสบการณในการทําวิจัยท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพือ่รับปริญญา

แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 ขอ7.6 ผูเช่ียวชาญเฉพาะ หมายถงึบุคลากรท่ีมีความรูความเช่ียวชาญในสาขาวิชาท่ีเปดสอนเปนอยางดี ซึ่งอาจเปนบุคลากรท่ี ไ ม อ ยู ใ น ส า ย วิ ช า ก า ร ห รื อ เ ป นผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน โดยไมตองพิจารณาดานคุณวุฒิและตําแหนงทางวิชาการ ผูเช่ียวชาญเฉพาะท่ีจะเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ตองเปนบุคลากรประจําในสถาบันเทานั้นสวนผูเช่ียวชาญเฉพาะท่ีจะเปนอาจารยท่ีป รึกษาวิ ทยานิพนธ ร วม อาจ เป นบุ ค ล า ก ร ป ร ะ จํ า ใ น ส ถ า บั น ห รื อผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันท่ีมีความรูความเช่ียวชาญและประสบการณสูงในสาขาวิชานั้นๆ เปนท่ียอมรับในระดับหนวยงานหรือระดับกระทรวงหรือวงการวิชาชีพดานนั้น เทียบไดไมตํ่ากวาระดับ9 ขึ้นไป ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี

Page 45: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 45 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของกําหนด

ในกรณีหลักสูตรปริญญาเอกไมมีอาจารย ท่ีป รึกษาวิทยานิพนธ ร วมอาจารยผูสอบวิทยานิพนธ หรืออาจารยผู สอน ท่ี ได รับคุณ วุฒิป ริญญาเอกหรือไมเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการตั้ ง แต ร อ งศ า สต รา จ า รย ขึ้ น ไ ป ใ นสาขาวิชาท่ีเปดสอน สถาบันอุดมศึกษาอาจแตงตั้งผูเช่ียวชาญเฉพาะดานแทนเปนกรณีๆ ไป โดยความเห็นชอบของสภาสถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ ต อ ง แ จ งคณ ะ ก รรมก า รกา ร อุ ดม ศึก ษา ใ หรับทราบการแตงตัง้นัน้ดวย

7. คุณสมบัติของอาจารยผูสอบวทิยานพินธ

1 . อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ า แ ล ะผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันท่ีมี คุ ณ วุ ฒิ ป ริญ ญ า เอ ก ห รื อเทียบเทาหรือดํารงตําแหนงทางวิ ช า ก า ร ไ ม ตํ่ า ก ว า ร อ งศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวชิาท่ีสัมพันธกัน และ2. มปีระสบการณในการทําวิจัย

1 . อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ า แ ล ะผูทรงคุณวุฒภิายนอกสถาบัน ท่ีมี คุ ณ วุ ฒิ ป ริญ ญ า เอ ก ห รื อเทียบเทาหรือดํารงตําแหนงทางวิ ช า ก า ร ไ ม ตํ่ า ก ว า ร อ งศาสตราจารย ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวชิาท่ีสัมพันธกัน และ2. มปีระสบการณในการทําวิจัย

Page 46: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 46 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

ท่ีไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

8. การตพีิมพเผยแพรผลงานของผูสําเร็จการศึกษา

(เฉพาะแผน ก เทานั้น) ตองเปนรายงานสืบเนื่องฉบับเต็มในการป ร ะ ชุ ม ท า ง วิ ช า ก า ร(proceedings) หรือวารสารหรือสิ่งพมิพวิชาการซึ่งอยูในรูปแบบเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนกิส

วารสารหรือสิ่งพิมพวิชาการท่ีมีก รรมการภา ยนอกมาร ว มกลั่นกรอง (peer review) ซึ่งอยูใ น รู ปแบบ เอก สา รห รื อสื่ ออิเล็กทรอนกิส

วิทยานิพนธซึ่งเกี่ยวของกับสิ่งประดิษฐก า ร จ ด ทะ เ บี ย นสิ ท ธิ บั ต ร ห รื ออ นุสิทธิบัตร สามารถทดแทนการตีพิมพในวารสารหรือสิ่งพิมพทางวิชาการได โดยพิจารณาจากปท่ีไดรับสิทธิบัตร หรืออนุสทิธิบัตร ไมใชปท่ีขอจด

9. ภาระงานอาจารยท่ีปรึกษาวทิยานพินธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษา

วทิยานพินธอาจารย 1 คนตอนักศึกษา 5คนการคนควาอิสระอาจารย 1 คนตอนักศึกษา 15คน

หา ก เป น ท่ีป รึก ษา ท้ั ง 2ป ร ะ เ ภ ท ใ ห เ ที ย บ สั ด ส ว นนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ 1 คนเทียบเทากับนักศึกษาท่ีคนควาอิสระ 3 คน

วทิยานพินธอาจารย 1 คนตอนักศึกษา 5คน

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เ ร่ืองเ ก ณ ฑ ม า ต ร ฐ า น ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548 ขอ 10 กําหนดวา อาจารยประจํา 1 คน ใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาไดไมเกิน 5 คน หากหลักสูตรใดมีอาจารยประจําท่ีมีศักยภาพพรอมท่ีจะดูแลนักศึกษาไดมากกวา 5 คน ใหอยูในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษานั้นแตท้ังนี้ตองไมเกิน 10 คน เพื่อสนับสนุนนักวิจัยท่ีมีศักยภาพสูงท่ีมีความพรอมทางดานทุนวิจัยและเค ร่ืองมือวิจั ยรวมท้ังผูท่ีดําเนนิโครงการวจิัยขนาดใหญอยางตอเนื่อง ในการผลติผลงาน

10. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ควรมีอยางนอย 1 เร่ืองในรอบ ควรมีอยางนอย 1 เร่ืองในรอบ เปนเจตนารมยท่ีประสงคใหมีการพัฒนา

Page 47: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 47 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ ตรี โท เอก หมายเหตุและการคนควาอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา มีผลงานวิจัยอยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ

5 ป โดยนับรวมปท่ีประเมนิ 5 ป โดยนับรวมปท่ีประเมนิ งานวจิัยอยางสมํ่าเสมอ

11. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกําหนด

ต อ ง ไ ม เ กิ น 5 ป ( จ ะ ต อ งปรับปรุงใหเสร็จและอนุมัติ/ใหค ว า ม เ ห็ น ช อ บ โ ด ย ส ภ ามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อใหหลักสูตรใชงานในปท่ี 6)หมายเหตุ สําหรับหลักสูตร 5ป ประกาศใชในป ท่ี 7 หรือหลักสูตร 6 ป ประกาศใชในปท่ี 8)

ต อ ง ไ ม เ กิ น 5 ป ( จ ะ ต อ งปรับปรุงใหเสร็จและอนุมัติ/ใหค ว า ม เ ห็ น ช อ บ โ ด ย ส ภ ามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อใหหลักสูตรใชงานในปท่ี 6)

ต อ ง ไ ม เ กิ น 5 ป ( จ ะ ต อ งปรับปรุงใหเสร็จและอนุมัติ/ใหค ว า ม เ ห็ น ช อ บ โ ด ย ส ภ ามหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อใหหลักสูตรใชงานในปท่ี 6)

12. การดําเนินงานใหเปนไปตามตัวบงช้ีผลการดําเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเ รี ย น ก า ร ส อ น ต า ม ก ร อ บม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

ตัวบงช้ี TQF ขอ 1-5 ตองดําเนนิการทุกตัว

ตัวบงช้ี TQF ขอ 1-5 ตองดําเนนิการทุกตัว

ตัวบงช้ี TQF ขอ 1-5 ตองดําเนนิการทุกตัว

รวม เกณฑ 4 ขอ เกณฑ 12 ขอ เกณฑ 12 ขอ

เกณฑการประเมินดังกลาวเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 หากมีการประกาศใชเกณฑมาตรฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของใหม เกณฑการประเมนิตามตัวบงช้ีนี้จะตองเปนไปตามเกณฑมาตรฐานใหมฉบับท่ีประกาศใชลาสุด

Page 48: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 48 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ผลการประเมนิตัวบงชี้ที่ 1.1 กําหนดไวเปน “ผาน” และ “ไมผาน” หากไมผานเกณฑขอใดขอหนึ่ง ถอืวาหลักสูตรไมไดมาตรฐาน และผลเปน “ไมผาน” (คะแนนเปน ศูนย)

หลักฐานเอกสารที่ตองการนอกเหนอืจากเอกสารประกอบแตละรายตัวบงชี้1. เอกสารหลักสูตรฉบับท่ี สกอ. ประทับตรารับทราบ2. หนังสอืนําท่ี สกอ. แจงรับทราบหลักสูตร (ถามี)3. กรณหีลักสูตรยังไมไดแจงการรับทราบ ใหมหีนังสอืนําสง สกอ. หรือหนังสอืสงคนืจาก สกอ. และรายงานการประชุมสภาท่ีอนุมัต/ิใหความเห็นชอบหลักสูตร

Page 49: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 49 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 2 บัณฑติพันธกิจท่ีสําคัญท่ีสุดของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให

ผูเรียนมีความรูในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรท่ีกําหนด บัณฑิตระดับอุดมศึกษาจะตองเปนผูมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรูและพัฒนาตนเอง สามารถประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวติในสังคมไดอยางมคีวามสุขท้ังทางรางกายและจติใจ มีความสํานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก มคีุณลักษณะตามอัตลักษณของสถาบันอุดมศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในฐานะท่ีเปนหนวยงานในการกํากับและสงเสริมการดําเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ไดจัดทํามาตรฐานตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับการผลิตบัณฑิต เชน เกณฑมาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาต ิเพื่อมุงเนนเปาหมายการจัดการศึกษาท่ีผลการเรียนรูของนักศึกษา ซึ่งเปนการประกันคุณภาพบัณฑติท่ีไดรับคุณวุฒิแตละคุณวุฒิและสื่อสารใหสังคม ชุมชน รวมท้ังหนวยงานท่ีเกี่ยวของตางๆไดเชื่อม่ันถงึคุณภาพของบัณฑติท่ีผลติออกมาเปนไปตามท่ีกําหนดไวในผลลัพธการเรียนรูในแตละหลักสูตร

คุณภาพบัณฑติในแตละหลักสูตรจะสะทอนไปท่ีคุณภาพบัณฑติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ โดยพิจารณาจากผลลัพธการเรียนรู การมีงานทํา และคุณภาพผลงานวิจัยของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑติศึกษาในปการศึกษานัน้ๆ คุณภาพบัณฑติจะพจิารณาไดจากตัวบงช้ีดังตอไปนี้

ตัวบงช้ีท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติตัวบงช้ีท่ี 2.2 การไดงานทําหรือผลงานวจิัยของผูสําเร็จการศึกษา

- รอยละของบัณฑติปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป- ผลงานของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือ

เผยแพร- ผลงานของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกท่ีไดรับการตีพิมพหรือ

เผยแพร

Page 50: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 50 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศกึษาแหงชาติ

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education:

TQF) ไดมกีารกําหนดคุณลักษณะบัณฑติท่ีพงึประสงคตามท่ีหลักสูตรกําหนดไวใน มคอ.2 ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรูอยางนอย 5 ดานคอื 1) ดานคุณธรรมจริยธรรม 2) ดานความรู 3) ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบงช้ีนี้จะเปนการประเมนิคุณภาพบัณฑติในมุมมองของผูใชบัณฑติ

เกณฑการประเมนิใชคาเฉลี่ยของคะแนนประเมนิบัณฑติ (คะแนนเต็ม 5)

สูตรการคํานวณ

คะแนนท่ีได =

ขอมูลประกอบจํานวนบัณฑิตท่ีรับการประเมินจากผูใชบัณฑิตจะตองไมนอยกวารอยละ 20 ของจํานวนบัณฑิตท่ีสําเร็จ

การศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 2.2(ปรญิญาตร)ีรอยละของบัณฑติปรญิญาตรทีี่ไดงานทําหรอืประกอบอาชพีอิสระภายใน 1 ป

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้บัณฑิตปริญญาตรีท่ีสําเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขานั้นๆ ท่ีได

งานทําหรือมีกิจการของตนเองท่ีมีรายไดประจําภายในระยะเวลา 1 ป นับจากวันท่ีสําเร็จการศึกษาเมื่อเทียบกับบัณฑติท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษานั้น การนับการมีงานทํานับกรณีการทํางานสุจริตทุกประเภทท่ีสามารถสรางรายไดเขามาเปนประจําเพื่อเลี้ยงชีพตนเองได การคํานวณรอยละของผูมีงานทําของผูสําเร็จการศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคพเิศษหรือภาคนอกเวลาใหคํานวณเฉพาะผูท่ีเปลี่ยนงานใหมหลังสําเร็จการศึกษาเทานัน้

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป เปนคะแนน

ระหวาง 0-5 กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 100

ผลรวมของคาคะแนนท่ีไดจากการประเมนิบัณฑติ

จํานวนบัณฑติท่ีไดรับการประเมนิท้ังหมด

Page 51: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 51 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของบัณฑติปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ตามสูตร

การคํานวณคารอยละนี้ไมนําบัณฑิตท่ีศึกษาตอ เกณฑทหาร อุปสมบท และบัณฑิตท่ีมีงานทําแลวแตไมไดเปลี่ยนงานมาพจิารณา

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

หมายเหตุ : จํานวนบัณฑติท่ีตอบแบบสํารวจจะตองไมนอยกวารอยละ 70 ของจํานวนบัณฑติท่ีสําเร็จการศึกษา

ตัวบงชี้ที่ 2.2(ปรญิญาโท)ผลงานของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรอืเผยแพร

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้การศึกษาในระดับปริญญาโทจะตองมกีารคนควา คดิอยางเปนระบบ วิจัยเพื่อหาคําตอบท่ีมีความนาเชื่อถือ

ผูสําเร็จการศึกษาจะตองประมวลความรูเพื่อจัดทําผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการใชความรูอยางเปนระบบและสามารถนําไปเผยแพรใหเปนประโยชนตอสาธารณะ ตัวบงช้ีนี้จะเปนการประเมินคุณภาพของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานท่ีตพีมิพเผยแพรตอผูสําเร็จการศึกษา เปนคะแนน

ระหวาง 0-5 กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 40 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานท่ีตพีมิพเผยแพรตอผูสําเร็จการศึกษา ตามสูตร

จํานวนบัณฑติปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอสระภายใน 1 ป

จํานวนบัณฑติท่ีตอบแบบสํารวจท้ังหมดX 100

คารอยละของบัณฑติปริญญาตรีท่ีไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

100X 5

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพรของนักศกึษาและผูสาํเร็จการศกึษาระดับปริญญาโท

จํานวนผูสําเร็จการศกึษาระดับปริญญาโททัง้หมดX 100

Page 52: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 52 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกบัคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

กําหนดระดับคุณภาพผลงานทางวชิาการ ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.10 - บทความฉบับสมบูรณท่ีตพีมิพในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง0.20 - บทความฉบับสมบูรณท่ีตพีมิพในรายงานสบืเนื่องจากการประชุมวชิาการระดับชาติ0.40 - บทความฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือใน

วารสารทางวิชาการระดับชาติ ท่ี ไมอยู ในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาวาดวย หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับ การเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทํา เปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ- ผลงานท่ีไดรับการจดอนุสทิธิบัตร

0.60 - บทความท่ีตพีมิพในวารสารวชิาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 20.80 - บทความท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอยูในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ.

หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติ และจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไมอยูใน Beall’s list) หรือตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏใน ฐานขอมูล TCIกลุมท่ี 1

1.00 - บทความท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ. 2556- ผลงานท่ีไดรับการจดสทิธิบัตร

การสงบทความเพื่อพจิารณาคัดเลอืกใหนําเสนอในการประชุมวิชาการตองสงเปนฉบับสมบูรณ (Full Paper) และเมื่อไดรับการตอบรับและตีพิมพแลว การตีพิมพตองตีพิมพเปนฉบับสมบูรณซึ่งสามารถอยูในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนกิสได

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรค ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสรางสรรคท่ีมกีารเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึง่ หรือผานสื่ออิเล็กทรอนกิสonline

0.40 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบัน

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพรตอผูสําเร็จการศกึษา

40X 5

Page 53: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 53 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

0.60 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ0.80 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมอืระหวางประเทศ1.00 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมภิาคอาเซยีน/นานาชาติ

ผลงานสรางสรรคทุกช้ินตองผานการพจิารณาจากคณะกรรมการท่ีมอีงคประกอบไมนอยกวา 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรวมพจิารณาดวยหมายเหตุ

1. ผลงานวจิัยท่ีมชีื่อนักศึกษาและอาจารยรวมกันและนับในตัวบงช้ีนี้แลว สามารถนําไปนับในตัวบงช้ีผลงานทางวชิาการของอาจารย

2. ผลงานของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาใหนับผลงานทุกช้ินท่ีมกีารตพีมิพเผยแพรในปการประเมนินัน้ๆ3. ในกรณท่ีีไมมผีูสาํเร็จการศึกษาไมพจิารณาตัวบงช้ีนี้

ตัวบงชี้ที่ 2.2(ปรญิญาเอก)ผลงานของนักศกึษาและผูสําเร็จการศกึษาในระดับปรญิญาเอกที่ไดรับการตพีมิพหรอืเผยแพร

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้การศึกษาในระดับปริญญาเอกเปนการศึกษาในระดับสูงจะตองมกีารคนควา คดิอยางเปนระบบ วจิัยเพื่อหา

ประเด็นความรูใหมท่ีมีความนาเชื่อถือ เปนประโยชน ผูสําเร็จการศึกษาจะตองประมวลความรูเพื่อจัดทําผลงาน ท่ีแสดงถึงความสามารถในการใชความรูอยางเปนระบบและสามารถนําไปเผยแพรใหเปนประโยชนตอสาธารณะ ตัวบงช้ีนี้จะเปนการประเมนิคุณภาพของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานท่ีตพีมิพเผยแพรตอผูสําเร็จการศึกษา เปนคะแนน

ระหวาง 0-5 กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 80 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานท่ีตพีมิพเผยแพรตอผูสําเร็จการศึกษา ตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพรของนักศกึษาและผูสาํเร็จการศกึษาระดับปริญญาเอก

จํานวนผูสําเร็จการศกึษาระดับปริญญาเอกทัง้หมดX 100

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพรตอผูสําเร็จการศกึษา

80X 5

Page 54: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 54 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

กําหนดระดับคุณภาพผลงานทางวชิาการ ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 - บทความฉบับสมบูรณท่ีตพีมิพในรายงานสบืเนื่องจากการประชุมวชิาการระดับชาติ0.40 - บทความฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรือใน

วารสารทางวิชาการระดับชาติ ท่ี ไมอยู ในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาวาดวย หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับ การเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทํา เปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ- ผลงานท่ีไดรับการจดอนุสทิธิบัตร

0.60 - บทความท่ีตพีมิพในวารสารวชิาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 20.80 - บทความท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอยูในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ.

หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติ และจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไมอยูใน Beall’s list) หรือตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏใน ฐานขอมูล TCIกลุมท่ี 1

1.00 - บทความท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ. 2556- ผลงานท่ีไดรับการจดสทิธิบัตร

การสงบทความเพื่อพจิารณาคัดเลอืกใหนําเสนอในการประชุมวิชาการตองสงเปนฉบับสมบูรณ (Full Paper) และเมื่อไดรับการตอบรับและตีพิมพแลว การตีพิมพตองตีพิมพเปนฉบับสมบูรณซึ่งสามารถอยูในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนกิสได

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรค ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสรางสรรคท่ีมกีารเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผานสื่ออิเล็กทรอนกิสonline

0.40 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบัน0.60 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ0.80 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมอืระหวางประเทศ1.00 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมภิาคอาเซยีน/นานาชาติ

ผลงานสรางสรรคทุกช้ินตองผานการพจิารณาจากคณะกรรมการท่ีมอีงคประกอบไมนอยกวา 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรวมพจิารณาดวย

Page 55: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 55 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

หมายเหตุ1. ผลงานวจิัยท่ีมชีื่อนักศึกษาและอาจารยรวมกันและนับในตัวบงช้ีนี้แลว สามารถนําไปนับในตัวบงช้ีผลงาน

ทางวชิาการของอาจารย2. ผลงานของนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาใหนับผลงานทุกช้ินท่ีมกีารตพีมิพเผยแพรในปการประเมนินัน้ๆ3. ในกรณท่ีีไมมผีูสาํเร็จการศึกษาไมพจิารณาตัวบงช้ีนี้

Page 56: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 56 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 3 นักศกึษาความสําเร็จของการจัดการศึกษาขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญปจจัยหนึ่ง คือ นักศึกษา ระบบประกันคุณภาพ

นักศึกษา ตองใหความสําคัญกับการรับหรือคัดเลือกนักศึกษาเขาศึกษาในหลักสูตร ซึ่งตองเปนระบบท่ีสามารถคัดเลือกนักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติและความพรอมในการเรียนในหลักสูตรจนสําเร็จการศึกษา และการสงเสริมพัฒนานักศึกษาใหมีความพรอมทางการเรียน และมีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหนักศึกษามีความรูความสามารถตามหลักสูตร มทัีกษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 และสําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษามีทักษะ การวจิัยท่ีสามารถสรางองคความรูได

ทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดวย 4 กลุมหลัก ไดแก (1) กลุมวชิาหลัก (coresubjects) (2) กลุมทักษะชีวติและอาชีพ (life and career skills) (3) กลุมทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม (learning andinnovation skills) และ (4) กลุมทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (information, media and technology skills)

ทักษะสําคัญท่ีคนสวนใหญใหความสําคัญมาก คอื1) กลุมทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ไดแก (1) การคดิเชิงวพิากษและการแกปญหา (critical thinking and

problem solving) (2) นวัตกรรมและการสรางสรรค (innovation and creativity) (3) การสื่อสารและความรวมมอืกัน(communication and collaboration)

2) กลุมทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ประกอบดวย การรูสารสนเทศ (information literacy) การรูสื่อ (media literacy) และการรู ICT (ICT literacy)

3) กลุมทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ประกอบดวยความสามารถในการปรับตัวและยืดหยุน(adaptability and flexibility) ความคดิริเร่ิมและการเรียนรูไดดวยตนเอง (initiative and self-direction) ปฏิสัมพันธทางสังคมและขามวัฒนธรรม (social and cross-cultural interaction) ความรับผิดชอบและความสามารถผลิตผลงาน(accountability and productivity) ความเปนผูนําและรับผดิชอบตอสังคม (leadership and social responsibility)

การประกันคุณภาพหลักสูตรในองคประกอบดานนักศึกษา เร่ิมดําเนนิการตัง้แตระบบการรับนักศึกษา การสงเสริมและพัฒนานักศึกษา และผลลัพธท่ีเกดิขึ้นกับนักศึกษา ภายใตการดําเนนิการดังกลาวใหพจิารณาจากตัวบงช้ีดังตอไปนี้

ตัวบงช้ีท่ี 3.1 การรับนักศึกษาตัวบงช้ีท่ี 3.2 การสงเสริมและพัฒนานักศึกษาตัวบงช้ีท่ี 3.3 ผลท่ีเกดิกับนักศึกษา

Page 57: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 57 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 3.1 การรับนักศกึษา

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้คุณสมบัติของนักศึกษาท่ีรับเขาศึกษาในหลักสูตรเปนปจจัยพื้นฐานของความสําเร็จ แตละหลักสูตร จะมี

แนวคดิปรัชญาในการออกแบบหลักสูตร ซึ่งจําเปนตองมีการกําหนดคุณสมบัติของนักศึกษาท่ีสอดคลองกับลักษณะธรรมชาตขิองหลักสูตร การกําหนดเกณฑท่ีใชในการคัดเลอืกตองมคีวามโปรงใส ชัดเจน และสอดคลองกับ คุณสมบัติของนักศึกษาท่ีกําหนดในหลักสูตร มีเคร่ืองมือท่ีใชในการคัดเลือก ขอมูล หรือวิธีการคัดนักศึกษาใหไดนักศึกษาท่ีมีความพรอมทางปญญา สุขภาพกายและจิต ความมุงม่ันท่ีจะเรียน และมีเวลาเรียนเพียงพอ เพื่อใหสามารถสําเร็จการศึกษาไดตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- การรับนักศึกษา- การเตรียมความพรอมกอนเขาศึกษาในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพจิารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด ท่ี

ทําใหไดนักศึกษาท่ีมคีวามพรอมท่ีจะเรียนในหลักสูตร

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ า ระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ า ระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งประจักษ ยืน ยัน และก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จประ เมิ นส ามารถ ใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัติที่ดไีดชัดเจน

Page 58: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 58 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 3.2 การสงเสรมิและพัฒนานักศกึษา

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้ในชวงปแรกของการศึกษา ตองมกีลไกในการพัฒนาความรูพื้นฐานหรือการเตรียมความพรอมทางการเรียน

แกนักศึกษา เพื่อใหมีความสามารถในการเรียนรูระดับอุดมศึกษาไดอยางมีความสุข อัตราการลาออกกลางคันนอยในระหวางการศึกษามีการจัดกิจกรรมการพัฒนาความรูความสามารถในรูปแบบตาง ๆ ท้ังกิจกรรมในหองเรียนและนอกหองเรียน มกีจิกรรมเสริมสรางความเปนพลเมืองดีท่ีมีจิตสํานึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลใหคําปรึกษาจากอาจารยท่ีปรึกษาวิชาการ (ระดับปริญญาตรี โท เอก) ระบบการปองกันหรือการบริหารจัดการความเสี่ยงของนักศึกษา เพื่อใหสามารถสําเร็จการศึกษาไดตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด รวมท้ังการสงเสริม การเผยแพรผลงานวิชาการของนักศึกษา การสรางโอกาสการเรียนรูท่ีสงเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ใหไดมาตรฐานสากล

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- การควบคุมการดูแลการใหคําปรึกษาวชิาการและแนะแนวแกนักศึกษาปริญญาตรี- การควบคุมดูแลการใหคําปรึกษาวทิยานพินธ แกบัณฑติศึกษา- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสรางทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21ในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพจิารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด ท่ี

ทําใหไดนักศึกษาเรียนอยางมคีวามสุขและมทัีกษะท่ีจําเปนตอการประกอบอาชีพในอนาคตเกณฑการประเมนิ

0 1 2 3 4 5 ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบ บก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งประจักษ ยืน ยัน และก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จประ เมิ นส ามารถ ใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัตทิี่ดไีดชัดเจน

Page 59: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 59 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศกึษา

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้ผลการประกันคุณภาพควรทําใหนักศึกษามีความพรอมทางการเรียน มีอัตราการคงอยูของนักศึกษาใน

หลักสูตรสูง อัตราการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรสูง นักศึกษามีความพึงพอใจตอหลักสูตร และผลการจัดการขอรองเรียนของนักศึกษา

ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นดังตอไปนี้

- การคงอยู- การสําเร็จการศึกษา- ความพงึพอใจและผลการจัดการขอรองเรียนของนักศึกษา

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไ ม มี ก า รรายงานผลการดําเนนิงาน

มีการรายงานผลการดําเนินงานในบางเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในบางเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเร่ือง มี ผ ล ก า รดําเนินงานโดดเดนเ ที ย บ เ คี ย ง กั บห ลั ก สู ต ร นั้ น ใ นสถาบันกลุมเดยีวกันโดยมีหลักฐานเชิงประจักษยืนยันและกรรมการผู ตรวจประเมินสามารถใหเหตุผลอธิบ ายว าเ ป น ผ ล ก า รดําเนนิงานที่โดดเดนอยางแทจริง

Page 60: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 60 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 4 อาจารยอาจารยเปนปจจัยปอนท่ีสําคัญของการผลติบัณฑติ ผูเกี่ยวของตองมกีารออกแบบระบบประกัน การบริหาร

และพัฒนาอาจารย เพื่อใหไดอาจารยท่ีมคีุณภาพเหมาะสม มีคุณสมบัติสอดคลองกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศนของสถาบัน และของหลักสูตร และมีการสงเสริมใหอาจารยมีความรักในองคกรและการปฏิบัติงานตามวิชาชีพผูบริหารตองมีการกําหนดนโยบาย แผนระยะยาว และกิจกรรมการดําเนินงาน ตลอดจนการกํากับดูแล และการพัฒนาคุณภาพอาจารย การวางระบบประกันคุณภาพอาจารย เปนการดําเนินงานเพื่อใหไดอาจารยท่ีมีคุณสมบัติท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และมีพัฒนาการเพิ่มย่ิงขึ้นดวยการวางแผนและการลงทุนงบประมาณและทรัพยากรเพื่อใหอัตรากําลังอาจารยมีจํานวนเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาท่ีรับเขาในหลักสูตร มีจํานวนอาจารยท่ีมีความรู ความเช่ียวชาญทางสาขาวชิาของหลักสูตร และมปีระสบการณท่ีเหมาะสมกับการผลติบัณฑติ อันสะทอนจากวุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวชิาการ และความกาวหนาในการผลติผลงานทางวชิาการอยางตอเนื่อง

องคประกอบดานอาจารย เร่ิมดําเนนิการตัง้แตการบริหารและพัฒนาอาจารย คุณภาพอาจารย และผลลัพธท่ีเกดิกับอาจารย ใหพจิารณาจากตัวบงช้ีดังตอไปนี้

ตัวบงช้ีท่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารยตัวบงช้ีท่ี 4.2 คุณภาพอาจารยตัวบงช้ีท่ี 4.3 ผลท่ีเกดิกับอาจารย

Page 61: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 61 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 4.1 การบรหิารและพัฒนาอาจารย

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้การบริหารและพัฒนาอาจารย เร่ิมตนตัง้แตระบบการรับอาจารยใหม ตองกําหนดเกณฑ คุณสมบัติอาจารย

ท่ีสอดคลองกับสภาพบริบท ปรัชญา วสิัยทัศนของสถาบัน และของหลักสูตร มีกลไกการคัดเลือกอาจารยท่ีเหมาะสมโปรงใส นอกจากนี้ตองมีระบบการบริหารอาจารย โดยการกําหนดนโยบาย แผนระยะยาว เพื่อใหไดอาจารยท่ีมีคุณสมบัตท้ัิงเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนด โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระบบการสงเสริมและพัฒนาอาจารย มีการวางแผนและการลงทุน งบประมาณและทรัพยากรและกจิกรรมการดําเนนิงาน ตลอดจอนการกํากับดูแล และการพัฒนาคุณภาพอาจารย

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- ระบบการรับและแตงตัง้อาจารยประจําหลักสูตร- ระบบการบริหารอาจารย- ระบบการสงเสริมและพัฒนาอาจารยในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพจิารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด ท่ี

ทําใหหลักสูตรมีอาจารยท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมท้ังในดานวุฒิการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรอยางตอเนื่อง และมกีารสงเสริมใหมีการเพิ่มพูนความรูความสามารถของอาจารยเพื่อสรางความเขมแข็งทางวชิาการของหลักสูตรเกณฑการประเมนิ

0 1 2 3 4 5 ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดใ น ก า ร กํ า กั บติ ด ต า ม แ ล ะปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี ก า ร นํ า ร ะ บ บกลไกไปสูการปฏิบัติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มผีลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งปร ะจั กษ ยื น ยัน แ ล ะก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จป ร ะ เ มิ น ส า ม า ร ถ ใ หเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัตทิี่ดไีดชัดเจน

Page 62: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 62 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย

ชนดิของตัวบงชี้ ปจจัยนําเขา

คําอธบิายตัวบงชี้การสงเสริมและพัฒนาอาจารยตองทําใหอาจารยในหลักสูตรมคีุณสมบัติท่ีเหมาะสมและเพียงพอ โดยทําให

อาจารยมีความรู ความเช่ียวชาญทางสาขาวิชาท่ีเปดใหบริการ และมีประสบการณท่ีเหมาะสมกับการผลิตบัณฑิตอันสะทอนจากวุฒกิารศึกษา ตําแหนงทางวชิาการ และความกาวหนาในการผลติผลงานทางวชิาการอยางตอเนื่อง

ประเด็นในการพจิารณาตัวบงช้ีนี้จะประกอบดวย- รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก- รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ- ผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตร- จํานวนบทความของอาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกท่ีไดรับการอางอิงในฐานขอมูล TCI และ Scopus

ตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรที่มคีุณวุฒปิรญิญาเอกการศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเปนการศึกษาระดับสูงสุดท่ีตองการบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ และ

ความลุมลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามความกาวหนาทางวชิาการและการพัฒนาองคความรู ดังนัน้หลักสูตรจึงควรมีอาจารยท่ีมีคุณวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาเอกท่ีตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตรท่ีเปดสอนในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับพันธกจิหรือจุดเนนของหลักสูตรนัน้ๆ

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง 0-5

หลักสูตรระดับปรญิญาตรีคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 20

ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาโทคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60

ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาเอกคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 100

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีมวุีฒปิริญญาเอก ตามสูตร

จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรที่มคีุณวุฒปิริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรทัง้หมดX 100

Page 63: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 63 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

หมายเหตุคุณวุฒิปริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิท่ีไดรับหรือเทียบเทาตามหลักเกณฑการพิจารณาคุณวุฒิ

ของกระทรวงศึกษาธิการ กรณท่ีีมกีารปรับวุฒกิารศึกษาใหมหีลักฐานการสําเร็จการศึกษาภายในรอบปการศึกษานั้นท้ังนี้อาจใชคุณวุฒอิื่นเทียบเทาคุณวุฒปิริญญาเอกไดสําหรับกรณท่ีีบางสาขาวชิาชีพมคีุณวุฒอิื่นท่ีเหมาะสมกวา ท้ังนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรที่ดํารงตําแหนงทางวชิาการสถาบันอุดมศึกษาถือเปนขุมปญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบท่ีจะตองสงเสริมใหอาจารยใน

สถาบันทําการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองคความรูในศาสตรสาขาวิชาตางๆ อยางตอเนื่อง เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน รวมท้ังการแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ การดํารงตําแหนงทางวิชาการ เปนสิ่งสะทอนการปฏบัิตงิานดังกลาวของอาจารยตามพันธกจิของหลักสูตร

เกณฑการประเมนิการแปลงคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการเปนคะแนน ระหวาง 0-5

หลักสูตรระดับปรญิญาตรีคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และ

ศาสตราจารย รวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาโทคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และ

ศาสตราจารย รวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 80 ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาเอกคาคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และ

ศาสตราจารย รวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 100

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ ตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรที่มคีุณวุฒปิริญญาเอก

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรที่มคีุณวุฒปิริญญาเอกทีก่ําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5X 5

จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรที่ดํารงตําแหนงทางวชิาการ

จํานวนอาจารยประจําหลกัสูตรทัง้หมดX 100

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรที่ดาํรงตําแหนงทางวชิาการ

รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรทีด่ํารงตําแหนงทางวชิาการที่กําหนดใหเปนคะแนนเตม็ 5X 5

Page 64: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 64 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตรผลงานทางวชิาการเปนขอมูลท่ีสําคัญในการแสดงใหเห็นวาอาจารยประจําไดสรางสรรคขึ้นเพื่อแสดงใหเห็น

ถงึความกาวหนาทางวชิาการและการพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่อง เปนผลงานท่ีมีคุณคา สมควรสงเสริมใหมีการเผยแพรและนําไปใชประโยชนท้ังเชิงวชิาการและการแขงขันของประเทศ ผลงานทางวชิาการอยูในรูปของบทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตีพิมพในวารสารวชิาการระดับชาตหิรือระดับนานาชาติ ผลงานไดรับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตรหรือเปนผลงานวิชาการรับใชสังคมท่ีผานการประเมินตําแหนงทางวิชาการแลว ผลงานวิจัยท่ีหนวยงานหรือองคการระดับชาติวาจางใหดําเนินการ ตําราหรือหนังสือท่ีใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑการขอตําแหนงทางวชิาการแลว รวมท้ังงานสรางสรรคตางๆ โดยมวีธีิการคดิดังนี้

เกณฑการประเมนิหลักสูตรระดับปรญิญาตรีคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนน

เต็ม 5 = รอยละ 20 ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาโทคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนน

เต็ม 5 = รอยละ 40 ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาเอกคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนน

เต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตร ตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตร

จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรทัง้หมดX 100

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตรรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําหลักสูตร

ที่กําหนดใหเปนคะแนนเตม็ 5

X 5

Page 65: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 65 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

กําหนดระดับคุณภาพผลงานทางวชิาการ ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 - บทความวจิัยหรือบทความวชิาการฉบับสมบูรณท่ีตพีมิพในรายงานสบืเนื่องจากการประชุมวชิาการระดับชาติ

0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติท่ีไมอยูในฐานขอมูล ตามประกาศก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ- ผลงานท่ีไดรับการจดอนุสทิธิบัตร

0.60 - บทความวจิัยหรือบทความวชิาการท่ีตพีมิพในวารสารวชิาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 20.80 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอยูใน

ฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัตแิละจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ.ทราบภายใน30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไมอยูใน Beall’s list) หรือตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 1

