89
เทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น นายชัชวาล คาดการณไกล วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจอุตสาหกรรม ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปการศึกษา 2549 ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

เทคนิคการอนรัุกษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

นายชัชวาล คาดการณไกล

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต

สาขาวิชาธุรกิจอุตสาหกรรม ภาควิชาบรหิารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

ปการศึกษา 2549 ลิขสิทธิ์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

Page 2: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

ช่ือ : นายชัชวาล คาดการณไกล ช่ือวิทยานพินธ : เทคนิคการอนรัุกษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น สาขาวิชา : ธุรกิจอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ : ผศ.ดร.ศิริพรรณ ธงชัย อาจารย ดร.สมภพ ตลับแกว

ปการศึกษา : 2549

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาวิจัยเร่ืองเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น แนวทางการวิจัยจะศึกษาวิธีการดําเนินกิจกรรม ผลการดําเนินกิจกรรม รวมถึงสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ แบบสอบถาม โดยทําการศึกษาจากกลุมตัวอยางจํานวน 80 คน และวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามโดยใชโปรแกรมทางสถิติ SPSS (Statistical Package for the Social Science)

ผลการวิจัยพบวาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เปนการดําเนินกิจกรรมไคเซ็น ที่ชวยใหพนักงานเกิดความคิดสรางสรรค กอใหเกิดแนวทางการอนุรักษพลังงานในรูปแบบตางๆ และขยายขอบเขตการทําไคเซ็นจากหนวยงาน สูหนวยงาน จากแผนกสูแผนก และจากฝายสูฝาย จนทั่วทั้งโรงงาน จากการศึกษาผลการอนุรักษพลังงานไฟฟา พบกิจกรรมการอนุรักษพลังงาน 33 กิจกรรม สามารถลดการใชพลังงานไฟฟาได 1,187,274.54 kWh คิดเปนเงินที่ประหยัดได 3,513,139.07 บาท และจากการสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น พบวาพนักงานมีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นอยูในระดับสูง มีคาเฉลี่ย 75.15 จากคะแนนเต็ม 100 และมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธี ไคเซ็นอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ย 50.51 จากคะแนนเต็ม 72 โดยพบวาทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

(วิทยานิพนธมีจํานวนทั้งส้ิน 80 หนา)

คําสําคัญ : ทัศนคติ, พฤติกรรม, การอนุรักษพลังงาน, กิจกรรมไคเซ็น

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

Page 3: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

Name : Mr.Chatchawal Kardkarnklai Thesis Title : Kaizen-Based Energy Conservation Technique Major Field : Industrial Business King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok Thesis Advisors : Assistant Professor Dr.Siripun Thongchai Dr.Sompoap Talabgaew Academic Year : 2006

Abstract

The purpose of this research is to study the Kaizen-Based Energy Conservation Technique and the relationships between attitude and working behavior of operators. Eighty responsible operators to Kaizen in one international company were identified and selected as participants in this research. Primary data was collected by questionnaires and analyzed by SPSS for windows program (Statistical Package for Social Science) The result of this research shows that the Kaizen-Based Energy Conservation Technique of Kaizen draws to everybody’s attention in multi-form energy conservation as no limit. The Kaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen-Based Energy Conservation have been reduced electrical energy by 1,187,274.54 kWh which results in 3,513,139.07 baht. The worker’s attitude to this technique was in a high level at average 75.15 from 100 points while their working behavior to Kaizen-Based Energy Conservation was in a middle level at average 50.51 from 72 points. The worker’s attitude to Kaizen-Based Energy Conservation had a correlation with their working behavior to Kaizen-Based Energy Conservation at the statistically significant level of 0.5.

(Total 80 pages) Keywords : Attitude, Behavior, Energy conservation, Kaizen

Advisor

Page 4: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

กิตติกรรมประกาศ

การดําเนินการทําวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงอยางสมบูรณได ดวยการใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะเพิ่มเติมอยางดียิ่งจาก ผศ.ดร.ศิริพรรณ ธงชัย และ ดร.สมภพ ตลับแกว ซ่ึงเปนอาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รวมถึง รศ.ดร.วรพจน ศรีวงษคล และผศ.ธานินทร ศิลปจารุ ที่ไดใหขอคิดเห็นตางๆ ตลอดจนเจาหนาที่สาขาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมทุกทานที่อํานวยความสะดวกในขั้นตอนตางๆ ขณะดําเนินการวิจัย ผูวิจัยขอขอบพระคุณทุกทานเปนอยางสูง ขอขอบคุณผูบริหาร ผูรับผิดชอบพลังงาน รวมทั้งหัวหนางาน และตัวแทนของโรงงาน ทุกๆ ทาน ที่ใหการสนับสนุนการทําวิจัย ขอขอบคุณบิดา มารดา และครอบครัว ผูเปนกําลังใจและผลักดัน ใหดําเนินการวิจัยจนสําเร็จ รวมถึงผูที่มีสวนในการสนับสนุนในงานวิจัยช้ินนี้ทุกทาน

ขอขอบคุณเพื่อนๆ และนองๆ นักศึกษาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ ที่ใหความชวยเหลือและขอแนะนําตางๆ ทายนี้คุณคาและประโยชนจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยใครขออุทิศความดีให บิดา มารดา คณาจารย และผูมีพระคุณทุกๆ ทาน ชัชวาล คาดการณไกล

Page 5: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง ซ สารบัญภาพ ฎ บทที่ 1. บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสาํคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 2 1.3 สมมุติฐานของการวิจยั 2 1.4 กรอบแนวความคิดในการวิจัย 3 1.5 ขอบเขตของการวิจยั 3 1.6 ประโยชนของผลการวิจัย 3 บทที่ 2. เอกสารและงานวิจยัที่เกีย่วของ 4 2.1 เทคนิคการบริหารจัดการโดยวิธีไคเซน็ 4 2.2 เทคนิคการอนุรักษพลังงาน 7 2.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับทศันคติและพฤติกรรม 8 2.4 งานวิจยัทีเ่กี่ยวของ 9 บทที่ 3. วิธีดําเนินการวิจยั 11 3.1 การศึกษาเทคนิคการอนรัุกษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 11 3.2 การสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 11 บทที่ 4. ผลของการวิจยั 15 4.1 เทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 15 4.2 ความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น 48

Page 6: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 5. สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 57 5.1 สรุปผลการวิจัย 57 5.2 อภิปรายผลการวิจัย 62 5.3 ขอเสนอแนะ 65 เอกสารอางอิง 67 ภาคผนวก ก 69

แบบสอบถามสําหรับวัดทัศนคติและพฤตกิรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 70 ภาคผนวก ข 77

คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 78 ประวัติผูวจิัย 80

Page 7: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4-1 แนวทางการปฏิบัติกิจกรรมไคเซ็นและผูรับผิดชอบ 21 4-2 แผนงานกจิกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิไคเซ็น 22 4-3 จํานวนและคารอยละของพนักงานจาํแนกตามลักษณะสวนบุคคล 48 4-4 คาเฉลี่ย (Χ ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของพนักงานดานทัศนคตแิละพฤติกรรม

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 52 4-5 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีเพศตางกนั 52 4-6 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีอายุตางกนั 53 4-7 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มี

สถานภาพสมรสตางกัน 53 4-8 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มี

ระดบัการศึกษาตางกัน 54 4-9 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงาน ที่มีสถานภาพสมรสตางกัน 54 4-10 เปรียบเทียบพฤติกรรมการรวมกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ของพนักงานที่มีตําแหนงงานตางกัน 55 4-11 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มี

ประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกัน 55 4-12 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มี

ทัศนคติตางกนั 56 5-1 สรุปผลการดําเนินกจิกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 58 5-2 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐานการวจิัย 62 ข-1 คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสําหรับวัดทัศนคติ

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 72 ข-2 คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสําหรับวัดพฤติกรรม

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 79

Page 8: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1-1 กรอบแนวความคิดในการวิจยั 3 4-1 ภาพองคกรกจิกรรมไคเซ็น 20 4-2 ตัวอยางแบบฟอรมรายงานกจิกรรมไคเซน 23 4-3 ตัวอยางผลการประกาศผลรางวัล Kaizen ประจําป 24 4-4 การใชพดัลมแทนเครื่องปรับอากาศ 25 4-5 การติดตั้งชองจายอากาศเย็นของหอง QA room 25 4-6 ปดเครือ่งปรับอากาศชวงพัก 40 นาที และการปรบัแผนกระจายลม 26 4-7 การติดตั้งใชงานเทอรโมสตัทแบบอิเล็กทรอนิกส 27 4-8 แสดงตําแหนงเครื่องปรับอากาศที่สามารถปดไดในวนัหยดุ 28 4-9 ขอกําหนดและแบบฟอรมในการขออนุมัติเปดเครื่องปรับอากาศในวันหยดุ 28 4-10 แสดงพืน้ที่ที่ปดประตทูี่เปดไดเองอตัโนมัติแบบถาวร 29 4-11 แสดงการติดมานพลาสติกที่ประตูอัตโนมัติและตดิตั้ง Pull switch แทน Photo Sensor 29 4-12 แสดงพืน้ที่ที่ลดระดับประตู Shutter และปดประตู N10 ถาวร 30 4-13 แสดงการเดินไปหองน้าํของพนักงานผานหอง Warehouse ซ่ึงเปนพื้นที่ปรับอากาศ 30 4-14 แสดงปายแสดงการรณรงคการเดินเขา – ออก ในอาคารและโรงงาน 30 4-15 การติดตัง้ฉนวนกันความรอนเครื่องบัดกรีแผนวงจร DIP m/c 31 4-16 การติดตัง้ฉนวนกันความรอนที่ Exhaust Pipe 31 4-17 การติดตัง้ฉนวนกันความรอนเครื่องอบแผนวงจร Reflow m/c 32 4-18 การติดตัง้ฉนวนกันความรอนเครื่องอบ FBT & FD FBT 33 4-19 การลดชวงเวลาของระบบ Pre-heater ของเครื่อง M/C 34 4-20 จอ Monitor ที่ใชงานทดสอบ 34 4-21 การปดไฟเครื่องมือในสายการผลิตระหวางพัก 40 นาที 35 4-22 การยกเลิกการใชพัดลมดูดควนั 36 4-23 การติดตัง้ Limit Switch เพื่อตัดการทาํงานของพัดลม 37 4-24 เปลี่ยนจากการใชหลอดไฟฟาเปนธงสัญญาณแทน 37 4-25 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องบัดกรีแผนวงจร 38

Page 9: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ หนา 4-26 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องอุนสายไฟ AUDIO 39 4-27 เรียงลําดบัการ Test CTV โดย QA เพือ่ลดการรอคอย 39 4-28 ปด CTV ในสายพานการผลิตระหวางพัก 40- 20 นาที 40 4-29 กอนดําเนินการปรับปรุงขบวนการทาํงานเครื่องบัดกรีแผนวงจร 41 4-30 หลังดําเนินการปรับปรุงขบวนการทาํงานเครื่องบัดกรีแผนวงจร 41 4-31 การปดจอ Monitor ของเครื่องจักร SMT หลังจากเปลี่ยน program 42 4-32 การดัดแปลงบางสวนของเครื่องจักร 42 4-33 การลดการใชงานพัดลมดูดอากาศ 43 4-34 การตรวจซอมจุดที่มีลมอัดรั่วแผนก AM 44 4-35 ยกเลกิการใชงานหลอดฟลูออเรสซนต 44 4-36 การใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่หองสํานกังาน 45 4-37 การถอดหลอดไฟแสงสวางสวนที่เกนิความจําเปน 45 4-38 การลดระดับตําแหนงหลอดไฟแสงสวาง 46 4-39 การรณรงคปดจอภาพของเครื่อง PC เมื่อไมใชงาน 47 4-40 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามเพศ 50 4-41 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามอาย ุ 50 4-42 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามสถานภาพสมรส 50 4-43 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามระดับการศกึษา 51 4-44 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามระยะเวลาการปฏิบัติงาน 51 4-45 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามตามตําแหนงงาน 51 4-46 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามประสบการณการฝกอบรม 52 5-1 กราฟแสดงระดับคะแนนทัศนคตแิละพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 61

Page 10: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา พลังงานเปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย การพัฒนา ขีดความสามารถของประเทศใหสามารถแขงขันกับตางประเทศใหไดนั้น จําเปนอยางยิ่งตองมีพลังงานที่เพียงพอเพื่อตอบสนองความตองการในการทํากิจกรรมตางๆ ดังนั้นพลังงานที่ใชจะตองมีคุณภาพที่ดีรวมทั้งราคาที่เหมาะสม กระบวนการผลิตตางๆ ตองมีการประหยัดและทําใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด [1] ปจจุบันนักอุตสาหกรรมเอาใจใสเกี่ยวกับคาใชจายในดานพลังงานในโรงงานของตนมาก รวมทั้งวิธีการตาง ๆ ที่จะใชพลังงานใหไดประโยชนสูงสุด ซ่ึงอุตสาหกรรมที่มีการประหยัดพลังงานอยางจริงจัง ก็จะสามารถลดคาใชจายดานพลังงานลงได

การอนุรักษพลังงานสวนใหญ จะพิจารณาสิ่งที่เกี่ยวกับความสูญเปลาทั้งทางดานพลังงานและตนทุนอื่นๆ ในโรงงานนั้นมีองคประกอบหลักไดแก คน เครื่องจักร วัตถุดิบ วิธีการ และการจัดการมาเกี่ยวของ โดยเฉพาะคน ซ่ึงเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดที่ตองรวมกันทํากิจกรรมที่สถานประกอบการดําเนินการ และเพื่อใหเกิดจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน [2] โดยอาศัยกิจกรรมดานการจัดการ เชน ทีพีเอ็ม (TPM: Total Productive Maintenance) ทีคิวเอ็ม (TQM: Total Quality Manegment) ไคเซ็น (Kaizen) คิวซี (QC: Quality Control) พีเอ็ม (PM: Preventive Maintenance) 5ส (5S) และกิจกรรมอื่น ๆ ซ่ึงจะกอใหเกิดความยั่งยืนในการอนุรักษพลังงาน [3]

กิจกรรมไคเซ็นจัดเปนกิจกรรมที่ชวยใหพนักงานเกิดความคิดที่สรางสรรค กอใหเกิดการปรับปรุงและพัฒนาวิธีผลิตใหชวยลดตนทุนอยางตอเนื่อง [4] ดังนั้นรูปแบบกิจกรรมไคเซ็นจึงไดถูกพัฒนามาใชในการวิเคราะหดานพลังงานเพิ่มขึ้น และขยายขอบเขตการทําไคเซ็นจากหนวยงาน สูหนวยงาน จากแผนกสูแผนก และจากฝายสูฝาย จนทั่วทั้งโรงงาน ไดอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม ถึงแมวาไคเซ็นจะมีประโยชนกับหนวยงานมาก แตก็มิไดหมายความวาจะนํามาทําหรือใชไดเลยโดยที่ไมศึกษาและทําความเขาใจกับไคเซ็นกอน ก็อาจไมประสบความสําเร็จได ดังนั้นกอนดําเนินกิจกรรมไคเซ็นจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาใหเขาใจถึงเทคนิควิธีการจัดทําไคเซ็นใหไดรับประโยชนสูงสุด [5]

Page 11: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

2

จึงเปนเหตุผลใหผูวิจัยมีความประสงคที่จะศึกษาวิจัยเร่ืองเทคนิคการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น แนวทางของงานวิจัยจะศึกษาวิธีการดําเนินกิจกรรม ผลการดําเนินกิจกรรม รวมถึงการสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น

1.2 วัตถุประสงคของการวจัิย 1. เพื่อศึกษาวิธีการดําเนินการอนุรักษพลังงานไฟฟาโดยใชวิธีไคเซ็น 2. เพื่อศึกษาเทคนิคไคเซ็น ในรูปแบบที่ทําใหเกิดการอนุรักษพลังงาน 3. เพื่อศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมผูเขารวมกิจกรรมไคเซน็ตอการอนุรักษพลังงาน 4. เพื่อศึกษาผลจากการทํากิจกรรมไคเซ็นที่สงผลใหเกิดการอนุรักษพลังงาน 5. ดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิการไคเซน็ 6. เพื่อสรางมาตรฐานการปฏิบัติการนําเทคนคิไคเซ็นมาใชกับการอนุรักษพลังงาน

ในโรงงานอุตสาหกรรม

1.3 สมมุติฐานของการวิจัย 1.4.1 พนักงานที่มีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน 1.4.2 พนักงานที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน 1.4.3 พนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ตางกัน 1.4.4 พนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ตางกัน 1.4.5 พนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน

โดยวิธีไคเซ็นตางกัน 1.4.6 พนักงานที่มีตําแหนงงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน 1.4.7 พนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกัน มีพฤติกรรม

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน 1.4.8 พนักงานที่มีทัศนคติตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

Page 12: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

3

1.4 กรอบแนวความคิดในการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมผูเขารวมกิจกรรมไคเซ็นตอการอนุรักษ

พลังงาน สามารถสรางเปนกรอบแนวความคิดในการวิจัยดังภาพที่ 1-1 ตัวแปรอิสระ

(Independent Variable) ตัวแปรตาม

(Dependent Variable)

ลักษณะสวนบุคคล - เพศ - อาย ุ- สถานภาพสมรส - ระดับการศึกษา - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ตําแหนงงาน - ประสบการณฝกอบรมดานอนุรักษพลังงาน

ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธกีารไคเซ็น

พฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธไีคเซ็น

ภาพที่ 1-1 กรอบแนวความคิดในการวิจยั 1.5 ขอบเขตของการวิจัย ศึกษาวิธีดําเนินกิจกรรม และแนวทางปฏิบัติกิจกรรมไคเซ็นที่ทําใหเกิดการอนุรักษพลังงาน รวมทั้งสํารวจผลการอนุรักษพลังงานไฟฟาที่ไดดําเนินกิจกรรมจริง สํารวจทัศนคติและพฤติกรรมผูเขารวมกิจกรรมไคเซ็นตอการอนุรักษพลังงาน จากโรงงานตัวอยางที่ดําเนินการวิจัยการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

1.6 ประโยชนของผลการวิจัย 1.6.1 ทราบวิธีและขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นเพื่อการอนุรักษพลังงานแบบยั่งยืน 1.6.2 เปนตัวอยางที่ดีในสถานประกอบการอื่นๆ ที่จะนําเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธี ไคเซ็น ไปปรับใช เพื่อลดตนทุนใหต่ําลงในดานพลังงาน 1.6.3 สรางคนในองคกรใหมีคุณภาพ มีความคิดสรางสรรค มีวิธีคิด มีวิธีทํา และการปรับปรุงกระบวนตางๆ อยางเปนระบบเพื่อใหไดมาซึ่งการอนุรักษพลังงานที่ยั่งยืน

