16
หนวยที่ 2 ชื่อเรื่อง เครื่องเลื่อยและเครื่องแทงขึ้นรูป (Sawing and Broaching Machine) หัวขอเรื่องยอย 2.1 ชนิดของเครื่องเลื่อย 2.2 ใบเลื่อยและการใชเครื่องเลื่อยตัดชิ้นงาน 2.3 เครื่องแทงขึ้นรูป จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายชนิดของเครื่องเลื่อยได 2. อธิบายใบเลื่อยและการใชเครื่องเลื่อยตัดชิ้นงานได 3. บอกเครื่องแทงขึ้นรูปได 4. อธิบายขั้นตอนการใชเครื่องแทงขึ้นรูปได 5. สามารถทําแบบทดสอบสงไดตามเวลาที่กําหนด กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาชั้นเรียน - ใบสั่งงานที่ 1 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ

เครื่องเลื่อยกล

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เครื่องเลื่อยกล

หนวยที่ 2

ชื่อเร่ือง เครื่องเล่ือยและเครื่องแทงขึ้นรูป (Sawing and Broaching Machine) หัวขอเร่ืองยอย

2.1 ชนิดของเครื่องเล่ือย 2.2 ใบเล่ือยและการใชเครื่องเล่ือยตัดช้ินงาน 2.3 เครื่องแทงขึ้นรูป

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายชนิดของเครื่องเล่ือยได 2. อธิบายใบเล่ือยและการใชเครื่องเล่ือยตัดช้ินงานได 3. บอกเครื่องแทงขึ้นรูปได 4. อธิบายขั้นตอนการใชเครื่องแทงขึ้นรูปได 5. สามารถทําแบบทดสอบสงไดตามเวลาท่ีกําหนด

กิจกรรมหลัก 1. ครูนําเขาสูบทเรียน 2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 3. นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการสอน - แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน - ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียน - อภิปรายหนาช้ันเรียน - ใบส่ังงานท่ี 1 - ครูสรุปเนื้อหาสาระการเรียนประจําหนวย 4. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน 5. ครูและนักเรียนตรวจแบบทดสอบ

Page 2: เครื่องเลื่อยกล

เคร่ืองเลือ่ยและเคร่ืองแทงขึ้นรูป (Sawing and Broaching Machine)

เครื่องเล่ือย (Sawing machine) เปนเครื่องจักรกลใชสําหรับตัดช้ินงานใหขาดออกจากกัน ตัดเปนมุมและตัดเปนรูปทรงตางๆไดขนาดเท่ียงตรงรวดเร็ว เครื่องแทงขึ้นรูป (Broaching machine) เปนเครื่องจักรกลสําหรับใชเหล็กแทงเพ่ือขยายรู ทํารองล่ิมในรูเฟอง ซ่ึงจะทําใหไดขนาดท่ีเท่ียงตรงและรวดเร็ว 2.1 ชนิดของเคร่ืองเลือ่ย เครื่องเล่ือยท่ีใชตัดช้ินงานในงานอุตสาหกรรมมีอยูดวยกันหลายชนิด ซ่ึงแตละชนิดมีคุณสมบัติและการนําไปใชท่ีแตกตางกนั ผูใชจะตองเลือกใชเครื่องเล่ือยใหเหมาะสมกับลักษณะรูปรางและขนาดของงาน 2.1.1 เครื่องเล่ือยชัก (Horizontal Hacksaw) เปนเครื่องจักรกลท่ีสามารถตัดช้ินงานในแนวตรง หรือเปนมุมตางๆโดยใบเล่ือยจะเคล่ือนท่ีไป–มา การปอนกนิช้ินงานจะมีการถวงน้ําหนักดวย ทอนเหล็กเพ่ือกดใบเล่ือยกินงาน หรืออาจจะเปดกินงานโดยใชระบบไฮดรอลิก