1.00 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ.2556- ผลงานไดรับการจดสทิธิบัตร- ผลงานวชิาการรับใชสังคมท่ีไดรับการประเมนิผานเกณฑการขอตําแหนงทางวชิาการแลว- ผลงานวจิัยท่ีหนวยงานหรือองคกรระดับชาตวิาจางใหดําเนนิการ- ผลงานคนพบพันธุพชื พันธุสัตว ท่ีคนพบใหมและไดรับการจดทะเบียน- ตําราหรือหนังสอืท่ีไดรับการประเมนิผานเกณฑการขอตําแหนงทางวชิาการแลว- ตําราหรือหนังสือท่ีผานการพิจารณาตามหลักเกณฑการประเมินตําแหนงทางวิชาการ แตไมไดนํามาขอรับการประเมนิตําแหนงทางวชิาการ

การสงบทความเพื่อพจิารณาคัดเลอืกใหนําเสนอในการประชุมวิชาการตองสงเปนฉบับสมบูรณ (Full Paper) และเมื่อไดรับการตอบรับและตีพิมพแลว การตีพิมพตองตีพิมพเปนฉบับสมบูรณซึ่งสามารถอยูในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนกิสได

Page 66: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 66 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรค ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสรางสรรคท่ีมกีารเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผานสื่ออิเล็กทรอนกิสonline

0.40 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบัน0.60 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ0.80 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมอืระหวางประเทศ1.00 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมภิาคอาเซยีน/นานาชาติ

ผลงานสรางสรรคทุกช้ินตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการท่ีมีองคประกอบไมนอยกวา 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรวมพจิารณาดวย

จํานวนบทความของอาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกที่ไดรับการอางอิงในฐานขอมูล TCI และ Scopusตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร

หลักสูตรในระดับปริญญาเอกถือไดวาเปนหลักสูตรสูงสุดของสถาบันการศึกษา เปนหลักสูตรท่ีสําคัญและเนนการสรางองคความรูใหมเพื่อเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ ดังนั้นอาจารยประจําหลักสูตรระดับปริญญาเอกจงึมคีวามสําคัญอยางมากตอหลักสูตรนัน้ๆ

บทความวจิัยและบทความทางวชิาการหรือ Review Article ของอาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกท่ีไดรับการอางอิง ยอมแสดงใหเห็นวาอาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกมีความสามารถในการทําวิจัย มีผลงานท่ีไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติในฐานขอมูล TCI และ Scopus และบทความท่ีตีพิมพไดรับการอางอิงแสดงใหเห็นวามีการนําไปใชประโยชนและเปนฐานในการพัฒนางานวิจัยใหมๆใหมีความกาวหนามากขึ้น จํานวนบทความของอาจารยประจําหลักสูตรท่ีไดรับการอางอิงมากยอมแสดงใหเห็นวาอาจารยประจําหลักสูตรเปนผูท่ีมีผลงานและไดรับการยอมรับในวงวชิาการนัน้ๆ

การคํานวณตัวบงช้ีนี้ ใหเปรียบเทียบจํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิง ตั้งแตหนึ่งคร้ังขึ้นไป รวมท้ังการอางอิงตนเอง ท่ีเปนผลงานของอาจารยประจําหลักสูตร ท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจําหลักสูตรปริญญาเอกนัน้ โดยนําเสนอในรูปสัดสวน ท้ังนี้พิจารณาผลการดําเนินงาน 5 ป ยอนหลังตามปปฏทิิน ซึ่งนับรวมปท่ีประเมนิ

เกณฑการประเมนิกลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีอัตราสวน จํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม

5 = 2.5 ขึ้นไปกลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพอัตราสวน จํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม

5 = 3.0 ขึ้นไปหลักสูตรระดับปรญิญาเอกอัตราสวน จํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม

5 = 0.25 ขึ้นไป

Page 67: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 67 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สูตรการคํานวณ1. อัตราสวนจํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร =

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

ตัวอยางการหาอัตราสวนจํานวนบทความที่ไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรถาอาจารยประจําหลักสูตรระดับปริญญาเอกของหลักสูตรหนึ่งในกลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรและ เทคโนโลยี

มจีํานวน 5 คน โดยอาจารยท้ัง 5 คนมผีลงานตพีมิพบทความวิจัยหรือ Review article ในฐานขอมูล TCI และ Scopusในป พ.ศ. 2553-2557 (ค.ศ. 2010-2014) ซึ่งดําเนนิการประเมนิคุณภาพการศึกษาภายในของหลักสูตรในพ.ศ. 2557(ประเมนิในป ค.ศ. 2014) เปนดังนี้

- จํานวนบทความท่ีตพีมิพของอาจารย ท้ัง 5 คนในฐานขอมูล Scopus ระหวาง ค.ศ. 2010-2014 เทากับ 15บทความ และจํานวนบทความท่ีตพีมิพในฐานขอมูลของ TCI เทากับ 5 บทความ

- ในจํานวนนี้มบีทความ 8 บทความในฐานขอมูล Scopus ท่ีไดรับการอางอิง อยางนอย 1 คร้ัง และมีบทความ 2 บทความท่ีตพีมิพในฐานขอมูล TCI ไดรับการอางอิงอยางนอย 1 คร้ัง

ดังนัน้ อัตราสวนจํานวนบทความท่ีไดรับการอางอิงตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร =

นํามาคํานวณคะแนน =

จํานวนบทความท่ีไดรับการอางองิจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร

อัตราสวนจํานวนบทความที่ไดรับการอางองิตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรอัตราสวนจํานวนบทความที่ไดรับการอางองิตอจํานวนอาจารยประจําหลักสูตร

ที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

X 5

จํานวนบทความที่ไดรับการอางองิอยางนอย 1 คร้ัง 8+2 10

จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรทัง้หมด 5 5== =2.0

2.02.5

X 5 = 4.0 คะแนน

Page 68: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 68 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้ผลการประกันคณุภาพ ตองนําไปสูการมอัีตรากําลังอาจารยท่ีมจีํานวนเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาท่ีรับเขา

ในหลักสูตร อัตราคงอยูของอาจารยสูง และอาจารยมคีวามพงึพอใจตอการบริหารหลักสูตรในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ี

เกีย่วของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้- การคงอยูของอาจารย- ความพงึพอใจของอาจารย

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไ ม มี ก า รรายงานผลการดําเนนิงาน

มีการรายงานผลการดําเนินงานในบางเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในบางเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธบิายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเร่ือง

มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุ ก เ ร่ื อ ง ต า มคําอธิบายในตัวบงชี้ มีแนวโนมผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเร่ือง มี ผ ล ก า รดําเนินงานโดดเดนเ ที ย บ เ คี ย ง กั บห ลั ก สู ต ร นั้ น ใ นสถาบันกลุมเดยีวกันโดยมีหลักฐานเชิงประจักษยืนยันและกรรมการผู ตรวจประเมินสามารถใหเหตุผลอธิบ ายว าเ ป น ผ ล ก า รดําเนนิงานที่โดดเดนอยางแทจริง

Page 69: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 69 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรยีนการสอน การประเมนิผูเรยีนแมทุกหลักสูตรท่ีสถาบันการศึกษาเปดสอนตองผานการรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา

และมีการปรับปรุงทุก 5 ป แตผูบริหารตองรับผิดชอบในการควบคุมกํากับการบริหารจัดการหลักสูตรใหมีประสทิธิภาพและประสทิธิผลอยางตอเนื่อง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหนาท่ีในการบริหารจัดการ3 ดานท่ีสําคัญ คอื (1) สาระของรายวชิาในหลักสูตร (2) การวางระบบผูสอนและกระบวนการ เรียนการสอน (3) การประเมนิผูเรียน ระบบประกันคุณภาพในการดําเนินการหลักสูตร ประกอบดวย หลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมนิผูเรียน เพื่อใหสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒติามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด ตัวบงช้ีในการประเมนิตองใหความสําคัญกับการกําหนดรายวชิาท่ีมเีนื้อหาท่ีทันสมัย กาวทันความกาวหนาทางวิทยาการท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รวมท้ังการวางระบบผูสอนและอาจารยท่ีปรึกษา ซึ่งตองเปนบุคคลท่ีมีความรู ความเช่ียวชาญ ประสบการณ และมีคุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาใหเต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีเนนนักศึกษาเปนสําคัญ และสงเสริมทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21

การประกันคณุภาพหลักสูตรในองคประกอบนี้พจิารณาไดจากตัวบงช้ีดังตอไปนี้ตัวบงช้ีท่ี 5.1 สาระของรายวชิาในหลักสูตรตัวบงช้ีท่ี 5.2 การวางระบบผูสอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนตัวบงช้ีท่ี 5.3 การประเมนิผูเรียนตัวบงช้ีท่ี 5.4 ผลการดําเนนิงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคณุวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ

Page 70: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 70 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.1 สาระของรายวชิาในหลักสูตร

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้แมทุกหลักสูตรท่ีสถาบันการศึกษาเปดใหบริการตองผานการรับทราบจากสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา และมกีารปรับปรุงทุก 5 ป แตผูรับผดิชอบหลักสูตรตองมีการออกแบบหลักสูตร ควบคุมกํากับการจัดทํารายวชิาตางๆ ใหมเีนื้อหาท่ีทันสมัย กาวทันความกาวหนาทางวทิยาการท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มกีารบริหารจัดการการเปดรายวชิาตางๆ ท้ังวชิาบังคับและวชิาเลอืกท่ีเนนนักศึกษาเปนสําคัญ โดยสนองความตองการของนักศึกษา และตลาดแรงงาน สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑติศึกษาตองเนนการพัฒนาทักษะดานการวจิัยและการเรียนรูดวยตนเอง

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิาในหลักสูตร- การปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยตามความกาวหนาในศาสตรสาขานัน้ๆในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพจิารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด ท่ี

ทําใหหลักสูตรมคีวามทันสมัย สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและความตองการของประเทศ

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏิบัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนินงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งประจักษ ยืน ยัน และก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จประ เมิ นส ามารถ ใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัตทิี่ดไีดชัดเจน

Page 71: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 71 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.2 การวางระบบผูสอนและกระบวนการจัดการเรยีนการสอน

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้หลักสูตรตองใหความสําคัญกับการวางระบบผูสอนในแตละรายวชิา โดยคํานงึถงึความรู ความสามารถและ

ความเช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน และเปนความรูท่ีทันสมัยของอาจารยท่ีมอบหมายใหสอนในวิชานั้นๆ เพื่อใหนักศึกษาไดรับความรูประสบการณ และไดรับการพัฒนาความสามารถจากผูรูจริง สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ตองใหความสําคัญกับการกําหนดหัวขอวิทยานิพนธ การกําหนดอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ การคนควาอิสระท่ีเหมาะสมกับหัวขอวิทยานิพนธ การคนควาอิสระ และลักษณะของนักศึกษา ใหนักศึกษาไดรับโอกาสและการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ การคนควาอิสระตองสามารถใหคําปรึกษาวิทยานิพนธการคนควาอิสระตั้งแตกระบวนการพัฒนาหัวขอจนถึงการทําวิทยานิพนธ การคนควาอิสระ การสอบปองกัน และการเผยแพรผลงานวจิัยจนสําเร็จการศึกษา

กระบวนการเรียนการสอนสําหรับยุคศตวรรษท่ี 21 ตองเนนการพัฒนานักศึกษาใหมีความรูตาม โครงสรางหลักสูตรท่ีกําหนด และไดรับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คุณธรรมจริยธรรม ทักษะการเรียนรู ในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการเรียนรูดวยตนเอง ทักษะทางภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ทักษะการทํางาน แบบมีสวนรวม ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความสามารถในการดูแลสุขภาพ ฯลฯ การเรียนการสอนสมัยใหมตองใชสื่อเทคโนโลยี และทําใหนักศึกษาเรียนรูไดตลอดเวลาและในสถานท่ีใดก็ได ผูสอนมีหนาท่ีเปนผูอํานวยความสะดวกใหเกดิการเรียนรู และสนับสนุนการเรียนรู สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑติศึกษา เทคนิคการสอน จะเนนการวิจัยเปนฐานการเรียนแบบใชปญหาเปนฐาน เปนตน

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- การกําหนดผูสอน- การกํากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทําแผนการเรียนรู (มคอ.3 และ มคอ.4) การจัดการเรียนการ

สอน- การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีท่ีมีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม

และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม- การควบคุมหัวขอวิทยานิพนธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ใหสอดคลองกับสาขาวิชาและ

ความกาวหนาของศาสตร- การแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีมีความเช่ียวชาญ

สอดคลองหรือสัมพันธกับหัวขอวทิยานพินธ- การชวยเหลือ กํากับ ติดตาม ในการทําวิทยานิพนธและการคนควาอิสระและการตีพิมพผลงานในระดับ

บัณฑติศึกษาในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพจิารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมด ท่ี

ทําใหกระบวนการจัดการเรียนการสอนตอบสนองความแตกตางของผูเรียน การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ กอใหเกดิผลการเรียนรูบรรลตุามเปาหมาย

Page 72: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 72 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งประจักษ ยืน ยัน และก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จประ เมิ นสาม ารถ ใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัตทิี่ดไีดชัดเจน

Page 73: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 73 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.3 การประเมนิผูเรยีน

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้การประเมินนักศึกษามีจุดมุงหมาย 3 ประการ คือ การประเมินผลนักศึกษาเพื่อใหขอมูลสารสนเทศท่ีเปน

ประโยชนตอการปรับปรุงการเรียนการสอนของผูสอน และนําไปสูการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา (assessment forlearning) การประเมินท่ีทําใหนักศึกษาสามารถประเมินตนเองเปน และมีการนําผลการประเมินไปใชในการพัฒนาวธีิการเรียนของตนเองใหม จนเกดิการเรียนรู (assessment as learning) และการประเมนิผลการเรียนรูของนักศึกษาท่ีแสดงผลลัพธการเรียนรูท่ีคาดหวังของหลักสูตร (assessment of learning) การประเมินสวนใหญจะใชเพื่อจุดมุงหมายประการหลัง คือ เนนการไดขอมูลเกี่ยวกับสัมฤทธิผลการเรียนรูของนักศึกษา การจัดการเรียนการสอนจึงควรสงเสริมใหมีการประเมินเพื่อจุดมุงหมายสองประการแรกดวย ท้ังนี้ ความเหมาะสมของระบบประเมินตองใหความสําคัญกับการกําหนดเกณฑการประเมิน วิธีการประเมิน เคร่ืองมือประเมินท่ีมีคุณภาพ และวิธีการใหเกรดท่ีสะทอนผลการเรียนรูไดอยางเหมาะสม มีการกํากับใหมีการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) มีการใชวิธีการประเมินท่ีหลากหลาย ใหผลการประเมินท่ีสะทอนความสามารถในการปฏิบัติงานในโลกแหงความเปนจริง(real world) และมีวิธีการใหขอมูลปอนกลับ (feedback) ท่ีทําใหนักศึกษาสามารถแกไขจุดออนหรือเสริมจุดแข็งของตนเองได ใหผลการประเมนิท่ีสะทอน ระดับความสามารถท่ีแทจริงของนักศึกษา สําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาตองใหความสําคัญกับการวางระบบประเมนิวทิยานพินธ การคนควาอิสระท่ีมคีุณภาพดวย

ในการรายงานการดําเนินงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นดังตอไปนี้

- การประเมนิผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาแหงชาติ- การตรวจสอบการประเมนิผลการเรียนรูของนักศึกษา- การกํากับการประเมนิการจัดการเรียนการสอนและประเมนิหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7)- การประเมนิวทิยานพินธและการคนควาอิสระในระดับบัณฑติศึกษาในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมดท่ี

สะทอนสภาพจริงดวยวิธีการหรือเคร่ืองมือประเมินท่ีเชื่อถือได ใหขอมูลท่ีชวยใหผูสอนและผูเรียนมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนตอไป

Page 74: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 74 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิ0 1 2 3 4 5

ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไ ป สู ก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งประจักษ ยืน ยัน และก ร ร ม ก า ร ผู ต ร ว จประ เมิ นสาม ารถ ใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏบิัตทิี่ดไีดชัดเจน

Page 75: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 75 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.4 ผลการดําเนนิงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศกึษาแหงชาติ

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้ผลการดําเนนิงานของหลักสูตร หมายถงึ รอยละของผลการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีการดําเนินงานตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒริะดับอุดมศึกษาท่ีปรากฏในหลักสูตร (มคอ.2) หมวดท่ี 7 ขอ 7 ท่ีหลักสูตรแตละหลักสูตรดําเนินงานไดในแตละปการศึกษา อาจารยประจําหลักสูตรจะเปนผูรายงานผลการดําเนินงานประจําป ในแบบรายงานผลการดําเนนิการของหลักสูตร (มคอ.7)

เกณฑการประเมนิมกีารดําเนนิงานนอยกวารอยละ 80 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 0มกีารดําเนนิงานรอยละ 80 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 3.50มกีารดําเนนิงานรอยละ 80.01-89.99 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 4.00มกีารดําเนนิงานรอยละ 90.00-94.99 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 4.50มกีารดําเนนิงานรอยละ 95.00-99.99 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 4.75มกีารดําเนนิงานรอยละ 100 ของตัวบงช้ีผลการดําเนนิงานท่ีระบุไวในแตละป มคีาคะแนนเทากับ 5

องคประกอบที่ 6 สิ่งสนบัสนนุการเรยีนรูในการดําเนินการบริหารหลักสูตร จะตองมีปจจัยท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งคือ สิ่งสนับสนุน การเรียนรู ซึ่ง

ประกอบดวย ความพรอมทางกายภาพ ความพรอมดานอุปกรณ ความพรอมดานเทคโนโลยี ความพรอมดานการใหบริการ เชน หองเรียน หองปฏิบัติการ หองทําวิจัย อุปกรณการเรียนการสอน หองสมุด การ บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิเตอร Wifi และอื่นๆ รวมท้ังการบํารุงรักษาท่ีสงเสริมสนับสนุนใหนักศึกษาสามารถเรียนรูไดอยางมีประสทิธิภาพ ประสทิธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรูท่ีกําหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติโดยพจิารณารวมกับผลการประเมนิความพงึพอใจของนักศึกษาและอาจารย

องคประกอบดานสิ่งสนับสนุนการเรียนรูจะพจิารณาไดจากตัวบงช้ีท่ี 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู

Page 76: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 76 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรยีนรู

ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้ความพรอมของสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนมีหลายประการ ไดแก ความพรอมทางกายภาพ เชน

