84
หนวยอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

หนวยอาชีวอนามัย ภาควิชาเวชศาสตรชมุชน

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

2

วัตถุประสงค

ระบุอันตรายจากสิ่งคุกคามในงานและอบุัติเหตจุากงาน

แนะนาํวิธีประเมินอนัตรายจากสิง่แวดลอมการทํางาน

แนะนาํหลักการควบคุมปองกนัอนัตรายจากสิง่แวดลอม

และความไมปลอดภัยในงาน

Page 3: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

กลุมงานรักษา

พยาบาล

ผูปวยนอก

หอผูปวย

หองผาตัด

หองฉุกเฉิน

หองยา

หองทันตกรรม

กลุมงานธุรการ

วิศวกรรมซอมบํารุง(งานทอไอน้ํา งานไม งาน

ประปา งานแอร งานไฟฟา

งานซอมเครื่องจักร

งานเชื่อมโลหะ)

ซอมเครื่องมือแพทย

โภชนาการ

งานเวชภัณฑกลาง

เคหะบริการ

งานอาคารสถานที่และ

ยานยนต

ขนเปลฯ

กลุมงานสนับสนุนกลุมงานหองชัน-

สูตร/ พยาธิวิทยา

งานบริหารและธุรการ

การเจาหนาที่

งานการเงิน

งานพัสด/ คุรุภัณฑ

งานเวชระเบียน

หนวยเงินรายได

สิทธิประโยชนผป.

ประชาสัมพันธ

หองชันสูตรผูปวยนอก

โลหิตวิทยา

เคมีคลินิก

พิษวิทยา

จุลชีววิทยา

ภูมิคุมกันวิทยา

ชันสูตรศพ

หองรังสีวินิจฉัย

เวชศาสตรนิวเคลียร

โครงสราง

โรงพยาบาล

Page 4: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

4

สิ่งของ หรือ สภาวะใดๆที่อยูในงาน ที่มีศักยภาพที่จะกอใหเกิดการเจ็บปวย หรือ เปนโรคจากการทํางานได สิ่งนั้นอาจเปนสารเคมี เครือ่งจักร ความรอน ลักษณะการทํางาน หรือสภาพแวดลอมการทํางาน

อันตรายที่เกิดขึ้น รวมถึงการเสียชีวิต ทุพลภาพ หรือการเจ็บปวยทางกายหรือทางจิตใจ

สิ่งคุกคามทางสุขภาพ

Page 5: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

5

• สิ่งคุกคามทางกายภาพ

• สิ่งคุกคามทางเคมี

• สิ่งคุกคามทางชีวภาพ

• สิ่งคุกคามทางจิตใจ

• อุบตัิเหตุ

• ทาทางในการทํางาน

สิ่งคุกคามทางสุขภาพ

Page 6: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

6

• เสียง

• แสงสวาง

• สั่นสะเทือน

• ความรอน / ความเย็น

• ความกดดันอากาศที่ผิดปกติ

• รังสี

สิ่งคุกคามทางกาพภาพ

Page 7: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

7

1. เสียง

• งานโภชนาการ

- หองปรุงอาหาร ระดับเสยีง 76 - 81 dB(A)

- หองลางภาชนะ * ระดบัเสียง 67 - 82 dB(A)

• งานซอมบํารุง

- หอง chiller* ระดบัเสียง 88 – 90 dB(A)

- หอง Pump* ระดบัเสียง 92 – 96 dB(A)

Page 8: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

• หนวยจายผากลาง

- งานซักผา* ระดบัเสยีง 67 - 87 dB(A)

- งานอบผา ระดบัเสียง 80 - 84 dB(A)

• อื่นๆ

- หนวยงานตางๆ ที่ชวนไปเดินสํารวจ

Page 9: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

แลวถาทํางานในเสียงดังบอยๆ

และไมมมีาตรการปองกนัที่ด ีจะเปนไรไปหละ

Page 10: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

10

เปนภาวะของการเสื่อมของประสาทหูเปนภาวะของการเสื่อมของประสาทหู

เนื่องจากการไดยินเสียงดังเนื่องจากการไดยินเสียงดัง ทีเ่กดิจากการทีเ่กดิจากการ

ประกอบอาชีพประกอบอาชีพ มักเปนมักเปน 22 ขางขาง

โรคประสาทหูเสื่อมจากการประกอบอาชีพโรคประสาทหูเสื่อมจากการประกอบอาชีพ

((Occupational Hearing Loss)Occupational Hearing Loss)