Page 13: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

4

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น รวมถึงการสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารตํารา ผลงานวิจัย และงานเขียนอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของเพื่อศึกษาขอมูลตางๆ ดังนี้

2.1 เทคนิคการบริหารจัดการโดยวิธีไคเซ็น 2.2 เทคนิคการอนุรักษพลังงาน

2.2.1 การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม 2.2.2 การอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ

2.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับทัศนคติและพฤติกรรม 2.4 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

2.1 เทคนิคการบริหารจัดการโดยวิธีไคเซ็น

การปรับปรุงหรือการเปลี่ยนแปลงองคกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพองคกรใหสูงขึ้นอยางคอยเปนคอยไปและอยางตอเนื่อง การดําเนินโครงการปรับปรุงกระบวนการระยะสั้น โดยทั่วไปไคเซ็นจะมุงเปาหมายสําหรับการปรับปรุงที่การดําเนินการจัดทําเซลลการทํางาน (Workcell Implementation) เชน การลดเวลาการตั้งเครื่อง กิจกรรม 5ส. การซอมบํารุงเชิงปองกัน หรือกิจกรรม QC เปนตน กิจกรรมเหลานี้สามารถดําเนินการโดยวิธีไคเซ็นไดอยางเปนขั้นตอน ดังนี้

1. มุงการดําเนินโครงการในชวงระยะเวลาสั้น โดยทั่วไปจะใชชวงเวลาประมาณ 3-10 วัน ดังตัวอยางของกําหนดการ ดังนี ้

วันที่ 1: ฝกอบรมเกี่ยวกับเครื่องมือและแนวคิดไคเซ็นใหกับทีมงาน วันที่ 2-4: ดําเนินการจัดทําขอมูลในรูปเอกสารที่เปนสภาพปจจุบันของกระบวนการหรือ

พื้นที่เปาหมาย โดยมีการระดมสมองเพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุง รวมทั้งสภาพหลังการปรับปรุง วันที่ 5: จัดเตรียมเอกสารรายงานผลลัพธจากการศึกษาเพื่อนําเสนอตอผูบริหารโดยใช

แผนภูมิวิเคราะหการไหล การหา Take Time แผนภูมิกางปลา เปนตน เพื่อใชวิเคราะหกระบวนการตางๆ เพื่อจําแนกปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น

Page 14: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

5

2. มุงเนนการทํางานเปนทีม โดยมีการรวมมือและประสานงานระหวางทีมงานขามสายงาน ประกอบดวยผูเกี่ยวของจากฝายงานตาง ๆ เพื่อรวมศึกษาปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการทํางานและการรวมเสนอแนะแนวทางปรับปรุง โดยทั่วไปทีมงานจะประกอบไปดวยสมาชิกประมาณ 6-8 คน

3. มุงเนนการปฏิบัติการ โดยใหความสนใจตอการเปลี่ยนแปลงกระบวนการที่ตองดําเนินการปรับปรุงและดําเนินการทันทีเมื่อไดสรุปแนวทางแกไขปญหาหรือไดรับอนุมัติ ใหดําเนินการ โดยมีการจัดทําเอกสารเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตภาพระหวางชวงกอนและหลังดําเนินการปรับปรุง

4. ตองสามารถตรวจสอบดวยมาตรวัด โดยท่ัวไปการปรับปรุงกระบวนการจะตองสามารถวัดผลและตรวจสอบผลลัพธดวยมาตรวัด เชน การใชพื้นที่ในกระบวนการตางๆ ระยะทาง ขนถาย ที่ลดลง จํานวนงานคางระหวางผลิต เวลาที่ใชสําหรับการตั้งเครื่อง อัตราของเสียที่เกิดขึ้น

5. การดําเนินซ้ํา สําหรับการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นจะตองมีความตอเนื่องตามแนวทาง การปรับปรุงและขอบเขตที่กําหนดไว เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยไดรับความรวมมือ จากทีมงานและบุคลากรทุกคน

ในชวงของการดําเนินกิจกรรมไคเซ็น ทางทีมงานปรับปรุงจะตองคนหาสาเหตุตนตอของความสูญเปลาและใชความคิดสรางสรรค เพื่อขจัดความสูญเปลา โดยมีการทํางานรวมกับทีมงานขามสายงานอยางตอเนื่องในชวงเวลา 3-10 วัน และมีการติดตามผลลัพธหรือความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นภายใน 30 วัน หลังจากดําเนินกิจกรรมการปรับปรุงไคเซ็น รวมทั้งมีการจัดทํามาตรฐานกระบวนการ [6]

ประเทศญี่ปุนหลังจากการพายแพสงครามโลกครั้งที่ 2 ซ่ึงเปนบทเรียนและเปนแรงผลักดันใหประเทศญี่ปุนพัฒนาขึ้นมา การซึมซับและรับแนวคิดการบริหารงานและการควบคุมคุณภาพ จากสหรัฐอเมริกา ไดมีการดัดแปลงแนวคิดใหสอดคลองกับวัฒนธรรมและความเปนอยูแบบญี่ปุน คือความเชื่อในพลังความคิดและการมีสวนรวมของคนทุกระดับในหนวยงาน เปนที่มาที่ทําใหเกิดการปรับปรุงงานแบบใหม ที่เรียกวา “ไคเซ็น”

วิธีการจัดการแบบ ไคเซ็น ตองยึดหลัก 1. ตองผลิตส่ิงที่ดีที่สุด 2. ตองผลิตในราคาถูกที่สุด 3. ตองผลิตใหเร็วที่สุด

Page 15: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

6

กุญแจหลัก 10 ประการที่เปนหัวใจหลักของไคเซ็น 1. ตองทิ้งความคดิที่ยึดมัน่ในวธีิการทํางานแบบเดิมๆ 2. เมื่อทําไมไดใหคิดหาวิธีอ่ืนเพื่อทําใหไดดกีวาคิดหาเหตผุลเพียงเพื่ออธิบายสาเหตุทีท่ําไม

จึงทําไมไดเทานั้น 3. อยาพูดแกตวั อยางแรกที่ตองทําคือตองไมยอมรับสภาพที่เปนอยูในขณะนั้น 4. ถาเปนสิ่งดีใหลงมือทําทันที ถาเปนสิ่งไมดใีหหยุดทนัท ี5. อยาคาดหวังผลที่ 100 คะแนนเต็ม แคเพยีง 60 คะแนนก็ลงมือทําดู 6. ถาผิดพลาดรีบแกไขทันท ี7. ใชความคิดประสบการณจากหลายคนดีกวาคนเดยีว 8. หาสาเหตุที่แทจริง โดยถามคําถามวา “ทําไม” และหาคําตอบของคําถามอยางนี้ไปเรือ่ยๆ

อยางนอย 5 คร้ัง 9. จําไววาถาไมทุกขรอนปญญาไมเกิด 10. จําไววาการปรบัปรุงไมมีวันสิ้นสุด

ที่กลาวมานั้นเปนกุญแจหลักของสิ่งที่เปนอุปสรรคในการปรับปรุง และหลักพื้นฐานในการปรับปรุง ซ่ึงสามารถทําความเขาใจงายแตเมื่อเอาไปปฏิบัติจริงแลวเปนเรื่องที่ยาก ดังนั้น จะตองสะสมประสบการณและการทําอยางตอเนื่อง [7]

ยุทธการในการทําไคเซ็นถือไดวาเปนเทคนิคหรือวิธีการอยางหนึ่งที่สามารถนํามาปรับปรุงระบบการทํางานใหสามารถพัฒนาไดอยางตอเนื่อง โดยตั้งอยูบนพื้นฐานในการปรับปรุงแกไข ดวยตัวเอง คือ เมื่อคิด วิเคราะหถึงปญหาและแนวทางการแกไขแลวดําเนินการทันที ทั้งนี้เพื่อลดความสูญเสียตางๆที่เกิดขึ้นในขบวนการทํางาน สวนหลักในการดําเนินการตามวิธีไคเซ็นนั้น ตองอาศัยผูบริหารระดับสูงที่จะตองตระหนักและใหความสําคัญโดยการตั้งเปนนโยบาย เพื่อใหผูบริหารระดับลางหรือหัวหนางาน และพนักงานปฏิบัติการ สามารถดําเนินงานไปไดในทิศทางเดียวกัน และพยายามวิธีและแนวทางใหมๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการทํางานและสภาพแวดลอม การทํางานใหดีขึ้นอยูเสมอ [8]

จากความหมายขางตนสรุปไดวา การบริหารจัดการโดยวิธีไคเซ็นนั้นมุงเนนการมีสวนรวมของคนทุกระดับในหนวยงาน เพื่อปรับปรุง และหาแนวทางใหมๆ เพื่อพัฒนาการทํางานใหดีขึ้นเสมอ โดยจะตองใหความรูกับพนักงาน การจัดทําขอมูล การตั้งทีมทํางาน การประเมินผล และการปรับปรุงการทํางานหลังประเมินผล เพื่อการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง

Page 16: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

7

2.2 เทคนิคการอนุรักษพลังงาน 2.2.1 การอนุรักษพลังงานแบบมสีวนรวม [2] การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวมจะตองอาศัยพนักงานทุกคนในองคกรตั้งแตผูบริหาร

ผูจัดการ หัวหนางาน จนถึงพนักงานระดับปฏิบัติงานรวมมือกัน โดยการทํากิจกรรมตางๆ และ การทําหนาที่ของแตละคนใหสอดคลองกับเปาหมายการอนุรักษพลังงานขององคกรอยางจริงจัง เพราะการดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงาน ไมมีใครคนใดคนหนึ่งสามารถอนุรักษพลังงาน ไดดวยตนเอง เพราะการอนุรักษพลังงานแทรกอยูในกระบวนการผลิตทุกขั้นตอน และตองการความเอาใจใสเพื่อใหทราบปญหาการรั่วไหลหรือสูญเสียพลังงาน การอนุรักษพลังงานที่ทุกฝายใหความรวมแรงรวมใจนี้เรียกวา การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม เปนวิธีการอนุรักษพลังงาน ที่บรรลุวัตถุประสงคการอนุรักษพลังงาน กอใหเกิดผลการประหยัดอยางเปนรูปธรรมและยั่งยืน [9]

2.2.2 การอนุรักษพลังงานแบบบรูณาการ การอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ เปนการบูรณาการกิจกรรมดานการจัดการควบคูกับ

การอนุรักษพลังงาน เชน ทีพีเอ็ม (TPM) ทีคิวเอ็ม (TQM) ไคเซ็น (Kaizen) คิวซี (QC) พีเอ็ม (PM) 5ส (5S) และอ่ืนๆ ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูและวัฒนธรรมองคกรนั้น การอนุรักษพลังงาน แบบบูรณาการ เปนกิจกรรมที่สามารถนํามาปฎิบัติได โดยบุคลากรทุกคนในสถานประกอบการที่มีการดําเนินกิจกรรมดานการจัดการอยูแลว ทําใหเกิดแนวทางการอนุรักษพลังงานอยางยั่งยืนและตอเนื่อง การอนุรักษพลังงานที่สัมฤทธิ์ผลดวยวิธีการแบบบูรณาการ ควรเริ่มจากการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม ซ่ึงเปนกิจกรรมของผูบริหารทุกระดับและพนักงานทุกคน ที่จะตองทํากิจกรรมรวมกันในสถานประกอบการ หลังจากนั้น การอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ ก็จะชวยสงเสริมใหเกิดกิจกรรมการอนุรักษพลังงานที่ยั่งยืนตอไป [3]

จากความหมายขางตนสรุปไดวา การดําเนินกิจกรรมเพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงานที่ยั่งยืนนั้นตองอาศัยความรวมมือจากพนักงานทุกคน ทุกฝาย ตั้งแตระดับผูบริหาร หัวหนางาน จนถึงพนักงานระดับปฎิบัติงาน รวมกันดําเนินกิจกรรมในการอนุรักษพลังงานในองคกร ตามภาระหนาที่ของตนเอง เปนการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม และแทรกการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวมนี้ใหเขาไปในการบริหารจัดการขององคกรที่ดําเนินการอยู เชน ทีพีเอ็ม (TPM) ทีคิวเอ็ม (TQM) ไคเซ็น (Kaizen) คิวซี (QC) พีเอ็ม (PM) 5ส เปนตน ซึ่งเปนการอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ

Page 17: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

8

2.3 ทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับทัศนคติและพฤติกรรม จากการศึกษาขอมูลตาง ๆ ไดมีผูใหความหมายของทัศนคติและพฤติกรรม การวัดทัศนคติ

และการวัดพฤติกรรม ไวดังนี้ ทัศนคติ คือ ความรูสึกนึกคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงอาจแสดงออกใหเห็นไดจากพฤติกรรม

ที่สะทอนทัศนคตินั้นๆ คนแตละคนมีทัศนคติตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งมากนอยแตกตางกัน แมวาทัศนคติจะเปนนามธรรม แตเมื่อไดเกิดขึ้นแลวจะเปนสิ่งที่มีความสําคัญมากตอบุคคลที่มีทัศนคตินั้น บทบาทของทัศนคติตอพฤติกรรมของคนมีมาก แทบจะกลาวไดวาทุกสิ่งทุกอยางในชีวิตมนุษยขึ้นอยูกับทัศนคติ [10]

ทัศนคติ คือ ความรูสึก ความคิดเห็น และพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอบุคคล กลุมคน สังคม องคกร และสถานการณตางๆ โดยการแสดงทาทีหรือความรูสึกออกมาในทางยอมรับหรือ ปฎิเสธ [11]

ทัศนคติ คือ ความรูสึกของบุคคลที่มีตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ความรูสึกดังกลาวอาจจะเกี่ยวของกับบุคคล ส่ิงของ สภาพการณ เหตุการณ เปนตน เมื่อเกิดความรูสึก บุคคลนั้นจะมีความเตรียมพรอมเพื่อมีปฏิกริยาตอบโตไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งตามความรูสึกของตนเอง [12]

จากความหมายขางตนสรุปไดวา ทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่เกิดจากการไดรับรู ไดเห็นในเหตุการณตางๆ แลวแสดงความรูสึกออกมาในทางยอมรับหรือปฎิเสธ โดยข้ึนกับทัศนคติของบุคคลนั้นๆ มากนอยแตกตางกัน

พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา การแสดงออกของบุคคลที่สามารถสังเกตไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 อยางชัดเจน เชน การพูด เดิน ทํางาน ขยัน เปนตน การแสดงพฤติกรรมของบุคคลขึ้นอยูกับความตองการและแรงจูงใจ หรือบางครั้งบุคคลก็ไมรูตัววาตองการอะไรหรือมีแรงจูงใจอะไรในการแสดงพฤติกรรมนั้น [13]

พฤติกรรม หมายถึง ส่ิงที่บุคคลกระทํา แสดงออก ตอบสนอง หรือไดตอบโตตอส่ิงหนึ่ง ส่ิงใดในสภาพณการณใดสภาพการณหนึ่ง สามารถสังเกตเห็นได [14]

พฤติกรรม หมายถึง การกระทําของบุคคลในทุกลักษณะ ทั้งที่เปนโดยธรรมชาติและที่จงใจกระทํา ซ่ึงอาจจะรูตัวหรือไมรูตัว และเปนการกระทําที่สังเกตไดโดยใชประสาทสัมผัสธรรมดาหรือใชเครื่องมือชวยสังเกต [15]

จากความหมายขางตนสรุปไดวา พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา หรือการแสดงออกของบุคคลที่สามารถสังเกตได โดยที่บุคคลนั้นอาจจะรูตัวหรือไมรูตัวตอเหตการณหรือสถาณการณใด สถาณการณหนึ่ง

Page 18: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

9

การวัดทัศนคติและพฤติกรรมที่นิยมที่สุด คือวิธีการวัดแบบลิเคริรท (Likert Scale) ทําไดโดยการสรางมาตรประเมินคา (Rating Scale) ซ่ึงจะมีขอความที่ประกอบดวยขอความที่สนับสนุน และขอความที่ตอตานตอเร่ือง ที่จะวัด โดยใหมีจํานวนขอความทั้งสองประเภทเทา ๆ กัน ผลเฉล่ียของคะแนนทั้งหมดจะทําใหทราบวาผูตอบมีทัศนคติไปในเชิงบวกหรือลบมากนอยเพียงใด [16]

ดังนั้น ผูวิจัยจึงไดสรางแบบวัดเปนมาตรประเมินคา (Rating Scale) โดยเลือกวิธีการวัด แบบลิเคริรท (Likert Scale) เพื่อวัดทัศนคติและพฤติกรรมที่เกี่ยวกับการรวมดําเนินกิจกรรม การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไดเซ็น

2.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ในการวิจัยเพื่อศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีการไคเซ็น ผูวิจัยไดศึกษางานวิจัย ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพลังงาน ดังตอไปนี้ สมเกียรติ และสุนันท [17] ทําการวิจัยเร่ืองการศึกษาการประหยัดพลังงาน ดวยการใชระบบมาตรฐาน ISO 14001 กรณีศึกษา อาคารการปโตรเลียมแหงประเทศไทย สํานักงานพระโขนง โดยจัดทําโครงการอนุรักษพลังงานในชวงเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 พบวาสามารถลดการใชพลังงาน 54,948 หนวย คิดเปนคาไฟฟาประมาณ 93,595 บาท และลดการใช น้ําได 3,977.66 หนวย คิดเปนคาน้ําประมาณ 59,665 บาท บุตรบํารุง [18] ทําการวิจัยเร่ืองการประหยัดพลังงานในอาคารพาณิชย กรณีศึกษา อาคารพหลโยธิน ธนาคารกสิกรไทย วัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อนําเสนอวิธีการประหยัดพลังงานที่เปน ไปไดหลังจากเก็บขอมูลการใชพลังงานของอุปกรณตางๆ ในอาคาร พบวาสามารถดําเนินการอนุรักษพลังงานได 6 แนวทาง ไดแก (1) การใชระบบบํารุงรักษาเชิงปองกันในเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน (2) ปรับปรุงการบํารุงรักษาหอผึ่งลมเย็น (3) ติดตั้งฉนวนกันความรอนที่ผนังหอง (4) การใชโคมไฟฟาประสิทธิภาพสูง (5) การใชหลอดฟลูออเรสเซนตแบบประหยัดพลังงาน (6) การใช บัลลาสตประสิทธิภาพสูง หลังจากดําเนินการปรับปรุงแลวจะทําใหสามารถลดคาไฟฟาได 184,310 บาท/เดือน หรือลดการใชพลังงานลงประมาณรอยละ 6.5 เอกชัย [19] ทําการวิจัยเรื่องการอนุรักษพลังงานไฟฟาโดยการมีสวนรวมของพนักงาน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยไดแก พนักงานบริษัทบริการเชื้อเพลิงกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) จํานวน 233 คน เปนการวิจัยเชิงสํารวจโดยใชแบบทดสอบความรูและแบบสอบถาม พบวาพนักงาน สวนใหญมีสวนรวมในระดับกลาง โดยการมีสวนรวมขึ้นกับการรับรูขาวสารเกี่ยวกับสถานการณพลังงานและการใชพลังงานอยางประหยัด ดังนั้น จึงควรมีการรณงคประชาสัมพันธอยางตอเนื่องเพื่อใหพนักงานมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของการสิ้นเปลืองพลังงาน รวมถึงผลเสียของการไมอนุรักษพลังงาน

