10
เศรษฐศาสตรมหภาค สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 26 มีนาคม 2557 โครงการเสริมสรางศักยภาพดานการเรียนการสอนเศรษฐศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หัวขอ 1. เศรษฐศาสตรมหภาค 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ: บทบาทของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง 3. โครงสรางงบประมาณรัฐบาล 4. ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 5. ผลกระทบตอภาวะทางเศรษฐกิจ และ การเปลี่ยนแปลงนอกเหนือการคาด การณ 2 เศรษฐศาสตร์มหภาค เป้าหมาย ระยะสั้น การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ GDP GNP อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รายได้ต่อหัว เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพในประเทศ อัตราเงินเฟ้อ ภาวะแรงงาน การว่างง่าน ค่าจ้าง การคลัง ดุลงบประมาณ หนี้สาธารณะ เสถียรภาพต่างประเทศ หนี้ต่างประเทศ ฐานเงินสํารองระหว่างประเทศ ระยะยาว ความเท่าเทียมกัน การกระจายรายได้ การเพิ่มศักยภาพการผลิต ผลิตภาพการผลิต โครงสร้างระบบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจภายในประเทศ เศรษฐกิจที่แท้จริง อุปทานมวลรวม ผลผลิตรายสาขาการผลิต การใช้กําลังการผลิต แรงงาน ค่าจ้าง อุปสงค์มวลรวม การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน การคลัง ภาคการเงิน อัตราแลกเปลี่ยน ฐานเงินและปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตร เงินฝากและสินเชื่อภาคเอกชน ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์ ตลาดพันธบัตร เศรษฐกิจต่างประเทศ ดุลการชําระเงิน ดุลบัญชีเดินสะพัด การส่งออก การนําเข้า การท่องเที ่ยว บริการอื่นๆ บัญชีทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ หนี้ต่างประเทศ เศรษฐกิจโลก เครื่องมือในการควบคุม นโยบายการเงิน วัตถุประสงค์ : เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตเต็มศักยภาพและยั่งยืน โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ และ ความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจการเงินหรือปัญหาฟองสบู่ เป้าหมาย: กําหนดอัตราเงินเฟ้อพื ้นฐาน เฉลี่ยรายไตรมาส (ปี 2557) 0.5-3.0 ต่อปี เครื่องมือ: อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้ทําธุรกรรมซื ้อคืนพันธบัตร แบบทวิภาคีระยะ 1 วัน การประเมินผล: แบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค (macroeconomic model) ข้อมูลรายสาขาเศรษฐกิจ และ การรับฟังข้อคิดเห็น นโยบายการคลัง วัตถุประสงค์ : ส่งเสริมเศรษฐกิจให้เติบโตเต็มศักยภาพ เครื่องมือ: งบประมาณของรัฐบาล ผ่านการใช้จ่ายของรัฐบาล และ อัตราภาษี นโยบายอื่นๆ นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 3 1. เศรษฐศาสตรมหภาค ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 4 ตลาดแรงงาน Ns Nd w/P N ฟงกชั่นการผลิต y y N FE r y ตลาดเงิน Ms Md r M/P LM LM r y ตลาดแรงงาน DAE y y = DAE y = C+I+G+X-M IS r y r y FE LM IS AD P y SRAS LRAS

57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาคสำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติภาควิชาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

26 มีนาคม 2557

โครงการเสริมสรางศักยภาพดานการเรียนการสอนเศรษฐศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หัวขอ

1. เศรษฐศาสตรมหภาค2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ: บทบาทของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง3. โครงสรางงบประมาณรัฐบาล

4. ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

5. ผลกระทบตอภาวะทางเศรษฐกิจ และ การเปลี่ยนแปลงนอกเหนือการคาดการณ

2

เศรษฐศาสตร์มหภาค

เป้าหมาย

ระยะสั้น

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายได้ประชาชาติ

GDP

GNP

อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายได้ต่อหัว

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพในประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ

ภาวะแรงงาน การว่างง่าน

ค่าจ้างการคลัง

ดุลงบประมาณ

หนี้สาธารณะ

เสถียรภาพต่างประเทศ

หนี้ต่างประเทศ

ฐานเงินสํารองระหว่างประเทศ

ระยะยาว

ความเท่าเทียมกัน

การกระจายรายได้

การเพิ่มศักยภาพการผลิต

ผลิตภาพการผลิต

โครงสร้างระบบเศรษฐกิจเศรษฐกิจภายในประเทศเศรษฐกิจที่แท้จริง

อุปทานมวลรวม

ผลผลิตรายสาขาการผลิต

การใช้กําลังการผลิต

แรงงาน ค่าจ้าง

อุปสงค์มวลรวมการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน

การลงทุนภาคเอกชน

การคลัง

ภาคการเงิน

อัตราแลกเปลี่ยน

ฐานเงินและปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตร

เงินฝากและสินเชื่อภาคเอกชน

ตลาดทุน

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดพันธบัตร

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดุลการชําระเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัด

การส่งออก

การนําเข้า

การท่องเที่ยว

บริการอื่นๆ

บัญชีทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ

หนี้ต่างประเทศ

เศรษฐกิจโลก

เครื่องมือในการควบคุม

นโยบายการเงิน

วัตถุประสงค์: เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตเต็มศักยภาพและยั่งยืนโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ และ

ความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจการเงินหรือปัญหาฟองสบู่

เป้าหมาย: กําหนดอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาส (ปี 2557) 0.5-3.0 ต่อปี

เครื่องมือ:อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารแห่งประเทศไทย

ใช้ทําธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร

แบบทวิภาคีระยะ 1 วัน

การประเมินผล: แบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค(macroeconomic model)

ข้อมูลรายสาขาเศรษฐกิจ และ การรับฟังข้อคิดเห็น

นโยบายการคลัง

วัตถุประสงค์:ส่งเสริมเศรษฐกิจให้เติบโตเต็มศักยภาพ

เครื่องมือ:งบประมาณของรัฐบาล

ผ่านการใช้จ่ายของรัฐบาล

และ อัตราภาษี

นโยบายอื่นๆ นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 3

1. เศรษฐศาสตรมหภาค

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 4

ตลาดแรงงานNs

Nd

w/P

N

ฟงกชั่นการผลิต

yy

N

FEr

y

ตลาดเงินMs

Md

r

M/P

LMLMr

yตลาดแรงงานDAE

y

y = DAE

y = C+I+G+X-M

IS

r

y

r

y

FE LM

IS

AD

P

y

SRAS

LRAS

Page 2: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 5

2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ: บทบาทของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง

การสงผานนโยบายการเงิน (Transmission Mechanism)

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 6

2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ

กลไกการสงผานนโยบายการเงินในชองทางสินเช่ือ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 7ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจกลไกการสงผานมาตรการดานภาษี

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 8

3. โครงสรางงบประมาณรัฐบาล

โครงสรางงบประมาณประจำปงบประมาณ 2556-2557

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

Page 3: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 9

การใชจายเงินงบประมาณ

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 10

การจัดสรรงบประมาณตามงบรายจาย 2556-2557

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 11

การจัดสรรงบประมาณรายจายจำแนกตามยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณ 2557

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 12

การจัดสรรงบประมาณรายจายจำแนกลักษณะงาน 2556-2557

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

Page 4: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 13

การจัดสรรงบประมาณรายจายจำแนกลักษณะงาน: การศึกษา

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 14

รายได

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 15

ประมาณการรายไดและรายไดท่ีจัดเก็บไดจริง

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 16

ฐานะทางการคลังของรัฐบาล

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

Page 5: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 17

ฐานะทางการคลังของรัฐบาล

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 18

หน้ีสาธารณะ (ณ 30 มิถุนายน 2556)

ท่ีมา: งบประมาณโดยสังเขป สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี

หนวย: ลานบาท

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 19

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ

เศรษฐศาสตร์มหภาค

เป้าหมาย

ระยะสั้น

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายได้ประชาชาติ

GDP

GNP

อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายได้ต่อหัว

เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพในประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ

ภาวะแรงงาน การว่างง่าน

ค่าจ้างการคลัง

ดุลงบประมาณ

หนี้สาธารณะ

เสถียรภาพต่างประเทศ

หนี้ต่างประเทศ

ฐานเงินสํารองระหว่างประเทศ

ระยะยาว

ความเท่าเทียมกัน

การกระจายรายได้

การเพิ่มศักยภาพการผลิต

ผลิตภาพการผลิต

โครงสร้างระบบเศรษฐกิจเศรษฐกิจภายในประเทศเศรษฐกิจที่แท้จริง

อุปทานมวลรวม

ผลผลิตรายสาขาการผลิต

การใช้กําลังการผลิต

แรงงาน ค่าจ้าง

อุปสงค์มวลรวมการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน

การลงทุนภาคเอกชน

การคลัง

ภาคการเงิน

อัตราแลกเปลี่ยน

ฐานเงินและปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ยและอัตราผลตอบแทนพันธบัตร