Page 11: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

8 90

4 95

Page 12: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

เครื่องมือในการตรวจวัดเสยีง

Page 13: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

การทดสอบสมรรถภาพการไดยนิ

Page 14: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

14

การควบคมุความเสีย่ง “เสียง” (1)

• จัดใหมกีารตรวจวัดเสียงทางสิ่งแวดลอมในการทํางาน

อยางนอยปละ 1 ครัง้

• เมื่อบรเิวณการทํางานมีเสียงดังเกิน 85 dB ควรจัดใหมี

โครงการอนุรักษการไดยิน

• การตรวจประเมินสมรรถภาพการไดยินของพนักงานใน

บริเวณจุดหนางาน

Page 15: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

15

การควบคมุความเสีย่ง “เสียง” (2)

• ปรับปรุงเครือ่งจักรที่เปนแหลงกําเนิดเสียง เชน วิธีปดลอมเครื่องมือ/อุปกรณสวนที่ทําใหเกิดเสียงดัง การใชวัสดุกันการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร เปนตน

• การจัดใหมีการพักเพือ่ลดระยะเวลาและความถี่ในการสัมผัสเสียง

• การติดปายเตือน หรือสัญญาณเตือน• การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล • การฝกอบรมและการสรางแรงจูงใจในการเขารวมโครงการฯ

Page 16: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

16

2. แสงสวาง

แหลงที่พบ

งานทันตกรรม งานหองผาตัด งานสํานักงานทีใ่ชคอมพิวเตอร

ผลกระทบตอสุขภาพ

– จะมีอาการเมื่อยตา ตาแหง เคืองตา แสบตา แพแสง ตาพรา ปวดตา ปวด

ศรีษะ

– อาจทําใหเกิดอบุัติเหตุ

– ประสทิธิภาพการทํางานลดลง

Page 17: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

เครื่องมือในการตรวจวัดแสง

Page 18: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

18

Page 19: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

19

ตัวอยาง

• งานละเอียดเล็กนอย

– เชน งานขนยาย งานบรรจุ 100 ลักซ

• งานตองการความละเอียดปานกลาง

– เชน เย็บผา ประกอบภาชนะ 400 ลักซ

• งานละเอียดสูง

– เชน งานเอกสาร งานหองปฏิบัติการ 400-600 ลักซ

• งานละเอียดสูงมาก

– เชน การทําหัตถการ งานหองคลอด การผาตัด 1200-1600 ลักซ

Page 20: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

20

การควบคุมความเสี่ยง “แสง”

• จัดใหมกีารตรวจวัดแสงทางสิ่งแวดลอมในการทํางาน

อยางนอยปละ 1 ครัง้

• การทํางานที่ตองใชสายตา ควรจัดแสงสวางใหไดเกณฑมาตรฐานที่

ปลอดภัย

• ปรับปรุงพวกแสงสะทอน, การปรับความแตกตางของความคมชัด

ของภาพหรือสีของวัตถุไมแตกตางกันจนเกินไป

Page 21: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

21

3. การสั่นสะเทอืน

สั่นทัง้ตัว เชน ยืน,

นั่ง, บนพืน้/สถานีงานที่

สัน่

สั่นบางสวน เชน มือ

จับอุปกรณ/ชิ้นงานที่สัน่

Page 22: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

22

ผลกระทบตอสุขภาพ

ระยะฉับพลัน ความไมสบายตัว

ลดความรูสึกตอการสัมผัส

ลดความคลองตัวของการเคลื่อนไหว

ระยะยาว โรคเสนเลือด+ หัวใจ

ปลายประสาทชา

ปวดเมื่อยระบบกลามเนื้อ กระดูกโครงราง

Page 23: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

23

4. ความรอน

แหลงที่พบ

หนวยจายผากลาง งานโภชนาการ หองตดิตั้งหมอไอน้ํา

ผลกระทบตอสุขภาพ

•การออนเพลียเนื่องจากความรอน

•การเปนลมเนื่องจากความรอนในรางกายสูง

•การเปนตะคริวเนื่องจากความรอน

•อาการผดผื่นตามผิวหนัง

Page 24: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

เครื่องมือในการตรวจวัดอณุหภูมิ

Page 25: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 26: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 27: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