Page 19: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

10

เปรมหทัย [20] ทําการวิจัยเ ร่ืองความสัมพันธระหวางความรู ทัศนคติ และพฤติกรรม ความปลอดภัยในการทํางานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตรองเทา บริษัท พี.เอส.อาร ฟุตแวร จํากัด กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ พนักงานบริษัทพี.เอส.อาร ฟุตแวร จํากัด จํานวน 326 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวาพนักงานมีความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานอยูในระดับสูง พนักงานที่มีระดับการศึกษา แผนกงาน และสภาพ การจางงงานที่ตางกันมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทํางานตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.1 ศิริพรรณ และพิชัย [2] ทําการวิจัยเร่ืองเทคนิคการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม ที่สามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดตางๆ ผลจากการดําเนินการพบวา การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวมในโรงงานอุตสาหกรรม จะตองอาศัยความรวมมือรวมใจ อยางจริงจังของพนักงาน โดยจะตองมีการฝกอบรมเพื่อสรางจิตสํานึก ในการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ ควบคูกับการใหความรูทางดานเทคนิค อยางเหมาะสมตามประเภทของอุตสาหกรรม และจากผลการดําเนินการกับอุตสาหกรรมตัวอยางจํานวน 30 แหง ทําใหสามารถประหยัดเงินไดมากกวา 25 ลานบาทตอป ศิ ริพรรณ และพิชัย [3] ทําการวิจัยเ ร่ืองเทคนิคการอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ ซ่ึงเปนการบูรณาการ กิจกรรมดานการจัดการควบคูกับการอนุรักษพลังงาน เชน ทีพีเอ็ม (TPM) ทีคิวเอ็ม (TQM) ไคเซ็น (Kaizen) คิวซี (QC) พีเอ็ม (PM) 5ส และอื่นๆ ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู และวัฒนธรรมองคกรนั้น การดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ สามารถนําไปปฏิบัติในโรงงานอุตสาหกรรมไดจริง จากการทดลองที่ไดจากการดําเนินการจริง พบวาการอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ ไมเพียงแตกอใหเกิดการอนุรักษพลังงานเทานั้น แตยังสงผลตอการอนุรักษพลังงานแบบยั่งยืนดวย จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับเทคนิคการอนุรักษพลังงาน การมีสวนรวมของพนักงาน การศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรม พบวาการประหยัดพลังงานสามารถทําไดโดยลดการใชพลังงานที่ไมเกิดประโยชน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัสดุอุปกรณที่มีประสิทธิภาพต่ําหรือทําใหเกิดการสูญเสีย รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการทํางาน การที่จะทําใหเกิด การมีสวนรวมของพนักงานตองมีการเผยแพรความรู และประชาสัมพันธอยางตอเนื่อง ใหผูปฏิบัติงานไดเล็งเห็นความสําคัญของพลังงาน

Page 20: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

11

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น รวมถึง การสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น จากแบบสอบถามที่สรางขึ้น ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามขั้นตอนดังนี้

3.1 การศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3.1.1 กําหนดรูปแบบเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3.1.2 ศึกษาผลจากการดําเนินการตามเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

3.2 การสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3.2.1 การกําหนดกลุมประชากร 3.2.2 การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.2.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.2.4 การวิเคราะหขอมูล 3.2.5 สถิติที่ใชในการวิจัย

3.1 การศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3.1.1 กําหนดรูปแบบเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยไดศึกษารูปแบบเทคนิค และวิธีการบริหารจัดการโดยวิธีไคเซ็น การอนุรักษพลังงาน

เทคนิคการบูรณาการกิจกรรมของโรงงานจากเอกสารตํารา บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวของ และปรึกษากับอาจารยที่ปรึกษา เพื่อกําหนดรูปแบบเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

3.1.2 ศึกษาผลจากการดําเนินการตามเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยศึกษาผลการอนุรักษพลังงานไฟฟา จากการดําเนินกิจกรรมโดยวิธีไคเซ็นของ

โรงงานตัวอยาง โดยแยกเปนเทคนิคในแตละเรื่องหรือมาตรการแตละดาน

3.2 การสํารวจทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3.2.1 การกําหนดกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนผูรับผิดชอบการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นในโรงงานอุตสาหกรรม จํานวน 80 คน โดยเปนการเลือกแบบเจาะจง

Page 21: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

12

3.2.2 การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามเพื่อใชเปนเครือ่งมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการดําเนินกิจกรรมไคเซน็ของกลุมตัวอยาง โดยแบบสอบถามประกอบดวย 3 สวน ดังนี ้ สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลลักษณะสวนตัว ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตําแหนงงาน และประสบการณฝกอบรมเกี่ยวกับ การอนุรักษพลังงาน

สวนที่ 2 แบบวัดทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยสรางขึ้นโดยศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ มีขอคําถามจํานวน 20 ขอ ลักษณะของแบบสอบถาม เปนแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) แบงออกเปน 5 ระดับ ไดแก เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ และไมเห็นดวยอยางยิ่ง สวนที่ 3 แบบวัดพฤติกรรมการทํากิจกรรมไคเซ็นเพื่ออนุรักษพลังงาน ผูวิจัยสรางขึ้น โดยศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยท่ี เกี่ยวของ มีขอคําถามจํานวน 18 ขอ ลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตรประเมินคา (Rating scale) แบงออกเปน 4 ระดับ ไดแก ปฏิบัติทุกครั้ง ปฏิบัติบอยครั้ง ปฏิบัติบางครั้ง และไมเคยปฏิบัติ

ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบ เพื่อใหไดแบบสอบถาม ที่มีเนื้อหา ความเขาใจ ภาษาที่ถูกตอง และมีความเหมาะสมที่จะนําไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง

3.2.3 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บขอมูลโดยใหกลุมตัวอยางเปนผูตอบแบบสอบถาม

จํานวน 80 คน นําแบบสอบถามที่ไดมาตรวจสอบความสมบูรณ ปรากฎวาไดขอมูลทั้งหมด 80 ฉบับ นําแบบสอบถามที่สมบูรณมาตรวจใหคะแนนตามเกณฑที่กําหนด และทําการวิเคราะหขอมูลทางสถิติตอไป

3.2.4 การวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows (Statistical Package for Social Science) [21] มีรายละเอียดการวิเคราะหขอมูลดังนี้

1. ขอมูลเกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตําแหนงงาน และประสบการณการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน ผูวิจัยนําขอมูลมาแจกแจงความถี่ และหาคารอยละ [22]

2. ขอมูลทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) ซ่ึงขอความวัดทัศนคติเปนทั้งขอความเชิงบวกและเชิงลบ [16] โดยกําหนดคะแนนในแตระดับ ดังนี้

Page 22: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

13

ระดับความรูสึก คะแนนขอความเชิงบวก คะแนนขอความเชิงลบ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 1 เห็นดวย 4 2 ไมแนใจ 3 3 ไมเห็นดวย 2 4 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 5

การแบงระดับทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยแบงตามระดับคะแนนโดยรวม โดยคํานวณจากคาพิสัย (Range) [23] แลวแบงเปน 3 ระดับดังนี้

คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด

ระดับชั้น ความกวางของอันตรภาคชั้น =

100 - 20

3 ความกวางของอันตรภาคชั้น = = 26.67

แบงระดับทัศนคติเกี่ยวกับการทํากิจกรรมไคเซ็น เพื่ออนุรักษพลังงาน ดังนี้ คะแนน 20 – 46.99 หมายถึง มีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดับต่ํา คะแนน 47 – 72.99 หมายถึง มีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดับปานกลาง คะแนน 73 – 100.00 หมายถึง มีทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดับสูง

3. ขอมูลพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) ซ่ึงขอความวัดความถี่ของพฤติกรรมเปนขอความ เชิงบวกและขอความเชิงลบปนกัน [16] กําหนดการใหคะแนน ดังนี้

ระดับความถี่ คะแนนขอความเชิงบวก คะแนนขอความเชิงลบ ปฏิบัติสม่ําเสมอทุกครั้ง 4 1 ปฏิบัติบอยครั้ง 3 2 ปฏิบัติบางครั้ง 2 3 ไมเคยปฏิบัติ 1 4

Page 23: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

14

การแบงระดับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูวิจัยแบงตามระดับคะแนนโดยรวม โดยคํานวณจากคาพิสัย (Range) [23] แลวแบงเปน 3 ระดับ ดังนี้

คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด

ระดับชั้น ความกวางของอันตรภาคชั้น = 72 - 18

3 ความกวางของอันตรภาคชั้น = = 18

แบงระดับพฤติกรรมเกี่ยวกับการทํากิจกรรมไคเซ็น เพื่ออนุรักษพลังงาน ดังนี้ คะแนน 18 – 36.99 หมายถึง มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดบัต่ํา คะแนน 37 – 54.99 หมายถึง มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดบัปานกลาง คะแนน 55 – 72.00 หมายถึง มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในระดบัสูง

3.2.5 สถิติที่ใชในการวิจัย [22] 1. คารอยละ (Percentage) ใชวิเคราะหขอมูลลักษณะทั่วไปของกลุมตัวอยาง 2. คาเฉลี่ย (Mean) ใชในการจําแนกและแปลความหมายของขอมูล 3. คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชคูกับคาเฉลี่ย เพื่อแสดงลักษณะ

การกระจายของขอมูล 4. คา t-test ใชทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยสองกลุม 5. คา F-test ใชทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยสามกลุมขึ้นไป โดยการวิเคราะห

ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) แลวทําการวิเคราะหเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธี Scheffe

6. คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ใชวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปรสองตัวที่เปนอิสระตอกัน

Page 24: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

15

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิจัยคร้ังนี้ไดศึกษาเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น แนวทางของงานวิจัย จะศึกษาวิธีการดําเนินกิจกรรม ผลการดําเนินกิจกรรม รวมถึงการศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น ตามขั้นตอนตางๆ ดังนี้

4.1 เทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 4.1.1 หลักการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 4.1.2 เทคนิคการดําเนินการจัดกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

4.2 ความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น

4.2.1 ระดับทศันคติและพฤติกรรมการอนรัุกษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น 4.2.2 การวิเคราะหเพื่อทดสอบสมมุติฐาน

4.1 เทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 4.1.1 หลักการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

4.1.1.1 ขอควรคํานึงกอนที่จะลงมือทําการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น คือตองปรับวิธีคิดของพนักงานในองคกรกอน โดยใหเชื่อในความจริง 4 และหลัก 5 แหงการหลุดพนจากความสูญเสียพลังงาน ดังนี้ ความจริง 4 คือทําสิ่งใดอยูบนความจริงทั้ง 4 ดังนี้ - ความจริงที่ 1 ขอมูลจริง - ความจริงที่ 2 ของจริง - ความจริงที่ 3 สถานที่จริง - ความจริงที่ 4 สภาพจริง

หลัก 5 คือ ตองมีความเชื่อดังนี้ - สภาพการใชพลังงานในปจจุบันไมใชส่ิงที่ดีที่สุด - เร่ิมตนเรียนรูจากสภาพการใชพลังงานในปจจุบัน - สงเสริมใหพนักงานเกิดความสงสัย ตรวจสอบ และวินิจฉัย การใชพลังงาน ณ ปจจุบัน - พนักงานทุกคนมีคาเพราะรูจักสภาพการใชพลังงานและจุดที่เกิดความสูญเสียดีที่สุด

- การดําเนินมาตรการอนุรักษพลังงานตองอยูในโลกของขอเท็จจริงและขอมูลที่ถูกตอง

Page 25: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

16

4.1.1.2 การปรับเปลี่ยนมุมมองและวิธีคิดเพื่อลดการสูญเสียพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เปนจุดแรกของการพิจารณาเรื่องลดการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ ก็คือ “การยอมรับวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานเกิดขึ้นในองคกรจริง หรือมีการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพจริงในระบบการทํางานขององคกร” เพราะถาไมมีการยอมรับมีปญหาก็ไมมีความตองการที่จะคิดในการปรับเปลี่ยน ปรับปรุง เพื่อลดการใชพลังงาน หรือใชพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ฉนั้นจึงกลาวไดวา “ความพอใจและยอมรับภาพความสูญเสียพลังงานที่เกิดขึ้นเปนศัตรูตัวสําคัญของการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น” ดังนั้นคําถามที่ควรตอบกอนคือ “อะไรคือปญหาของการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ” ดังตอไปนี้

1. ไมรูวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ 2. รูวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

แตไมยอมรับรู 3. รับวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

และรับรูถึงปญหาที่เกิดขึ้นแตไมยอมแก 4. รับวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

แตเกี่ยงกันที่จะแกปญหา 5. เจตนาปดบังปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

เพราะกลัวปญหา หรือเจานายไมชอบเห็นปญหา 6. ปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพเกิดขึ้นมานาน

จนเรื้อรัง แกแลวไมหาย ก็เลยไมแก เพราะแกแตปลายเหตุ 7. รูวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

แตไมยอมแก เพราะกลัวตองแกปญหาคนเดียว 8. มีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ ตองแก

เปนทีม แตทีมไมมีความสามัคคี หรือทีมมีปญหาเอง 9. มีความรูดานเทคนิคการอนุรักษพลังงานไมเพียงพอในการแกปญหาเรื่องการสูญเสีย

พลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ 10. ไมสามารถวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือเร่ืองการใช

พลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ 11. รูวามีปญหาเรื่องการสูญเสียพลังงานหรือการใชพลังงานอยางขาดประสิทธิภาพ

แตกําหนดไมถูกวาอะไรคือปญหา

Page 26: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

17

4.1.1.3 ส่ิงที่ผูบริหารหรือหวัหนางานควรคํานึงในการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ผูบริหารหรือหัวหนางานมักกังวลกับการนําไคเซ็นไปใชในหนวยงานเพื่อใหเกิดการ

อนุรักษพลังงาน ในประเด็นเหลานี้ 1. ไมรูจะสอนใหลูกนองเขาใจถึงไคเซ็นและการอนุรักษพลังงานไดอยางไร 2. ไมรูจะลงมือทํากันการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นจริงจังไดอยางไรดี 3. รณรงคเร่ืองการอนุรักษพลังงานเทาไหรก็ดูไมไดซะที 4. ลูกนองที่รักทั้งหลายก็มีแตรับปากวา “ครับ รูครับ ทราบครับ” หรือ “ครับ เราจะพยายาม

ทําเพื่อองคกร เราจะรวมกันประหยัดพลังงาน ” แตไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงเลย 5. หลายครั้งไมรูจะสั่งสอนใหลูกนองที่ไมยอมรวมมือในการประหยัดพลังงานอยางไรดี 6. พนักงานคนไหนที่รวมมือในการประหยัดพลังงาน ก็จะทําอยูแตคนหนาเดิมๆ 7. ถึงจะมีขอเสนอแนะในการประหยัดพลังงานแตก็มักเปนการตําหนิ จับผิดผูอ่ืน หรือ

แผนกอื่น 8. ขอเสนอแนะในการประหยัดพลังงานบางอยางปฏิบัติจริงไมได 9. มาตรการประหยัดพลังงานมักชอบเสนอแตใหซ้ือ หรือเพิ่มคน 10. ไมแนใจวามีการทํามาตรการประหยัดพลังงานอยูมากนอยแคไหน เพราะไมมีการ

รายงานผลการประยัดพลังงาน 11. พนักงานชอบบนวา “แคงานในการผลิตก็แยอยูแลว ไมมีเวลาวางทําไคเซ็นหรือ

ทํามาตรการประหยัดพลังงาน”

ดังนั้น เพื่อเปนการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดรวดเร็ว และเปนการรับรองถึงความสําเร็จที่จะเกิดขึ้น จึงตองใหผูบริหารรับผิดชอบตอจํานวนมาตรการอนุรักษพลังงานและอัตราความรวมมือของลูกนองดวย

1. เพราะจํานวนกิจกรรมไคเซ็นและอัตราการเขารวมกิจกรรมเปนมิเตอรบงบอกวา ผูบริหารรูจักใชคําวา “นี่แหละการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นละ” เปนหรือไม

2. เพราะจะสะทอนใหเห็นถึงวิธีการบริหารงานของผูบริหารทานนั้น (วาเปนประเภท ชางตําหนิ หรือเปนประเภทชื่นชมเสริมกําลังใจ) เพราะตองเปลี่ยนสไตลการบริหารจากระบบ “ส่ังแกมบังคับ” มาเปน “การสงเสริมใหเกิดความสรางสรรค”

Page 27: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

18

4.1.1.4 ปจจัยสูความสําเร็จในการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ที่หัวหนาตองพิจารณาในการดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

1. เลือกโครงการที่ผูบริหารเห็นสําคัญ 2. คิดถึงงานของตนในมุมมองของผูบริหารหรือที่ผูบริหารตองการ 3. มีการทํางานเชื่อมโยงระหวางหนวยตางๆ ตั้งแตระดับกลุมกิจกรรม จนถึงระดับฝาย 4. ใหความสําคัญของการใชขอมูล 5. ปรับวิธีการทํางานใหเขากับวัฒนธรรมขององคกร 6. คอยๆ เร่ิม ใชโครงการนํารอง

4.1.1.5 เคล็ดลับการสอนลูกนองใหลงมือทํามาตรการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 1. ใหลูกนองรูจัก “มอง” ในงานของตัวเองที่รับผิดชอบอยูในมุมมองใหม ใหมองงานดวย

สายตาใหมวามีตรงไหนเลิกได ลดได เปลี่ยนได เพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงาน 2. ใหลูกนองรูจักที่จะเปลี่ยนมุม “ความคิด” ลองคิดถึงปญหาหนึ่งวามีไดหลายสาเหตุ

มีไดหลายทางที่ทําใหเกิดปญหาขึ้น (ใหใช “สรุปแลวก็คือ” แยกแยะจุดประสงค และวิธีการออกจากกันใหชัดเจน)

3. ใหลูกนองรูจักที่จะ “ลองเปลี่ยน” วิธีการทํางานของตัวเอง 4. ใหลูกนองรูจักมา ปรึกษาเรื่องการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นที่จะทํา แลวทดลองทํา

แลวนํามารายงาน แลวลงมือทํารอบใหม หรือเร่ืองใหมตอไป 5. ใหลูกนองรูจัก ลงมือทํา คือ อะไร ที่ทําไดงายก็ทําไปกอน (ดวยการแยกแยะ รวมตวั และ