รูปท่ี 2.1 เครื่องเล่ือยชัก

14

ที่มา:ดร.อนันต,งานเคร่ืองมือกลเบื้องตน,หนา 26

มือจับยกโครงเลื่อย โครงเลื่อย

มอเตอร

แขนชัก

ฐาน

ปากกา ตัวดึงใบเลื่อย

มือหมุนล็อก

น้ําหนักถวง

ใบเลื่อย

Page 3: เครื่องเลื่อยกล

2.1.2 เครื่องเล่ือยวงเดือน (Circular saw) เปนเครื่องเล่ือยท่ีใชใบเล่ือยวงเดือนสําหรับตัดช้ินงาน ขนาดของใบเล่ือยมีขนาดเสนผาศูนยกลางถึง 400 มม. จึงทําใหการตัดช้ินงานท่ีมีเสนผาศูนยกลางขนาดใหญขาดไดอยางรวดเร็ว

รูปท่ี 2.2 เครื่องเล่ือยวงเดือน 2.1.3 เครื่องตัดแผนเจียระไน (Abrasive – disk cutoff machine) เปนเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง ท่ีใชแผนเจียระไนท่ีบางและหมุนดวยความเร็วรอบสูงเพ่ือตัดช้ินงานท่ีบาง เชน ทอ เหล็กกลอง เหล็กฉากและเหล็กตันซ่ึงไดขนาดและเท่ียงตรง โดยขณะตัดช้ินงานไมตองใชน้ําหลอเย็น

รูปท่ี 2.3 เครื่องตัดแผนเจียระไน

มอเตอร

งาน ชุดปอนอัตโนมัติ

มือหมุนใบเลื่อย

ปุมควบคุม มือหมุนปอน

ตัวหยุด

แผนเจียระไน

มือปอน

ปากกา

ใบเลื่อย

15

ที่มา:ประเวศ,กรรมวิธีการผลิต,หนา13

ที่มา:อําพล,วันชัย,งานเครื่องมือกลเบื้องตน หนา 64

ช้ินงาน

มอเตอร

Page 4: เครื่องเลื่อยกล

2.1.4 เครื่องเล่ือยสายพาน (Band – sawing machine) เปนเครื่องเล่ือยท่ีใชใบเล่ือยสายพาน ทําการตัดช้ินงานอยางตอเนื่อง สามารถตัดงานไดอยางรวดเร็ว และยังตัดขึ้นรูปเปนรูปทรงตางๆ ไดอีกดวย แบงออกได 2 ชนิด คือ 1) เครื่องเล่ือยสายพานแนวนอน (Horizontal band saw) เปนเครื่องเล่ือยใชสําหรับตดัช้ินงานขนาดใหญไดอยางรวดเร็ว เพราะใบเล่ือยตัดช้ินงานอยางตอเนือ่ง และสามารถใชตัดเปน มุมฉาก หรือ เปนมุมตางๆได

รูปท่ี 2.4 เครื่องเล่ือยสายพานแนวนอน 2) เครื่องเล่ือยสายพานแนวตั้ง (Vertical band saw) เปนเครื่องเล่ือยท่ีใชสําหรับตัดช้ินงาน ท่ีแบนไมหนามากนักออกเปนรูปทรงตางๆ เชน ตัดขึ้นรูป ตัดโคง ตัดใหขาด และตัดรองภายในซ่ึงคลายกับงานฉลุดวยมือ เครื่องเล่ือยแบบนี้จะมีชุดตัดตอใบเล่ือยสําหรับงานเล่ือยภายในติดอยูกับโครงเครื่อง