27

การควบคุมความเสี่ยง “ความรอน” (1)

จัดใหมกีารตรวจวัดความรอนทางสิ่งแวดลอมในการทํางาน

อยางนอยปละ 1 ครัง้

จัดใหผูปฏิบัติงานมีระยะพักบอยขึ้น และพักในที่มีอากาศเย็น

แหลงความรอนสูง ควรมฉีนวน หุมกันความรอน

ติดตั้งระบบดดูอากาศเฉพาะที่

ติดตั้งฉากกันความรอน ระหวางแหลงกําเนิดความรอนกับ

ผูปฏิบัติงาน

Page 28: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

28

การควบคุมความเสี่ยง “ความรอน” (2)

จัดใหมพีัดลมเปา เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของอากาศและการระเหยของ

เหงื่อ

ใหความรูกับผูปฏิบัติงานทุกคนที่ทํางานในที่มีแหลงความรอน เพื่อใหเกิด

ความตระหนักถึงผลกระทบตอสุขภาพ

ควรกําหนดชั่วโมงการทํางานที่ตองสัมผัสความรอน เพื่อใหผูปฏิบัติงาน

สามารถสภาพรางกายใหเขากับความรอนได

Page 29: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

29

5. รังสีแตกตัว

รังสีเอกซ หรอืรังสีแกมมา

•การวินิจฉัยโรคดวยสารรังสี

•การรักษาโรคดวยสารรังสี

•การฉายรังสีเพื่อรักษาโรคผิวหนัง

แหลงที่พบ ไดแก

•หนวยรังสีวินิจฉัย

•หนวยรังสีรักษา

•หนวยเวชศาสตรนิวเคลียร

Page 30: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

30

ผลกระทบตอสุขภาพ

(ถาไดรับมากกวามาตรฐาน)

• ผลเฉียบพลัน

– ผิวหนังบวมแดง คลื่นไส อาเจียน ทองเดิน ออนเพลีย หมดสติ

– ตอมาในชวง 2-14 วัน คือ เปนไข วิงเวียนและแผลผิวหนังมีเลือดออก

• ผลเรื้อรัง

– การกลายพันธของยีน การเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม การแบงตัวของเซลลลาชาและเซลลถกูทําลาย

– ปอดมีพงัผืด มีผลตอไต ตาตอ การกดการทํางานของไขกระดูก ทําใหเปนหมัน โรคผิวหนัง

Page 31: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

??? Portable X-ray and Infertility ???

• Male– Temporally 0.15 Sv– Permanent > 4 Sv

• Female– Temporally 1.5-2.0 Sv– Permanent 2-3 Sv

Page 32: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 33: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

33

การควบคุมความเสี่ยง “รังสีแตกตัว ”

• สารกัมมันตรังสีควรมีปายบอกชัดเจน • ใชเวลาปฏิบัติงานใหสั้นที่สุด • รักษาระยะทางใหหางจากตนกําเนิดรังสีใหมากที่สุด • จัดใหมีเครื่องกําบังรังสี ใหเหมาะสมตามคุณสมบัติของรังสีแตละชนิด • การจํากัดขอบเขตของลํารังสี • การดูแลสภาพเครื่องมือ เครื่องใชเกี่ยวกับรังสีอยางสม่ําเสมอ • ควรติดเครื่องมือวัดรังสีไวติดตัวตลอดเวลาขณะปฏิบัติงาน • ผูปฏิบัติงานทางรังสีควรระมัดระวังการปนเปอนของสารกัมมันตรังสี

Page 34: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

34

สิ่งคุกคามทางเคมี

Page 35: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

35

เอกสารขอมลูความปลอดภัยของสาร

Material Safety Data Sheet (MSDS)

Page 36: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

36

เอกสารขอมลูความปลอดภัยของสาร

Material Safety Data Sheet (MSDS)

ชื่อสาร สูตร และ Cas No.