หองเรียน หองปฏิบัติการ ท่ีพักของนักศึกษา ฯลฯ และความพรอมของอุปกรณ เทคโนโลยี และสิ่งอํานวยความสะดวกหรือทรัพยากรท่ีเอื้อตอการเรียนรู เชน อุปกรณการเรียนการสอน หองสมุด หนังสือ ตํารา สิ่งพิมพ วารสารฐานขอมูลเพื่อการสืบคน แหลงเรียนรู สื่ออิเล็กทรอนิกส ฯลฯ สิ่งสนับสนุนเหลานี้ตองมีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพพรอมใชงาน ทันสมัยโดยพิจารณาการดําเนินการปรับปรุงพัฒนาจากผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย

ในการรายงานการดําเนนิงานตามตัวบงช้ีนี้ ใหอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวของอยางนอยใหครอบคลุมประเด็นตอไปนี้

- ระบบการดําเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีสวนรวมของอาจารยประจําหลักสูตรเพื่อใหมีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

- จํานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรูท่ีเพยีงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารยตอสิ่งสนับสนุนการ

เรียนรูในการประเมนิเพื่อใหทราบวาอยูในระดับคะแนนใด ใหพิจารณาในภาพรวมของผลการดําเนินงานท้ังหมดท่ี

สะทอนการจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรุท่ีจําเปนตอการเรียนการสอน และสงผลใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางมปีระสทิธิผลเกณฑการประเมนิ

0 1 2 3 4 5 ไมมรีะบบ ไมมกีลไก ไมมีแนวคิดในการกํากับติดตามและปรับปรุง ไ ม มี ข อ มู ลหลักฐาน

มรีะบบ มกีลไก ไ ม มี ก า ร นํ าระบ บ ก ลไก ไป สูก า ร ป ฏิ บั ติ /ดําเนนิงาน

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ า ระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ ไมมกีารปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ

มรีะบบ มกีลไก มี การนํ า ระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ

มรีะบบ มกีลไก มี ก ารนํ าระบบก ล ไ ก ไ ป สู ก า รปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประเมินกระบวนการ มีการปรับปรุง /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มี ผ ล จ า ก ก า รปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม

มรีะบบ มกีลไก มีการนําระบบกลไกไปสูการปฏบิัติ/ดําเนนิงาน มีการประ เมินกระบวนการ มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม มีแนวทางปฏิบัติที่ ดีโ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เ ชิ งป ร ะ จั ก ษ ยื น ยั น แ ล ะกรรมการผูตรวจประเมินสามารถใหเหตุผลอธิบายการเปนแนวปฏิบัติที่ดีไดชัดเจน

Page 77: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 77 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 6ระบบการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน ระดับคณะ

ระดับคณะ ประกอบดวย ผลการดําเนนิงานระดับหลักสูตร และเพิ่มเตมิตัวบงช้ีท่ีดําเนนิการในระดับคณะ จํานวน 13ตัวบงช้ี ดังนี้องคประกอบในการประกันคณุภาพคณะ

ตัวบงชี้ เกณฑพจิารณา

1. การผลติบัณฑติ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม คาเฉลี่ยของระดับคุณภาพของทุกหลักสูตรท่ีคณะรับผดิชอบ

1.2 อาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒปิริญญาเอก

1.3 อาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ

รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ

1.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

สัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี เกณฑมาตรฐาน 6 ขอ1.6 กจิกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี เกณฑมาตรฐาน 6 ขอ

2. การวจิัย 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวจิัยหรืองานสรางสรรค

เกณฑมาตรฐาน 6 ขอ

2.2 เงนิสนับสนุนงานวจิัยและงานสรางสรรค เ งิ น ส นั บ ส นุ น ง า น วิ จั ย แ ล ะ ง า นสรางสรรคท้ังภายในและภายนอกตอจํานวนอาจารยประจําและนักวจิัย

2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวจิัย

ผลงานทางวิชาการทุกประเภทตออาจารยประจําและนักวจิัย

3. การบริการวชิาการ 3.1 การบริการวชิาการแกสังคม เกณฑมาตรฐาน 6 ขอ4. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

4.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑมาตรฐาน 7 ขอ

5. การบริหารจัดการ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับติดตามผลลัพธตามพันธกิจ กลุมสถาบัน และเอกลักษณของคณะ

เกณฑมาตรฐาน 7 ขอ

5.2 ระบบกํากับการประกันคุณภาพหลักสูตร เกณฑมาตรฐาน 5 ขอ

Page 78: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 78 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 1 การผลติบัณฑติพันธกิจท่ีสําคัญท่ีสุดของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิต หรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให

ผูเรียนมีความรูในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะตามหลักสูตรท่ีกําหนด การเรียนการสอนในยุคปจจุบันใชหลักการของการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น พันธกิจดังกลาวจึงเกี่ยวของกับการบริหารจัดการหลักสูตรและการเรียนการสอน เร่ิมตั้งแตการกําหนดปจจัยนําเขาท่ีไดมาตรฐานตามท่ีกําหนด ประกอบดวยการมอีาจารยท่ีมปีริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มกีระบวนการบริหารจัดการการเรียนการสอนท่ีอาศัยหลักการรวมมอืรวมพลังของทุกฝายท่ีเกี่ยวของท้ังภายในและภายนอกสถาบัน

ตัวบงช้ี จํานวน 6 ตัวบงช้ี คอืตัวบงช้ีท่ี 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวมตัวบงช้ีท่ี 1.2 อาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกตัวบงช้ีท่ี 1.3 อาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการตัวบงช้ีท่ี 1.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําตัวบงช้ีท่ี 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรีตัวบงช้ีท่ี 1.6 กจิกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Page 79: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 79 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 1.1 ผลการบรหิารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้ผลการดําเนินการของทุกหลักสูตรในคณะ ซึ่งสามารถสะทอนคุณภาพของบัณฑิตในหลักสูตรท่ีคณะ

รับผดิชอบ

เกณฑการประเมนิคาเฉลี่ยของคะแนนประเมนิของทุกหลักสูตร

สูตรการคํานวณคะแนนท่ีได =

หมายเหตุ หลักสูตรท่ีไดรับการรับรองโดยระบบอื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาเห็นชอบ ไมตองนําคะแนนการประเมินของหลักสูตรนั้นมาคํานวณในตัวบงช้ีนี้ แตตองรายงานผลการรับรองตามระบบนัน้ๆ ในตัวบงช้ีนี้ใหครบถวน

ตัวบงชี้ที่ 1.2 อาจารยประจําคณะที่มคีุณวุฒปิรญิญาเอก

ชนดิของตัวบงชี้ ปจจัยนําเขา

คําอธบิายตัวบงชี้การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเปนการศึกษาระดับสูงสุดท่ีตองการบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ และ

ความลุมลึกทางวิชาการ เพื่อปฏิบัติพันธกิจสําคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัยเพื่อติดตามความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความรู ดังนั้นคณะจึงควรมีอาจารยท่ีมีระดับคุณวุฒิทางการศึกษาท่ีตรง หรือสัมพันธกับหลักสูตรท่ีเปดสอนในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับพันธกจิ หรือจุดเนนของหลักสูตร

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง 0-51. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2คารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 40 ขึ้นไป2. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ งคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 80 ขึ้นไป

ผลรมของคาคะแนนประเมนิของทุกหลักสูตร

จาํนวนหลักสูตรท้ังหมดท่ีคณะรับผดิชอบ

Page 80: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 80 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สูตรการคาํนวณ1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก ตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

หมายเหตุ1. คุณวุฒปิริญญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวุฒิท่ีไดรับหรือเทียบเทาตามหลักเกณฑการพิจารณาคุณวุฒิ

ของกระทรวงศึกษาธิการ กรณท่ีีมกีารปรับวุฒกิารศึกษาใหมหีลักฐานการสําเร็จการศึกษาภายในรอบปการศึกษานั้นท้ังนี้ อาจใชคุณวุฒอิื่นเทียบเทาคุณวุฒปิริญญาเอกไดสําหรับกรณท่ีีบางสาขาวชิาชีพมคีุณวุฒอิื่นท่ีเหมาะสมกวา ท้ังนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. การนับจํานวนอาจารยประจํา ใหนับตามปการศึกษาและนับท้ังท่ีปฏบัิตงิานจริงและลาศึกษาตอ ในกรณีท่ีมอีาจารยบรรจุใหมใหคํานวณตามเกณฑอาจารยประจําท่ีระบุในคําช้ีแจงเกี่ยวกับการนับจํานวนอาจารยประจําและนักวจิัย

ตัวบงชี้ที่ 1.3 อาจารยประจําคณะที่ดํารงตําแหนงทางวชิาการ

ชนดิของตัวบงชี้ ปจจัยนําเขา

คําอธบิายตัวบงชี้สถาบันอุดมศึกษาถือเปนขุมปญญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบท่ีจะตองสงเสริมใหอาจารยใน

สถาบันทําการศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาและพัฒนาองคความรูในศาสตรสาขาวิชาตางๆ อยางตอเนื่อง เพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน รวมท้ังการแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ การดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนสิ่งสะทอนการปฏบัิตงิานดังกลาวของอาจารยตามพันธกจิ

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการเปนคะแนนระหวาง 0-51. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2คารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไป2. เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ค1 และ งคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย

รวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 80 ขึ้นไป

จํานวนอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําคณะท้ังหมดX 100

รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอก

รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมคีุณวุฒปิริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5X 5

Page 81: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 81 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สูตรการคาํนวณ1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ ตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

ตัวบงชี้ที่ 1.4 จํานวนนักศกึษาเต็มเวลาเทยีบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

ชนดิของตัวบงชี้ ปจจัยนําเขา

คําอธบิายตัวบงชี้ปจจัยสําคัญประการหนึ่งสําหรับการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษา คอืสัดสวนของนักศึกษาตอ อาจารย

ท่ีจะตองสอดคลองกับศาสตรในแตละสาขาวิชาและลักษณะการเรียนการสอน รวมท้ังมีความเชื่อมโยงไปสูการวางแผนตางๆ เชน การวางแผนอัตรากําลัง ภาระงานอาจารย เปาหมายการผลิตบัณฑิต ดังนั้น สถาบันจึงควรมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําท่ีปฏบัิตงิานจริงในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับสาขาวชิา

เกณฑการประเมนิคํานวณหาคาความแตกตางระหวางจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํากับเกณฑมาตรฐาน และ

นํามาเทียบกับคาความตางท้ังดานสูงกวาหรือตํ่ากวาท่ีกําหนดเปนคะแนน 0 และ 5 คะแนน และใชการเทียบบัญญัตไิตรยางศ ดังนี้

คาความแตกตางท้ังดานสูงกวาหรือตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานไมเกนิรอยละ 10 กําหนดเปนคะแนน 5คาความแตกตางท้ังดานสูงกวาหรือตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานตัง้แตรอยละ 20 กําหนดเปนคะแนน 0คาความแตกตางท้ังดานสูงกวาหรือตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานตั้งแตรอยละ 10.01 และไมเกินรอยละ 20 ให

นํามาเทียบบัญญัตไิตรยางศตามสูตรเพื่อเปนคะแนนของหลักสูตรนัน้ๆ

สูตรการคํานวณจํานวนนักศกึษาเต็มเวลาเทยีบเทา1. คํานวณคาหนวยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซึ่งก็คือผลรวมของผลคูณระหวางจํานวน

นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนกับจํานวนหนวยกติแตละรายวชิาท่ีเปดสอนทุกรายวชิาตลอดปการศึกษา รวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแลวเสร็จ (หมดกําหนดเวลาการเพิ่ม – ถอน) โดยมสีูตรการคํานวณ ดังนี้

SCH = ∑nici

เมื่อ ni = จํานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนในวชิาท่ี ici = จํานวนหนวยกติของวชิาท่ี i

จํานวนอาจารยประจําคณะท่ีดาํรงตําแหนงทางวชิาการ

จํานวนอาจารยประจําคณะท้ังหมดX 100

รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการ

รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวชิาการท่ีกาํหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5X 5

Page 82: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 82 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2. คํานวณคา FTES โดยใชสูตรคํานวณ ดังนี้

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป (FTES) =

การปรับจํานวนในระหวางปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ใหมีการปรับคาจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาในระดับบัณฑิตศึกษาใหเปนระดับปริญญาตรี เพื่อนํามารวมคํานวณหาสัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํา

นักศึกษาเต็มเวลาในหนวยนับปริญญาตรี1. กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพ = FTES ระดับปริญญาตรี + FTES ระดับบัณฑติศึกษา2. กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรกายภาพ = FTES ระดับปริญญาตรี + (2 x FTES ระดับบัณฑติศึกษา)3. กลุมสาขาวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร = FTES ระดับปริญญาตรี + (1.8 x FTES ระดับบัณฑติศึกษา)

สัดสวนจํานวนนักศกึษาเต็มเวลาตออาจารยประจําแยกตามกลุมสาขา

กลุมสาขาสัดสวนจํานวนนักศกึษา

เต็มเวลาตออาจารยประจํา1. วทิยาศาสตรสุขภาพ 8 : 12. วทิยาศาสตรกายภาพ 20 : 13. วศิวกรรมศาสตร 20 : 14. สถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมอืง 8 : 15. เกษตร ปาไมและประมง 20 : 16. บริหารธุรกจิ พาณชิยศาสตร บัญชี การจัดการ การทองเท่ียว เศรษฐศาสตร 25 : 17. นติศิาสตร 50 : 18. คุรุศาสตร/ศึกษาศาสตร 30 : 19. ศิลปกรรมศาสตร วจิติรศิลปและประยุกตศิลป 8 : 110. สังคมศาสตร/มนุษยศาสตร 25 : 1

สูตรการคํานวณ1. คํานวณหาคาความแตกตางจากเกณฑมาตรฐานและนํามาคดิเปนคารอยละ ตามสูตร

2. นําคารอยละจากขอ 1 มาคํานวณคะแนนดังนี้2.1 คารอยละนอยกวาหรือเทียบเทากับรอยละ 10 คดิเปน 5 คะแนน2.2 คารอยละนอยกวาหรือเทียบเทากับรอยละ 20 คดิเปน 0 คะแนน2.3 คารอยละมากกวารอยละ 10 แตนอยกวารอยละ 20 ใหนํามาคดิคะแนนดังนี้

Student Credit Hours (SCH) ทัง้ป

จํานวนหนวยกติตอปการศกึษาตามเกณฑมาตรฐานการลงทะเบยีนในระดับปริญญานัน้ๆ

สัดสวนจํานวนนักศกึษาเตม็เวลาที่เปนจริง – สัดสวนจํานวนนกัศกึษาเต็มเวลาตามเกณฑมาตรฐาน

สัดสวนจํานวนนักศกึษาเตม็เวลาตามเกณฑมาตรฐานX 100

Page 83: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 83 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

คะแนนท่ีได =

ตัวอยางการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป (FTES) ของหลักสูตรหนึ่งทางดานสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร = 24

คาความแตกตางจากเกณฑมาตรฐาน = = รอยละ -4 ไดคะแนน 5 คะแนน

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป (FTES) ของหลักสูตรหนึ่งทางดานสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร = 32

คาความแตกตางจากเกณฑมาตรฐาน = = รอยละ 28 ไดคะแนน 0 คะแนน

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป (FTES) ของหลักสูตรหนึ่งทางดานสังคมศาสตร/มนุษยศาสตร = 28

คาความแตกตางจากเกณฑมาตรฐาน = = รอยละ 12 ไดคะแนน

แปลงคาความแตกตางเปนคะแนน เทากับ 20 -12 = 8 ไดคะแนน = = = 4 คะแนน

(20 – คารอยละที่คํานวณไดจากขอ 1)

10X 5

24 – 2525

X 100

32 – 2525

X 100

28 – 2525

X 100

8 x 510

Page 84: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 84 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 1.5 การบรกิารนักศกึษาระดับปรญิญาตรี

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้คณะควรจัดบริการดานตางๆ ใหนักศึกษาและศิษยเกาในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนกับนักศึกษาเพื่อการ

ดํารงชีวิตอยางมีความสุขและคุมคาในระหวางการใชชีวิตในคณะ ตั้งแตการใหคําปรึกษา ท้ังดานวิชาการและการใชชีวิต จัดบริการขอมูลหนวยงานท่ีใหบริการ เชน ทุนกูยืมการศึกษา แหลงทุนการศึกษาตอ การบริการจัดหางานแหลงขอมูลการฝกประสบการณวิชาชีพ การเตรียมความพรอมเพื่อการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษา ขอมูลขาวสารความเคลื่อนไหวในและนอกสถาบันท่ีจําเปนแกนักศึกษาและศิษยเกา โดยการใหบริการท้ังหมดตองใหความสําคัญกับการบริการท่ีมคีุณภาพและเกดิประโยชนแกผูรับบริการอยางแทจริง

เกณฑมาตรฐาน1. จัดบริการใหคําปรึกษาทางวชิาการ และการใชชีวติแกนักศึกษาในคณะ2. มกีารใหขอมูลของหนวยงานท่ีใหบริการ กจิกรรมพเิศษนอกหลักสูตร แหลงงานท้ังเต็มเวลาและนอกเวลา

แกนักศึกษา3. จัดกจิกรรมเตรียมความพรอมเพื่อการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษาแกนักศึกษา4. ประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและการจัดบริการในขอ 1-3 ทุกขอไม ตํ่ากวา 3.51 จาก

คะแนนเต็ม 55. นําผลการประเมินจากขอ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการใหบริการและการใหขอมูล เพื่อสงใหผลการประเมิน

สูงขึ้นหรือเปนไปตามความคาดหวังของนักศึกษา6. ใหขอมูลและความรูท่ีเปนประโยชนในการประกอบอาชีพแกศิษยเกา

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6 ขอ

Page 85: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 85 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศกึษาระดับปรญิญาตรี

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้คณะตองสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมนักศึกษาตางๆ อยางเหมาะสมและครบถวน กิจกรรมนักศึกษา

หมายถงึกจิกรรมเสริมหลักสูตรท่ีดําเนนิการท้ังโดยคณะและโดยองคกรนักศึกษา เปนกิจกรรมท่ีผูเขารวมจะมีโอกาสไดรับการพัฒนาสติปญญา สังคม อารมณ รางกาย และคุณธรรมจริยธรรม โดยสอดคลองกับคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค ท่ีประกอบดวยมาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ 5 ประการ ไดแก(1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ(5) ทักษะ การวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค ท่ีคณะ สถาบัน และสภา/องคกรวิชาชีพไดกําหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต และ นําหลัก PDSA / PDCA (Plan, Do, Study/Check, Act) ไปใชในชีวิตประจําวันเปนการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาอยางย่ังยนื

เกณฑมาตรฐาน1. จัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในภาพรวมของคณะโดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการจัดทํา

แผนและการจัดกจิกรรม2. ในแผนการจัดกจิกรรมพัฒนานักศึกษา ใหดําเนนิกจิกรรมท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผล

การเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒแิหงชาติ 5 ประการ ใหครบถวน ประกอบดวย(1) คุณธรรม จริยธรรม(2) ความรู(3) ทักษะทางปญญา(4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผดิชอบ(5) ทักษะการวเิคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. จัดกจิกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพแกนักศึกษา4. ทุกกิจกรรมท่ีดําเนินการ มีการประเมินผลความสําเร็จตามวัตถุประสงคของกิจกรรมและนําผลการ

ประเมนิมาปรับปรุงการดําเนนิงานคร้ังตอไป5. ประเมนิความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกจิกรรมพัฒนานักศึกษา6. นําผลการประเมนิไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกจิกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6 ขอ

Page 86: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 86 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 2 การวจัิยสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงอาจมจีุดเนนในเร่ืองการวจิัยท่ีแตกตางกันขึ้นกับสภาพแวดลอมและความพรอม

ของแตละสถาบัน อยางไรก็ตาม ทุกสถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองมีพันธกิจนี้เปนสวนหนึ่งของพันธกิจสถาบัน ดังนั้นจึงตองมีระบบและกลไกควบคุมใหสามารถดําเนินการในพันธกิจดานนี้อยางมีประสิทธิภาพและคุณภาพตามจุดเนนเฉพาะของแตละสถาบัน เพื่อใหไดผลงานวิจัยและงานสรางสรรคท่ีเกิดประโยชน การวิจัยจะประสบความสําเร็จและเกิดประโยชนจําเปนตองมีสวนประกอบท่ีสําคัญ 3 ประการ คือ 1) สถาบันตองมีแผนการวิจัย มีระบบและกลไกตลอดจนมกีารสนับสนุนทรัพยากรใหสามารถดําเนนิการไดตามแผน 2) คณาจารยมีสวนรวมในการวิจัยอยางเขมแข็งโดยบูรณาการงานวจิัยกับการจัดการเรียนการสอน และพันธกิจดานอื่นๆ ของสถาบัน และ 3) ผลงานวิจัยมีคุณภาพมปีระโยชน สนองยุทธศาสตรของชาตแิละมกีารเผยแพรอยางกวางขวาง

ตัวบงช้ี จํานวน 3 ตัวบงช้ี คอืตัวบงช้ีท่ี 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวจิัยหรืองานสรางสรรคตัวบงช้ีท่ี 2.2 เงนิสนับสนุนงานวจิัยและงานสรางสรรคตัวบงช้ีท่ี 2.3 ผลงานวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัย

Page 87: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 87 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบรหิารและพัฒนางานวจัิยหรอืงานสรางสรรค

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้สถาบันอุดมศึกษาตองมีการบริหารจัดการงานวิจัยและงานสรางสรรคท่ีมีคุณภาพโดยมีแนวทางการ

ดําเนนิงานท่ีเปนระบบและมกีลไกสงเสริมสนับสนุนครบถวนเพื่อใหสามารถดําเนนิการไดตามแผนท่ีกําหนดไว ท้ัง การสนับสนุนดานการจัดหาแหลงทุนวิจัยและการจัดสรรทุนวิจัยจากงบประมาณของสถาบันใหกับบุคลากร สงเสริมพัฒนาสมรรถนะแกอาจารยและนักวิจัย การสนับสนุนทรัพยากรท่ีจําเปนซึ่งรวมถึงทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรการเงิน เคร่ืองมืออุปกรณท่ีเกี่ยวของตางๆ ตลอดจนจัดระบบสรางขวัญและกําลังใจแกนักวิจัยอยางเหมาะสมตลอดจนมรีะบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสทิธ์ิของงานวจิัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน

เกณฑมาตรฐาน1. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยท่ีสามารถนําไปใชประโยชนในการบริหารงานวิจัยหรืองาน

สรางสรรค2. สนับสนุนพันธกจิดานการวจิัยหรืองานสรางสรรคในประเด็นตอไปนี้

- หองปฏิบัติการวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือหนวยวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือศูนยเคร่ืองมือหรือศูนยใหคําปรึกษาและสนับสนุนการวจิัยหรืองานสรางสรรค

- หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวจิัยหรืองานสรางสรรค- สิ่งอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวจิัยหรือการผลติงานสรางสรรค เชน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในหองปฏบัิตกิาร- กจิกรรมวชิาการท่ีสงเสริมงานวจิัยหรืองานสรางสรรค เชน การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดง

งานสรางสรรค การจัดใหมีศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศาสตราจารยรับเชิญ (VisitingProfessor)

3. จัดสรรงบประมาณ เพื่อเปนทุนวจิัยหรืองานสรางสรรค4. จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุมวิชาการหรือ

การตพีมิพในวารสารระดับชาตหิรือนานาชาติ5. มีการพัฒนาสมรรถนะอาจารยและนักวิจัย มีการสรางขวัญและกําลังใจตลอดจนยกยองอาจารยและ

นักวจิัยท่ีมผีลงานวจิัยหรืองานสรางสรรคดเีดน6. มีระบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสิทธของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชนและ

ดําเนนิการตามระบบท่ีกําหนด

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6 ขอ

Page 88: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 88 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 2.2 เงนิสนับสนุนงานวจัิยและงานสรางสรรค

ชนดิของตัวบงชี้ ปจจัยนําเขา

คําอธบิายตัวบงชี้ปจจัยสําคัญท่ีสงเสริมสนับสนุนใหเกิดการผลิตงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในสถาบันอุดมศึกษา คือ เงิน

สนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาจึงตองจัดสรรเงินจากภายในสถาบันและท่ีไดรับจากภายนอกสถาบันเพื่อสนับสนุนการทําวจิัยหรืองานสรางสรรคอยางมปีระสทิธิภาพตามสภาพแวดลอมและจุดเนน ของสถาบัน

นอกจากนัน้เงนิทุนวจิัยหรืองานสรางสรรคท่ีคณะไดรับจากแหลงทุนภายนอกสถาบันยังเปนตัวบงช้ีท่ีสําคัญท่ีแสดงถงึศักยภาพดานการวจิัยของคณะ โดยเฉพาะคณะท่ีอยูในกลุมท่ีเนนการวจิัย

เกณฑการประเมนิโดยการแปลงจํานวนเงนิตอจํานวนอาจารยประจําและนักวจิัยประจําเปนคะแนนระหวาง 0-5

1. เกณฑเฉพาะคณะกลุม ข และ ค2 จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวชิากลุมสาขาวิชาวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปตอคน

กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปตอคน

กลุมสาขาวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปตอคน

2. เกณฑเฉพาะคณะกลุม ค1 และ ง จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวชิากลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 220,000 บาทขึ้นไปตอคน

กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 180,000 บาทขึ้นไปตอคน

กลุมสาขาวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปน

คะแนนเต็ม 5 = 100,000 บาทขึ้นไปตอคน

Page 89: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 89 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สูตรการคํานวณ1. คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวน

อาจารยประจําและนักวจิัย

จํานวนเงนิสนับสนุนงานวจิัยฯ =

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

สรุปคะแนนที่ไดในระดับคณะคะแนนท่ีไดในระดับคณะ = คาเฉลี่ยของคะแนนท่ีไดของทุกกลุมสาขาวชิาในคณะ

หมายเหตุ1. จํานวนอาจารยและนักวจิัยใหนับตามปการศึกษา และนับเฉพาะท่ีปฏบัิตงิานจริง ไมนับรวมผูลาศึกษาตอ2. ใหนับจํานวนเงินท่ีมีการลงนามในสัญญารับทุนในปการศึกษาหรือปงบประมาณหรืปปฏิทินนั้นๆ ไมใช

จํานวนเงนิท่ีเบิกจายจริง3. กรณีท่ีมีหลักฐานการแบงสัดสวนเงินสนับสนุนงานวิจัย ซึ่งอาจเปนหลักฐานจากแหลงทุนหรือหลักฐาน

จากการตกลงรวมกันของสถาบันท่ีรวมโครงการ ใหแบงสัดสวนเงนิตามหลักฐานท่ีปรากฏ กรณท่ีีไมมหีลักฐาน ใหแบงเงนิตามสัดสวนผูรวมวจิัยของแตละคณะ

4. การนับจํานวนเงนิสนับสนุนโครงการวจิัย สามารถนับเงนิโครงการวจิัยสถาบันท่ีไดลงนามในสัญญารับทุนโดยอาจารยประจําหรือนักวจิัย แตไมสามารถนับเงนิโครงการวจิัยสถาบันท่ีบุคลากรสายสนับสนุนท่ีไมใชนักวิจัย เปนผูดําเนนิการ

จํานวนเงนิสนับสนุนงานวจิัยฯจากภายในและภายนอก

จาํนวนอาจารยประจาํและนักวจิัย

จํานวนเงนิสนับสนุนงานวจิัยฯจากภายในและภายนอก

จํานวนเงนิสนับสนุนงานวจิัยฯท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5X 5

Page 90: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 90 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจัิย

ชนดิของตัวบงชี้ ผลลัพธ

คําอธบิายตัวบงชี้ผลงานทางวชิาการเปนขอมูลท่ีสําคัญในการแสดงใหเห็นวาอาจารยประจําและนักวิจัยไดสรางสรรคขึ้นเพื่อ

แสดงใหเห็นถึงความกาวหนาทางวิชาการและการพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่อง เปนผลงานท่ีมีคุณคา สมควรสงเสริมใหมกีารเผยแพรและนําไปใชประโยชนท้ังเชิงวชิาการและการแขงขันของประเทศ ผลงานทางวิชาการ อยูในรูปของบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ. 2556 ผลงานไดรับการจดอนุสทิธิบัตรหรือสทิธิบัตร หรือเปนผลงานทางวชิาการรับใชสังคมท่ีผาน การประเมนิตําแหนงทางวชิาการแลวผลงานวจิัยท่ีหนวยงานหรือองคกรระดับชาตวิาจางใหดําเนินการ ตําราหรือ หนังสือท่ีใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑการขอตําแหนงทางวิชาการแลว โดยมีวิธีการคิดดังนี้เกณฑการประเมนิ

โดยการแปลงคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยเปนคะแนนระหวาง 0-5 เกณฑแบงกลุมตามสาขาวชิาดังนี้

1. เกณฑเฉพาะคณะกลุม ข และ ค2กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไว

เปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ขึ้นไป

กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัยท่ีกําหนดไว

เปน คะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ขึ้นไป

กลุมสาขาวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไว

เปน คะแนนเต็ม 5 = รอยละ 20 ขึ้นไป

2. เกณฑเฉพาะคณะกลุม ค1 และ งกลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไว

เปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไป

Page 91: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 91 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

กลุมสาขาวชิาวทิยาศาสตรสุขภาพรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไว

เปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ขึ้นไป

กลุมสาขาวชิามนุษยศาสตรและสังคมศาสตรรอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไว

เปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 40 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ1. คํานวณคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัยตามสูตร

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได =

กําหนดระดับคุณภาพผลงานทางวชิาการ ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวชิาการระดับชาติ

0.40 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติท่ีไมอยูในฐานขอมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการ สําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ- ผลงานท่ีไดรับการจดอนุสทิธิบัตร

0.60 - บทความวจิัยหรือบทความวชิาการฉบับสมบูรณท่ีตพีมิพในวารสารทางวชิาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 2

0.80 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอยูในฐานขอมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาวาดวย หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัตแิละจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./ กกอ.ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไมอยูใน Beall’s list) หรือตพีมิพในวารสารวชิาการท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI กลุมท่ี 1

ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัย

จาํนวนอาจารยประจาํและนักวจิัยท้ังหมด

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัย

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวชิาการของอาจารยประจําและนักวจิัยที่กําหนดใหเปนคะแนนเต็ม5

X 5

X 100

Page 92: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 92 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ1.00 - บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับ

นานาชาติท ี่ปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ อุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทาง วชิาการ พ.ศ.2556- ผลงานไดรับการจดสทิธิบัตร- ผลงานวชิาการรับใชสังคมท่ีไดรับการประเมนิผานเกณฑการขอตําแหนงทางวชิาการแลว- ผลงานวจิัยท่ีหนวยงานหรือองคกรระดับชาตวิาจางใหดําเนนิการ- ผลงานคนพบพันธุพชื พันธุสัตว ท่ีคนพบใหมและไดรับการจดทะเบียน- ตําราหรือหนังสอืท่ีไดรับการประเมนิผานเกณฑการขอตําแหนงทางวชิาการแลว- ตําราหรือหนังสอืท่ีผานการพจิารณาตามหลักเกณฑการประเมินตําแหนงทางวิชาการ แตไมไดนํามาขอรับการประเมนิตําแหนงทางวชิาการ

การสงบทความเพื่อพจิารณาคัดเลอืกใหนําเสนอในการประชุมวชิาการตองสงเปนฉบับสมบูรณ (Full Paper) และ เมื่อไดรับการตอบรับและตีพิมพแลว การตีพิมพตองตีพิมพเปนฉบับสมบูรณซึ่งสามารถอยูในรูปแบบเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนกิสได

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรค ดังนี้คาน้าํหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสรางสรรคท่ีมีการเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผานสื่ออิเล็กทรอนกิส online

0.40 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบัน0.60 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ0.80 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมอืระหวางประเทศ1.00 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมภิาคอาเซยีน/นานาชาติ

ผลงานสรางสรรคทุกช้ินตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการท่ีมีองคประกอบไมนอยกวา 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรวมพจิารณาดวย

Page 93: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 93 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 3 การบรกิารวชิาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา สถาบันพึงใหบริการทาง

วชิาการแกชุมชน สงัคม และประเทศชาติ ในรูปแบบตางๆ ตามความถนัดและในดานท่ีสถาบันมีความเช่ียวชาญ การใหบริการทางวิชาการอาจใหเปลาโดยไมคิดคาใชจายหรืออาจคิดคาใชจายตามความเหมาะสม โดยใหบริการท้ังหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน หนวยงานอิสระ หนวยงานสาธารณ ชุมชน และสังคมโดยกวาง รูปแบบการใหบริการทางวชิาการมคีวามหลากหลาย เชน การอนุญาตใหใชประโยชนทรัพยากรของสถาบัน เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ ใหคําปรึกษา ใหการอบรม จัดประชุมหรือสัมมนาวิชาการ ทํางานวิจัยเพื่อตอบคําถามตางๆ หรือเพื่อช้ีแนะสังคมการใหบริการทางวชิาการ นอกจากเปนการทําประโยชนใหสังคมแลว สถาบันยังไดรับประโยชนในดานตางๆ คือเพิ่มพูนความรูและประสบการณของอาจารยอันจะนํามาสูการพัฒนาหลักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชประโยชนทางดานการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย พัฒนาตําแหนงทางวิชาการของอาจารย สรางเครือขายกับหนวยงานตางๆ ซึ่งเปนแหลงงานของนักศึกษาและเปนการสรางรายไดของสถาบันจากการใหบริการทางวชิาการดวย

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงช้ี คอืตัวบงช้ีท่ี 3.1 การบริการวชิาการแกสังคม

Page 94: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 94 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 3.1 การบรกิารวชิาการแกสังคม

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้การบริการวิชาการเปนภารกิจหลักอีกอยางหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา คณะควรคํานึงถึงกระบวนการใน

การใหบริการวิชาการแกสังคม โดยศึกษาความตองการของกลุมเปาหมาย นํามาจัดทําแผนบริการวิชาการประจําปท้ังการบริการวิชาการท่ีทําใหเกิดรายไดและการบริการวิชาการท่ีคณะจัดทําเพื่อสรางประโยชนแกชุมชน โดยมีการประเมินความสําเร็จของการบริการวิชาการ และนํามาจัดทําเปนแผนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแกนักศึกษาใหมีประสบการณจากสภาพจริงและนํามาใชประโยชนจนเกิดผลลัพธท่ีสรางความพึงพอใจตอชุมชนและสังคมอยางตอเนื่องและย่ังยนื

เกณฑมาตรฐาน1. จัดทําแผนการบริการวิชาการประจําปท่ีสอดคลองกับความตองการของสังคมและกําหนดตัวบงช้ีวัด

ความสําเร็จในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคมและเสนอกรรมการประจําคณะเพื่อพจิารณาอนุมัติ

2. โครงการบริการวชิาการแกสังคมตามแผน มกีารจัดทําแผนการใชประโยชนจากการบริการวชิาการเพื่อใหเกดิผลตอการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม

3. โครงการบริการวชิาการแกสังคมในขอ 1 อยางนอยตองมโีครงการท่ีบริการแบบใหเปลา4. ประเมินความสําเร็จตามตัวบงช้ีของแผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคมในขอ 1 และนําเสนอ

กรรมการประจําคณะ เพื่อพจิารณา5. นําผลการประเมนิตามขอ 4 มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการใหบริการวชิาการสังคม6. คณะมสีวนรวมในการบริการวชิาการแกสังคมในระดับสถาบัน

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6 ขอ

Page 95: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 95 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 4 การทํานุบาํรุงศลิปะและวัฒนธรรมการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมถือเปนพันธกิจสําคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น

สถาบันอุดมศึกษาจงึตองมรีะบบและกลไกการดําเนนิงานดานนี้ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและคุณภาพ โดยอาจมีจุดเนนเฉพาะท่ีแตกตางกันตามปรัชญา และธรรมชาติของแตละสถาบัน และมีการบูรณาการเขากับพันธกิจอื่นๆโดยเฉพาะการผลิตบัณฑิต รวมท้ังมีการจัดกิจกรรมท่ีฟนฟู อนุรักษ สืบสาน พัฒนา เผยแพรศิลปะและวัฒนธรรมสรางสรรค สงเสริมภูมปิญญาทองถิ่นใหเปนรากฐานการพัฒนาองคความรูท่ีดขีึ้น

ตัวบงช้ี จํานวน 1 ตัวบงช้ี คอืตัวบงช้ีท่ี 4.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

Page 96: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 96 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศลิปะและวัฒนธรรม

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้สถาบันอุดมศึกษาตองมีนโยบาย แผนงาน โครงสราง และการบริหารจัดการงานทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม ท้ังการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน เผยแพรวัฒนธรรมไทย ภูมิปญญาทองถิ่นตามจุดเนนของสถาบันอยางมีประสทิธิภาพและประสทิธิผล

เกณฑมาตรฐาน1. กําหนดผูรับผดิชอบในการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม2. จัดทําแผนดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และกําหนดตัวบงช้ีวัดความสําเร็จตามวัตถุประสงคของ

แผน รวมท้ังจัดสรรงบประมาณเพื่อใหสามารถดําเนนิการไดตามแผน3. กํากับตดิตามใหมกีารดําเนนิงานตามแผนดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม4. ประเมินความสําเร็จตามตัวบงช้ีท่ีวัดความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนดานทํานุบํารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม5. นําผลการประเมนิไปปรับปรุงแผนหรือกจิกรรมดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม6. เผยแพรกจิกรรมหรือการบริการดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชน7. กําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งเปนท่ียอมรับในระดับชาติ