เงินฝากและสินเชื่อภาคเอกชน

ตลาดทุน

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดพันธบัตร

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดุลการชําระเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัด

การส่งออก

การนําเข้า

การท่องเที่ยว

บริการอื่นๆ

บัญชีทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ

หนี้ต่างประเทศ

เศรษฐกิจโลก

เครื่องมือในการควบคุม

นโยบายการเงิน

วัตถุประสงค์: เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตเต็มศักยภาพและยั่งยืนโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาเงินเฟ้อ และ

ความไม่สมดุลในระบบเศรษฐกิจการเงินหรือปัญหาฟองสบู่

เป้าหมาย: กําหนดอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาส (ปี 2557) 0.5-3.0 ต่อปี

เครื่องมือ:อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารแห่งประเทศไทย

ใช้ทําธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร

แบบทวิภาคีระยะ 1 วัน

การประเมินผล: แบบจําลองเศรษฐกิจมหภาค(macroeconomic model)

ข้อมูลรายสาขาเศรษฐกิจ และ การรับฟังข้อคิดเห็น

นโยบายการคลัง

วัตถุประสงค์:ส่งเสริมเศรษฐกิจให้เติบโตเต็มศักยภาพ

เครื่องมือ:งบประมาณของรัฐบาล

ผ่านการใช้จ่ายของรัฐบาล

และ อัตราภาษี

นโยบายอื่นๆ นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 20

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายไดประชาติ ณ ราคาปจจุบัน

ท่ีมา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 6: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 21

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

รายไดประชาติ ณ ราคาคงท่ีป 2531

ท่ีมา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 22

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาป 2531

ท่ีมา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 23

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ณ ราคาป 2531

ท่ีมา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 24

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

อัตราการใชกำลังการผลิต (capacity utilization)

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 7: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 25

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ชองวางการผลิต (output gap)

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 26

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายในประเทศ

อัตราเงินเฟอท่ัวไป อัตราเงินเฟอพ้ืนฐาน

ท่ีมา: สำนักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวงพาณิชย และ ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 27

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายในประเทศ

สัดสวนของหน้ีสาธารณะตอ GDP

ท่ีมา: สำนักบริหารหน้ีสาธารณะ และ ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 28

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายในประเทศ

อัตราการวางงาน

ท่ีมา: สำนักงานสถิติแหงชาติ และ ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 8: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 29

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายนอกประเทศ

ดุลบัญชีเดินสะพัด

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ลานดอลลารสหรัฐฯ

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 30

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายนอกประเทศ

อัตราแลกเปล่ียนบาทตอดอลลารสหรัฐฯ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 31

3. ตัวช้ีวัดทางเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวช้ีวัดเสถียรภาพภายนอกประเทศ

หน้ีตางประเทศ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 32

5. ผลกระทบตอภาวะทางเศรษฐกิจ และ การเปล่ียนแปลงนอกเหนือการคาดการณ

อุปสรรคของเศรษฐกิจไทยในปจจุบัน

- ความไมแนนอนทางการเมืองภายในประเทศ- การชะลอตัวของเศรษฐกิจเกิดใหม

Page 9: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 33

ผลกระทบของภาคการทองเท่ียวตอระบบเศรษฐกิจ

ภาวะความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอภาคการทองเท่ียว

ผลกระทบของรายไดการทองเท่ียว

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 34

มาตรการรัฐกับเงินเฟอ

มาตรการในปจจุบัน: นโยบายการปรับคาจางข้ันต่ำและเงินเดือนขาราชการ, โครงการจำนำขาว, การลดการเก็บภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล และ มาตรการยกเวนคาโดยสารรถเมลและรถไฟ

ผลกระทบของคาจางข้ันต่ำและเงินเดือนขาราชการ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 35

มาตรการรัฐกับเงินเฟอผลกระทบของโครงการรับจำนำ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 36

ความเช่ือม่ันทางการบริโภคและความเช่ือม่ันทางธุรกิจ

Page 10: 57 เสริมสร้างศักยภาพระดับมัธยม ...econ.eco.ku.ac.th/cms/sites/default/files/referee_doc... · 2014-04-18 · 2. การควบคุมระบบเศรษฐกิจ:

เศรษฐศาสตรมหภาค: สำหรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ผศ.ดร.บัณฑิต ชัยวิชญชาติ 37

ผลกระทบของราคาน้ำมันตอระบบเศรษฐกิจ

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย

ส้ินสุดการนำเสนอ