การออกแบบสัญลักษณ “คําเตือน”

องคประกอบ

สมบัติกายภาพ

อันตรายเกี่ยวกับไฟและระเบิด

อันตรายเกี่ยวกับสุขภาพ

อันตรายเกี่ยวกับปฏิกิริยา

วิธีปฏิบตัเิมื่อสารหกและตองการกําจัดทิ้ง

ขอมูลเกี่ยวกับการปองกันตนเอง

ขอควรระวังในการใช และเก็บรักษา

ขอมูลเกี่ยวกับการขนสง

ขอมูลอื่น ๆ เชน เบอรโทรศัพท ตดิตอหนวยงานกูภัย

เอกสารอางอิงเพือ่หาขอมูลเพิ่มเติม

Page 37: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

37

ชองทางหา MSDS

• จากผูขาย / พัสดุ / เภสัชกรรม / อาชวีอนามยั

• ฐานความรูเรื่องความปลอดภัยสารเคมี

– http://www.chemtrack.org/

• กรมควบคุมมลพิษ

– http://msds.pcd.go.th/index.asp

• ดัชนสีารเคมีของประเทศสหรัฐอเมริกา ATSDR

– http://www.atsdr.cdc.gov/

• www.google.co.th

Page 38: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

38

ตัวอยางสารเคมทีี่นาสนใจ

• Chemotherapy agents– IARC 2A :

• Cisplatin (Lung + Skin)• Etoposide (Leukemia)

– IARC 2B : • Mitomycin (local +

distant tumors)

• Glutaraldehyde

• 12% Sodium hypochlorite

Page 39: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ตัวอยาง MSDS

• Chemtrack• MSDS

Page 40: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

40

สิ่งคุกคามทางชีวภาพ

Page 41: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

41

โรคที่เกดิจากการตองสมัผัสกบัสภาพแวดลอมทางชีวภาพ

• การตดิเชือ้ทางระบบทางเดนิหายใจ

– วัณโรค

– ไขสุกใส โรคหวัด หัดเยอรมัน

• การตดิเชือ้ทางระบบเลือด

– การตดิเชือ้ HIV

– ไวรัสตบัอักเสบชนดิบีและซี

Page 42: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

การเกิดอุบัติเหตุจากของมีคมและการถูกเข็มตําในบุคลากรคณะ

แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ. 2551

• นศพ.ชั้นปที่ 5

• กลุม นพ. วศิรุต ศรีสินทร

• จํานวนผูตอบแบบสอบถาม 1618 ชุด

Page 43: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

%

Page 44: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

• 53% โดยเคยเกิดอุบตัิเหตตุั้งแต 1 - 60 ครัง้

– (มัธยฐาน 3 ครั้ง)

• อัตราชุกเฉลี่ย 0.33 ครั้งตอป

– นอยที่สุด 0.03 ครั้งตอป และมากที่สุด 25 ครั้งตอป

Page 45: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 46: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 47: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 48: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ถูกตาํขณะกําลังทาํอะไร

3.128เจาะเลือดจากปลายนิ้วมือ

436เจาะเลือดทางเสนเลือดดํา

4.238ผาตัด

6.156ทําความสะอาดสถานที่

764ลางอุปกรณทางการแพทย

10.999เก็บอุปกรณทางการแพทยหลงัการใชงาน

19.5178ฉีดยา

29.1265หัก ampule ยา

%Frequencyหตัถการ

Page 49: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

49

การควบคมุความเสีย่ง “วัณโรค ”

• การคัดกรองและรีบรกัษาผูปวยวัณโรค

• คัดแยกผูปวยและใหผูปวยใสหนากากอนามัย

• มาตรการในหองแยก

• หลักการทําลายเชื้อวัณโรคดวยรังสี ultraviolet-C

• การควบคมุอัตราไหลเวียนอากาศ

• การคัดกรองและเฝาระวังในบุคลากร

Page 50: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

50

การควบคุมความเสี่ยง

“โรคที่ติดตอจากการสัมผัสเลอืดหรือสารคัดหลั่ง ”