แกไขเปนจุดๆ) สวนจะสําเร็จมากนอยขนาดไหน จึงมาวิเคราะห สรุป รายงานผล แลวลงมือทํา รอบใหม หรือเร่ืองใหมตอไป

4.1.1.6 กลวิธีในการดําเนินการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 1. การมองปญหาความสูญเสีย ลงหัวคิด ลงมือทํา ตองทําใหเห็นและเปนที่รับรูของทุกคน 2. การมอง (รูสึกถึงความสําคัญของปญหาการสูญเสียพลังงาน) ถาแยกแยะก็จะเขาใจ

ถาเปรียบเทียบก็จะเขาใจ ถาดูก็จะเขาใจ และเห็นความสําคัญของพลังงานที่สูญเสีย 3. คิด (คิดถึงแผนมาตรการประหยัดพลังงาน) แผนมาตรการตางๆ หลายๆ แผน เลิก ลด

เปลี่ยน เพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงานในองคกร 4. ลงมือ (ดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงาน) โดยเริ่มลงมือทีละสวนจากสิ่งที่ทําไดกอน

ทําใหเปนที่รับรู โดยเขียนออกมากอนเฉพาะจุดสําคัญ ทําอยางรวดเร็ว เขียนอยางคราวๆ

Page 28: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

19

4.1.2 เทคนิคการดําเนินการจัดกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ในการจัดใหเกิดกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของกลุมตัวอยาง มีเทคนิค ในการดําเนินกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้

4.1.2.1 การกาํหนดวัตถุประสงคของการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เชน 1. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขันทางธุรกิจกบับริษัทอื่นๆ 2. เพื่อเปนการเพิม่ผลกําไรใหกบัทุกๆ พื้นที่ในโรงงาน 3. เพื่อเปนการลดความสูญเปลาของพลังงานใหกับทกุๆ พืน้ที่ในโรงงาน 4. สรางทีมเวอรคในองคกร 5. พัฒนาศักยภาพของพนักงาน 6. เพื่อใหผูทํางานระดับลางไดมีโอกาสนําเสนอ การปรับปรุงมายังระดับบริหาร 7. เพื่อเปนสวนหนึ่งในการชวยใหประเทศไทยใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ

4.1.2.2 การกาํหนดเปาหมายโดยรวมของกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น การกําหนดเปาหมายโดยรวมของการทํากิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เปนการกําหนดเปาหมายในภาพใหญทั้งองคกร วาตองการใหเกิดผลอยางไรหลังจากดําเนินกิจกรรม และเพื่อตองการใหเกิดแรงผลักดันใหรวมกันดําเนินกิจกรรมหรือมาตรการตางๆ แลวมีผลสําเร็จโดยรวมบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว เปาหมายโดยรวมนี้ยังสามารถเปนตัวช้ีวัดผลสําเร็จของการดําเนินกิจกรรมไดอีกดวย การกําหนดเปาหมายโดยรวมของกิจกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นนี้จะไมรวมถึงการทํากิจกรรมไคเซ็นในครั้งที่ผานมา เชน

- ประหยัดการใชพลังงานไฟฟาได 2,000 kWh/ป - ประหยัดการใชน้ํา 1,000 ลบ.เมตร/ป - ประหยัดการใชน้ํามัน 1,000 ลิตร/ป - ประหยัดเงนิ 500,000 บาท/ป

4.1.2.3 การกําหนดบทบาทหนาที่ของประธาน ผูนํากลุม สมาชิกกลุมกิจกรรมไคเซ็น และผังองคกรกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

บทบาทหนาท่ีของประธาน ผูนํากลุม และสมาชิกกลุมกิจกรรมไคเซ็น บทบาทหนาทีข่องประธานกลุมกิจกรรมไคเซ็น 1. เลือกหัวขอกจิกรรม 2. สงเสริม/จัดหา ทรัพยากร 3. ประสานงานในแตละแผนกที่เกี่ยวของ

Page 29: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

20

4. ตรวจสอบ และติดตามผลการปฏิบัติ 5. กระตุน และสงเสริมสมาชิกใหทํากจิกรรม

บทบาทหนาทีข่องผูนํากลุมกิจกรรมไคเซน็ 1. คนหา และนําหัวขอมาทําการปฏิบัติใหเกิดผล 2. ระดมสมอง และรวบรวมความคิด 3. ผลักดัน และขบัเคลื่อนกิจกรรมใหเปนไปตามเปาหมาย

บทบาทหนาทีข่องสมาชิกกลุมกิจกรรมไคเซ็น 1. คนหา และนําความคิดไปใชใหบังเกิดผล 2. เขารวมทํากิจกรรม 3. จัดเตรียมวัสดสํุาหรับการนําเสนอผลงาน

ตัวอยางผงัองคกรกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ประธานกรรมการบริหาร

กก.ทานท่ี 1

ปธ.กก.ทานท่ี 1 ปธ.กก.ทานท่ี 2

Kaizen Center (ทีมที่ปรึกษา

ผูเชี่ยวชาญและผูบริหาร)

ประธาน

ผลิต 1

ตรวจสอบคุณภาพสินคา

ผลิต 2

ผลิต 3

ออกแบบผลิตภัณฑ

วางแผนการผลิต

สํานักงาน

กรรมการริหาร

หัวหนา สมาชิก สมาชิก สมาชิก

ซอมบํารุง

สมาชิก

กก.ทานท่ี 3 กก.ทานท่ี 4 กก.ทานท่ี 5 กก.ทานท่ี 2

คณะกรรมการกิจกรรมการอนุรักษพลงังาน

ภาพที่ 4-1 ภาพองคกรกิจกรรมไคเซ็น

Page 30: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

21

4.1.2.4 ตัวอยางการกําหนดแนวทางปฏิบัติกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยไคเซ็น

ตารางที่ 4-1 แนวทางการปฏบิัติกิจกรรมไคเซ็นและผูรับผิดชอบ

หัวขอ ชื่อผูรับผิดชอบ 1. ไคเซ็นเซนเตอรกําหนดเปาหมายโดยรวมของบริษัท 2. เร่ิมกิจกรรม และประกาศใหกับประธานของแตละแผนกทราบ 3. ประธานของแตละแผนกกําหนดเปาหมายของแผนก 4. ในแตละเดือนประธานแตละแผนกจะตองสงหัวขอการอนุรักษพลังงาน

มายังไคเซ็นเซนเตอร กอนการนําเสนอผลงานอยางนอย 7 วัน

5. ไคเซ็นเซนเตอรจะรวบรวมหัวขอไคเซ็นของแตละแผนก และจะมีการตรวจสอบสถานที่ที่ทําไคเซ็นนั้น

6. ไคเซ็นเซนเตอรจะจัดทําลําดับของการนําเสนอผลงานของแตละไคเซน็ 7. ในวนัที่มีการนําเสนอผลงาน ขอใหสมาชกิทุกคนเขารวมกิจกรรม 8. หลังจากเสนอผลงานเสร็จ คณะกรรมการจากไคเซ็นเซนเตอร จะทําการ

ใหคะแนนเพือ่เลือกไคเซ็นอันดับที่ 1, 2, 3

9. ประกาศไคเซน็อันดับที่ 1, 2, 3 10. ตรวจสอบสถานที่ที่ทําไคเซน็อันดับที่ 1, 2, 3 11. ประกาศและมอบรางวัลแกสมาชิกของไคเซ็นที่ดีที่สุด 12. ไคเซ็นเซนเตอร จะรวบรวมไคเซ็นของแตละแผนกเก็บไวเปนประวตั ิ 13. ติดตามผลหลังจากที่ทําไคเซ็น

Page 31: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

22

4.1.2.5 การกาํหนดแผนงานกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เชน

ตารางที่ 4-2 แผนงานกจิกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิไคเซ็น

หัวขอ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

1. วันกิจกรรมไคเซ็น √ √ √ √ √ √ √ √ 2. กิจกรรมไคเซ็นของแตละแผนก

(อยางนอย 1 ไคเซ็น) √ √ √ √ √ √ √ √

3. นําเสนอผลงานโดยสมาชิกภายในกลุม √ √ √ √ √ √ √ √ 4. ตรวจสอบสถานที่ทํามาตรการอนุรักษ

พลังงานโดยวิธีไคเซ็น จากคณะกรรมการผูจัดการ กรรมการ และสมาชิก

√ √ √ √ √ √ √ √

กิจกรรม

(ผูรับ

ผิดชอ

บ.....

........

........

.)

5. ศึกษางานแผนกอื่นๆ หรือนอกสถานที่ √ √ √ √ √ √ √ √ 6. มอบรางวัลไคเซ็นในแตละเดือน

√ √ √

7. มอบรางวัลไคเซ็นครึ่งป

รางวัลและการส

งเสริม

(ผูรับ

ผิดชอ

บ……

.......)

8. บอรดไคเซ็น

√ √ √ √ √ √ √ √

4.1.2.6 การจัดทําคูมือการทํากิจกรรมไคเซ็น การจัดทําคูมือการทํากิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น จะจัดทําหลังจากไดดําเนินกิจกรรมแลวทุกครั้ง เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยในคูมือดวย เร่ืองตางๆ ดังนี้

1. ปรับปรุงขบวนการทํางาน หรือวิธีการทํางานเพื่อลดการใชพลังงาน 2. ขจัดงานที่ไมมีความจําเปน (งานซ้ําซอน และงานที่ไมเกิดมูลคา) เพื่อลดการใชพลังงาน 3. ลดพื้นที่ของการทํางาน หรือวางวัตถุ อุปกรณ เพื่อเพื่อลดการใชพลังงานจากระบบปรับ

อากาศและแสงสวาง 4. ปรับปรุง บํารุงรักษา พัฒนาเครื่องมือ เครื่องใชรวมทั้งอุปกรณตางๆใหมีประสิทธิภาพ

การใชงานที่ดเีสมอ เพื่อลดความสูญเสียจากการใชพลังงาน

Page 32: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

23

ตัวอยางแบบฟอรมรายงานกิจกรรมไคเซน

ภาพที่ 4-2 ตัวอยางแบบฟอรมรายงานกจิกรรมไคเซน

Before After

Cost saving

Detail

Name :

Detail

หัวขอไคเซ็น

สิ่งที่ไรประโยชน/ขยะ/ปญหา

กิจกรรมไคเซ็น

สรุป การคํานวณ รายการ กอน หลัง ผลลัพธ

อ่ืน ๆ

Page 33: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

24

4.1.2.7 การประชาสัมพันธผลการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น หลังจากที่ไดตรวจประเมินผลการทํากิจกรรมการอนุรักษพลังงานตามแผนที่กําหนดไวแลว ตองมีการประกาศผลการทํากิจกรรม และประชาสัมพันธถึงผลสําเร็จ ปญหาและอุปสรรคตางๆที่เกิดขึ้นใหกับทุกคนไดทราบ เพื่อเปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง รวมถึงการมอบรางวัลใหกับกลุมที่มีผลงานโดดเดน เพื่อเปนขวัญกําลังใจใหพนักงานมีสวนรวมในการทํากิจกรรมมากขึ้น ดังตัวอยางผลการประชาสัมพันธการประกาศผลรางวัลกิจกรรมการนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นดีเดนประจําป เชน

กลุม Kook Kook ควา 2 รางวัล Kaizen

และ กลุม The Original ก็ไมนอยหนาไดควารางวัล Best Kaizen ไปครอง

การประกาศผลรางวัล Kaizen ประจําป ทมี The Original ควารางวัล Kaizen Best Award ไปครองไดสําเร็จ สวนทีม Kook Kook ควา 2 รางวัลคือรางวัล The Winner award และ Joker award สําหรับรางวัลรางวัลอ่ืน ๆ มีดังนี ้

รางวัล Attendance award ไดแกทีม Spiderman รางวัล Qualify award ไดแกทีม Create Team รางวัล Kaizen Su Su ไดแก นองสาว ทีม Nine One One รางวัล Kaizen Impression (Creative) award ไดแกทีม Sam Kok รางวัล Kaizen Team work award ไดแกทีม Ultimate Challengers

และรางวัลสุดทายคือรางวัล Shiny star award จะเปนใครไปไมไดนอกจากทีมสาว ๆ ABC ควาไปครองคือ นองออ

ขอแสดงความยินดีกับทุก ๆ ทีมท่ีไดรางวัล สวนทีมท่ีไมไดรางวัลก็ไมตองเสียใจ ขอเปนกําลงัใจใหสูตอไป

Su.. Su..

ในนาม Mr. Kaizen ตองขอขอบคุณสมาชกิ Kaizen ทุกๆ ทานที่ไดใหความรวมมือดวยดีตลอดปท่ีผานมา ซ่ึงทําใหเราสามารถบรรลุเปาหมายของ Kaizen และในปตอไป Mr. Kaizen หวังเปนอยางยิ่งวาคงไดรับความรวมมือดียิ่งขึ้นอีก ขอบคุณคราบ !!.

ภาพที่ 4-3 ตัวอยางผลการประกาศผลรางวัล Kaizen ประจําป

Page 34: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

25

ตัวอยางผลการทํากิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 1. มาตรการอนุรักษพลังงานระบบทําความเย็นและปรับอากาศ 1.1 ใชพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศในชวงเวลา Over Time (กลางคืน)

ภาพที่ 4-4 การใชพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ

กอนดําเนินกิจกรรมไคเซ็นพบวาหองทํางานของฝายผลิตที่ทํางานลวงเวลามีการเปดใชงานเครื่องปรับอากาศ 24 ช่ัวโมง/วัน หลังดําเนินกิจกรรมไคเซ็นสามารถปรับปรุงวิธีการใชงานโดยการปดเครื่องปรับอากาศและเปดพัดลมแทนในชวงเวลากลางคืนซึ่งอากาศไมรอนมากนัก เปนเวลา 12 ช่ัวโมง/วัน เครื่องปรับอากาศใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 7 kW พัดลมใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 0.64 kW ราคาพัดลม 1,250 บาท คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (7 × 12 ×246 × 1)- (0.64 × 12 ×246 × 1) = 18,774.72 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 18,774.72 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 50,823.17 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 1,250 /50,823.17 = 0.024 ป หรือประมาณ 9 วัน

1.2 ยายชองเปาลมเย็นใหออกจากเครื่องจกัรที่จายความรอน

th

retCham

ber machi

retuCham

ber machi

Chamber

machi

Chamber

machi

retuCham

ber machi

Chamber

machi

Chamber

machi

Temp = 24 thermo

Working Cham

ber machi

Temp = 28 ภาพที่ 4-5 การติดตั้งชองจายอากาศเย็นของหอง QA room

Page 35: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

26

กอนดําเนินกิจกรรมไคเซ็นไดสํารวจการใชพลังงานของระบบปรับอากาศในหอง QA room พบวาชองจายอากาศเย็นนั้นติดตั้งแบบกระจาย ทําใหมีชองจายอากาศจํานวน 3 ชอง มีตําแหนงอยูบนเครื่องจักรที่เปนแหลงจายความรอน และอยูใกลกับชองดูดอากาศกลับ ทําใหอากาศเย็นที่จายออกมานั้นถูกดูดกลับออกไปโดยไมมีผลกับพื้นที่ที่ตองการทําความเย็น และจากการตรวจวัด

อุณหภูมิในพื้นที่ที่ตองการความเย็น พบวาพื้นที่ที่ตองการความเย็นมีอุณหภูมิ 28 °C และจากการตรวจวัดกําลังไฟฟาระบบปรับอากาศ พบวามีความตองการกําลังไฟฟาเฉลี่ย 21.95 kW จากการเปด ใชงาน 24 ช่ัวโมง/วัน หลังดําเนินกิจกรรมไคเซ็น ไดทําการยายชองจายอากาศเย็นจํานวน 3 ชอง ใหมาอยูในตําแหนงพื้นที่ที่ตองการทําความเย็นทําใหพื้นที่ที่ตองการทําความเย็นมีอุณหภูมิลดลง และจากการตรวจวัดอุณหภูมิในพื้นที่ที่ตองการความเย็น พบวาพื้นที่ที่ตองการความเย็นมีอุณหภูมิ

24 °C และจากการตรวจวัดกําลังไฟฟาระบบปรับอากาศ พบวามีความตองการกําลังไฟฟาเฉลี่ย 20.82 kW จากการเปดใชงาน 24 ช่ัวโมง/วัน

คิดเปนพลังงานไฟฟาที่สามารถประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (21.95-20.82) × (24×246) × 1 = 6,671.52 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 6,671.52 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 18,059.80 บาท/ป

ดังนั้น ทําการยายชองจายอากาศเย็นจํานวน 3 ชอง ใหหางออกมาจากชองดูดอากาศกลับ และใกลเครื่องจักร ซ่ึงเปนภาระความรอน สามารถลดการใชพลังงานไฟฟาได พลังงานไฟฟา = 6,671.52 kWh/ป คาพลังงานไฟฟา = 87,901.7 บาทตอป

1.3 การปดเครื่องปรับอากาศชวงพัก 40 นาที และการปรับแผนกระจายลมขึ้น 30 องศา

ติดตั้งตัวล็อกแผนกระจายลม

กําหนดผูรับผิดชอบ และ มี Daily check Sheet

(ปรับมุมขึ้น 30 องศา)

Side View

ภาพที่ 4-6 ปดเครื่องปรับอากาศชวงพกั 40 นาที และการปรับแผนกระจายลม

Page 36: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

27

กอนดําเนินกิจกรรมไคเซ็นพบวาการใชงานเครื่องปรับอากาศในหองทํางานของฝายตางๆ ไมปดในชวงเวลาพัก หลังดําเนินกิจกรรมไคเซ็นโดยการปดชวงพัก เปนเวลา 40 นาที/วัน เครื่องปรับอากาศใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 18.7 kW คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 18.7 × ((40/60)×246) × 41 = 125,739 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 125,739 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 340,375.5 บาท/ป

1.4 ติดตั้งอิเล็กทรอนิกสเทอรโมสตัท กอนดําเนินกิจกรรมไคเซ็นไดสํารวจการใชงานเครื่องปรับอากาศซึ่งใชเทอรโมสตัทแบบ

ไบเมททอลและชุดควบคุมอุณหภูมิชวงกวางๆ เปนเลข 1-10 ซ่ึงไมสามารถควบคุมอุณหภูมิไดคงที่ เมื่อทําการวัดกําลังไฟฟาในอุณหภูมิใชงานปกติพบวาเครื่องปรับอากาศวาใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 18.7 kW หลังดําเนินกิจกรรมไคเซ็นไดติดตั้งเทอรโมสตัทแบบอิเล็กทรอนิกส โดยตั้งอุณหภูมิ 25 - 26 องศาเซลเซียส เมื่อวัดกําลังไฟฟาพบวาใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 16.8 kW ราคาเทอรโมสตัทแบบอิเล็กทรอนิกส 5 ตัว ราคา 72,500 บาท

