17
นายประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อานวยการสานักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : บูรณาการสู่นโยบายและแผน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบูรณาการสู่นโยบายและแผน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บูรณาการสู่นโยบายและแผน โดย ประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อานวยการสานักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Citation preview

นายประเสริฐ ศิรินภาพร ผู้อ านวยการส านักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ : บูรณาการสู่นโยบายและแผน

• เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส าคัญ นานาประเทศเห็นพ้องที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างจริงจัง

• โดยก าหนดเป็นกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และพิธีสารเกียวโต เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างนานาชาติใน การแก้ไขปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ รับมือต่อภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้น

ปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

• ประเทศไทยได้ลงนามและให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาสหประชาชาตวิ่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2537 และพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2545

• ส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) โดยส านักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (สปอ.) ได้รับมอบหมายให้ปฏบิัติหน้าที่หน่วยประสานงานกลางของอนุสัญญาดังกล่าว ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา

• ได้ด าเนินการจัดท า นโยบาย / แผน / มาตรการ /เครื่องมือ /กลไกต่างๆ เพื่อรองรับการด าเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ทั้งด้านการปรับตัว (Adaptation) และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Mitigation) มาอย่างต่อเนื่อง

• และเพื่อให้การด าเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยสามารถรองรับสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดท าแผนแม่บทขึ้น ...

ส านักงานประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (สปอ.)

เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชน มีส่วนร่วมในการจัดท าแผนแม่บทฉบับนี้

• แผนแม่บทฉบับนี้สามารถใช้เป็นกรอบแนวทางการด าเนินงานในการ

รองรับสถานการณก์ารเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างเป็นระบบ ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว

แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ พ.ศ. 2556 – 2593

ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ที่ส าคัญ 3 ประการ ได้แก่

1. การปรับตัวต่อผลกระทบจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation)

2. การลดการปล่อยก๊าซเรอืนกระจก (Mitigation) และเพิ่มแหล่งกักเก็บคาร์บอน (Carbon Sink Enhancement)

3. การสร้างขีดควาสามารถของบุคลากร องค์กร และประเทศด้านการบริหารจัดการการเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Capacity Building)

รายละเอียดโดยสรุป (ร่าง) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ

พ.ศ. 2556 – 2593

• มีข้อเสนอกลไกการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผลแผนแม่บท ได้แก่

1. กลไกในการขับเคลือ่นและการแปลงแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติ 2. กลไกในการติดตามประเมินผลและปรบัปรุงแผนแม่บท

(ร่าง) แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ พ.ศ. 2556 – 2593

“ประเทศไทยสามารถรองรบัการเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศและ ก้าวสู่การเป็นสงัคมคาร์บอนต่ าอย่างยั่งยืน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๙๓”

วิสัยทัศน์

แนวทางการด าเนินงาน แบ่งเป็น 7 ด้าน ได้แก่

1. การปรับตัวต่อ Extreme events 2. การปรับตัวด้านการเกษตร 3. การปรับตัวด้านสาธารณสุข 4. การปรับตัวด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง 5. การปรับตัวด้านทรัพยากรน้ า 6. การปรับตัวด้านทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า 7. การปรับตัวด้านอื่นๆ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

(Adaptation)

แนวทางการด าเนินงาน แบ่งเป็น ๕ ด้าน ได้แก ่

๑. ด้านอุตสาหกรรม การค้า และการบริการ ๒. ด้านพลังงาน ๓. ด้านการขนส่ง ๔. ด้านป่าไม้ ๕. ด้านการเกษตร

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การลดการปล่อยก๊าซเรอืนกระจก (Mitigation)

และเพิ่มแหล่งกักเก็บคารบ์อน (Carbon Sink Enhancement)

๑๐

แนวทางการด าเนินงาน แบ่งเป็น ๔ ด้าน ได้แก่

๑. ด้านการวิจัยและพัฒนา ๒. ด้านกฎหมาย การเงินการคลัง ๓. ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ๔. ด้านอื่นๆ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างขีดความสามารถของบุคลากร องค์กร