• กําหนดจุดงานที่เสีย่งตอโรคติดเชื้อผานเลือด

• กําหนดมาตรการควบคุมทางวิศวกรรมที่จําเปน เชน เลือกเข็มที่ออกแบบเปน puncture-free ในกรณีผูปวยมีเชื้อเอชไอวีบวก

• กําหนดมาตรฐานการทํางานปลอดภัยสําหรับจุดงานเสีย่ง

• จัดหาอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสมกับงานเสี่ยงอยางเพยีงพอ

• การจัดใหบุคลากรไดรับวัคซีนปองกันโรคที่จําเปน

• การอบรมเพื่อสรางความรู ความตระหนักใหบุคลากรอยางตอเนื่อง

• จัดใหมีระบบเฝาระวังอุบัตเิหตุเข็มตํา ของมีคมบาด ความชุกของโรคติดเชื้อผานเลือด

• จัดระบบเก็บเอกสาร (record keeping) ที่ดี

• มีการประเมินผลการควบคุมกํากับโดยวิธีการที่วัดไดจริง และสื่อถึงประสิทธิภาพของการควบคุม

Page 51: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

51

ความเครียด

ชม.ทํางานยาวนาน

งานแบบกะ

เครียดงาน

ความรุนแรงในที่ทํางาน

การใชสารเสพตดิ

สิ่งคุกคามทางจิตใจ

Page 52: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

1. เครียดแลวมีผลยังไง?

• ขาดงาน ยายงาย มนุษยสัมพนัธไมดี

• สูบบหุรี่ กินเหลา ติดยา

• นอนไมหลบั

• ทะเลาะในครอบครัว หยาราง

• หลั่งฮอรโมนความเครียด

ตอประสาทอตัโนมตัิ

• ตอระบบหลอดเลอืด หัวใจ

• โรคความดนัสูง กระเพาะ

เปนแผล อปุทานหมู

อุบตัิเหตุในงาน

กาวราว หงุดหงดิ วิตกกังวล

หดหู การตัดสนิใจ ความจํา

ประสิทธิภาพต่ํา

รางกาย

พฤติกรรม

จิตใจ

Page 53: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 54: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ความเครียดจากการทํางานกับคุณภาพชีวิต

ของบคุลากรในโรงพยาบาลสงขลานครินทร

จํานวนบุคลากรจําแนกตามลักษณะงานที่มีความเครียดจากงานตามทฤษฎี

Demand-Control

119 คน88 คน

415 คน

130 คน

0

10

20

30

40

50

60

Low Strain Active Passive High Strainลักษณะความเครียดจากงาน

รอยละ

Page 55: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

จํานวนบุคลากรจําแนกตามลักษณะงานที่มีความเครียดจากงานตามทฤษฎี Demand - Control – Support

53 คน25 คน

91 คน43 คน

105 คน

324 คน

45 คน66 คน

05

101520253035404550

Lowstrain

isolated

Activeisolated

Passiveisolated

Highstrain

isolated

Lowstrain

collective

Activecollective

Passivecollective

Highstrain

collective

ลักษณะความเครียดจากงาน

รอยละ

Page 56: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

2. ความรุนแรงในงาน

• คนอื่นกระทําตอบุคลากร

• บุคลากรทํากันเอง

Page 57: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด 389 คน

แผนภูมิ 1. จํานวนผูถูกกระทําความรุนแรง

239 (61.4%)

150 (38.6%)

จํานวนผูถูกกระทํา

คนอื่นกระทําตอบุคลากร

Page 58: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

36605.0

1.619.3896.12

2

=

××=

n

n

141 (36%)

31 (8%) 23 (5.9%)

05

10152025303540

รอยละ

ประเภทของความรุนแรง

แผนภูมิ 2. ความถี่ผูใหบริการจําแนกตามประเภทความรุนแรง

วาจาขมขูกาย

Page 59: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ระหวางบุคลากร

Page 60: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

3. Shift work (การทาํงานเปนกะ)

• ผลกระทบตอสุขภาพ

– ขัดตอ circadian rhythm

– Sleep deprivation

– Disorders of the gastrointestinal and cardiovascular systems

– ทําใหโรคประจําตัวแยลง

– ทําใหชีวิตครอบครัวและเขาสังคมยุงยาก

The Canadian Centre for Occupational Health and Safety (CCOHS)