Electronic -Thermostat

ภาพที่ 4-7 การติดตั้งใชงานเทอรโมสตัทแบบอิเล็กทรอนิกส

คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (18.7-16.8) × 24 × 246 × 5 = 56,088 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 56,088 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 151,830.2 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 72,500 /151,830.2 = 0.47 ป หรือประมาณ 6 เดือน

Page 37: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

28

1.5 ยกเลิกการเปดเครื่องปรับอากาศบางเครื่องและควบคุมการเปดเครื่องปรับอากาศ ในวันหยุด

ในการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นไดสํารวจการใชงานเครื่องปรับอากาศในชวงวันหยุดหรือชวงเวลาทํางานนอกเวลา พบวามีบางแผนกพนักงานทํางานลวงเวลาเพียง 3-5 คน แตเปดใชงานเครื่องปรับอากาศซึ่งมีขนาดใหญ จึงออกมาตรการอนุรักษพลังงานวาหากมีพนักงานทํางาน นอยกวา 8 คน จะไมอนุญาตใหเปดใชงานเครื่องปรับอากาศ แตจะใหเปดใชพัดลมแทน

ตองแจและมีลา(การขอ8 คนขึ้น

ภาพ เชน คาพลังงาน

พลังง

พลังง

คาพล

ระยะ

ภาพที่ 4-8 แสดงตําแหนงเครื่องปรับอากาศที่สามารถปดไดในวนัหยดุ

งขอเปดเครื่องปรับอากาศกอนวันหยุด ยเซ็นของผูจัดการแผนกอนุมัต ิเปดเครื่องปรับอากาศตองมีคนทํางาน ไป)

ที่ 4-9 ขอกําหนดและแบบฟอรมในการขออนุมัติเปดเครื่องปรับอากาศในวันหยดุ การยกเลิกการเปดเครื่องปรับอากาศและใชพัดลมแทน ราคาพัดลม 3,600 บาท คิดเปนไฟฟาที่ประหยัดได

านไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

านไฟฟา = 3.3 × 24 × 246 × 2 = 38,966 kWh/ป

ังงานไฟฟา = 38,966 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 105,481 บาท/ป

เวลาคืนทุน = 3,600 /105,481 = 0.034 ป หรือประมาณ 12 วัน

Page 38: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

29

2. มาตรการปองกันอากาศรอนจากภายนอก ในการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นไดสํารวจการใชงานประตูพบวาประตูอัตโนมัติ มีพนักงานเดิน

เขาออกบอย รวมถึงการเคลื่อนยายวัสดุหรือวัตถุดิบ หรือจากการที่ประตูอัตโนมัตินั้นเปดเอง หากมีอะไรที่ผานตรงเซ็นเซอรประตู รวมทั้งพบวามีการเขา-ออก พื้นที่ Warehouse บอยมาก เนื่องจากเปนทางลัดเพื่อเดินไปเขาหองน้ํา ทําใหมีความรอนจากภายนอกเขาในตัวโรงงานซึ่งเปนพื้นที่ ปรับอากาศ จึงออกมาตรการปดประตูอัตโนมัติและปดประตูที่ผานเขาออกพื้นที่ Warehouse สวนประตูที่เปดใชงานไดติดมานพลาสติกที่ประตูอัตโนมัติและติดตั้ง Pull switch แทน Photo Sensor เพื่อลด Error จากคนเดินผาน และมีการรณรงคการประหยัดพลังงานจากการใหเปด-ปดประตู ดังนี้ 2.1 ปดประตทูี่เปดไดเองอตัโนมัติแบบถาวร เพื่อปองกันไมใหอากาศรอนเขามาภายในหองปรับอากาศโดยไมจําเปน จึงปดประตูอัตโนมัติจํานวน 10 ประตู จากทั้งหมด 18 ประตู

ภาพที่ 4-10 แสดงพื้นที่ที่ปดประตูที่เปดไดเองอัตโนมัติแบบถาวร

2.2 ติดมานพลาสติกที่ประตูอัตโนมัติและติดตั้ง Pull switch แทน Photo Sensor เพื่อลด Error จากคนเดินผาน

ดึงสวิทซกระตุก เปดประตูเมื่อลากของผาน

คนเดินผานไดเลยโดยไมตองเปดประต ู

ภาพที่ 4-11 แสดงการติดมานพลาสติกที่ประตูอัตโนมัตแิละติดตั้ง Pull switch แทน Photo Sensor

Page 39: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

30

2.3 ลดระดับประตู Shutter และปดประตู N10 ถาวร

ภาพที่ 4-12 แสดงพื้นที่ที่ลดระดับประต ูShutter และปดประตู N10 ถาวร

2.4 ลดการเปดประตูเขา-ออก พื้นที่ Warehouse

ภาพที่ 4-13 การยกเลิกเทางเดินไปหองน้ําไมใหผานหอง Warehouse ซ่ึงเปนพื้นที่ปรับอากาศ

2.5 รณรงคใหปดประตูเมื่อเดินผานและ ปดประตูเมื่อเลิกใชงานหองประชุมแลว และรณรงคใหใชประตูเล็ก

ภาพที่ 4-14 แสดงปายแสดงการรณรงคการเดินเขา – ออก ในอาคารและโรงงาน

Page 40: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

31

3. มาตรการลดความรอนออกจากเครื่องจกัร การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของเครื่องจักร พบวาเครื่องจักรที่ให

ความรอนในขบวนการผลิต ใหความรอนชิ้นงานไมพอเพียงและไมสม่ําเสมอ ทําใหควบคุมคุณภาพยาก และมีความรอนบางสวนกระจายออกรอบๆ เครื่อง ทําใหสภาพอากาศบริเวณพื้นทํางานมีอุณหภูมิคอนขางสูง ในขณะที่พื้นที่ใชเครื่องปรับอากาศเปนแบบ Package Unit จํานวนหลายเครื่องในพื้นเดียวกัน สงผลตอภาระการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศเพิ่มสูงดวย จึงไดมีการปองกันความรอนที่เกิดจากผลิต โดยดําเนินการใสฝาทางเขาออก เพิ่มฉนวนกันความรอนที่บริเวณสวนตางๆ ของเครื่องจักร ดังนี้

3.1 ติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องบัดกรแีผนวงจร DIP m/c (แผนก ME)

Exhaust Back Front Side

Top Cover

ภาพที่ 4-15 การติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องบัดกรแีผนวงจร DIP m/c

การติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องบัดกรแีผนวงจร DIP m/c (แผนก ME) คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (6.81 × 12 × 246 × 4) + (6.81 × 24 × 246 × 3) = 201,031 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 201,031 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 544,190.9 บาท/ป

กอนดําเนินการ หลังดําเนินการ

ภาพที่ 4-16 การติดตั้งฉนวนกันความรอนที่ Exhaust Pipe

Page 41: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

32

การติดตั้งฉนวนกันความรอนที่ Exhaust Pipe คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (1.55 × 12 × 246 × 4) + (1.55 × 24 × 246 × 3) = 45,697 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 45,697 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 123,701.8 บาท/ป

พลังงานไฟฟา = 201,031+ 45,697 = 246,728 kWh/ป คาพลังงานไฟฟา = 544,190.9 + 123,701.8 = 667,892.7 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน = 121,900 /667,892.7 = 0.18 ป หรือประมาณ 2 เดือน

3.2 ติดตั้งฉนวนกนัความรอนเครื่องอบแผนวงจร Reflow m/c (แผนก AM)

กอนปรับปรุง หลังปรับปรุง

ภาพที่ 4-17 การติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องอบแผนวงจร Reflow m/c

การติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องอบแผนวงจร Reflow m/c (แผนก AM) คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (1.54-0.08) × 24 × 246 × 12 = 103,323 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 103,323 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 279,695.4 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 7,200/279,695.4 = 0.02 ป หรือประมาณ 9 วัน

Page 42: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

33

3.3 ติดตั้งฉนวนกนัความรอนเครื่องอบ FBT & FD FBT (แผนก Key Part) กอนปรับปรุง หลังปรับปรุง

ภาพที่ 4-18 การติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องอบ FBT & FD FBT

การติดตั้งฉนวนที่ Oven FBT คิดเปนคาพลังงานไฟฟาทีป่ระหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 2.95 × 24 × 246 × 2 = 34,834 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 34,834 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 94,295.64 บาท/ป

การติดตั้งฉนวนที่ Oven FD คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.85 × 12× 246 × 7 = 17,564 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 17,564 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 47,575.45 บาท/ป

พลังงานไฟฟา = 34,834 + 17,564 = 52,398 kWh/ป คาพลังงานไฟฟา = 94,295.64 + 47,575.45 = 141,871.1 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน = 5,400/141,871.1 = 0.03 ป หรือประมาณ 13 วัน

Page 43: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

34

4. มาตรการควบคุมเครื่องจกัรสวนการผลิต 4.1 การลดชวงเวลาของระบบ Pre-heater ของเครื่อง M/C

Monitor 26 W. Monitor 160 W.

ภาพที่ 4-19 การลดชวงเวลาของระบบ Pre-heater ของเครื่อง M/C

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของเครื่องจักร พบวาระบบ Pre-heater ของเครื่อง M/C จะทํางาน 11 ช่ัวโมง/วัน ซ่ึงเกินความจําเปน จึงปรับปรุงระบบ Pre-heater โดยการติดตั้งสวิทซควบคุมตางหาก ทําใหใชเวลาในการ Pre-heater เปนเวลา 8.5 ช่ัวโมง/วัน ระบบ Pre-heater ใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 5 kW ทําการปรับปรุงจํานวน 5 เครื่อง คิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 5 × (11-8.5) ×246 × 5 = 15,375 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 15,375 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 41,620.13 บาท/ป

4.2 การเปดใชงานจอ Monitor เฉพาะเวลาที่ใชงานทดสอบเทานั้น

ภาพที่ 4-20 จอ Monitor ที่ใชงานทดสอบ

ติดตั้ง Switch Control Pre-heat

หลังปรับปรุง กอนปรับปรุง

Page 44: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

35

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของจอ Monitor ที่ใชในงานทดสอบ พบวา มีจอ Monitor 2 แบบ ไดแกแบบจอโทรทัศน ซ่ึงใชกําลังไฟฟา 26 W จํานวน 45 จอ และแบบจอคอมพิวเตอร ซ่ึงใชกําลังไฟฟา 160 W จํานวน 18 จอ โดยเปดใชงานตลอด 24 ช่ัวโมง/วัน หลังจากศึกษาเวลาที่จําเปนที่ใชงานจริงๆ เพียง 2 ช่ัวโมง/วัน คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.026 × (24-2) ×246 × 45 = 6,332.04 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 6,332.04 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 17,140.83 บาท/ป

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.160 × (24-2) ×246 × 18 = 15,586.56 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 15,586.56 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 42,192.82 บาท/ป

หลังจากดําเนนิมาตรการอนรัุกษพลังงานโดยเปดใชงานจอ Monitor เมือ่ใชงานเทานัน้ สามารถลดการใชพลังงานได

พลังงานไฟฟา = 6,332.04 + 15,586.56 = 21,918.6 kWh/ป คาพลังงานไฟฟา = 17,140.83 + 42,192.82 = 59,333.65 บาท/ป

4.3 ปดไฟเครือ่งมือในสายการผลิตระหวางพัก 40 นาท ี

ปด Breaker ปด Breaker

ภาพที่ 4-21 การปดไฟเครื่องมือในสายการผลิตระหวางพัก 40 นาท ี

Page 45: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

36

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของขบวนการผลิต พบวาไดเปดสวิทซเครื่องมือทิ้งไวในชวงเวลาพัก ทําใหส้ินเปลืองพลังงานโดยไมมีการใชงาน จึงออกมาตรการปดสวิทซไฟเครื่องมือในสายการผลิตระหวางพัก 40 นาที คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW ที่ใช × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 41.07× ((40/60)×246) × 1 = 6,735 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 6,735 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 18,231.65 บาท/ป

4.4 ยกเลิกการใชพัดลมดูดควัน

ภาพที่ 4-22 การยกเลิกการใชพัดลมดูดควนั

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของ Main Exhaust ซ่ึงจากเดิมใช พัดลมดูดควัน แตจากการทดลองยกเลิกใชงานพัดลมดูดควัน เนื่องจาก Main Exhaust มีแรงดูดเพียงพอ จึงลดการใชพัดลมดูดอากาศได คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.05 × 12 × 246 × 15 = 2,214 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 2,214 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 5,993.298 บาท/ป

Page 46: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

37

4.5 ตัดการทํางานพัดลมดูดควันเมื่อวางหวัแรง (ติดตั้ง Limit Switch) Limit Switch

ภาพที่ 4-23 การติดตั้ง Limit Switch เพื่อตดัการทํางานพดัลมดูดควนัเมือ่วางหวัแรง

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของพัดลมดูดควันเมื่อวางหัวแรง พบวาพัดลมยังทํางานตลอดเวลา จึงคิดวิธีการยกเลิกการทํางานพัดลมดูดควันเมื่อวางหัวแรง โดยการติดตั้ง Limit Switch คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.05 × (12-5) × 246 × 2 = 172 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 172 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 465.60 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 100/465.60 = 0.21 ป หรือประมาณ 2.5 เดือน

4.6 เปล่ียนการใชหลอดไฟเปนธงสัญญาณ

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-24 เปล่ียนจากการใชหลอดไฟฟาเปนธงสัญญาณแทน

Page 47: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

38

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของฝายผลิต พบวาหากมีปญหาในการผลิตเกิดขึ้น พนักงานจะกดสัญญาณไฟเพื่อใหหัวหนางานเห็นและเขามาแกไขทันที หลังจากระดมความคิดเพื่อลดการใชพลังงานจึงออกมาตรการยกเลิกการกดสัญญาณไฟจากหลอดไฟฟามาเปนการชักธงสีเปนสัญญาณแทน ในการสื่อสารของหัวหนาฝายผลิต คิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่สามารถประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.01 × 4 × 246 × 60 = 590 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 590 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 1,597.13 บาท/ป

4.7 ลดขนาดหลอดไฟในเครือ่งบัดกรีแผนวงจร (DIP m/c)

8W 100W

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-25 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องบดักรีแผนวงจร

การทํากิจกรรมไคเซ็นและจากการสํารวจการทํางานของเครื่องบัดกรีแผนวงจร พบวาภายในเครื่องบัดกรีแผนวงจรยังใชหลอดไฟฟาอินแคนเดสเซนตขนาด 100 W อยู จึงทําการลดการใชพลังงานโดยการลดขนาดหลอดไฟในเครื่องบัดกรีแผนวงจร คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = ((0.1-0.008) × 12 × 246 × 4) +((0.1-0.008) × 24 × 246 × 3) = 2,716 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 2,716 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 7,352 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 280/7,352 = 0.03 ป หรือประมาณ 13 วนั

Page 48: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

39

4.8 ลดขนาดหลอดไฟในเครือ่งอุนสายไฟ AUDIO

ภาพที่ 4-26 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องอุนสายไฟ AUDIO

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของเครื่องอุนสายไฟ AUDIO พบวาภายในเครื่องอุนสายไฟ AUDIO ยังใชหลอดไฟฟาอินแคนเดสเซนตขนาด 100 W อยู จึงทําการลดการใชพลังงานโดยการลดขนาดหลอดไฟในเครื่องอุนสายไฟ AUDIO เปนหลอดอินแคนเดสเซนตขนาด 40 W ก็เพียงพอแลว คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (0.1-0.04) × 12 × 246 × 5 = 886 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 886 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 2,398 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 200/2,398 = 0.08 ป หรือประมาณ 1 เดือน 4.9 เรียงลําดับการทดสอบ CTV โดย QA (FIFO) เพื่อลดการรอคอย

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-27 เรียงลําดับการ Test CTV โดย QA เพื่อลดการรอคอย

Page 49: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

40

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของการทดสอบ CTV พบวากอนปรับปรุงพนักงาน QA Test CTV และจะเปด Power on จอ CTV ทุกเครื่อง แลวจึงทําการทดสอบ CTV ซ่ึงเปนการสิ้นเปลืองพลังงาน จึงจัดลําดับการทดสอบใหมโดยไมตองเปดจอ CTV ทิ้งไวเพื่อรอการทดสอบ หลังปรับปรุงขบวนการทํางาน พนักงาน QA สามารถทดสอบ CTV และเปด Power on แบบ FIFO ทําใหลดการเปด CTV ลงไดประมาณเครื่องละ 10 นาที คิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.125 × ((10/60) × 246) × 52 = 267 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 267 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 722.76 บาท/ป

4.10 ปด CTV ในสายพานการผลิตระหวางพัก 40- 20 นาที

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-28 ปด CTV ในสายพานการผลิตระหวางพัก 40- 20 นาท ี

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของฝายผลิต พบวาในสายพานการผลิตมีการเปด CTV ทิ้งไวในชวงเวลาพัก จึงออกมาตรการการปด CTV ในสายพานการผลิตระหวางพัก 40- 20 นาที คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.483 × 1 × 246 × 10 = 1,188 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 1,188 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 3,215.91 บาท/ป

Page 50: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

41

4.11 ติดตั้งอุปกรณแยก Dross ในเครื่องบัดกรีแผนวงจร (DIP m/c)

ใสเครื่องแยก

DIP m/c

ตัก Dross (Oxide +

นําออกไป หลอมอีก้

ภาพที่ 4-29 กอนดําเนนิการปรับปรุงขบวนการทํางานเครื่องบัดกรีแผนวงจร

DIP m/c

ภาพที่ 4-30 หลังดําเนินการปรับปรุงขบวนการทํางานเครื่องบัดกรีแผนวงจร

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของขบวนการทํางานเครื่องบัดกรีแผนวงจร พบวามีขบวนการหลายขั้นตอนที่ตองใชพลังงานและคนงาน จึงทําการปรับปรุงขบวนการทํางานเครื่องบัดกรีแผนวงจรโดยติดตั้งอุปกรณแยก Dross ในเครื่อง DIP m/c ซ่ึงไมใชไฟฟาทําใหลดคนทํางาน ลดขั้นตอนการทํางาน และลดการใชพลังงานไฟฟา คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.8 × 6 × 246 × 3 = 3,542 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 3,542 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 9,588.19 บาท/ป

ลดคาแรงงาน 2 คน = 229,343 บาท/ป ลดคาใชจาย = 9,588.19 + 229,343 = 238,931.2 บาท/ป ระยะเวลาคืนทุน = 189,000/238,931.2 = 0.79 ป หรือประมาณ 9.5 เดือน

Page 51: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

42

4.12 ลดการทํางานของอุปกรณเครื่องจักร แผนก AM

ภาพที่ 4-31 การปดจอ Monitor ของเครื่องจักร SMT หลังจากเปลี่ยน program

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของจอ Monitor ของเครื่องจักร SMT ทํางานตลอดเวลา จึงออกมาตรการปดจอ Monitor ของเครื่องจักร SMT หลังจากเปลี่ยน program เสร็จแลว คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.032 × (24-2.5) × 246 × 61 = 10,324 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 10,324 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 27,947.07 บาท/ป