16

ตัวปรับความตึงใบเลื่อย

ฝาครอบลอ แผงหนาปดควบคุม

ถาดรองเศษโลหะ

ฝาครอบลอตาม

ถังน้ํามันไฮดรอลิก

ฐานเครื่อง

แขนต้ังระยะงาน

โตะงาน

ถังน้ําหลอเย็น

Page 5: เครื่องเลื่อยกล

รูปท่ี 2.5 เครื่องเล่ือยสายพานแนวตั้ง 2.2 ใบเลื่อยและการใชเคร่ืองเลื่อยตัดชิ้นงาน 2.2.1 ใบเล่ือย - ใบเล่ือยชัก สวนมากทําจากเหล็กรอบสูง (High speed steel) ซ่ึงเปนโลหะแข็งใชสําหรับตัดโลหะท่ีแข็งๆไดด ี อีกพวกหนึ่งทําจากเหล็กคารบอนสูง (High carbon) หรือโลหะผสมพวกนี้เหมาะใชสําหรับตัดโลหะออนซ่ึงมีราคาถูกกวาเหล็กรอบสูง - ขนาดของใบเล่ือยชัก จะมีความหนาระหวาง 1.3–3.1 มม. ความยาวตั้งแต 300 – 900 มม. การเลือกใบเล่ือยท่ีจะใชตัดช้ินงาน จะตองเลือกจํานวนฟนตอนิ้วใหเหมาะสมกับช้ินงานท่ีจะนํา มาตัด เชน 16, 18, 22, 32 ฟนตอนิ้ว ถาจํานวนฟนตอนิ้วจํานวนมากๆ จะใชตัดช้ินงานบาง หรือเหล็กทอ ถาฟนหยาบใชสําหรับตัดช้ินงานท่ีหนา

รูปท่ี 2.6 ใบเล่ือยชัก

ลอสายพานตัวบนบนบน

เกจความดึงใบเลื่อย

เครื่องเช่ือมใบเลื่อย

ลอควบคุมความเร็ว

ลอสายพาน

ตัวเลื่อย

เสาเครื่อง

ตัวประคองใบเลื่อย

โตะงาน

คันหมุนเอียงโตะงาน

ฐาน

หินเจียระไน

หัวเครื่อง

17

ที่มา:ดร.อนันต,งานเครื่องมือกลเบื้องตน,หนา 26

ความยาวใบเลื่อย

ความโตของรูใบเลื่อย

Page 6: เครื่องเลื่อยกล

ฟนใบเล่ือยมีหลายลักษณะ ดังนี ้ 1) ฟนตรง (Straight tooth) เปนฟนท่ีไมมีมุมหลบใดๆ 2) ฟนมีมุมตัด (Undercut tooth) เปนฟนท่ีมีมุมหลบหลังและหลบหนา ใชสําหรับตัดเหล็กและเหล็กหลอ 3) ฟนหาง (Skip tooth) เปนใบเล่ือยท่ีมีฟนหางกันมาก ใชสําหรับตัดวัสดุออน เชน ไม พลาสติก ฟนเล่ือยจะเอียง เพ่ือไมใหใบเล่ือยเสียดสีกับรองซ่ึงจะเกิดความฝดความรอนมากขึ้น และจะทําใหใบเล่ือยหักไดงาย

รูปท่ี 2.7 ลักษณะของฟนใบเล่ือย

การเอียงของฟนเล่ือยมี 3 ลักษณะ คือ 1) ฟนแบบคราด (Raker set) ท่ีฟนสลับเหมือนกับฟนแบบสลับแตจะมีฟนตรงคั่น ใชสําหรับเล่ือยเหล็กแข็งและเหล็กหลอ 2) ฟนแบบสลับ (Straight set) ฟนจะเอียงสลับกันไป–มา ใชสําหรับเล่ือยวัสดุออน เชน ทองแดง ทองเหลือง และพลาสติก 3) ฟนแบบคล่ืน (Wave set) ฟนหลายๆ ฟนจะเอียงสลับกันใชสําหรับเล่ือยวัสดุบางและทอ

รูปท่ี 2.8 ลักษณะเอียงของฟนเล่ือย

1.ฟนตรง 2.ฟนมีมุมตัด 3.ฟนหาง

3.แบบคลื่น 2.แบบสลับ 1.แบบคราด

18

Page 7: เครื่องเลื่อยกล

2.2.2 การใชเครื่องเล่ือยตัดช้ินงาน 2.2.2.1 การตัดช้ินงานแบบท่ัวไปเริ่มแรกจะตองปรับปากกาจับช้ินงานใหไดฉากกับใบเล่ือย จับยึดใบเล่ือยใหตึง ทิศทางของคมใบเล่ือยช้ีไปตามทิศทางท่ีปอนกินของเครื่องเล่ือย จับช้ินงาน ใหแนน ยกใบเล่ือยลงกินช้ินงานพรอมกับหลอเย็น สําหรับการตัดเอียงช้ินงานเปนมุมตางๆ กอนตัดจะตองเอียงปากกาจับงานใหเปนมุม30 หรือ 60 องศา