Page 61: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

คําแนะนําในการทานอาหาร

• ทานใหเปนมื้อปกติใหมากที่สุดเทาที่ทําได

• เวลาในการทาน

– กะเชาและบาย : ทานอาหารใหตรงกับเวลาปกติ ไมใชชวงตรงกลางกะ

– กะดึก : ขอใหทานนอยๆ และ ทานอาหารเชาในระดับปานกลาง

• ดื่มน้ํามากๆ

• เนนอาหารพวกผัก, ผลไม, เนื้อไมมัน, ปลา

• ขอใหทานพวกขนมปง/ผลไมระหวางกะ อยาทานพวกขาวโพดคั่ว/ขนมกินเลน

• ลดเกลือ กาแฟ เครือ่งดื่มแอลกอฮล

• ระวังการใชยานอนหลับ

ั ั ั ไป ั ี

Page 62: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ขอแนะนําในการนอน

• นอนตามตารางไมตองฝน

• เนนใหคนในครอบครัวและเพื่อนเขาใจชีวิต “มนุษยกะ”

• นอนในหอง มืด เย็น เงียบ

• ไมรับโทรศัพท ไมมีเครื่องสงเสียง

• หาเวลา “quiet relaxation” กอนนอน

– การผอนคลายกลามเนื้อ การติดตามการหายใจ ลางความคิด หยุดหมกหมุน

– ถายังไมหลับ จงใช “สุขนิสัยในการนอน”

– ถาหลับไดยากในวันนี้ ใหปรับตารางใหม และหามนอนในกะทํางาน

Page 63: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

■ พยายามหา ทานขาวพรอมครอบครัว 1 มื้อ/วัน

■ พบปะกับ “มนุษยกะ+ครอบครัว” อื่นๆ

■ รักษาระยะและหากิจกรรมกับแฟนและลูกทั้งวันธรรมดาและวัน OFF

■ เพิ่มทักษะการสื่อสาร

■ ระวังเรื่องการวางแผนครอบครัว

■ รักษาความแข็งแรงของรางกายอยูเสมอ

■ หากิจกรรมลดความเครียด

■ จัดหาปฏิทินเพื่อวางแผนชีวิต

■ เพิ่มทักษะการจัดลําดับความสําคัญของปญหา

ขอแนะนําในการเขาสังคม

Page 64: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

64

อุบัติเหตุ

หมายถึง เหตกุารณ อุบตักิารณ

ทุกชนดิที่เกดิขึ้นโดยไมมีการ

คาดคดิมากอน ทําใหเกิดความ

เสียหายตอทรัพยสิน ชีวิต

ทรัพยากรตางๆ

Page 65: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ทฤษฏีที่เกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุ

Domino Theory (H.W. Heinrich)

การกระทําที่ไมปลอดภัย

สภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย

Page 66: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

“การเฝาระวังอุบัติเหตุ”

1. Safety Watch เฝาระวังดวยภาพ

2. การสอบสวนอุบัติเหตุ

3. การเสนอแนะ เสนอความคิดเห็น แจงสภาวะอันตราย

Page 67: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

การศึกษาวิจัย

เรื่อง “ อุบัตกิารณการเกดิอบุัติเหตจุากการทํางานของสายงาน

สนับสนนุทางการแพทยในโรงพยาบาลสงขลานครินทร ป 2550 ”

นักศึกษาแพทยชั้นปที่ 5 กองที่ 9 กลุม B

อาจารยที่ปรึกษา อ.นพ.ชนนท กองกมล

Page 68: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

4.1 การสุมตัวอยาง (Sampling) : Sampling frame

สายงานสนบัสนุน

1. งานอาคารสถานที่ฯ 148 คน

2. หนวยเคหะบริการ 104 คน

3. หนวยโภชนาการ 62 คน

4. หนวยเวชภัณฑกลาง 51 คน

5. หนวยจายผากลาง 49 คน

6. หนวยวิศวกรรมซอมบํารุง 49 คน

7. หนวยขนยายผูปวย 48 คน

8. ศูนยซอมบํารุงเครื่องมือแพทย 16 คน

9. หนวยคลังพัสดุ 8 คน

10. ศูนยอุปกรณเครื่องมือแพทย 1 คน

รวม 10 หนวยงาน 538 คน

Page 69: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

0.025

(0.015-0.038)