และประเทศด้านการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Capacity Building)

๑๑ การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

(Adaptation)

๑. การปรับตัวต่อ Extreme events ๑.๑ พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสภาวะรุนแรงของลมฟ้าอากาศ

(Extreme weather) ของประเทศให้มีความถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ พร้อมทั้งจัดท าระบบฐานข้อมูลอย่างมีประสทิธิภาพ สะดวกต่อการใช้งานและสามารถเชือ่มต่อระหว่างผู้ต้องการใช้งานได้สะดวก รวดเร็ว

ตัวอย่างแนวทางการด าเนินงาน ยุทธศาสตร์ที่ ๑

๑๒

๑.๒ พัฒนาระบบพยากรณ์เหตุการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรง (Extreme events) ให้มีความถูกต้องแม่นย ามากที่สุด โดยใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีที่ถูกต้องและ ทันสมัย และสามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้นานพอที่ผู้จะได้รับผลกระทบ สามารถเตรียมรับมือได้ทันเหตุการณ์ ทั้งในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ๑.๓ ก าหนดพื้นที่เสี่ยง พื้นที่อ่อนไหวต่อภัยพิบัติ อย่างถูกต้อง เหมาะสม บน พื้นฐานองค์ความรู้และระบบการพยากรณ์ภัยพิบัติที่ถูกต้องแม่นย า และการ มีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนพื้นที่ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๑.๔ ก าหนดแผนป้องกัน เฝ้าระวัง และรับมือภัยพิบัติในทุกพื้นที่เสี่ยง และพื้นที่ อ่อนไหว ให้เป็นแผนที่สามารถปฏิบัติได้ เป็นที่ยอมรับของพื้นที่ โดยให้ทุก ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดท าแผน

การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ)

๑๓

๑.๕ พัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้มีความถูกต้อง ทันสมัย ครอบคลุมทุกพื้นที่ และบุคคลท้องถิ่น เกษตรกร นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ และบุคคลในภาคส่วนอื่นๆ ของประเทศ สามารถเข้าถึง ระบบได้สะดวก รวดเร็ว ๑.๖ ส่งเสริมการจัดการภัยพิบัติระดับพื้นที่และระดับประเทศ โดยการให้ความรู้ การอบรม การฝึกปฏิบัติ เพ่ือให้ประชาชน ชุมชน และองค์กรมี ความสามารถในการรับมือที่ถูกต้อง ปลอดภัย และสามารถจัดท าแผนปฏิบัติ การเฉพาะพื้นที/่ชุมชน ได้เองอย่างถูกต้องเหมาะสม เกิดความเข็มแข็งใน การรับมือกับภัยพิบัติ ๑.๗ จัดท ายุทธศาสตร์ประเทศรองรับภัยพิบัติภัยระยะยาว

การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ)

๑๔

๑.๘ พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติตามนโยบายรัฐบาล โดยเน้นการ บริหารวิกฤตการณ์เพื่อรับมือภัยพิบัติและภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ร่วมกับด้านอื่นๆ ของระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ

การปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่นแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) (ต่อ)

๑๕

• การแปลงแผนแม่บทสู่แผนกลยุทธ์ระยะปานกลาง ระยะสั้น แต่ละ

ยุทธศาสตร์ • การแปลงแผนสูพ่ื้นที่/การประเมินความเสีย่งถึงผลกระทบจากโลกร้อน

ในพื้นที่ • การสื่อสาร การให้การศึกษา และเสริมสร้างความตระหนัก • การเสริมสร้างศักยภาพและส่งเสริมการใช้ประโยชน์องค์ความรู้ดั้งเดิม

ของชุมชน • ภูมิปัญญาดั้งเดิมในวิถีอยู่ร่วมกับธรรมชาติ-รับรู้/ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง • ภูมิปัญญาในการจัดการภัยพิบัติซ้ าซาก-ปรับวิถีชีวิตให้อยู่รอด

แนวทางการด าเนินงานของพื้นที่/ชุมชน

ขอบคุณครับ

17