รูปท่ี 2.9 การตัดเอียงดวยเครื่องเล่ือยชัก

2.2.2.2 การตัดช้ินงานเปนรูปทรงตางๆ สามารถตัดไดดวยเครื่องเล่ือยสายพานแนวตั้ง

รูปท่ี 2.10 การตัดช้ินงานดวยสายพานแนวตั้ง

19

ลักษณะการตัดช้ินงาน

ช้ินงาน

ช้ินงาน

ใบเลื่อย

ใบเลื่อย

Page 8: เครื่องเลื่อยกล

2.3 เคร่ืองแทงขึ้นรูป (Broaching machine) เครื่องแทงขึ้นรูป เปนเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง ท่ีเปนวิธีการปาดผิวช้ินงานใหไดรูปทรงเรขาคณิต โดยมีเครื่องมือท่ีเรียกวา มีดแทง (Broaching) เพ่ือแทงขึ้นรูปเขาไปในรูหรือผิวภายนอกของช้ินงาน ใหไดรูปรางและขนาดตามท่ีตองการ เชน สามเหล่ียม รองล่ิม ส่ีเหล่ียม

รูปท่ี 2.11 ช้ินงานท่ีไดจากเครื่องแทงขึ้นรูป เครื่องแทงขึ้นรูปสามารถแบงออกไดตามลักษณะการทํางานได 4 ประเภท คือ 1. การแทงขึ้นรูปแบบดึง (Pull broaching) เปนการดึงมีดแทงผานช้ินงานท่ีถูกจับยึดอยูกับท่ี 2. การแทงขึ้นรูปแบบดัน (Push broaching) เปนการดันมีดแทงผานช้ินงานท่ีถูกจับยึด อยูกับท่ี 3. การแทงขึ้นรูปท่ีผิวหนา (Surface broaching) เปนการเคล่ือนท่ีเขาหากันระหวางมีดแทงกับช้ินงาน 4. การแทงขึ้นรูปแบบตอเนื่อง (Continuous broaching) เปนการเคล่ือนท่ีของช้ินงานผานมีดแทงท่ีถูกจับยึดอยูกับท่ีในแนวตรงหรือแนวมุม การสงกําลังของมีดแทง (Method of drive) โดยสวนมากจะใชระบบไฮดรอลิก เนื่องจากสามารถใหกําลังไดมากมีความเงียบ ประหยัดและทําการปรับแตงความเร็ว รวมท้ังชวงชักไดอยางเหมาะสมกับรูปแบบของช้ินงาน นอกจากนั้นยังมีใชระบบอ่ืนๆอีก เชน ระบบโซ ระบบเฟอง ระบบแขนกล และระบบเกลียวกําลัง

20

Page 9: เครื่องเลื่อยกล

การสงกําลังของมีดแทงในชวงมีดแทงถอยกลับ จะใชเวลานอยกวาในชวงดึง หรือดันมีดแทงกินงาน

รูปท่ี 2.12 ระบบสงกําลังดวยระบบไฮดรอลิก 2.3.1 ชนิดของเครื่องแทงขึ้นรูป 2.3.1.1 เครื่องแทงขึ้นรูปผิวแนวดิ่งแบบแทนเล่ือนเดี่ยว (Vertical single slide surface machine) การทํางานของเครื่องแทงขึ้นรูปแบบนี ้ช้ินงานจะกดจับยึดติดอยูกับอุปกรณจับยึด (Fixture) และสามารถเคล่ือนท่ีเขา–ออก จากมีดแทงได ในขณะท่ีมีดแทงก็จะเคล่ือนท่ีขึน้–ลง อยูตลอด

รูป 2.13 เครื่องแทงขึ้นรูปแบบแทนเดีย่วเล่ือนในแนวดิ่ง

มีดแทง

ชุดลูกสูบ งาน

อุปกรณจับงาน

มีดแทง

21

Page 10: เครื่องเลื่อยกล

2.3.1.2 การแทงขึ้นรูปแบบผลักในแนวดิ่ง (Vertical push broaching) การแทงขึ้นรูปแบบนี ้ใชสําหรับการตกแตงผิวสําเร็จเพ่ือใหไดขนาดเรียบ เชน รูเฟองกระทําจากท่ีไดทําการเจาะ หรือหลอดวยไสแบบมากอนแลว และสามารถใชเครื่องอัด (Press) ดวยมือได