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6-7 ขอ

Page 97: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 97 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

องคประกอบที่ 5 การบรหิารจัดการสถาบันอุดมศึกษาตองใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ โดยมีสภามหาวิทยาลัยทําหนาท่ีในการกํากับ

ดูแลการทํางานของสถาบันใหมีประสิทธิภาพ สถาบันอุดมศึกษาจะตองบริหารจัดการดานตางๆ ใหมีคุณภาพ เชนทรัพยากรบุคคล ระบบฐานขอมูล การบริหารความเสี่ยง การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารทรัพยากรท้ังหมดฯลฯ เพื่อสัมฤทธ์ิผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว โดยใชหลักธรรมาภิบาล (Good Governance)

ตัวบงช้ี จํานวน 2 ตัวบงช้ี คอืตัวบงช้ีท่ี 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกํากับติดตามผลลัพธตามพันธกิจ กลุมสถาบัน

และเอกลกัษณของคณะตัวบงช้ีท่ี 5.2 ระบบกํากับการประกันคุณภาพหลักสูตร

Page 98: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 98 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.1 การบรหิารของคณะเพื่อการกํากับตดิตามผลลัพธตามพันธกิจ กลุมสถาบัน และเอกลักษณของคณะ

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้สถาบันอุดมศึกษามพัีนธกจิหลัก คอื การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และการ

ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการดําเนินพันธกิจหลัก สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองดําเนินงานผานคณะ ดังนั้นคณะตองมีการพัฒนาแผนเพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและการดําเนินงานของคณะใหสอดคลองกับเปาหมายและกลุมสถาบันตลอดจนมีการบริหารท้ังดานบุคลากร การเงิน ความเสี่ยงและการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อสนับสนุนการดําเนนิงานตามพันธกจิหลักใหบรรลุตามเปาหมายท่ีกําหนดไว

เกณฑมาตรฐาน1. พัฒนาแผนกลยุทธจากผลการวิเคราะห SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศนของคณะและสอดคลองกับ

วสิัยทัศนของคณะ สถาบัน รวมท้ังสอดคลองกับกลุมสถาบันและเอกลักษณของคณะ และพัฒนาไปสูแผนกลยุทธทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจําปตามกรอบเวลาเพื่อใหบรรลุผลตามตัวบงช้ีและเปาหมายของแผนกลยุทธและเสนอผูบริหารระดับสถาบันเพื่อพจิารณาอนุมัติ

2. ดําเนินการวิเคราะหขอมูลทางการเงินท่ีประกอบไปดวยตนทุนตอหนวยในแตละหลักสูตร สัดสวนคาใชจายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย บุคลากร การจัดการเรียนการสอน อยางตอเนื่อง เพื่อวิเคราะหความคุมคาของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแขงขัน

3. ดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ท่ีเปนผลจากการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงท่ีเกิดจากปจจัยภายนอก หรือปจจัยท่ีไมสามารถควบคุมได ท่ีสงผลตอการดําเนินงานตามพันธกิจของคณะและใหระดับความเสี่ยงลดลงจากเดมิ

4. บริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลอยางครบถวนท้ัง 10 ประการท่ีอธิบายการดําเนนิงานอยางชัดเจน5. คนหาแนวปฏิบัติท่ีดีจากความรูท้ังท่ีมีอยูในตัวบุคคล ทักษะของผูมีประสบการณตรง และแหลงเรียนรู

อื่นๆ ตามประเด็นความรู อยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย จัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษรและนํามาปรับใชในการปฏบัิตงิานจริง

6. การกํากับติดตามผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน

7. ดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับพันธกจิและพัฒนาการของคณะท่ีไดปรับใหการดําเนนิงานดานการประกันคุณภาพเปนสวนหนึ่งของการบริหารงานคณะตามปกติท่ีประกอบดวย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ

Page 99: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 99 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5-6 ขอ

มกีารดําเนนิการ7 ขอ

Page 100: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 100 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวบงชี้ที่ 5.2 ระบบกํากับการประกันคุณภาพหลักสูตร

ชนดิของตัวบงชี้ กระบวนการ

คําอธบิายตัวบงชี้บทบาทหนาท่ีของคณะในการกํากับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสตูร มกีารดําเนนิการตัง้แตการ

ควบคุมคุณภาพ การตดิตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประเมนิ จะมุงไปท่ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาการประเมินคุณภาพ เพื่อใหสามารถสงเสริม สนับสนุน กํากับตดิตาม การดําเนนิงานใหเปนไปตามท่ีกําหนด สะทอนการจัดการศึกษาอยางมคีุณภาพ

เกณฑมาตรฐาน1. มีระบบและกลไกในการกํากับการดําเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรใหเปนไปตามองคประกอบการ

ประกันคุณภาพหลักสูตร2. มีคณะกรรมการกํากับ ติดตามการดําเนินงานใหเปนไปตามระบบท่ีกําหนดในขอ 1 และรายงานผลการ

ตดิตามใหกรรมการประจําคณะเพื่อพจิารณาทุกภาคการศึกษา3. มกีารจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของหลักสูตรใหเกิดผลตามองคประกอบการประกัน

คุณภาพหลักสูตร4. มีการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกําหนดเวลาทุกหลักสูตร และรายงานผลการประเมินใหกรรมการ

ประจําคณะเพื่อพจิารณา5. นําผลการประเมนิและขอเสนอแนะจากกรรมการประจําคณะมาปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพดีขึ้นอยาง

ตอเนื่อง6. มผีลการประเมนิคุณภาพทุกหลักสูตรผานองคประกอบท่ี 1 การกํากับมาตรฐาน

เกณฑการประเมนิคะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มกีารดําเนนิการ1 ขอ

มกีารดําเนนิการ2 ขอ

มกีารดําเนนิการ3-4 ขอ

มกีารดําเนนิการ5 ขอ

มกีารดําเนนิการ6 ขอ

Page 101: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 101 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

สวนที่ 7แนวทางการวเิคราะหและสรปุผลการประกันคณุภาพการศกึษาภายใน

สถาบันการศึกษาทุกสถาบันตองวางระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของตนเองใหเหมาะสม กับบริบทและวิสัยทัศนของสถาบัน โดยตองพิจารณาเกณฑมาตรฐานอุดมศึกษาท่ีเกี่ยวของในระดับชาติดวย เพื่อใหเปนไปตามเกณฑขัน้ตํ่าท่ีประเทศกําหนดและมุงสูเปาหมาย จุดเนน จุดเดน หรือเอกลักษณของสถาบัน

การวางระบบการประกันคุณภาพจะตองประกอบดวย การควบคุม การตรวจสอบ และการประเมินผล เพื่อนําขอมูลไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องและย่ังยืน ดังนั้น ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในดังกลาวอยางนอยตองครอบคลุมระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยสถาบันตองควบคุมใหมีการดําเนินงานตามระบบคุณภาพท่ีกําหนด และมีการตรวจสอบระบบคุณภาพเปนระยะๆ โดยท่ีมีกลไกการดําเนินงานอยางชัดเจนเชน มีผูรับผิดชอบ / ผูบริหาร / ผูเกี่ยวของ / ผูมีสวนไดสวนเสีย มีสวนรวม เมื่อครบหนึ่งปการศึกษา ก็ตองมีการประเมินผลการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพดังกลาว เพื่อนําไปปรับปรุงพัฒนาในปถัดไป โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจะดําเนินการติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางนอยหนึ่งคร้ังในทุกสามป และแจงผลใหสถานศึกษาทราบรวมท้ังเปดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตอสาธารณชน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาจัดทําขึ้น เปนไปในทิศทางเดียวกับการประเมินเพื่อการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามท่ีประกาศไวในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 ท้ังนี้ไดกําหนดใหรายงานการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร (IQA ระดับหลักสูตร) และรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร(มคอ.7) เปนรายงานฉบับเดียวกันเพื่อลดความซ้ําซอนของการจัดทํารายงานของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาและสามารถรายงานผานระบบอิเล็กทรอนกิส

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ และระดับสถาบัน ท่ีคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาจัดทําขึ้น สอดคลองกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรและเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

Page 102: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 102 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

การสรุปผลการประกนัคุณภาพการศึกษาภายใน แตละระดับมรีายละเอียดดังนี้1. ระดับหลักสูตร มอีงคประกอบในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 6 องคประกอบ ไดแก

องคประกอบท่ี 1 การกํากับมาตรฐานองคประกอบท่ี 2 บัณฑติองคประกอบท่ี 3 นักศึกษาองคประกอบท่ี 4 อาจารยองคประกอบท่ี 5 หลกัสูตร การเรียนการสอน การประเมนิผูเรียนองคประกอบท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู

องคประกอบท่ี 1 การกํากับมาตรฐาน การกํากับมาตรฐานเปนองคประกอบท่ีตองดําเนินการใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และเกณฑตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ มี 1 ตัวบงช้ีจํานวนเกณฑขึ้นอยูกับระดับปริญญา หากผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเกณฑใดเกณฑหนึ่งถือวาหลักสูตรนั้น“ไมไดมาตรฐาน” และมีคาคะแนนเปน“ศูนย” หากหลักสูตรนั้นมีผลการดําเนินงานผานทุกเกณฑถือวาเปนไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด และจะมีการประเมินคะแนนคุณภาพของหลักสูตรในองคประกอบท่ี 2 – 6 ดังแสดงตามภาพตอไปนี้

ผลการประเมนิ

ไมผานองคประกอบที่ 1ผานองคประกอบที่ 1

ประเมนิองคประกอบที่ 2-6

คะแนนระดับหลักสูตรเปนคะแนนเฉลี่ยของตัวบงชี้ในองคประกอบที่ 2-6

คะแนนระดับหลักสูตร = 0

Page 103: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 103 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ซึ่งการแปลผลจะเปนการอธิบายวาคะแนนระดับหลักสูตร = 0 หมายถงึ หลักสูตรไมไดมาตรฐานคะแนนระดับหลักสูตร = 0.01-5.00 หมายถึง หลักสูตรเปนไปตามมาตรฐาน และมีระดับคุณภาพตามคะแนนท่ีได

ดังนี้

คะแนน ระดับคุณภาพ0.01 – 2.00 นอย2.01 – 3.00 ปานกลาง3.01 – 4.00 ดี4.01 – 5.00 ดมีาก

แมวาหลักสูตรไมผานองคประกอบท่ี 1 (การกํากับมาตรฐาน) ผูรับผิดชอบหลักสูตร/คณะ/สถาบัน ตองประเมนิตัวบงช้ีขององคประกอบท่ี 2 ถงึองคประกอบท่ี 6 ดวย เพื่อใหทราบระดับการพัฒนาของหลักสูตรตนเอง โดยการวิเคราะหในรายละเอียดของปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลลัพธ และรายองคประกอบ โดยไมตองรายงานระดับคะแนนเฉลี่ย เพื่อเปนการวเิคราะหในเชิงคุณภาพในองคประกอบท่ี 2 ถึงองคประกอบท่ี 6 เกี่ยวกับจุดเดนและโอกาสในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพของหลักสูตรตอไป แสดงดังตารางตอไปนี้ตารางการวเิคราะหคุณภาพการศกึษาภายในระดับหลักสูตรองคประกอบ คะแนน

ผานจํานวนตัวบงชี้

I P O คะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน0.01 – 2.00 ระดับคุณภาพนอย2.01 – 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง3.01 – 4.00 ระดับคุณภาพดี4.01 – 5.00 ระดับคุณภาพดมีาก

1 ไมผานการประเมนิ หลักสูตรไมไดมาตรฐาน2

คะแน

นเฉลี่ย

ขอทุก

ตัวบง

ชี้ใน

องคป

ระกอ

บที่2

-6

2 - - 2.1,2.23 3 3.1,3.2,3.3 - -4 3 4.1,4.2,4.3 - -5 4 5.1 5.2,5.3,5.4 -6 1 - 6.1 -

รวม 13 7 4 2ผลการประเมิน

คะแนนรวมเฉลี่ย =คะแนนรวมของตัวบงช้ี 13 ตัวบงช้ี

13

Page 104: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 104 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ตัวอยางรายงานผลการวเิคราะหจุดเดนและโอกาสในการพัฒนา องคประกอบที่ 2 - 6จุดเดน1.2.โอกาสในการพัฒนา1.2.

2. ระดับคณะการประเมนิระดับคณะจะสะทอนผลการดําเนนิงานของผูบริหารคณะใน 4 พันธกจิ รวมท้ังระบบ การบริหาร

จัดการของคณะดวย โดยแสดงเปนคาเฉลี่ยในแตละพันธกิจ นอกจากนั้นมีการวิเคราะหแยกเปนปจจัยนําเขากระบวนการ และผลลัพธดวย เพื่อใหผูบริหารคณะไดนําไปใชเปนขอมูลในการปรับปรุงพัฒนา ดังตารางตอไปนี้ตารางวเิคราะหผลการประเมนิระดับคณะองคประกอบ คะแนนการประเมินเฉลีย่ ผลการประเมิน

0.00 – 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน

1.51 – 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง

2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดมีาก

จํานวนตัวบงชี้

I P O คะแนนเฉลี่ย

1 6 1.2,1.3,1.4 1.5,1.6 1.12 3 2.2 2.1 2.33 1 - 3.1 -4 1 - 4.1 -5 2 - 5.1,5.2 -

รวม 13 4 7 2ผลการประเมิน

*ตัวบงช้ีท่ี 1.1 เปนคาเฉลี่ยของผลการประเมนิระดับหลักสูตรทุกหลักสูตรคณะควรวเิคราะหในเชิงคุณภาพเกี่ยวกับจุดเดนและจุดท่ีควรพัฒนาในแตละองคประกอบดวย ตามตัวอยาง

ดังตอไปนี้ตัวอยางรายงานผลการวเิคราะหจุดเดนและจุดที่ควรพัฒนา องคประกอบที่ 1 - 6จุดเดน1.2.จุดที่ควรพัฒนา1.

Page 105: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 105 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

2.3. ระดับสถาบัน

การประเมินระดับสถาบันจะสะทอนผลการดําเนินงานของผูบริหารสถาบันใน 4 พันธกิจ รวมท้ัง ระบบการบริหารจัดการของสถาบันดวย โดยแสดงเปนคาเฉลี่ยในแตละพันธกจิ นอกจากนัน้มกีารวเิคราะหแยกเปนปจจัยนําเขากระบวนการและผลลัพธดวย เพื่อใหผูบริหารสถาบันไดนําไปใชเปนขอมูลในการปรับปรุงพัฒนา ตามตารางตอไปนี้ตารางวเิคราะหผลการประเมนิระดับสถาบันองคประกอบ คะแนนการประเมินเฉลีย่ ผลการประเมิน

0.00 – 1.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุงเรงดวน

1.51 – 2.50 การดําเนนิงานตองปรับปรุง

2.51 – 3.50 การดําเนนิงานระดับพอใช3.51 – 4.50 การดําเนนิงานระดับดี4.51 – 5.00 การดําเนนิงานระดับดมีาก

จํานวนตัวบงชี้

I P O คะแนนเฉลี่ย

1 5 1.2,1.3 1.4,1.5 1.12 3 2.2 2.1 2.33 1 - 3.1 -4 1 - 4.1 -5 3 - 5.1,5.3 5.2

รวม 13 3 7 3ผลการประเมิน

*ตัวบงช้ีท่ี 1.1 เปนคาเฉลี่ยของผลการประเมนิระดับหลักสูตรทุกหลักสูตร*ตัวบงช้ีท่ี 5.2 เปนคาคะแนนเฉลีย่ของผลการประเมนิระดับคณะทุกคณะสถาบันควรวิเคราะหในเชิงคุณภาพเกี่ยวกับจุดเดน และจุดท่ีควรพัฒนาในแตละองคประกอบดวย ตาม

ตัวอยางดังตอไปนี้ตัวอยางรายงานผลการวเิคราะหจุดเดนและจุดที่ควรพัฒนา องคประกอบที่ 1 - 6จุดเดน1.2.จุดที่ควรพัฒนา1.2.