4.13 ลดการทํางานของอุปกรณเครื่องจักร AM

Vacuum lead Motor Cooling Fan Main driver

ภาพที่ 4-32 การดัดแปลงบางสวนของเครื่องจักร

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของเครื่องจักรพบวามีอุปกรณภายในไดแก Vacuum Pump, Main Motor Drive, Cooling fan ยังทํางานตลอดเวลา แมไมมีวัตถุดิบผาน ในเครื่อง จึงทําการการดัดแปลงบางสวนของเครื่องจักร เพื่อให Vacuum Pump, Main Motor Drive, Cooling fan หยุดทํางานเมื่อไมมีช้ินงานไหลผาน คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

Page 52: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

43

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = (17.1 × (24-21) × 246 × 19) + (0.4 × (24-21) × 246 × 12) +

(0.23 × (24-21) × 246 × 24) = 247,392 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 247,392 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 669,690.1 บาท/ป

ระยะเวลาคืนทุน = 86,696/669,690.1 = 0.13 ป หรือประมาณ 1.5 เดือน

5. มาตรการควบคุมอุปกรณในโรงงาน 5.1 ลดการใชงานพัดลมดูดอากาศ

ภาพที่ 4-33 การลดการใชงานพัดลมดูดอากาศ

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการทํางานของพัดลมดูดอากาศ พบวามีการเปด ใชงานพัดลมดูดอากาศ ซ่ึงใชกําลังไฟฟาเฉลี่ย 0.37 kW จํานวน 1 ตัว โดยเปดใชงานตลอด 24 ช่ัวโมง/วัน และทําการตรวจวัดอุณหภูมิพื้นที่ที่ใชพัดลมดูดอากาศออก 31 C˚ หลังดําเนินการทดลองปดพัดลมดูดอากาศ 24 ช่ัวโมง/วัน และทําการตรวจวัดอุณหภูมิพื้นที่ที่เคยใชพัดลม ดูดอากาศออกพบวามีอุณหภูมิ 32 C˚ สรุปไดวาการเปดพัดลมดูดอากาศไมไดชวยใหอุณหภูมิ ในหองลดลง จึงทําการปดพัดลมดูดอากาศ คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยดัได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.37 × 24 ×246 × 1 = 2,184.48 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 2,184.48 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 5,913.38 บาท/ป

Page 53: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

44

5.2 ตรวจซอมจุดที่มีลมอัดร่ัวที่แผนก AM

ภาพที่ 4-34 การตรวจซอมจดุที่มีลมอัดร่ัวแผนก AM

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชงานอากาศอัดของแผนก AM พบวามีจุดที่อากาศอัดร่ัวไหลหลายจุดดวยกัน จึงทําการตรวจซอมจุดที่มีอากาศอัดร่ัว คิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 1 × 24 × 246 × 12 = 70,848 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 70,848 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 191,785.5 บาท/ป

6. มาตรการอนุรักษพลังงานไฟฟาแสงสวาง 6.1 ยกเลิกการใชงานไฟฟาแสงสวาง

ภาพที่ 4-35 ยกเลิกการใชงานหลอดฟลูออเรสซนต

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่หอง Clean booth พบวามีการใชงานหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 W จํานวน 54 หลอด เปดใชงาน 24 ช่ัวโมง/วัน จากการทํากิจกรรมไคเซนตเพื่อใชพื้นที่การทํางานใหเกิดประโยชนสูงสุด จึงสามารถยกเลิกการใชงานหอง Clean booth ได คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

Page 54: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

45

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = ((36+10)/1,000) × 24 × 246 × 54 = 14,665.54 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 14,665.54 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 39,699.61 บาท/ป

6.2 ปดไฟแสงสวางชวงพกั 40 นาที

ภาพที่ 4-36 การใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่หองสํานักงาน

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่หองสํานักงาน พบวา มีการใชงานหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 W จํานวน 1,000 หลอด และใชบัลลาสตแกนเหล็กประสิทธิภาพสูงเปดทิ้งไวในเวลาพัก จึงออกมาตรการในการปดไฟฟาแสงสวางในเวลาพัก 40 นาท ีคิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = ((36+6)/1,000) × (40/60) × 246 × 1,000 = 6,888 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 6,888 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 18,645.82 บาท/ป

6.3 ถอดหลอดไฟแสงสวางสวนที่เกินความจําเปน

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-37 การถอดหลอดไฟแสงสวางสวนที่เกินความจาํเปน

Page 55: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

46

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่หองเก็บวัตถุดิบ พบวาชวงทางเดินมีการใชงานหลอดฟลูออเรสเซนตขนาด 36 W จํานวน 700 หลอด และใชบัลลาสต แกนเหล็กประสิทธิภาพสูง สามารถลดการใชไฟฟาแสงสวางได คิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = ((36+6)/1,000) × 12 × 246 × 700 = 86,789 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 86,789 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 234,937.8 บาท/ป

6.4 ลดระดับตาํแหนงหลอดไฟแสงสวาง

1 ม.

หลังปรับปรุง กอนปรับปรงุ

ภาพที่ 4-38 การลดระดับตําแหนงหลอดไฟแสงสวาง

การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชไฟฟาแสงสวางพื้นที่ฝายผลิต พบวาหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 W และใชบัลลาสตแกนเหล็กประสิทธิภาพสูง สามรถปรับลดระดับความสูงของหลอดไฟได จึงสามารถลดจํานวนหลอดได 20 หลอด โดยกอนปรับปรุง ระดับหลอดไฟสูง 4 เมตร หลังปรับปรุงลดระดับหลอดไฟใหสูง 3 เมตร คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = ((36+6)/1,000) × 12 × 246 × 20 = 2,489.68 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 2,489.68 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 6,712.50 บาท/ป

Page 56: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

47

7. มาตรการควบคุมอุปกรณสํานักงาน การทํากิจกรรมไคเซ็น และจากการสํารวจการใชงานคอมพิวเตอร พบวาจอภาพเครื่อง PC ถูกเปดทิ้งไว จึงมีการรณรงคปดจอภาพของเครื่อง PC เมื่อไมใชงาน และตั้งระบบประหยัดพลังงาน เครื่อง PC

7.1 รณรงคปดจอภาพของเครื่อง PC เมื่อไมใชงาน และตั้งระบบประหยัดพลังงาน PC (Power Save Mode)

ภาพที่ 4-39 การรณรงคปดจอภาพของเครื่อง PC เมื่อไมใชงาน

การรณรงคปดจอภาพของเครื่อง PC เมื่อไมใชงาน และตั้งระบบประหยัดพลังงาน PC (Power Save Mode) คิดเปนคาพลังงานไฟฟาที่ประหยัดได

พลังงานไฟฟา = kW save × (ช่ัวโมงใชงาน/ป) × จํานวนการเปดใชงาน

พลังงานไฟฟา = 0.22 × (8.5-5.95) × 246 × 300 = 41,402 kWh/ป

คาพลังงานไฟฟา = 41,402 kWh/ป × 2.707 บาท/kWh = 112,075.2 บาท/ป

การที่จะทําใหเกิดการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นใหเกิดขึ้นไดโดยงาย คนทําไคเซ็น ทําแลวสบายใจ และทําจนเปนนิสัยประจําวัน ปฏิบัติไดโดย

1. ใหช้ี ใหเห็น ใหช่ืนชม และใหกําลังใจลูกนองที่ทําการประหยัดพลังงานโดยไมรูตัว หากเขารูตัววาสิ่งที่เขาทําอยูก็คือการประหยัดพลังงานโดยวิธีไคเซ็นแลว และเขาก็จะหาทางทําเองตอไปโดยอัตโนมัติ

2. ขอใหเร่ิมการประหยัดพลังงานจากสิ่งที่ทําได ไปจนถึงเทาที่ทําได 3. อยามองขามความสูญเสียหรือความสูญเปลาจากการใชพลังงานเล็กๆนอยๆ (การอนุรักษ

พลังงานโดยวิธีไคเซ็นตองลงมือทําจึงจะไดเจาความสูญเสียหรือความสูญเปลาจากการใชพลังงานเล็กๆนอยๆ นี่แหละ ซ่ึงเหมาะที่จะทําการประหยัดพลังงานโดยวิธีไคเซ็นเปนที่สุด)

Page 57: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

48

4.1.2.8 การสรางมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานโดยนําเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น หลังจากมีการปรับปรุงงานการทํางาน หรือทํามาตรการอนุรักษพลังงานแลว ควรมีการ

รวบรวมและบันทึกวิธีการทํางานเปนเอกสารมาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อใหสามารถอางอิงและมาตรการอนุรักษพลังงานใดที่สัมฤทธิ์ผลก็จะกําหนดเปนมาตรฐานในการทํางานตอไป

4.2 ความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น 4.2.1 ขอมูลลักษณะสวนบุคคล ขอมูลลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตําแหนงงาน และประสบการณฝกอบรมการอนุรักษพลังงาน จากกลุมตัวอยางที่ดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ตารางที่ 4-3 จํานวนและคารอยละของพนกังานจําแนกตามลักษณะสวนบุคคล

ลักษณะสวนบุคคล จํานวนคน (คน) รอยละ

เพศ ชาย 29 36.25 หญิง 51 63.75 รวม 80 100.00 อายุ ตํ่ากวา 20 ป 4 5.00 20 – 24 ป 23 28.75 25 – 29 ป 28 35.00 30 – 34 ป 17 21.25 35 – 39 ป 6 7.50 40 ปขึ้นไป 2 2.50 รวม 80 100.00 สถานภาพสมรส โสด 56 70.00 สมรส 22 27.50 หยาราง/มาย 2 2.50 รวม 80 100.00

Page 58: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

49

ตารางที่ 4-3 (ตอ)

ลักษณะสวนบุคคล จํานวนคน (คน) รอยละ

ระดับการศึกษา ประถมศึกษา - - มัธยมศึกษาตอนตน 7 8.75 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 14 17.50 อนุปริญญา/ปวส. 10 12.50 ปริญญาตรี 46 57.50 ปริญญาโท 3 3.75 รวม 80 100.0 ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตํ่ากวา 1 ป 25 31.25 1 – 2 ป 15 18.75 3 – 4 ป 6 7.50 5 – 6 ป 8 10.00 7 ปขึ้นไป 26 32.50 รวม 80 100.00 สถานภาพการจางงาน พนักงานระดับปฏิบัติการ 56 70.00 พนักงานระดับหัวหนา 24 30.00 พนักงานระดับผูจัดการขึ้นไป - - รวม 80 100.00 ประสบการณฝกอบรมการอนุรักษพลังงาน เคยเขารับการอบรม 38 47.50 ไมเคยเขารับการอบรม 42 52.50 รวม 80 100.00

จากตารางที่ 4-3 แสดงขอมูลลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางที่ดําเนินกิจกรรม

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ดังนี้

Page 59: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

50

กลุมตัวอยางแบงตามเพศหญิงและเพศชาย

เพศหญิง

51 คน

64%

เพศชาย 29 คน

36%

เพศชาย 29 คน เพศหญิง 51 คน

ภาพที่ 4-40 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามเพศ

กลุมตัวอยางแบงตามอายุ ไดแก อายุต่ํากวา 20 ป อายุระหวาง 20-24 ป อายุระหวาง 25-29 ป อายุระหวาง 30-34 ป อายุระหวาง 35-39 ป และอายุมากกวา 40 ป

35-39 ป 6 คน

8%

มากกวา 40 ป 2 คน

3%ตํ่ากวา 20 ป 4 คน

5%

20-24 ป 23 คน

29%

25-29 ป 28 คน

34%

30-34 ป 17 คน

21%

ต่ํากวา 20 ป 4 คน 20-24 ป 23 คน 25-29 ป 28 คน30-34 ป 17 คน 35-39 ป 6 คน มากกวา 40 ป 2 คน

ภาพที่ 4-41 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามอาย ุ

กลุมตัวอยางแบงตามสถานภาพสมรส ไดแกโสด สมรส และหยาราง/มาย

โสด 56 คน

69%

สมรส 22 คน

28%

หยา/มาย 2 คน

3%

โสด 56 คน สมรส 22 คน หยา/มาย 2 คน

ภาพที่ 4-42 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามสถานภาพสมรส

Page 60: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

51

กลุมตัวอยางแบงตามระดับการศึกษา ไดแก ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี และปริญญาโท

ประถมศึกษา 0 คน

0%ม.ตน 7 คน

9%ม.ปลาย/ปวช. 14 คน

17%

ปริญญาโท 3 คน

4%

อนุปริญญา/ปวส. 10 คน

13%

ปริญญาตรี 46 คน

57%

ประถมศึกษา 0 คน ม.ตน 7 คน ม.ปลาย/ปวช. 14 คนปริญญาตรี 46 คน อนุปริญญา/ปวส . 10 คน ปริญญาโท 3 คน

ภาพที่ 4-43 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามระดับการศึกษา

กลุมตัวอยางแบงตามระยะเวลาการปฏิบัติงาน ไดแก การปฏิบัติงานนอยกวา 1 ป การปฏิบัติงาน 1-2 ป การปฏิบัติงาน 5-6 ป การปฏิบัติงาน 3-4 ป และการปฏิบัติงานมากกวา 7 ป

มากกวา 7 ป 26 คน

32%

5-6 ป 8 คน

10%3-4 ป 6 คน

8%

นอยกวา 1 ป 25 คน

31%

1-2 ป 15 คน

19%

นอยกวา 1 ป 25 คน 1-2 ป 15 คน 3-4 ป 6 คน 5-6 ป 8 คน มากกวา 7 ป 26 คน

ภาพที่ 4-44 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามระยะเวลาการปฏิบัติงาน

กลุมตัวอยางแบงตามตําแหนงงาน ไดแก พนักงานระดับปฏิบัติงาน พนักงานระดับหัวหนา และพนักงานระดับผูจัดการ

ระดับปฎิบัติงาน

56 คน

70%

ระดับหัวหนา 24 คน

30%

ระดับผูจัดการ 0 คน

0%

ระดับปฎิบัติงาน 56 คน ระดับหัวหนา 24 คน ระดับผูจัดการ 0 คน

ภาพที่ 4-45 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามตามตําแหนงงาน

Page 61: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

52

กลุมตัวอยางแบงตามประสบการณการฝกอบรม ไดแก ไมเคยเขารับการฝกอบรมเกี่ยวกับเร่ืองการอนุรักษพลังงาน และเคยเขารับการฝกอบรมเกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษพลังงาน

เคยรับการอบรม

38 คน

48%

ไมเคยรับการ

อบรม 42 คน

52%

เคยรับการอบรม 38 คน ไมเคยรับการอบรม 42 คน

ภาพที่ 4-46 กราฟลักษณะสวนบุคคลจากกลุมตัวอยางแบงตามประสบการณการฝกอบรม

4.2.2 ระดับทศันคติและพฤติกรรมการอนรัุกษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น

ตารางที่ 4-4 คาเฉลี่ย (Χ ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของพนักงานดานทัศนคตแิละพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

Χตัวแปร S.D. ระดับ

ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน โดยวิธไีคเซ็น พฤติกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน โดยวธิีไคเซ็น

จากตารางที่ 4-4 แสดงคาเฉลี่ยของพนักงานดานทัศนคติแโดยวิธีไคเซ็น พบวาพนักงานมีทัศนคติ เกี่ยวกับการอนุรักษพลมีคาเฉลี่ยเทากับ 75.15 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน และโดยวิธีไคเซ็นอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 50.51 จากค

4.2.3 การวิเคราะหเพื่อทดสอบสมมุติฐาน

สมมุติฐานท่ี 1 พนักงานที่มีเพศตางกันมีพฤติกรรมตางกัน

ตารางที่ 4-5 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไ

ลักษณะส

ชาย (n = 29) ตัวแปร

Χ S.D.

พฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 50.83 7.097

75.15 8.29 สูง 50.51 6.24 ปานกลาง

ละพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานังงานโดยวิธีไคเซ็นอยูในระดับสูง มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน ะแนนเต็ม 72 คะแนน

การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

คเซ็นของพนักงานที่มีเพศตางกนั

วนบุคคล

หญิง (n = 51)

Χ S.D.

t p

50.33 5.771 .338 .091

Page 62: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

53

จากตารางที่ 4-5 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีเพศตางกัน พบวาการทดสอบคาเฉลี่ย t (Test concerning mean) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา .338 และ .091 จึงสรุปไดวาไมพบพนักงานที่มี เพศตางกันมีพฤติกรรม การอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

สมมุติฐานท่ี 2 พนักงานที่มีอายุตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-6 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีอายุตางกนั

แหลงความแปรปรวน df SS MS F P

ระหวางกลุม 5 394.654 78.931 2.175 .066 ภายในกลุม 74 2685.333 36.288

รวม 79 3079.987

จากตารางที่ 4-6 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีอายุตางกัน พบวาการทดสอบคาความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (F-test) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา 2.175 และ .091 จึงสรุปไดวาไมพบพนักงานที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิการไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

สมมุติฐานท่ี 3 พนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-7 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีสถานภาพ สมรสตางกัน

แหลงความแปรปรวน df SS MS F P

ระหวางกลุม 2 17.968 8.984 .226 .798 ภายในกลุม 77 3062.019 39.766

รวม 79 3079.987

จากตารางที่ 4-7 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกันพบวาการทดสอบคาความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (F-test) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา .226 และ .798 จึงสรุปไดวาไมพบวาพนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

Page 63: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

54

สมมุติฐานท่ี 4 พนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-8 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มี ระดับการศึกษาตางกัน

แหลงความแปรปรวน df SS MS F P

ระหวางกลุม 4 198.059 49.515 1.289 .282 ภายในกลุม 75 2881.928 38.426

รวม 79 3079.988

จากตารางที่ 4-8 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน พบวาการทดสอบคาความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (F-test) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา 1.289 และ .282 จึงสรุปไดวาพนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .025

สมมุติฐานท่ี 5 พนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีการไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-9 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกัน

แหลงความแปรปรวน df SS MS F P

ระหวางกลุม 4 385.799 96.450 2.685 .038 ภายในกลุม 75 2694.189 35.923

รวม 79 3079.988

จากตารางที่ 4-9 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกัน พบวาการทดสอบคาความแปรปรวนของ กลุมตัวอยาง (F-test) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา 2.685 และ .038 จึงสรุปไดวาพนักงาน ที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีการไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

Page 64: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

55

สมมุติฐานท่ี 6 พนักงานที่มีตําแหนงงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธี ไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-10 เปรียบเทียบพฤติกรรมการรวมกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีตําแหนงงานตางกัน

แหลงความแปรปรวน df SS MS F P

ระหวางกลุม 1 70.029 70.029 1.815 .182 ภายในกลุม 78 3009.958 38.589

รวม 79 3079.987

จากตารางที่ 4-10 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีตําแหนงงานตางกัน พบวาการทดสอบคาความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (F-test) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา 1.815 และ .182 จึงสรุปไดวาพนักงานที่มีตําแหนงงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีการไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

สมมุติฐานท่ี 7 พนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-11 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกัน

การอบรมเรือ่งการอนุรักษพลงังาน

เคยรับการอบรม (n = 38)

ไมเคยรับการอบรม (n = 42)

ตัวแปร

Χ S.D. Χ S.D.

t p

พฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 53.13 5.581 48.14 5.908 3.872 .382

จากตารางที่ 4-11 แสดงการเปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ของพนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกัน พบวาการทดสอบคาเฉลี่ย t (Test concerning mean) และคาสัดสวน P (Proportions) มีคา .338 และ .091 จึงสรุปไดวาไมพบพนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกันมีพฤติกรรมการรวมกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .025

Page 65: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

56

สมมุติฐานท่ี 8 พนักงานที่มทีัศนคติตางกนัมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

ตารางที่ 4-12 เปรียบเทียบพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นของพนักงานที่มีทัศนคติตางกัน

พฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น ตัวแปร

r p

ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น .231 .039*

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4-12 แสดงคาสัมประสิทธิสหสัมพันธระหวางทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น พบวาทัศนคติเกี่ยวกับ การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นในเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ .231

Page 66: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

57

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ืองเทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น แนวทางของงานวิจัยจะศึกษาวิธีการดําเนินกิจกรรม ผลการดําเนินกิจกรรม รวมถึงการสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ แบบสอบถาม ซ่ึงประกอบดวยลักษณะสวนบุคคล ทัศนคติ และพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น โดยทําการศึกษาจากกลุมตัวอยางจํานวน 80 คน และขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามนํามาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมทางสถิติ SPSS (Statistical Package for the Social Science) ผูวิจัยไดสรุป อภิปรายผล และเสนอแนะผลการวิจัย ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย 5.1.1 เทคนิคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น คือการดําเนินกิจกรรมไคเซ็นที่ชวยให

พนักงานเกิดความคิดสรางสรรค กอใหเกิดแนวทางการอนุรักษพลังงานในรูปแบบตางๆ ที่หลากหลาย จากหลักการจัดกิจกรรมไคเซ็น ก็เพื่อใหมีการปรับปรุงและพัฒนาวิธีผลิตใหชวยลดตนทุนอยางตอเนื่อง โดยการปรับปรุงและพัฒนานี้ลวนแลวแตเกี่ยวของกับการใชพลังงาน ดังนั้น รูปแบบกิจกรรมไคเซ็นจึงไดถูกพัฒนามาใชในการวิเคราะหดานพลังงานเพิ่มขึ้น และขยายขอบเขตการทําไคเซ็นจากหนวยงาน สูหนวยงาน จากแผนกสูแผนก และจากฝายสูฝาย จนทั่ว ทั้งโรงงานไดอยางรวดเร็ว เพราะทุกหนวยสามารถทําไคเซ็นได สามารถสรุปขั้นตอนการสรางกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นไดดังนี้

1. กําหนดวัตถุประสงคการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 2. กําหนดเปาหมายโดยรวมของกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 3. จัดทําผังองคกรกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น และกําหนดบทบาทหนาที่

ของประธาน ผูนํากลุม และสมาชิกกลุมกิจกรรมไคเซ็น 4. กําหนดแนวทางปฏิบัติกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยไคเซ็น 5. กําหนดแผนงานกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 6. ดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานตามแผนงาน

Page 67: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

58

7. จัดทําคูมือการทํากิจกรรมไคเซ็น 8. ประเมินผล และการประชาสัมพันธผลการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น 9. การสรางมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานโดยนําเทคนิคการอนรัุกษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ตารางที่ 5-1 สรุปผลการดําเนินกิจกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

กิจกรรมอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น kWh/ป

ท่ีประหยัด บาท/ป

ท่ีประหยัด ลงทุน (บาท)

ระยะเวลา คืนทุน

1. มาตรการอนุรักษพลังงานระบบทําความเย็นและปรับอากาศ

1.1 ใชพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศในชวงเวลา Over Time (กลางคืน)

18,774.72 50,823.17 1,250 9 วัน

1.2 ยายชองเปาลมเย็นใหออกจากเครื่องจักรที่จายความรอน

6,671.52 87,901.7 - -

1.3 ปดเครื่องปรับอากาศชวงพัก 40 นาที และการปรับแผนกระจายลมขึ้น 30 องศา

125,739 340,375.5 - -

1.4 ติดตั้งอิเล็กทรอนิกสเทอร -โมสตัท

56,088 151,830.2 72,500 6 เดือน

1.5 ยกเลิกการเปดเครื่องปรับอากาศ บางเครื่องและควบคุมการเปดเครื่อง ปรับอากาศในวันหยุด

38,966 105,481 3,600 12 วัน

2. มาตรการปองกันอากาศรอนจากภายนอก

2.1 ปดประตูที่เปดไดเองอัตโนมัติแบบถาวร

- - - -

2.2 ติดมานพลาสติกที่ประตูอัตโนมัติและติดตั้ง Pull switch แทน Photo Sensor เพื่อลดความผิดพลาด จากคนเดินผาน

- - - -

Page 68: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

59

ตารางที่ 5-1 (ตอ)

กิจกรรมอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น kWh/ป

ท่ีประหยัด บาท/ป

ท่ีประหยัด ลงทุน (บาท)

ระยะเวลา คืนทุน

2.3 ลดระดับประตู Shutter และปดประตู N10 ถาวร

- - - -

2.4 ลดการเปดประตูเขา-ออก พื้นที่ Warehouse

- - - -

2.5 รณรงคใหปดประตูเมื่อเดินผานและปดประตูเมื่อเลิกใชงานหองประชุมแลวและรณรงคใหใชประตูเล็ก

- - - -

3. มาตรการลดความรอนออกจากเครื่องจักร

3.1 ติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องบัดกรีแผนวงจร DIP m/c

246,728 667,892.7 121,900 2 เดือน

3.2 ติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องอบแผนวงจร Reflow m/c

103,323 279,695.4 7,200 9 วัน

3.3 ติดตั้งฉนวนกันความรอนเครื่องอบ FBT & FD FBT

52,398 141,871.1 5,400 13 วัน

4. มาตรการควบคุมเครื่องจักรสวนการผลิต

4.1 การลดชวงเวลาของระบบ Pre-heater ของเครื่อง M/C

15,375 41,620.13 - -

4.2 การเปดใชงานจอ Monitor เฉพาะเวลาที่ใชงานทดสอบเทานั้น

21,918.6 59,333.65 - -

4.3 ปดไฟเครื่องมือในสายการผลิตระหวางพัก 40 นาท ี

6,735 18,231.65 - -

4.4 ยกเลิกการใชพัดลมดูดควัน 2,214 5,993.29 - - 4.5 ตัดการทํางานพัดลมดูดควันเมื่อ

วางหัวแรง (ติดตั้ง Limit Switch) 172 465.60 100 2.5 เดือน

Page 69: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

60

ตารางที่ 5-1 (ตอ)

กิจกรรมอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น kWh/ป

ท่ีประหยัด บาท/ป

ท่ีประหยัด ลงทุน (บาท)

ระยะเวลา คืนทุน

4.6 เปลี่ยนการใชหลอดไฟเปนธงสัญญาณ

590 1,597.13 - -

4.7 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องบัดกรีแผนวงจร (DIP m/c)

2,716 7,352 280 13 วัน

4.8 ลดขนาดหลอดไฟในเครื่องอุนสายไฟ AUDIO

886 2,398 200 1 เดือน

4.9 เรียงลําดับการทดสอบ CTV โดย QA (FIFO) เพื่อลดการรอคอย

267 722.76 - -

4.10 ปด CTV ในสายพานการผลิตระหวางพัก 40- 20 นาท ี

1,188 3,215.91 - -

4.11 ติดตั้งอุปกรณแยก Dross ในเครื่องบัดกรีแผนวงจร (DIP m/c)

3,542 238,931.2 189,000 9.5 เดือน

4.12 ลดการทํางานของอุปกรณเครื่องจักร แผนก AM

10,324 27,947.07 - -

4.13 ลดการทํางานของอุปกรณเครื่องจักร AM

247,392 669,690.1 86,696 1.5 เดือน

5. มาตรการควบคุมอุปกรณในโรงงาน

5.1 ลดการใชงานพัดลมดูดอากาศ 2,184.48 5,913.38 - - 5.2 ตรวจซอมจุดที่มีลมอัดรั่วที่

แผนก AM 70,848 191,785.5 - -

6. มาตรการอนุรักษพลังงานไฟฟา แสงสวาง

6.1 ยกเลิกการใชงานไฟฟา แสงสวาง

14,665.54 39,699.61 - -

6.2 ปดไฟแสงสวางชวงพัก 40 นาที 6,888 18,645.82 - -

Page 70: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

61

ตารางที่ 5-1 (ตอ)

กิจกรรมอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น kWh/ป

ท่ีประหยัด บาท/ป

ท่ีประหยัด ลงทุน (บาท)

ระยะเวลา คืนทุน

6.3 ถอดหลอดไฟแสงสวางสวนที่เกินความจําเปน

86,789 234,937.8 - -

6.4 ลดระดับตําแหนงหลอดไฟฟา แสงสวาง

2,489.68 6,712.50 - -

7. มาตรการควบคุมอุปกรณสํานักงาน

7.1 รณรงคปดจอภาพของเครือ่ง PC เมื่อไมใชงาน และตั้งระบบประหยัดพลังงาน PC (Power Save Mode)

41,402 112,075.2 - -

รวม 1,187,274.54 3,513,139.07 488,126 -

5.1.2 จากการสํารวจความสัมพันธระหวางทัศนคติ และพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นของกลุมตัวอยาง พบวาพนักงานมีทัศนคติ เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นอยูในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 75.15 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน และมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 50.51 จากคะแนนเต็ม 72 คะแนน

คะแนนเต็ม,

100

คาเฉล่ีย,

75.15

20

46.67

73.34

46.99

72.99

สูง

กลาง

ตํ่า

คะแนน

เต็ม, 72

คาเฉลี่ย ,

50.51

18

36

54

72

ระดับพฤติกรรม

คะแนนเต็ม คาเฉลี่ย

36.99

54.99

72.00 สูง

กลาง

ตํ่า

ระดับทัศนคติคะแนนเต็ม คาเฉลี่ย

100.01100.00

ภาพที่ 5-1 กราฟแสดงระดับคะแนนทัศนคติและพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิไคเซ็น

Page 71: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

62

จากการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย สามารถสรุปผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย ไดดังตารางที่ 5-2

ตารางที่ 5-2 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐานการวจิัย

สรุปผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย ตัวแปรอิสระ

คานัยสําคัญ ยอมรับ ปฏิเสธ

ลักษณะสวนบุคคล - เพศ - อายุ - สถานภาพสมรส - ระดับการศึกษา - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ตําแหนงงาน - ประสบการณฝกอบรมการอนุรักษพลังงาน

ทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

.091 .066 .798 .282 .038 .182 .382 .039

จากตารางที่ 5-1 พบวาทัศนคติที่เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และพบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตําแหนงงาน และประสบการณฝกอบรมการอนุรักษพลังงานไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

5.2 อภิปรายผลการวิจัย สมมุติฐานที่ 1 พนักงานที่มีเพศตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีเพศตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานทั้งเพศชายและเพศหญิงนั้น สวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี รวมทั้งการบริหารจัดการองคกรโดยวิธีไคเซ็น ปจจุบันนโยบายของบริษัทที่มีการรณรงคเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน ทําใหพนักงานมีโอกาสเทาเทียมกันในการไดรับความรูดานการอนุรักษพลังงาน จึงทําใหเพศ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

Page 72: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

63

สมมุติฐานที่ 2 พนักงานที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีอายุตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานสวนใหญ ไดรับความรูดานการอนุรักษพลังงานอยางทั่วถึงจากการรณรงคเกี่ยวกับ การอนุรักษพลังงานในองคกร และในการปฏิบัติงานก็มีหัวหนางานคอยตรวจสอบดูแล อยางใกลชิดจากมาตรการอนุรักษพลังงานที่ประกาศใชในแตละแผนก จึงทําใหอายุไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

สมมุติฐานที่ 3 พนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานที่มีสถานภาพโสด พนักงานที่มีสถานภาพสมรส และพนักงานที่มีสถานภาพหยารางหรือมาย ไดรับความรูดานการอนุรักษพลังงานอยางทั่วถึงจากการรณรงคเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานในองคกร และอยูภายใตกฎ ระเบียบ และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการ วัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็น จึงทําใหพฤติกรรมการรวมกิจกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นไมแตกตางกันตามสถานภาพสมรสที่ตางกัน

สมมุติฐานที่ 4 พนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานทุกระดับการศึกษาตองอยูภายใตกฎ ระเบียบ และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการ วัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็น การไดรับความรูดานการอนุรักษพลังงาน อยางทั่วถึงจากการรณรงคเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานในองคกร จึงทําใหระดับการศึกษาที่ตางกันไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

Page 73: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

64

สมมุติฐานที่ 5 พนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานนอย เมื่อเขาทํางานกับโรงงานตัวอยาง ซ่ึงมีการบริหารจัดการ วัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็นที่เขมแข็ง และการไดรับความรูจากการรณรงคการอนุรักษพลังงานเทาเทียมกับพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นานกวา จึงทําใหพนักงานที่มีระยะเวลาการปฏิบัติงานที่ตางกันไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

สมมุติฐานที่ 6 พนักงานที่มีตําแหนงงานตางกัน มีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงาน โดยวิธี ไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีที่มีตําแหนงงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานทุกตําแหนงงานตองอยูภายใตกฎ ระเบียบ และนโยบายเกี่ยวกับ การบริหารจัดการ วัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็น และการรณรงคเร่ืองการอนุรักษพลังงาน ในองคกร จึงทําใหตําแหนงงานของพนักงานที่ตางกันไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

สมมุติฐานที่ 7 พนักงานที่มีประสบการณอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวไมเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือไมพบวาพนักงานที่มีประสบการณการอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากพนักงานที่ไมเคยฝกอบรมเรื่องการอนุรักษพลังงานไดรับความรูจากสื่ออ่ืนๆ เชน บอรดรณรงคการอนุรักษพลังงานในองคกร คําแนะนําของเจาหนาที่ที่ตองรับผิดชอบเรื่องการอนุรักษพลังงาน รวมถึงพนักงานทุกคนตองอยูภายใตกฎ ระเบียบ และนโยบายเกี่ยวกับการบริหารจัดการ วัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็น จึงทําใหประสบการณการอบรมไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

Page 74: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

65

สมมุติฐานที่ 8 พนักงานที่มีทัศนคติตางกันมีพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน

จากการทดสอบสมมุติฐานดังกลาวเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว กลาวคือทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น มีความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็นตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากนโยบายบริษัทใหมีการประชาสัมพันธเพื่อใหพนักงานเห็นถึงความสําคัญของพลังงานทั้งจากทางภาครัฐ และสื่อตางๆ ไมวาจะเปนทางโทรทัศน วิทยุ หรือเอกสารอื่นๆ รวมถึงการรณรงค ประชาสัมพันธใหรวมกันลดใชพลังงานในองคกร จึงทําใหพนักงานมีทัศนคติที่มีความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ในการสรางทัศนคติที่ดีในการทํางานนั้นควรเริ่มจากการสรางทัศนคติที่ตอตนเองกอน ไดแก การตรงตอเวลา การทํางานใหคุมคาจางที่ไดรับ การทุมเททํางานอยางเต็มที่ การรับผิดชอบงาน จนสําเร็จ แลวจึงเกิดทัศนคติที่ดีตอองคกร ไดแก การปฎิบัติตามระเบียบและแนวทางขององคกร การทําตัวเปนมิตรเปนกันเองกับทุกคนในองคกร และรักษาผลประโยชนและชื่อเสียงขององคกรดังนั้น เมื่อองคกรไดมีการประกาศนโยบายเกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษพลังงาน จึงเปนหนาที่ของ ทุกคนที่จะตองชวยกัน รวมไมรวมมือกัน อยางมีความสามัคคี ในการทํากิจกรรมตางๆ เพื่อใหเกิดการอนุรักษพลังงาน และพยายามสงเสริมความคิดในทางบวกถึงผลการอนุรักษพลังงานที่ไดมา ไมไดแคประหยัดเงินขององคกรเทานั้น แตหมายถึง ผลกําไรที่ทําใหองคกรสามารถพัฒนาใหมีความมั่นคงมากขึ้น สามารถแขงขันธุรกิจไดดี เมื่อองคกรมีความมั่นคง พนักงานก็มีความมั่นคงในอาชีพ การงานเชนกัน เปนตน 5.3 ขอเสนอแนะ 5.3.1 ขอเสนอแนะจากการวิจัย 5.3.1.1 ในการรับพนักงานเขามาใหมไมวาจะเปนพนักงานในระดับใด ควรตองไดรับการอบรมเกี่ยวกับวัฒนธรรมองคกรที่มีการบริหารโดยวิธีไคเซ็น และเรื่องการอนุรักษพลังงาน ทั้งทางดานการสรางจิตสํานึกและเทคนิคการอนุรักษพลังงานตามความเหมาะสม 5.3.1.2 ผูบริหารระดับสูงตองมีความมุงมั่น เปนผูนําและเปนผูผลักดันใหเกิดกิจกรรมการอนุรักษพลังงานในองคกรมากขึ้น และควรจัดกิจกรรมอยางตอเนื่อง เพื่อสรางจิตสํานึก การอนุรักษพลังงานใหกับพนักงานในองคกร

Page 75: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

66

5.3.1.3 จัดตั้งทีมงานหรือวาจางผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาอุตสาหกรรม เพื่อออกแบบและสรางกิจกรรมเพื่อสงเสริมดานการสรางจิตสํานึก สรางทัศนคติในเชิงบวกในการอนุรักษพลังงานใหเพิ่มขึ้น และเพื่อใหพนักงานใหมซึมซับวัฒนธรรมองคกรโดยวิธีไคเซ็นเร็วข้ึน

5.3.2 ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยตอไป 5.3.2.1 ควรศึกษาเปรียบเทียบลักษณะองคกรที่มีการบริหารหรือวัฒนธรรมองคกร ที่แตกตางกัน เชน องคกรที่มีการบริหารแบบไทย แบบจีน แบบอเมริกา เปนตน 5.3.2.2 ควรศึกษาตัวแปรตัวอ่ืนๆ เพิ่มเติม เชน ความรูของพนักงานเกี่ยวกับเรื่อง การอนุรักษพลังงาน ทัศนคติและวิสัยทัศนของผูบริหาร การรับรู อุปสรรคในการทํางาน แรงสนับสนุนหรือรางวัล ซ่ึงอาจมีผลตอพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานของพนักงาน 5.3.2.3 ควรศึกษากับอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มีการบริหารจัดการโดยวิธีไคเซ็น

Page 76: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

67

เอกสารอางอิง 1. เมตตา บันเทิงสุข. นโยบายพลังงานของประเทศไทย . การประชุมเครือขายพลังงาน

แหงประเทศไทยครั้งที่ 1. หนา 57-63. กรุงเทพฯ, 2548. 2. ศิริพรรณ ธงชัย และพิชัย อัษฎมงคล. เทคนิคการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม (กรณีศึกษา

ดานพลังงานไฟฟา). การประชุมวิชาการทางเทคโนโลยีอุตสาหรรมและหุนยนต หนา112-119, 16-17. กรุงเทพฯ, 2548.