รูปท่ี 2.14 ลักษณะมีดแทงและการแทงขึ้นรูป 2.3.1.3 เครื่องแทงขึ้นรูปแบบดึงลงในแนวดิ่ง (Vertical Pull – Down Broaching Machine) เปนเครื่องจักรอีกชนิดหนึ่งท่ีประยุกตมาจากเครื่องแทงขึ้นรูปภายใน การทํางานช้ินงานจะถูกจับยึดอยูกับอุปกรณจับยึด (fixture) สวนมีดแทงขึ้นรูปจะสวมผานรูไปยังอุปกรณจับยึดท่ีอยูดานลางของโตะงาน เม่ือเริ่มการทํางานมีดแทงขึ้นรูปจะถูกดงึลงดานลางจนทะลุช้ินงานและกดดึงขึ้นเพ่ือถอดออกจากช้ินงาน

รูปท่ี 2.15 ลักษณะของมีดแทงขึ้นรูปแบบดึงลงในแนวดิ่ง 2.3.1.4 เครื่องแทงขึ้นรูปแบบดึงขึ้นในแนวดิ่ง (Vertical Pull – Up Broaching Machine) เครื่องแทงขึ้นรูปแบบนีส้วนมากนิยมใชสําหรับงานแทงขึ้นรูปภายในขนาดเล็ก และมีทิศทางการแทงขึน้รูปตรงกันขามกับแบบดึงลงในแนวดิ่ง

การดึง

มีดแทงสําหรับการดึง

การดัน

มีดแทงสําหรับการดัน

22

ช้ินงาน มีดแทง

ช้ินงาน

Page 11: เครื่องเลื่อยกล

2.3.1.5 เครื่องแทงขึน้รูปในแนวนอน (Horizontal Broaching Machine) เครื่องแทงขึ้นรูป แบบนี้ใชในการขึ้นรูปผิวหนา และการแทงขึ้นรูปช้ินงานภายในขนาดกลางถึงขนาดใหญ มีดแทงขึ้นรูปจะเคล่ือนท่ีในแนวนอน และถูกดึงดวยแรงของระบบไฮดรอลิก จนกระท่ังผานช้ินงานในตําแหนงท่ีตองการ มีดแทงขึ้นรูปจะถอยกลับดวยความเร็วกวาในจังหวะดึง

รูปท่ี 2.16 เครื่องแทงขึ้นรูปในแนวนอน สําหรับงานแทงรองล่ิมในรูกลวงจะตองมีการสวมอุปกรณนํา (Adapter guides) เขาไปในรูช้ินงานดวยและเม่ือดึงมีดแทงจนสุดจะไดรูล่ิมท่ีลึกเขาไปในช้ินงานท่ีตองการ

รูปท่ี 2.17 อุปกรณแทงรองล่ิมในร ู

มีดแทง

อุปกรณจับงาน

ชุดหัวดึง

23

ช้ินงาน

มีดแทง

แผนรองงาน

มีดแทงข้ึนรูป

Page 12: เครื่องเลื่อยกล

2.3.2 มีดแทงขึ้นรูป (Broaching tool) มีดแทงขึ้นรูปแตละอันจะมีขนาดไมเทากัน ขึ้นอยูกับขนาดของช้ินงานท่ีตองการ แตสวนประกอบหลักๆ จะเหมือนกนั คือ จะมีสวนนําเล็กแลวจะคอยๆโตขึ้นเรื่อยๆ จนสวนทายสุด จะมีขนาดโตเทากับขนาดของช้ินงาน เพ่ือท่ีจะทําใหการแทงขึ้นรูปคอย ๆกินทีละนอยไปเรื่อยจนไดช้ินงานสําเร็จ สวนประกอบของมีดแทงขึ้นรูปมีรายละเอียดดังนี ้ 1) ชวงดามมีด (Shank length) เปนสวนสําหรับจับมีดแทงขึ้นรูปตอจากดามจะมีสวนนํา ตอนหนา 2) ชวงฟนมีด (Cutting teeth) ฟนมีดจะมีดวยกัน 3 ชวง ชวงแรกฟนหยาบ ชวงท่ีสอง ฟนกึ่งละเอียด ชวงท่ีสามฟนละเอียดเพ่ือเก็บผิวงานขั้นสําเร็จ 3) ชวงนําตอนหลัง (Rear pilot) และชวงพยุง (Follow rest) ในจังหวะท่ีมีดแทงกลับมาอยูในตําแหนงเดิม