Page 106: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 106 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ภาคผนวก

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 3.1การรับนักศกึษา

1 การกําหนดเปาหมายจํานวนรับนักศึกษาคํานงึความตองการของตลาดแรงงาน และสภาพความพรอมของอาจารยประจําท่ีมอียู (ควบคุมอัตราสวนอาจารยตอนักศึกษาใหเปนไปตามเกณฑ)

2 เกณฑการรับนักศึกษาท่ีประกาศรับสะทอนคุณภาพของนักศึกษาท่ีเหมาะสมกับหลักสูตรท่ีเปดสอนและสอดคลองกับระดับของหลักสูตร ประเภทหลักสูตร ปรัชญาวิสัยทัศนของสถาบันและหลักสูตร ผลลัพธการเรียนรูท่ีกําหนดในหลักสูตร (เชน GPA ความรูพื้นฐานในสาขา ภาษาตางประเทศ คุณสมบัติเฉพาะอื่นฯลฯ)

3 เกณฑท่ีใชในการคัดเลอืกนักศึกษา กระบวนการรับนักศึกษา และเคร่ืองมือหรือขอมูลท่ีใชในการคัดเลือกมคีวามเหมาะสม เชื่อถอืได โปรงใส เปดเผย และเปนธรรมกับนักศึกษาท่ีสมัครเขาเรียน

4 นักศึกษาท่ีรับเขาเรียนในหลักสูตรมคีุณสมบัตแิละศักยภาพในการเรียนจนสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาท่ีหลักสูตรกําหนด มคีุณสมบัตขิัน้ตนท้ังความรูพื้นฐานหรือประสบการณท่ีจําเปนตอการเรียนในหลักสูตรใฝรู ใฝเรียน มคีวามพรอมดานสุขภาพกายและจติ มเีวลาเรียนเพยีงพอ

5 ในกรณท่ีีนักศึกษามคีุณสมบัตไิมครบถวนตามเกณฑท่ีกําหนดในประกาศรับ และมกีารรับเขาศึกษาแบบมีเงื่อนไข นักศึกษาไดรับการเตรียมความพรอมทางการเรียนหรือไดรับการพัฒนาจนมีคุณสมบัติครบผานเกณฑขัน้ตํ่า เพื่อใหสามารถเรียนในหลักสูตรไดจนสําเร็จการศึกษา

6 การกําหนดคุณสมบัตใินการรับเขาของผูสมัครในหลักสูตรระดับบัณฑติศึกษาใหสูงกวาคุณสมบัติของการรับเขาศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยเฉพาะความสามารถดานภาษาตางประเทศ และคุณสมบัติพื้นฐานท่ีนําไปสูการพัฒนาศักยภาพการวจิัย

7 กระบวนการคัดเลือกระดับบัณฑิตศึกษามีความเขมงวดเพื่อใหไดนักศึกษาท่ีมีศักยภาพในการเรียนรูดวยตนเอง (พจิารณาจากอัตราสวนนักศึกษาท่ีรับเขาตอผูสมัคร)

Page 107: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 107 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 3.2การควบคุมดูแลการใหคําปรกึษาวชิาการและแนะแนวแกนักศกึษา

1 การจัดระบบการดูแลนักศึกษาของอาจารยท่ีปรึกษา มีการควบคุมกํากับใหจํานวนนักศึกษาตออาจารยท่ีปรึกษาเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนด

2 อาจารยท่ีปรึกษาวชิาการมเีวลาใหการดูแลนักศึกษา (ผลประเมนิจากนักศึกษา)3 การแนะนําการลงทะเบียนเรียนโดยคํานงึถงึความตองการ ความสนใจ และศักยภาพของนักศึกษา4 การจัดเก็บขอมูลเพื่อการรูจักนักศึกษา การแลกเปลี่ยนขอมูลนักศึกษาในกลุมอาจารยผูสอนเพื่อการ

พัฒนานักศึกษา (ผลการเรียน ลักษณะนักศึกษา จุดแข็งจุดออน)5 อาจารยท่ีปรึกษาใหความชวยเหลอืนักศึกษาท่ีมปีญหาทางการเรียนหรือตองการความชวยเหลอืดานอื่นๆ6 การจัดการความเสี่ยงดานนักศึกษา (มีขอมูลนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนตํ่า มีความเสี่ยงท่ีจะออกกลางคัน

หรือสําเร็จการศึกษาชา ฯลฯ7 ชองทางการตดิตอสื่อสารระหวางนักศึกษาและอาจารยท่ีปรึกษา8 บัณฑิตศึกษา การกําหนดเวลาใหคําปรึกษาการเรียนในวิชาของอาจารยผูสอนและการใหคําปรึกษาการ

ทําวทิยานพินธท่ีเพยีงพอกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของนักศกึษาและการเสรมิสรางทักษะการเรยีนรูในศตวรรษที่ 21

9 สถาบันจัดงบประมาณ ทรัพยากรท่ีเสริมการจัดบริการแกนักศึกษาเพียงพอ และครอบคลุมทุกประเภทกจิกรรม

10 บุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมนักศึกษาตองมีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรมท่ีสนองความตองการของนักศึกษา

11 การจัดกจิกรรมนักศึกษาตองสงผลตอการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพงึประสงคของหลักสูตร12 การจัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาครอบคลุมกิจกรรมการเสริมสรางความยึดม่ันผูกพันกับความเปน

พลเมอืง (Civic Engagement) กจิกรรมสันทนาการ ศิลปะและวัฒนธรรม ฯลฯ13 การจัดกจิกรรมการพัฒนานักศึกษาตองชวยเสริมสรางทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 เชน ICT literacy,

scientific literacy, media literacy, health literacy, life skill, career skills14 การเปดโอกาสใหนักศึกษามอิีสระในการจัดกจิกรรมนักศึกษาโดยการสนับสนุนของสถาบัน15 การสนับสนุนทุนการศึกษา ชวยเหลอืนักศึกษาท่ีมโีอกาสทางการศึกษาจํากัด16 หากมกีารรับนักศึกษาท่ีมีวัตถุประสงคพิเศษ เชน นักกีฬา ตองมีกลไกการดูแลนักศึกษาไดรับการพัฒนา

ใหไดสาระความรู ทักษะ ท่ีสอดคลองกับเปาหมายการเรียนรูท่ีเปนมาตรฐานเดยีวกัน17 การสรางเครือขายระหวางสถาบันภายในประเทศและตางประเทศ มี Visiting Professors ท่ีมาชวยสอน

หรือใหประสบการณแกนักศึกษา และการสงนักศึกษาไปแลกเปลี่ยนเรียนรูในตางประเทศ

Page 108: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 108 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 3.31 อัตราการคงอยูของนักศึกษาในหลักสูตร2 อัตราการสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาของหลักสตูร3 ความพงึพอใจของนักศึกษาตอหลักสูตรและการรองเรียนของนักศึกษา4 บัณฑิตศึกษา นักศึกษามีความรู ทักษะการแสวงหาความรู การสรางความรูดวยตนเอง มีศักยภาพการ

วจิัย ท่ีแสดงออกถงึการผลติและเผยแพรความรูจากกระบวนการวจิัยของตนเอง

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 4.1ระบบการรับอาจารยใหม

1 การวางแผนระยะยาวดานอัตรากําลังอาจารยใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร2 การมรีะบบการรับอาจารยใหมท่ีมคีวามรูความสามารถและความเช่ียวชาญ รวมท้ังมีการพัฒนาอาจารย

ท่ีมอียูเดมิอยางตอเนื่อง เพื่อใหหลักสูตรมีความเขมแข็ง อาจารยในหลักสูตรสามารถสงเสริมการทํางานตามความชํานาญของแตละคนไดอยางมปีระสทิธิภาพ

3 อาจารยประจําหลักสูตรตองมีวุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ และประสบการณ ในจํานวนท่ีไมตํ่ากวา ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรท่ีกําหนดโดย สกอ.

ระบบการบรหิารอาจารย4 สถาบันตองมีการจัดสรร หรือจัดหางบประมาณในการพัฒนาอาจารยใหมีคุณวุฒิ ตําแหนงทางวิชาการ

ตามเปาหมายท่ีกําหนด5 ผูบริหารสถาบันหรือหนวยงานท่ีดูแลการบริหารจัดการหลักสูตรตองมีการวางแผนระยะยาวดาน

อัตรากําลัง ดานอาจารยใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานการอุดมศึกษา ตองมีแผนการบริหารอาจารยประจําหลักสูตร โดยการมสีวนรวมของทีมบริหารระดับคณะ (คณะกรรมการประจําคณะ)

6 สถาบันมรีะบบและกลไกบริหารกําลังคนท่ีมปีระสทิธิภาพ สามารถรักษาอาจารยท่ีมีศักยภาพใหคงอยูกับสถาบัน ลดอัตราการลาออก หรือการยายงาน แผนบริหารหลักสูตรควรประกอบดวย แผนอัตรากําลังแผนการสรรหาและรับอาจารยใหม แผนธํารงรักษา แผนการหาตําแหนงทดแทนกรณีลาไปศึกษาตอ/เกษียณอายุ อื่น ๆ ตามบริบท

7 ในกรณีท่ีปริมาณและคุณภาพอาจารยยังไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรกําหนด สถาบันตองมีวธีิการ บริหารจัดการเพื่อทรัพยากรบุคคลเพื่อทดแทนขอจํากัดอยางเปนระบบ

8 มีแผนบริหารความเสี่ยงดานการบริหาร กรณีมีอาจารยสวนเกิน กรณีมีอาจารยขาดแคลน กรณีมีอาจารย สมดุลกับภาระงาน เพื่อใหมีอาจารยคงอยู และมีแผนบริหารความเสี่ยง ดานจรรยาบรรณท่ีเกี่ยวของกับ การจัดการเรียนการสอนและการประเมนิผลนักศึกษา

9 การกําหนดบทบาทหนาท่ีและความรับผดิชอบของอาจารยประจําหลักสูตรอยางชัดเจน10 การมอบหมายภาระหนาท่ีใหเหมาะสมกับคุณวุฒ ิความรู ความสามารถ และประสบการณ11 ระบบการกําหนดภาระงานและแรงจูงใจในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน12 ระเบียบท่ีโปรงใสชัดเจนในการบริหารอาจารยประจําหลักสูตร13 ระบบในการเลกิจางและการเกษียณอายุอยางชัดเจน

Page 109: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 109 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

14 ระบบการยกยองและธํารงรักษาอยางมปีระสทิธิภาพระบบการสงเสรมิและพัฒนาอาจารย

15 สถาบันใหโอกาสอาจารยทุกคนไดพัฒนาตนเองใหมคีุณภาพมาตรฐานทางวชิาชีพอยางตอเนื่อง16 การจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพอาจารยใหเปนไปตามมาตรฐานและมศัีกยภาพท่ีสูงขึ้น เพื่อ

สงผลตอคุณภาพของบัณฑติ17 การควบคุม กํากับ สงเสริมใหอาจารยพัฒนาตนเองในการสรางผลงานทางวชิาการอยางตอเนื่อง18 การเสริมสรางบรรยากาศทางวชิาการระหวางอาจารยท้ังในและระหวางหลักสูตร19 การสงเสริมการทําวจิัยเพื่อพัฒนานักศึกษาของอาจารย (ประเมินจากจํานวนอาจารยท่ีมีการทําวิจัยเพื่อ

พัฒนาการเรียนการสอน)20 การประเมินการสอนของอาจารย และนําผลมาใชในการสงเสริมพัฒนาความสามารถดานการสอนของ

อาจารย21 อาจารยอาวุโส หรืออาจารยท่ีมีเทคนิคการสอนดีเดน มีการถายทอดประสบการณสูอาจารยในสาขา/

หลักสูตร22 บัณฑติศึกษา ใหความสําคัญกับการจัดหาอาจารยหรือพัฒนาอาจารยใหมีคุณสมบัติท่ีสูงกวากําลังคนใน

หลักสูตรปริญญาตรี โดยเฉพาะคุณสมบัติของอาจารยท่ีตองเนนทักษะความสามารถดานการวิจัยนอกเหนอืจากความรูความสามารถดานการสอน

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 4.3ผลที่เกิดกับอาจารย

1 อัตราการคงอยูของอาจารยประจําหลักสูตร2 ความพงึพอใจของอาจารยประจําหลักสูตรตอการบริหารจัดการหลักสูตร3 จํานวนอาจารยเพยีงพอในการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานหลกัสูตร

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 5.1สาระของรายวชิาในหลักสูตร

1 หลักสูตรมีการกําหนดสาระวิชาทางทฤษฎี และการปฏิบัติท่ีชวยสรางโอกาสในการพัฒนาความรู ทักษะผาน การเรียนการสอนท่ีมปีระสทิธิภาพ

2 เนื้อหาของหลักสูตรในแตละรายวชิามกีารปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา มกีารเปดวิชาใหมใหนักศึกษาไดเรียน

3 หลักสูตรแสดงผลลัพธการเรียนรูท่ีชัดเจน ทันสมัย สอดคลองกับความกาวหนาทางวิชาการและความตองการของผูใชบัณฑติ

4 คําอธิบายรายวิชามีเนื้อหาท่ีเหมาะสมกับชื่อวิชา จํานวนหนวยกิต และมีเนื้อหาท่ีครบคลุมกวางขวางครบถวน ในสิ่งท่ีควรเรียน มีความลึกในวิชาเอกหรือท่ีเปนจุดเนน มีความตอเนื่องเชื่อมโยง สัมพันธกันระหวางวชิา และมกีารสังเคราะหการเรียนรู

5 เนื้อหาท่ีกําหนดในรายวิชาไมมีความซ้ําซอน กลุมรายวิชามีความตอเนื่องสัมพันธกัน เหมาะสมกับระดับการศึกษาของหลักสตูร

Page 110: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 110 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

6 ผลลัพธการเรียนรูของผูเรียนตรงกับผลลัพธการเรียนรูท่ีกําหนดในรายวชิาและหลักสูตร7 การจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาระเนื้อหาท่ีกําหนดในคําอธิบายรายวชิาครบถวน8 การเปดรายวชิามลีําดับกอนหลังท่ีเหมาะสม เอื้อใหนักศึกษามพีื้นฐานความรูในการเรียนวชิาตอยอด9 การเปดรายวิชาเปนไปตามขอกําหนดของหลักสูตรเพื่อใหนักศึกษาสําเร็จไดทันตามเวลาท่ีกําหนดใน

หลักสูตร10 การเปดรายวชิาเลอืกสนองความตองการของนักศึกษา ทันสมัย และเปนท่ีตองการของตลาดแรงงาน11 การจัดรายวิชาในหลักสูตรแกนักศึกษาท่ีเรียนในสถาบันหรือนอกสถาบัน การศึกษาปกติ หรือการศึกษา

ทางไกล มีการควบคุมใหนักศึกษาไดเนื้อหาสาระ เปาหมายการเรียนรู วิธีการจัดการเรียนการสอน การประเมนิท่ีเปน มาตรฐานเดยีวกัน

ปรญิญาตรี (ประเด็นเพิ่มเตมิ)12 การจัดรายวิชาเนนเนื้อหาความรูและทฤษฎี การปฏิบัติในเนื้อหาสาระของสาขาวิชาท่ีเปนจุดเนน วิชา

การศึกษาท่ัวไปท่ีสรางความเปนมนุษยท่ีเตรียมนักศึกษาออกสูโลกแหงการดํารงชีวติ13 หากมีการโอนหนวยกิต ตองใหความสําคัญกับการเทียบวิชารับโอนท่ีตองมีการเรียนในเนื้อหาสาระท่ี

กําหนดในรายวชิาของหลักสูตรอยางครอบคลุมครบถวนบัณฑิตศกึษา (ประเด็นเพิ่มเตมิ)

14 เนื้อหาสาระของรายวชิาเนนความรู ทฤษฎใีนสาขาท่ีเกี่ยวของท่ีมคีวามท่ีซับซอน มจีุดเนน15 การควบคุมกํากับหัวขอวิทยานิพนธ/สาระนิพนธท่ีอนุมัติเปนประเด็นวิจัยรวมสมัย/สนองความตองการ

ของสังคม16 หัวขอวทิยานพินธเปนประเดน็วจิัยท่ีเหมาะสมกับปรัชญา วิสัยทัศนของหลักสูตร และสอดคลองกับระดับ

ของหลักสูตร17 หัวขอวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก มีความซับซอนและลึกซึ้งและใหองคความรูใหมมากกวาระดับ

ปริญญาโท

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 5.2การวางระบบผูสอน

1 ผูสอนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับรายวิชาท่ีสอน มีความรูและความชํานาญในเนื้อหาวิชาท่ีสอน(คํานึงถึงสาขาวชิา ประสบการณทํางาน ผลงานวชิาการของผูสอน)

2 หลักสูตรกําหนดผูสอนใหนักศึกษาไดเรียนจากผูสอนท่ีมีความชํานาญหลากหลาย เพื่อใหมีโอกาสไดรับการพัฒนามุมมองหรือความคิดจากผูสอนหลากหลายความรูและประสบการณ (ในแตละหลักสูตรนักศึกษาควรไดเรียนกับ อาจารยผูสอนคนเดมิไมเกนิ 3 วชิา)

3 มกีารกํากับมาตรฐานการทําประมวลการสอน (มคอ.3 และ มคอ.4) ของอาจารยใหทันสมัยในดานเนื้อหากจิกรรมการเรียน การวัดและประเมนิผลเหมาะสม

4 การกํากับใหอาจารยทุกคนตองมีการทําประมวลการสอนรายวิชา (มคอ.3 และ มคอ.4) ทุกรายวิชาแจกนักศึกษา และมกีารกํากับใหดําเนนิการสอนตามประมวลการสอนรายวชิา

5 นักศึกษาท่ีเรียนในและนอกสถาบัน หรือระบบปกติ/ระบบทางไกล ตองไดรับการสอนจากอาจารยท่ีมีคุณสมบัตท่ีิคุณภาพมาตรฐานเดยีวกัน มโีอกาสท่ีจะมีปฏิสัมพันธกับอาจารยผูสอน/อาจารยท่ีปรึกษาเทา

Page 111: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 111 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เทียมกัน6 หากมกีารกําหนดใหมี TA, RA ชวยสอน ตองไดรับการฝกอบรม การใหคําแนะนํา และการปรับปรุงพัฒนา

ใหมคีวามสามารถในการปฏบัิตงิานชวยเหลอืนักศึกษาอยางเหมาะสมบัณฑติศกึษา (ประเด็นเพิ่มเตมิ)

7 หลักสตูรตองมอีาจารยเต็มเวลาในปริมาณท่ีเพียงพอ มีคุณสมบัติดานความรู ประสบการณ เวลาในการใหคําปรึกษาและการพัฒนานักศึกษา

8 การแตงตัง้อาจารยท่ีปรึกษาวทิยานพินธ/สาระนพินธ คํานงึถงึคุณสมบัติของอาจารยท่ีปรึกษาท่ีเหมาะสมกับ หัวขอวิทยานิพนธท่ีอนุมัติ โดยเฉพาะความรูและความเช่ียวชาญในหัวขอวิจัยท่ีจะควบคุมการทําวทิยานพินธของนักศึกษา และเหมาะสมกับลักษณะของนักศึกษา

9 มีการควบคุมกํากับจํานวนนักศึกษาตออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ เปนไปตามหลักเกณฑท่ี สกอ.กําหนด

10 มกีารกํากับใหอาจารยพเิศษท่ีมาทําหนาท่ีอาจารยท่ีปรึกษามกีารผลติผลงานวชิาการอยางตอเนื่องกระบวนการเรยีนการสอน

11 การควบคุมการจัดการเรียนการสอนในวชิาท่ีมหีลายกลุมเรียนใหไดมาตรฐานเดยีวกัน12 การสงเสริมใหอาจารยใชวธีิการสอนใหม ๆ ท่ีพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักศึกษา13 การจัดการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย เนนทฤษฎีและการปฏิบัติ การเรียนรูจากผูทรงคุณวุฒิภายนอก/

ผูประกอบการ การศึกษาดูงาน ฯลฯ14 การจัดกจิกรรมการเตรียมความพรอมทางการเรียนแกนักศึกษา (เชน ความรูพื้นฐานท่ีจําเปนตองมีกอน

เขา โปรแกรม ภาษาอังกฤษ ฯลฯ)15 การจัดกจิกรรมการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพนักศึกษาระหวางเรียนเพื่อเพิ่มประสบการณการเรียนรู/การ

ทํางาน/ การประกอบอาชีพ16 การสงเสริมความสามารถพเิศษ คุณลักษณะท่ีเอื้อตอการทํางาน (ความรับผดิชอบ ทักษะการสื่อสารการ

พูด ฟง อาน เขียน ทักษะ ICT ทักษะการแกปญหา ฯลฯ) ดวยวิธีการหลายชองทาง เชน การสงเสริมการเรียนรูดวย เทคโนโลยีสื่อสาร (เครือขายทางสังคม online learning)

17 การเตรียมความพรอมดานการทํางาน/การประกอบอาชีพ (กลไกการชวยเหลือดานการหางานทํา/การเผยแพรผลงาน)