3. ศิริพรรณ ธงชัย และพิชัย อัษฎมงคล. เทคนิคการอนุรักษพลังงานแบบบูรณาการ. การประชุมเครือขายพลังงานแหงประเทศไทยครั้งที่ 2. หนา 45. นครราชสีมา, 2549.

4. นภัสสวงศ โกศลศิลป และวรโชค ไชยวงศ. เทคนิคการวิเคราะหงานและปรับปรุงกระบวนงานกับ Kaizen Suggestions. [โสตทัศนประเภทสไลดประกอบการบรรยายเพาเวอรพอย], 2547.

5. ชัชวาล คาดการณไกล. ทําไคเซ็นอยางไรใหเปนเลิศแกองคกร. [เอกสารประกอบการบรรยาย], ม.ป.ป. (อัดสําเนา)

6. โกศล ดีศีลธรรม. ไคเซ็นกับการปรับปรุงอยางตอเนื่อง. Available from : http://industrial. se-ed.com/itr 132_133.asp [ม.ป.ป.]

7. ชัชวาล คาดการณไกล. เคล็ดลับ 20 ประการในการปฎิรูปสายการผลิต. [เอกสารประกอบการบรรยาย], ม.ป.ป. (อัดสําเนา)

8. อริยวัฒน พระบํารุง. การปรับปรุงระบบการทํางานดวยไคเซ็น. เทคนิค เครื่องกล ไฟฟา อุตสาหการ ปที่ 21 ฉบับที่ 247, กรุงเทพฯ : บริษัท เอ็ม แอนด อี, 2548.

9. ศิริพรรณ ธงชัย และพิชัย อัษฎมงคล. การอนุรักษพลังงานไฟฟา. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ : ศูนยผลิตตําราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2548.

10. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐพันธุ. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : บริษัทเฟองฟา พร้ินติ้ง จํากัด, 2544.

11. ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. จิตวิทยาอุตสาหกรรมประยุกต. กรุงเทพฯ : ศูนยผลิตตําราเรียนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, ม.ป.ป. (อัดสําเนา)

12. แสงเดือน ทวีสิน. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยเส็ง, 2545 13. ไพฑูรย เจริญพันธุสงศ. พฤติกรรมองคกรและการบริหาร. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียน

สโตร, 2540

Page 77: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

68

14. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. การปรับพฤติกรรม. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

15. ปราณี รามสูตร และจํารัส ดวงสุวรรณ. พฤติกรรมมนุษยกับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพธนะการพิมพ, 2545

16. พวงรัตน ทวีรัตน. การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

17. สมเกียรติ จงประสิทธิ์พร และสุนันท จันทนา. การศึกษาการประหยัดพลังงาน ดวยการใชระบบมาตรฐาน ISO 14001 กรณีศึกษา : อาคารปโตรเลียมแหงประเทศไทย สํานักงาน พระโขนง. , ม.ป.ท., ม.ป.ป. (อัดสําเนา)

18. บุตรบํารุง ธรรมโชติ. การประหยัดพลังงานในอาคารพาณิชย : กรณีศึกษา อาคารพหลโยธิน ธนาคารกสิกรไทย. วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม การจัดการอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล า พระนครเหนือ, 2541.

19. เอกชัย สุนทร. การมีสวนรวมของพนักงาน บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จํากัด(มหาชน) ในการอนุรักษพลังงานไฟฟา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่ิงแวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2539.

20. เปรมหทัย อมาตยกุล. ความสัมพันธระหวางความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมความปลอดภัย ในการทํางานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตโรงเทา บริษัท พี.เอส.อาร ฟุตแวร จํากัด. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2546.

21. กัลยา วานิชยบัญชา. การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544.

22. ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิติเพื่อการวิจัย. พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.

23. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน, 2538.

Page 78: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

69

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามสําหรับวัดทัศนคติและพฤตกิรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

Page 79: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

70

แบบสอบถาม

เร่ือง เทคนิคการอนุรักษพลังงาน โดยวิธีไคเซ็น คําชี้แจง แบบสอบถามนี้ เปนสวนหนึ่ งของการเก็บขอมูลประกอบการทําวิทยานิพนธ

ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาธุรกิจอุตสาหกรรม ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล าพระนครเหนือ อีกทั้ งจะเปนขอมูลพื้นฐาน เพื่อที่จะนําไปใชประโยชนในการดําเนินกิจกรรมอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

กรุณาตอบแบบสอบถามทุกขอตามความเปนจริงหรือตามความเห็นของทาน

ขอขอบคุณในความกรุณาของทานที่ตอบแบบสอบถามมา ณ โอกาสนี ้

ชัชวาล คาดการณไกล แบบสอบถามฉบับนี้แบงออกเปน 3 สวน ดังนี ้ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ทัศนคติเกี่ยวกับวิธีการไคเซ็นเพือ่การอนุรักษพลังงาน สวนที่ 3 พฤตกิรรมการทํากจิกรรมไคเซ็นเพื่อการอนุรักษพลังงาน

Page 80: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

71

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง โปรดเขี่ยนเครือ่งหมาย √ ลงใน ( ) หนาขอความที่ตรงกับตัวทาน 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ ( ) ต่ํากวา 20 ป ( ) 20 – 24 ป ( ) 25 – 29 ป ( ) 30 – 34 ป ( ) 35 – 39 ป ( ) 40 ปขึ้นไป 3. สถานภาพ ( ) โสด ( ) สมรส ( ) หยาราง / มาย 4. ระดับการศกึษาสูงสุด

( ) ประถมศกึษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. ( ) อนุปริญญา / ปวส. ( ) ปริญญาตรี ( ) ปริญญาโท

5. ระยะเวลาในการปฏิบัติงานในบริษัทนี ้ ( ) ต่ํากวา 1 ป ( ) 1 – 2 ป ( ) 3 – 4 ป ( ) 5 – 6 ป ( ) 7 ปขึ้นไป 6. ตําแหนงงาน ( ) พนกังานระดับปฏิบัติการ ( ) พนกังานระดับหวัหนาและหวัหนาแผนก ( ) พนกังานตั้งแตผูจัดการฝายขึ้นไป 7. ทานเคยเขารับการฝกอบรมการอนุรักษพลังงานหรือไม ( ) เคย ( ) ไมเคย

Page 81: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

72

สวนที่ 2 ทัศนคติเกีย่วกบัวิธีการไคเซน็เพื่อการอนุรักษพลังงาน คําชี้แจง ขอคําถามตอไปนี้เปนคําถามที่ถามความรูสึกและความคิดเห็นที่แทจริงของทาน เมื่อ

ทานอานขอความแตละขออยางละเอียดแลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางที่ตรงกับความรูสึกหรือความคดิของทานเพียงขอละ 1 ชอง และกรุณาทําทุกขอ

ระดับความรูสึก

ขอความ เห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

1. การเปดอุปกรณ / เครื่องจักร ทิ้งไวเพื่อรอทาํงาน เปนการปฏิบัติงานที่ส้ินเปลืองพลังงาน

2. จําเปนตองทํารายงานผลการทํากิจกรรมไคเซน็ แมผลการประหยดัพลังงานไมสัมฤทธิ์ผล

3. เมื่อพบจุดที่ทําใหเกิดการสูญเสียพลังงานเพียงเล็กนอย แตไมมีผลกับการทํางาน คอยแกไขก็ได

4. ไฟฟาแสงสวางในหองน้ํา ที่ไหนๆ เคาก็เปดทิ้งไวทั้งนัน้ จะปดทําไม

5. การทํางานลวงเวลาไมกี่คน ซ้ือพัดลมมาใช ดีกวาเปดแอร

6. ไดยนิเสียงลมรั่วหรือรูสึกวามีความรอนร่ัวไหล หากอุปกรณ / เครื่องจักรยังทาํงานไดตามปกติ ก็ไมจําเปนตองรีบหารอยรั่ว

7. การอนุรักษพลังงานเปนหนาที่ของผูรับผิดชอบพลังงานและฝายซอมบํารุง

Page 82: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

73

ระดับความรูสึก ขอความ เห็นดวย

อยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

8. ปดสวิทซไฟฟาแสงสวาง ที่ไมจําเปนแคดวงเดียว ก็ชวยใหประหยดัพลังงานไดแลว

9. จุดที่เกดิความสูญเสียพลังงาน ที่แกไขปรับปรุงไดยาก ใหรอไวกอน แลวมองหาจุดสูญเสียพลังงานอื่นที่สามารถปรับปรุงแกไขงายกวากอน

10. การมีปายบอกคาการใชพลังงานของอุปกรณไฟฟาจะชวย สรางจิตสํานึกใหใชพลังงาน อยางประหยัดได

11. ควรมีปายประชาสัมพันธ โฆษณา โปสเตอรเกี่ยวกับ การรณรงคอนรัุกษพลังงาน ตามจุดตางๆ ในโรงงาน

12. การอนุรักษพลังงาน ที่ประสบความสําเร็จ ตองเริ่มตนจากการประหยัดพลังงาน เพียงเล็กนอย

13. มาตรการอนุรักษพลังงาน ที่ทําใหเกิดความยุงยาก ในการทํางาน หรือมีภาระงานเพิ่มขึ้นไมถือวาเปนไคเซ็น

Page 83: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

74

ระดับความรูสึก ขอความ เห็นดวย

อยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

14. ทานคิดวา ถากลุมของทานมีเงิน มีเวลาวาง หรือมีแรงงานเพิม่ขึ้น กลุมของทานจะชวยคิดและประหยดัการใชพลังงาน ไดมากกวานี ้

15. มาตรการอนุรักษพลังงาน ควรทําเฉพาะมาตรการที่สามารถกําจัดตนตอของสาเหตุ ความสูญเสียพลังงานเทานั้น

16. การยึดตดิกับขัน้ตอนและวิธีการปฏิบัติงานที่เคยชิน เปนสาเหตุใหมองไมเห็นปญหาการใชพลังงานอยางสิ้นเปลือง

17. การอนุรักษพลังงานที่มีประสิทธิผล ตองปรับเปลี่ยนอุปกรณ / เครือ่งจักรที่มีประสิทธิภาพสูงทั้งหมดเทานั้น

18. การรวมออกความคิดเห็น การทํามาตรการอนุรักษพลังงานที่ทําใหเกิดขึ้นจริงไดยาก ก็เปนไคเซ็น

19. ลักษณะงานทีท่ําอยูตอนนี้ ไมสามารถที่จะประหยัด การใชพลังงานไดอีกแลว

20. มาตรการอนุรักษพลังงาน ทีตองเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน เปนเรื่องที่ยุงยาก นาเบื่อ

Page 84: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

75

สวนที่ 3 แบบวัดพฤติกรรมการทําไคเซ็นเพื่อการอนรัุกษพลังงาน คําชี้แจง แบบสอบถามนี้ประกอบไปดวยขอความที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของทานในการทํางาน

และความถี่ของการปฏิบัติ เมื่อทานอานขอความแตละขออยางละเอียดแลวทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริงของทานเพียงขอละ 1 ชอง และกรุณาทําทุกขอ

ความถี่ของการปฏิบัติ ขอความ

ทุกครั้ง บอยครั้ง บางครั้ง ไมเคยปฎิบัต ิ

1. ทานตรวจสอบอุปกรณ / เครื่องจักรกอน การทํางาน เพือ่มั่นใจวาไมเปนสาเหตุ ใหเกิดการสูญเสียพลังงาน

2. ถาพบวาอุปกรณ / เครื่องจักรเกิดการสูญเสยีพลังงานเล็กนอย ทานยังคงใชงานตอไป

3. ทานเปดสวิทซอุปกรณ / เครื่องจักร เพื่อรอ การใชงาน

4. ทานจะไมปดไฟแสงสวางในหองหรือพืน้ที่ ที่ไมมีคนอยู

5. จากลักษณะงานที่ทํา ทานมักมองหาจุดที่ทําใหเกิดการใชพลังงานโดยเปลาประโยชน

6. ทานมีสวนรวมในการทํามาตรการอนุรักษพลังงาน

7. ทานมีสวนรวมในการทํารายงาน ผลการประหยดัพลังงาน ในกิจกรรมไคเซน็

8. ทานไมกลาเตอืนเพื่อนรวมงานของทาน เมื่อพบวาเพื่อนของทานกําลังทําใหเกิด การสูญเสียการใชพลังงานโดยเปลาประโยชน

9. ทานมักเดนิผานหรือไมสนใจอานบอรด ปายโฆษณา เพื่อรณรงคการอนุรักษพลังงานในโรงงาน

Page 85: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

76

ความถี่ของการปฏิบัติ ขอความ

ทุกครั้ง บอยครั้ง บางครั้ง ไมเคยปฎิบัต ิ

10. เมื่อทานอานขาวสารการอนรัุกษพลังงาน ทานจะไมเผยแพรหรือบอกเลาขอมูล ใหเพื่อนรวมงานทราบ

11. ทานแจงหัวหนาทันทีที่พบวาอุปกรณ / เครื่องจักรขัดของ ผิดปกติ หรือมีการสูญเสียพลังงาน

12. ทานทําความสะอาดอุปกรณ / เครื่องจักรหลังจากเลิกใชงาน

13. เมื่อทานพบจดุที่เกิดการสูญเสียพลังงาน แตเปนพืน้ที่ความรับผิดชอบของแผนกอืน่ๆ ที่ไมเกี่ยวของกับทาน ทานกท็ําเปนเหมือน ไมพบหรือเหน็อะไร

14. ทานใชลมจากอุปกรณ / เครือ่งจักรมาเปาเลนหรือเปาทําความสะอาดรางกาย

15. ทานมักคิดหาวิธีการประหยดัการใชพลังงานในหนวยงาน

16. ทานคิดเปลี่ยนแปลงวิธีการทาํงานจากที่ทําอยู เพื่อประหยัดพลังงาน

17. ทานนําความรูที่ไดจากขาวสารการอนุรักษพลังงาน มาปฏิบัติจริงทั้งที่บานและที่ทํางาน

18. ทานจะไมลอกเลียนหรือไมนําความคิด ในการทํามาตรการประหยดัพลังงาน ของกลุมอ่ืนมาใชกับกลุมของทาน

Page 86: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

77

ภาคผนวก ข คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสําหรับวัดทัศนคติ และพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวธีิไคเซ็น

Page 87: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

78

ตารางที่ ข-1 คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสําหรับวัดทัศนคติ การอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ลําดับขอแบบสอบถาม คาความสอดคลองภายใน

1 .354 2 .351 3 .558 4 .446 5 .470 6 .410 7 .550 8 .426 9 .481

10 .244 11 .365 12 .429 13 .444 14 .473 15 .496 16 .259 17 .519 18 .632 19 .511 20 .546

คาความเชื่อมัน่ .721

Page 88: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

79

ตารางที่ ข-2 คาความสอดคลองภายในและคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสําหรับวัดพฤติกรรมการอนุรักษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น

ลําดับขอแบบสอบถาม คาความสอดคลองภายใน

1 .551 2 .377 3 .511 4 .513 5 .360 6 .631 7 .670 8 .569 9 .448

10 .537 11 .428 12 .392 13 .386 14 .354 15 .541 16 .559 17 .595 18 .341

คาความเชื่อมัน่ .730

Page 89: 2549 - gits. · PDF fileKaizen activities were developed from one division to other divisions, from one department to other departments. The activities of Kaizen

80

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ : นายชัชวาล คาดการณไกล ช่ือวิทยานพินธ : เทคนิคการอนรัุกษพลังงานโดยวิธีไคเซ็น สาขาวิชา : ธุรกิจอุตสาหกรรม

ประวัต ิ

ประวัติการศึกษา - ระดับประกาศนียบตัรวชิาชพีช้ันสูง สาขาเทคนิคอุตสาหกรรม วิทยาลัยชางกลปทุมวนั - ระดับปริญญาตรี วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยศรีปทมุ

ประวัติการทํางาน - พ.ศ. 2530 – 2539 : ผูชวยผูจัดการฝายผลิต บริษัทมัตสุชิตะ อิเล็คเวิครส (ไทยแลนด) จํากัด - พ.ศ. 2539 – 2542 : ผูชวยผูจัดการฝายผลิต บริษัทโซนี่ เทคโนโลยี (ไทยแลนด) - พ.ศ. 2542 – 2544 : ผูจัดการฝายผลิต บริษัทโซนี่ เทคโนโลยี (ไทยแลนด) - พ.ศ. 2544 – 2548 : ผูจัดการอาวโุสฝายวิศวกรรม บริษัทโซนี่ เทคโนโลยี (ไทยแลนด) - พ.ศ. 2548 – ปจจุบัน : ผูชวยผูจัดการทัว่ไปฝายผลิต บริษัทโซนี่ เทคโนโลยี (ไทยแลนด)

ความเชี่ยวชาญพิเศษ - Six Sigma, Kaizen, 7 tool เทคนิค, เทคนิคการเพิ่มผลผลิต, IE เทคนิค, Supply Chain

Management, ความเปนผูนํา, TQM, การบริหารจัดงานในโรงงานอุตสาหกรรม - การลดความสูญเสียในโรงงาน, เทคนิคการประหยดัพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม - การควบคุมคณุภาพ, ISO 9002, TS16949 - การกําหนดดัชนีช้ีวัดในการทํางาน (Key Performance Index) - วิทยากรบรรยายโครงการชุบชีวิตธุรกิจไทย กระทรวงอุตสาหกรรม - วิทยากรบรรยาย 5ส, ไคเซ็น, 7 Tool, IE เทคนิคการแกปญหาโดยใชสถิติ , TQM , ความเปน

ผูนํา ฯลฯ ตามโรงงานอุตสาหกรรมมากกวา 30 บริษัท - ที่ปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรมมากกวา 10 บริษัท - บรรยายพิเศษใหกับวิทยาลยัเทคนิค และมหาวิทยาลัยของรัฐ

ที่อยูในการติดตอ : SONY TECHNOLOGY (THAILAND) CO.,LTD. สาขาชลบุรี นิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร 700/402 หมู 7 ต. ดอนหอยหลอด อ.เมอืง จ.ชลบุรี 20000