รูป 2.18 มีดแทงขึ้นรูปภายใน

รูป 2.19 ลักษณะฟนของมีดแทงขึ้นรูป

สวนนําตอนหลัง

ดามมีด

สวนพยุงหลัง

สวนจับดึง

สวนพยุงหนา

ฟนหยาบ ฟนละเอียด

ฟนมีด ฟนกึ่งละเอียด

รัศมี

ความลึก ระยะพิตช

มุมหลบหนา สันฟน

มุมหลบหลัง

24

Page 13: เครื่องเลื่อยกล

ในการแทงขึ้นรูปมีดแทงจะกนิลึกมากในชวงฟนหยาบ พอชวงฟนละเอียดปานกลาง ก็กินนอยลงมาจนถึงชวงสุดทายฟนละเอียดจะกินผิวช้ินงานเพียงเล็กนอย สวนความเร็วในการแทงขึ้นรูปก็ขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุนั้นดวย

ตารางที่ 2.1 ความเร็วแทงขึ้นรูปและสารหลอเย็น วัสด ุ ความเร็วแทงขึน้รูป (เมตร/นาที) สารหลอเย็น

St 70 3….4,5 4,5….5,5 4,5….6 น้ํามันตัด เหล็กกลาเจือ 1…….....2 น้ํามันตัด เหล็กกลาชนิดเหนียว 1..............2 น้ํามันตัด เหล็กกลาละมุน 6…..........8 น้ํามันตัดแบบอีมัลช่ัน เหล็กหลอ 7,5.............10 แหง/น้ํามันตัด โลหะเบาเจือ AL MG ใชความเร็วสูงสุดของเครื่องแทงขึ้นรูป อีมัลช่ันแหง

2.3.3 ขั้นตอนการใชเครื่องแทงขึ้นรูป 1) จับยึดช้ินงาน ขึ้นอยูกับลักษณะของเครื่องแทงขึ้นรูป 2) จับยึดมีดแทงขึ้นรูป 3) เปดเครือ่งเปดระบบไฮดรอลิก เพ่ือใหชุดหัวจับมีดแทงขึ้นรูปเริ่มทํางานดําเนินการ แทงขึ้นรูปตามลักษณะของเครื่อง พรอมกับหลอเย็น

รูป 2.20 การจับงานและการจับมีดแทงขึ้นรูป

ดามมีด หัวจับมีด

สลัก ช้ินงาน บุช

หนาจาน

25

ที่มา:มานพ,กรรมวิธีการผลิต,หนา 235

Page 14: เครื่องเลื่อยกล

2.3.4 ขอควรระวังในการใชเครื่องแทงขึ้นรูป 1) ตรวจสอบความเรียบรอยของเครื่องและระบบสงกําลัง 2) ระวังอยาใหมีดแทงขึ้นรูปตกลงบนพ้ืน เพราะจะแตกหักไดงาย 3) ตรวจสอบความคมของมีดแทง ถาไมคมตองทําการลับคมใหม 4) ตรวจสอบสภาพการคายเศษโลหะวาสะดวกดีหรือไม 5) ทําการหลอล่ืนงานแทงขึ้นรูป ดวยน้ํามันหลอเย็น หรือน้ํามันพิเศษ 6) จับช้ินงานใหแนน

26

Page 15: เครื่องเลื่อยกล

แบบทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน ประจําหนวยที่ 2 เร่ือง เคร่ืองเลื่อยและเคร่ืองแทงขึ้นรูป