18 การสอนแบบเนนการปฏบัิต ิการเรียนรูจากผูทรงคุณวุฒภิายนอก/ผูประกอบการ การศึกษาดูงาน19 มกีารควบคุมมาตรฐานของแหลงฝกประสบการณวชิาชีพ20 การใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อสงเสริมความรูและทักษะการเรียนรูท่ีมปีระสทิธิภาพเชน online learning21 การสงเสริมการทําวจิัยเพื่อพัฒนานักศึกษาของอาจารย (ประเมินจากจํานวนอาจารยท่ีมีการทําวิจัยเพื่อ

พัฒนาการเรียนการสอน)22 มกีารประเมนิการสอนของอาจารย และนําผลมาใชในการสงเสริมพัฒนาความสามารถดานการสอนของ

อาจารย23 อาจารยอาวุโส หรืออาจารยท่ีมีเทคนิคการสอนดีเดน มีการถายทอดประสบการณสูอาจารยในสาขา/

หลักสูตร24 การควบคุมกํากับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการประเมนินักศึกษา

Page 112: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 112 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ปรญิญาตรี (ประเด็นเพิ่มเตมิ)25 การนํากระบวนการบริการทางวิชาการเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนและสงผลตอการ

เรียนรูของนักศึกษา26 การนํากระบวนการวจิัยมาใชในการเรียนการสอนและสงผลตอการเรียนรูของนักศึกษา27 การสอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ในกระบวนการเรียนการสอนและสงผลตอการ

เรียนรูของนักศึกษา28 การแตงตัง้อาจารยท่ีปรึกษาโครงงาน (senior project) เหมาะสมกับประเด็นท่ีนักศึกษาสนใจ (ถามี)29 ระบบการกํากับตดิตามความกาวหนาในการทําโครงงาน (senior project) ของอาจารยท่ีปรึกษา (ถามี)30 มรีะบบการคัดเลอืกสถานประกอบการท่ีจะใหนักศึกษาเขาไปปฏบัิตงิานสหกจิศึกษา31 มีระบบการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา โดยมีสวนรวมของ

สถานศึกษาและสถานประกอบการบัณฑติศกึษา (ประเด็นเพิ่มเตมิ)

32 การสงเสริมใหอาจารยใชวธีิการสอนใหม ๆ ท่ีพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักศึกษา โดยเฉพาะการสอนท่ีเนน ปญหาเปนฐาน การสอนโดยใชการวจิัยเปนฐาน

33 มรีะบบกํากับการทํางานของอาจารยผูสอนท่ีเอื้อประโยชนตอนักศึกษาเต็มท่ี ใหความสําคัญกับพฤตกิรรมการ ปฏบัิตงิานของอาจารยในการใหคําปรึกษาแกนักศึกษาตามจรรยาบรรณของอาจารย

34 มีระบบการกํากับติดตามความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธ/สาระนิพนธของนักศึกษา เพื่อใหนักศึกษาสําเร็จการศึกษาไดทันตามระยะเวลาท่ีกําหนด

35 หัวของานวจิัยของนักศึกษาสอดคลองหรือสัมพันธกบัความเช่ียวชาญของอาจารยท่ีปรึกษา36 มีระบบและมีการติดตามความกาวหนาของการทําวิทยานิพนธของนักศึกษาแตละคนอยางนอยหนึ่งคร้ัง

ตอภาคการศึกษา37 มฐีานขอมูลงานวจิัยออนไลนท่ีเกี่ยวของและนักศึกษาสามารถเขาใชงานไดอยางสะดวก38 มีการใหความรูและระดับช้ันความสําคัญในการตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยในวารสารวิชาการตาม

ฐานขอมูลท่ี สกอ. รับรอง และการจดสทิธิบัตรหรืออนุสทิธิบัตร39 มกีารใหความรูเกี่ยวกับจรรยาบรรณนักวจิัย ปญหาการคัดลอกผลงานวจิัย และปญหาของวารสารท่ีไมมี

คุณภาพ40 การช้ีแนะแหลงทุนสนับสนุนการทําวทิยานพินธและสงเสริมใหนักศึกษาจัดทําขอเสนอโครงการท่ีมีโอกาส

ไดรับทุนสนับสนุน41 การสรางเครือขายระหวางสถาบันภายในประเทศและตางประเทศ ม ีVisiting Professors ท่ีมาชวยสอน

หรือใหประสบการณแกนักศึกษา และการสงนักศึกษาไปแลกเปลี่ยนเรียนรูในตางประเทศ

Page 113: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 113 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 5.31 การกําหนดเกณฑการประเมนิใหนักศึกษามสีวนรวม2 น้ําหนักขององคประกอบในการประเมนิสอดคลองกับจุดเนนของรายวชิา (วชิาทฤษฎ ีปฏบัิต ิสัมมนา ฯลฯ)3 การประเมินผลการเรียนรูของโดยใชการประเมินตามสภาพจริง (เคร่ืองมือประเมินมีความหลากหลาย

เชน ขอสอบปรนัย อัตนัย การบาน รายงานท่ีมอบหมาย การสอบปากเปลา การสังเกตพฤติกรรมนักศึกษา การวัดทักษะการปฏิบัติงาน ฯลฯ เคร่ืองมือประเมินสะทอนสภาพการปฏิบัติงานจริงในการประกอบอาชีพ)

4 การกํากับใหมีการพัฒนาและตรวจสอบเคร่ืองมือประเมินนักศึกษาท่ีเหมาะสมกับวิชาและผลลัพธการเรียนรู

5 การวิเคราะห/ตรวจสอบคุณภาพ/ปรับปรุงพัฒนาเคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินคุณภาพนักศึกษา (มีการวพิากษขอสอบ ปรับปรุงขอสอบ สรางขอสอบใหม ๆ เสมอ มีคลังขอสอบ ขอสอบหรือเคร่ืองมือประเมินสามารถวัด ความรูและการคดิขัน้สูงได เคร่ืองมอืประเมนิสะทอนความสามารถในการปฏบัิตงิานไดจริงในโลกแหงการทํางาน)

6 การควบคุมการประเมนิผลการเรียนในรายวชิาท่ีมหีลายกลุมเรียนใหไดมาตรฐานเดยีวกัน7 การตัดเกรดและแจงใหนักศึกษารับรูชัดเจน (กําหนดเกณฑการประเมนิ/การตัดเกรดชัดเจน สอดคลองกับ

ท่ีเกณฑท่ีนักศึกษามสีวนรวม หรือรับรูรวมกันตั้งแตแรก มีขอมูลหลักฐานหรือท่ีมาของคะแนนท่ีใชในการการตัดเกรดชัดเจน การกระจายของเกรด สะทอนความสามารถท่ีแทจริงของนักศึกษาและลักษณะของรายวชิา)

8 การสงเสริมการสอบ exit exam ตามมาตรฐาน TQF9 การประเมนิการจัดการเรียนการสอน การประเมนิหลักสูตรตามรายละเอียดใน มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.

7บัณฑติศกึษา (ประเด็นเพิ่มเตมิ)

10 การกําหนดเกณฑการประเมินชัดเจน มีตัวบงช้ีคุณภาพของรายงานวิทยานิพนธและการสอบปองกันชัดเจน

11 ขอมูลท่ีรองรับการประเมนิท่ีมาโปรงใส ตรวจสอบ และสะทอนระดับคุณภาพของวิทยานิพนธ สารนิพนธได

12 วิทยานิพนธท่ีมีคุณภาพระดับดีมาก มีประเด็นวิจัยท่ีสะทอนความคิดริเร่ิม รวมสมัย มีการออกแบบการวจิัยท่ีเหมาะสม เปนตัวอยางของผลงานท่ีมคีุณภาพ มีการเผยแพรในรูปแบบ/วารสาร ซึ่งเปนท่ียอมรับในสาขาวชิาชีพหรือรับรองโดย สกอ.

Page 114: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 114 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

แนวทางในการประเมนิตัวบงช้ีท่ี 6.1ความเหมาะสมและเพยีงพอของสิ่งสนับสนุนทางกายภาพและทรัพยากรการเรยีนรู

1 การเตรียมความพรอมทางกายภาพ (หองเรียน หองปฏบัิตกิาร สภาพแวดลอมดานการเรียนรู)2 การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก และสิ่งสนับสนุนทางการศึกษา เชน หองสมุด ฐานขอมูลทรัพยากร

การเรียนรู วารสารวชิาการเพื่อการสบืคน ฯลฯ เพยีงพอ ทันสมัย3 การจัดพื้นท่ี/สถานท่ีสําหรับนักศึกษาและอาจารยไดพบปะ สังสรรค แลกเปลี่ยนสนทนา หรือทํางาน

รวมกัน4 มบีริการคอมพวิเตอร อินเทอรเน็ตความเร็วสูง5 สําหรับการเรียนการสอนทางไกล ระบบการเรียนรูแบบทางไกลมีประสิทธิภาพ อาจารยและ

นักศึกษาสามารถตดิตอสื่อสารไดใกลชิดบัณฑติศกึษา (ประเด็นเพิ่มเตมิ)

6 การเปดสอนหลักสูตรบัณฑิตศึกษาควรดําเนินการตอเมื่อสถาบันมีความพรอมและกําหนดความคาดหวังสูงกวาขอกําหนดในหลักสูตรปริญญาตรีท่ีเปนสาขาเดียวกัน ทรัพยากรการเรียนรูและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ โดยเฉพาะแหลงขอมูลสารสนเทศเพื่อการสืบคนและการเรียนรูตองมีมากกวาขอกําหนดท่ีพงึมขีองหลักสูตร ปริญญาตรี

7 มกีารจัดสรรงบประมาณใหนักศึกษาเพื่อทําวจิัย8 มหีองทํางานวจิัย (ซึ่งไมใชหองเรียน) เพื่อใหนักศึกษาเขาใชไดสะดวกในการทําวจิัย9 มอุีปกรณและเคร่ืองมอืพื้นฐานท่ีจําเปนและเหมาะสมในการทําวจิัย

ความพงึพอใจของอาจารยและนักศกึษาตอสิ่งสนับสนุนการเรยีนรู

Page 115: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 115 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

Page 116: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 116 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

Page 117: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 117 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

Page 118: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 118 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาวาดวยหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการ สําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ

พ.ศ.๒๕๕๖--------------------------------

ดวยระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวย มาตรฐานหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้งคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหดํารงตําแหนงทางวิชาการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๐ คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) ไดกําหนดหลักเกณฑของผลงานทางวิชาการท่ีใชประกอบในการพิจารณาแตงตั้งคณาจารยใหดํารงตําแหนงทางวิชาการ วาจะตองมีคุณภาพอยูในเกณฑท่ี กกอ. กําหนด สําหรับตําแหนงท่ีเสนอขอ และจะตองไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑท่ี กกอ. กําหนด

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๔ (๔) และมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.๒๕๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๐ กกอ. จึงกําหนดหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการท้ังท่ีเปนรูปเลมสิ่งพิมพหรือเปนวารสารออนไลน สําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาเอกชนถอืปฏบัิตเิปนมาตรฐานเดยีวกัน ไวดังตอไปนี้

ขอ ๑ ใหใชระเบียบนี้นับตัง้แตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๒ การเผยแพรผลงานทางวิชาการตามระเบียบนี้ ใหสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใชวารสาร

ทางวชิาการท่ีมรีายชื่ออยูในฐานขอมูลท่ีเปนท่ียอมรับในระดับชาตแิละระดับนานาชาต ิตามเอกสารแนบทายระเบียบนี้ขอ ๓ ในกรณวีารสารทางวิชาการท่ีไมอยูในฐานขอมูลตามีขอ ๒ ใหสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

อาจพจิารณายอมรับวารสารทางวชิาการ สําหรับการเผยแพรผลงานทางวชิาการ ตามหลักเกณฑดังนี้(๑) มกีําหนดการเผยแพรท่ีแนนอนชัดเจน และสมํ่าเสมอ อยางนอยปละ ๒ ฉบับ(๒) มีการระบุสํานักพิมพหรือหนวยงานท่ีตีพิมพ วัตถุประสงค ขอบเขตของวารสารและสาขาวิชา

ของบทความท่ีจะรับตพีมิพ(๓) มคีณะบรรณาธิการเปนผูทรงคุณวุฒท่ีิมาจากหลากหลายหนวยงาน(๔) มีหลักฐานท่ีตรวจสอบไดวา วารสารมีการแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิ (peer reviewer) ท่ีพิจารณา

คุณภาพบทความท่ีครอบคลุมสาขาวิชาหรือกลุมสาขาวิชาตามวัตถุประสงคและขอบเขตของวารสาร โดยมีผูทรงคุณวุฒภิายนอกหนวยงานท่ีจัดทําวารสารอยูในรายชื่อดวย

(๕) บทความทุกบทความมีการควบคุมคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิ (peer reviewer) ท่ีตรงหรือเกี่ยวเนื่องกับสาขาของบทความ และไมเปนผูมสีวนไดสวนเสยีกับผูนพินธ

(๖) วารสารทุกฉบับมีการเผยแพรบทความท่ีมีผูนิพนธจากหลากหลายหนวยงานท้ังภายในและภายนอก กรณท่ีีบทความมผีูนพินธรวมท่ีเปนบุคคลจากหนวยงานภายในและหนวยงานภายนอก ใหถอืวาเปนบทความจากหนวยงานภายนอก

Page 119: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 119 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

(๗) มีบทคัดยอของบทความท่ีเปนท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษทุกบทความ กรณีท่ีบทความตพีมิพเปนภาษาตางประเทศอื่นๆ จะตองมบีทคัดยอท่ีเปนภาษาอังกฤษดวย

(๘) มีการตีพิมพบทความท่ีมีรูปแบบการตีพิมพท่ีไดมาตรฐาน เปนรูปแบบเดียวกันในทุกบทความไดแก ชื่อและท่ีอยูผูนพินธ บทคัดยอ ตัวบทความและเอกสารอางอิง

ขอ ๔ เมื่อสภาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนพจิารณายอมรับวารสารทางวชิาการตามหลักเกณฑ ขอ ๓แลว ใหจัดทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กกอ. ทราบ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันท่ีออกประกาศ

ขอ ๕ เพื่อใหวารสารทางวิชาการตามขอ ๓ ไดมีการพัฒนาขึ้นไปเปนท่ียอมรับตามขอ ๒ จึงกําหนดใหหลักเกณฑการพจิารณาวารสารทางวชิาการตามขอ ๓ มผีลบังคับใชเปนเวลา ๓ ป นับตั้งแตวันท่ีระเบียบนี้มผีลบังคับใช หากพนระยะเวลาดังกลาว กกอ. จะไมรับรองวารสารตามขอ ๓

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖

(รองศาสตราจารย คุณหญงิสุมณฑา พรหมบุญ)ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

Page 120: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 120 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เอกสารแนบทายระเบยีบ

วารสารทางวิชาการท่ีเปนไปตามหลักเกณฑท่ี กกอ.กําหนด ไดแก วารสารท่ีมีชื่ออยูในฐานขอมูลท่ีเปนท่ียอมรับในระดับชาตแิละระดับนานาชาต ิดังตอไปนี้

๑. ฐานขอมูลระดับนานาชาติ- Academic Search Premier (http://www.ebsco.com/home)

(select ebscohost and then academic search premier)- Agricola (http://agricola.nal.usda.gov)- BIOSIS (http://www.biosis.org)- CINAHL (http://www.ebscohost.com/academic/cinahl-plus-with-full-text)- EiCOMPENDEX (http://www.ei.org)- ERIC (http://www.eric.ed.gov/)- H.W.Wilson (http://www.ebscohost.com)

(select ebscohost and then H.W.Wilson)- Infotrieve (http://www.infotrieve.com)- Ingenta Connect (http://www.ingentaconnect.com)- INSPEC (http://www.theiet.org/publishing/inspec)- MathSciNet (http://www.ams.org/mathscinet)- MEDLINE/Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/)- PsycINFO (http://www.apa.org/pubs/databases/psycinfo/index.aspx)- Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/)- ScienceDirect (http://www.sciencedirect.com)- SciFinder (https://scifinder.cas.org/)- Scopus (http://www.info.scopus.com)- Social Science Research Network

(http://papers.ssrn.com/sol3/DisplayAbstractSearch.cfm)- Web of Knowledge (http://wokinfo.com)

๒. ฐานขอมูลระดับชาติ ไดแก ศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index – TCI) เฉพาะวารสารท่ีมชีื่ออยูในกลุมท่ี ๑ และกลุมท่ี ๒ (http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php)

หมายเหตุ กรณท่ีีมกีารเปลี่ยนแปลงชื่อฐานขอมูล กกอ. จะไดมกีารประกาศเพิ่มเตมิตอไป

Page 121: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 121 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

Page 122: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 122 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

Page 123: คู มอการประกันคุณภาพการศก ษาภายใน คณะมนุษยศาสตร …human.yru.ac.th/huso/manualassur/ass-57-1.pdf~

~ 123 ~

คูมือการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปการศกึษา 2557

เอกสารแนบทายประกาศ

วารสารทางวิชาการท่ีเปนไปตามหลักเกณฑท่ี กกอ.กําหนด ไดแก วารสารท่ีมีชื่ออยูในฐานขอมูลท่ีเปนท่ียอมรับในระดับชาตแิละระดับนานาชาต ิดังตอไปนี้

๑. ฐานขอมูลระดับนานาชาติ- Academic Search Premier (http://www.ebsco.com/home)

(select ebscohost and then academic search premier)- Agricola (http://agricola.nal.usda.gov)- BIOSIS (http://www.biosis.org)- CINAHL (http://www.ebscohost.com/academic/cinahl-plus-with-full-text)- EiCOMPENDEX (http://www.ei.org)- ERIC (http://www.eric.ed.gov/)- H.W.Wilson (http://www.ebscohost.com)

(select ebscohost and then H.W.Wilson)- Infotrieve (http://www.infotrieve.com)- Ingenta Connect (http://www.ingentaconnect.com)- INSPEC (http://www.theiet.org/publishing/inspec)- MathSciNet (http://www.ams.org/mathscinet)- MEDLINE/Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/)- PsycINFO (http://www.apa.org/pubs/databases/psycinfo/index.aspx)- Pubmed (http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/)- ScienceDirect (http://www.sciencedirect.com)- SciFinder (https://scifinder.cas.org/)- Scopus (http://www.info.scopus.com)- Social Science Research Network

(http://papers.ssrn.com/sol3/DisplayAbstractSearch.cfm)- Web of Knowledge (http://wokinfo.com)

๒. ฐานขอมูลระดับชาติ ไดแก ศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index – TCI) เฉพาะวารสารท่ีมชีื่ออยูในกลุมท่ี ๑ และกลุมท่ี ๒ (http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php)

หมายเหตุ กรณท่ีีมกีารเปลี่ยนแปลงชื่อฐานขอมูล กกอ. จะไดมกีารประกาศเพิ่มเตมิตอไป