อุบัติการณการเกิดอุบัติเหตุ

จากการทํางาน

คน/10วัน

อุบัติการณ

(ครั้ง/100 คน/วัน)

(95% - CI)

อุบัติการณ

(ครั้ง/100 คน/ป)

(95% - CI)

20 6.125

(3.757-9.394)

ตารางที่ 2 แสดงอุบัติการณการเกิดอุบตัิเหตุจากการทํางาน

ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร

Page 70: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

0.0000

(0.0000 - 0.000)0

(0.000 - 0.0000)0

4. บาดเจ็บตองหยุดงานตัง้แต 1วนัขึ้นไป

( Major injury )

4.59375

(2.5800 - 7.5306)0.01875

(0.0105 - 0.0307)15

3. บาดเจ็บเล็กนอย

( Minor injury )

0.91875

(0.1896 - 2.675)0.00375

(0.0007 - 0.0109)3

2. ทรัพยสินเสียหายแตไมไดรับบาดเจ็บ

( Property damage )

0.6125

(0.0742 - 2.2052) 0.0025

(0.0003 - 0.0090)2

1. ไมไดรับบาดเจ็บและ

ทรัพยสินไมเสยีหาย

( Near miss accident )

อบุัติการณ

(ครั้ง/100 คน/ป)(95% - CI)

อบุัติการณ

(ครั้ง/100 คน/วัน)(95% - CI)

จํานวน

(คน)ความรนุแรงของอุบัติเหตุ

ตารางที่ 4 แสดงอุบัติการณการเกิดอุบตัิเหตุจากการทํางานจําแนกตามความรุนแรง

Page 71: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 72: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 73: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 74: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 75: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 76: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 77: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส
Page 78: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

78

ทาทางในการทํางาน

Page 79: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

79

ผลกระทบตอสุขภาพ

ความผิดปกติของกลามเนื้อและกระดูกโครงรางจากการทํางาน

• มักพบที่บริเวณ มือและขอมือ, ไหลและขอศอก และหลังสวนลาง

• เกิดไดจาก 2 ลักษณะ

– อุบัติเหตุหรืออันตรายโดยตรงตออวัยวะ เกิดอาการบาดเจ็บทันที

– การบาดเจ็บสะสม เชน ทาทางการทํางานไมเหมาะสม

• โรคที่พบไดบอย เชน โรคอุโมงคคารปลที่ขอมือ, อาการปวดไหลและ

ปวดหลังจากการบาดเจบ็สะสมของกลามเนื้อและกระดูกโครงรางของ

หลัง

Page 80: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

80

ปจจัยเสี่ยงทางการยศาสตรทาทางการทํางาน (posture)

ความถี่ในการทํางาน (frequency)

แรงทีใ่ช (force / exertion)

น้ําหนกัชิน้งาน (weight / load)

ระยะเวลา (duration)

เครือ่งมือ-เครือ่งจักร (tool / machine)

สภาพแวดลอม (environment)

Page 81: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

81

หลกัการพืน้ฐานของการออกแบบทางการยศาสตร

หลีกเลีย่งการทํางานในภาวะสถิต

หลีกเลีย่งการใชแรงที่ไมสมมาตร

หลีกเลีย่งการทํางานแบบซ้ําซากตอเนือ่งเปนเวลานาน

หลีกเลีย่งทาทางการทํางานที่เสี่ยงหรอืผิดธรรมชาติ

ใชอุปกรณชวยในการทํางานเมื่อจาํเปน

Page 82: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

อาชพีพยาบาลกบัการปวดหลัง

Page 83: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

??? คําถาม ???

โปรดอยารอคอย

แตจงติดตามดวยความระทึกในดวงหทัยพลัน

Page 84: หน วยอาช ีวอนาม ัย ภาควิชาเวชศา ...medinfo2.psu.ac.th/commed/occmed/images/TIS18001/tisp3... · 2012. 10. 5. · 14 การควบคุมความเส

ขอบคุณครับ

ขอพลังจงอยูกับทานขอพลังจงอยูกับทาน