ตอนที่ 1 จงทําเคร่ืองหมาย √ ลงในคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงคําตอบเดียว 1. การตัดงานโดยท่ัวๆ ไป นิยมใชเครื่องเล่ือยแบบไหน ก. เครื่องเล่ือยวงเดือน ข. เครื่องเล่ือยสายพาน ค. เล่ือยมือ ง. เครื่องเล่ือยชัก 2. การตัดงานท่ีบาง เชน ทอ เหล็กกลอง จะตองใชเครื่องเล่ือยชนิดไหนจึงเหมาะสม ก. เล่ือยมือ ข. เล่ือยสายพาน ข. เครื่องตัดแผนเจียระไน ง. เครื่องเล่ือยวงเดือน 3. ถาตองการตัดช้ินงานเปนรูปทรงตางๆ หรือเล่ือยตัดภายในช้ินงานจะตองใชเครื่องเล่ือยชนิดไหน ก. เครื่องเล่ือยชัก ข. เครื่องเล่ือยวงเดือน ค. เครื่องเล่ือยสายพานแนวนอน ง. เครื่องเล่ือยสายพานแนวตั้ง 4. วัสดุท่ีใชทําใบเล่ือย คือ ขอใด ก. เหล็กเพลาขาว ข. เหล็กหลอ ค. เหล็กรอบสูง ง. เหล็กเหนียว 5. ถาตองการจะเล่ือยช้ินงานบางหรือทอ ควรจะใชใบเล่ือยท่ีมีจํานวนฟนตอนิว้ ในขอใด ก. 16 ฟนตอนิ้ว ข. 18 ฟนตอนิ้ว ค. 24 ฟนตอนิ้ว ง. 32 ฟนตอนิ้ว 6. การเล่ือยวัสดุออน เชน พลาสติก ไม ควรจะใชใบเล่ือยในลักษณะใด ก. ฟนตรง ข. ฟนมีมุมตัด ค. ฟนหาง ง. ฟนแบบคล่ืน 7. เครือ่งแทงขึ้นรูป มีลักษณะการทํางานปาดผิวช้ินงานใหไดเปนรูปทรงอะไร ก. ทรงกลม ข. ทรงกระบอก ค. ทรงกรวย ง. ทรงเรขาคณิต 8. ขอใดไมใชช้ินงานท่ีทําจากเครื่องแทงขึ้นรูป ก. รองล่ิมนอก ข. รองล่ิมใน ค. รองน้ํามัน ง. รูควานเรียบ

31

Page 16: เครื่องเลื่อยกล

9. ในสวนใดของมีดแทงขึ้นรูปท่ีตัดงานขั้นสําเร็จ ก. ขอบมีด ข. สวนนําตอนหลัง ค. ดามมีด ง. ฟนมีดละเอียด 10. การสงกําลังของมีดแทง สวนมากจะใชการสงกําลังดวยระบบอะไร ก. ระบบไฮดรอลิก ข. ระบบสายพาน ค. ระบบเฟอง ง. ระบบแขนกล ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอไปนี้โดยการอธิบายส้ันๆพอเขาใจ 1. เครื่องเล่ือย มีความสําคัญอยางไร..................................................................................................... 2. เครื่องแทงขึ้นรูป มีความสําคัญอยางไร........................................................................................... 3. จงยกตัวอยางช้ินงานท่ีไดจากเครื่องแทงขึ้นรูปมา 1 งาน ................................................................ 4. เครื่องเล่ือยชนิดใดท่ีไมตองมีการหลอเย็นขณะทํางาน .................................................................. 5. ใบเล่ือยแบบสลับ จะมีฟนเอียงสลับกันไป-มา ใชสําหรับตัดช้ินงานชนิดใด ................................. 6. การแทงขึ้นรูปแบบดึง มีลักษณะการทํางานอยางไร ...................................................................... 7. การสงกําลังของมีดแทง ท่ีนิยมใชสวนมาก คือ ............................................................................. 8. จงบอกสวนตางๆของมีดแทงขึ้นรูปภายในมีอะไรบาง ................................................................... 9. จงบอกขอควรระวังเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใชเล่ือยกลมา 2 ขอ ........................................... 10. จงบอกขอควรระวังเกี่ยวกับการใชเครื่องแทงขึ้นรูปมา 2 ขอ ...................................................... .............................................................................................................................................................

32