85
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร 1 สื่อผสม (Multimedia)

11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ภาควิชาวทิยาการคอมพวิเตอร

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

1

สื่อผสม (Multimedia)

Page 2: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วัตถปุระสงค

2

เพื่อใหเขาใจในความหมายของมัลติมีเดีย

เพื่อใหเขาใจองคประกอบของมัลติมีเดีย

เพื่อใหเขาใจระบบสี RGB และ CMYK

เพื่อใหเขาใจการทํางานของแสงและสี

Page 3: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความหมาย

3

มัลติ (Multi) หมายถึง หลายๆ อยางผสมกัน (มศีัพทใกลเคียงกัน เชน Many,

Much และ Multiple เปนตน)

มีเดีย (Media) หมายถงึ สื่อ ขาวสาร ชองทางการติดตอสื่อสาร

"สื่อผสม (Multimedia)" คือการผสมผสานหรือบูรณาการของสื่อตางๆ มากกวา 2

ประเภทขึ้นไป เพื่อสรางเนื้อหาสาระใหมสําหรับการสอนและการสื่อสาร โดยอาศัย

เครื่องคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือหรืออุปกรณการผลิตและการนําเสนอ

Page 4: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

องคประกอบของมัลติมีเดีย

4

มัลติมีเดีย (Multimedia) จะตองมีองคประกอบตั้งแต 2 องคประกอบเปนอยาง

นอย เชน ใชตัวอักษรรวมกับการใชสีที่แตกตางกัน 2-3 สี ภาพศิลป ภาพนิ่ง จากการ

วาด หรือการสแกน นอกนั้น ก็อาจมีเสียงและวิดีทัศนรวมอยูดวยก็ได

Text

Graphics

MultimediaMultimedia

Audio Animation

Video

Page 5: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

องคประกอบของมัลติมีเดีย (ตอ)

5

Text ตัวอักษร ในระบบคอมพิวเตอรเปนตัวอักษรระบบดิจิตอล ในโปรแกรมคอมพิวเตอรจะมีตัวอักษรใหเลือกหลาบแบบ หลายขนาด

Graphics เปนภาพกราฟกที่ไมมีการเคลื่อนไหว เชน ภาพถาย หรือภาพวาด เปนตน ชวยในการเสริมความชัดเจนใหกับ Text เพื่อใหเขาใจงายขึ้น

Audio ชวยใหเกิดบรรยากาศที่นาสนใจในการรับรูทางหู โดยอาศัยจะนําเสนอในรูปของ เสียงประกอบ เพลงบรรเลง เสียงพูด เสียงบรรยาย หรือเสียงพากย เปนตน ไฟลเสียงมหีลายประเภท เชน Midi ,Wav ,Mp3

Animation หมายถึง การทําใหภาพเคลื่อนไหว โดยการเปลี่ยนตําแหนงของภาพหรือการแสดงภาพหลายๆ ภาพที่แตกตางกันอยางรวดเร็ว

Video นับเปนสื่ออีกรูปหนึ่งที่นิยมใชกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เนื่องจากสามารถแสดงผลไดทั้งภาพเคลื่อนไหว และเสียงไปพรอมๆ กัน

Page 6: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ตัวอักษร (Text)

6

แอสกี (ASCII) ยอมาจาก American Standard Code for Information

Interchange) ใชเพียงประเทศสหรัฐอเมริกาเทานั้น

ยูนิโคด (Unicode) เปนรหัสที่พัฒนาขึ้นเพื่อการใชงานทีเ่ปนสากล โดยผูพัฒนาคือ

องคกรกําหนดมาตรฐานสากลหรือไอเอสโอ (ISO : Internation Organization for

Standardization) เพื่อรองรับตัวอักษรและสัญลักษณแบบตางๆ ของแตละภาษา

เปนรหัสขนาด 16 บิต สามารถรองรับตัวอักษรไดมาถึง 65,536 (รหัส) ในรูปแบบ

ของ “ Code Point”

Page 7: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบตัวอักษร(Fonts) แบงเปน 3 ระดับ ไดแก

7

1.ประเภท (Category) เปนที่รวมของตระกูล (Family) และชื่อเฉพาะ (Face) ของแตละ

ตัวอักษร (Font)แบงไดดังนี้

1.1 Serif: เปนแบบอักษรทีใ่ชเปนมาตรฐาน ในแตละตัวอักษรจะมีเสนคลายๆ ขีด-

เหลี่ยม

1.2 Sans-Serif: เปนแบบอักษรที่คุนเคยมากกวา Serif เพราะเปนทีน่ิยมของผูเขียน

เว็บ มีรูปรางมนกลม และดูสวยงาม

1.3 Monospaced: เปนแบบอักษรที่มีขนาดความกวางของทกุตัวอักษรเทากันหมด

บางครั้งเรียกวา Typewriter Fonts เนื่องจากมีลักษณะใกลเคียงกับตัวอักษรที่ไดจาก

เครื่องพิมพดีด

1.4 Script: เปนแหลงรวมของแบบอักษรทุกชนิด ทีม่ีลักษณะพิเศษตางๆ เชน มจีุด มี

หาง เปนตน

Page 8: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ)

8

2. ตระกูล (Family)

เปนหมวดที่ยอยลงไปจาก Category แตตัวอักษรที่อยูในตระกูลเดียวกัน จะมี

บรรพบุรุษรวมกัน

ตารางแสดงความสัมพันธระหวาง Category และ Family

Category Family

Serif Times, Century Schoolbook, Garamond

Sans-Serif Helvetica, Arial, Verdana

Monospaced Courier, Courier New

Decorative Whimsy, Arribal, Bergell

Page 9: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบตัวอักษร(Fonts) (ตอ)

9

3. ชื่อเฉพาะ (Face)

เปนตัวอักษรที่สามารถแสดงความสัมพันธระหวาง Family และ Face

Family Face

Time Roman, Italic

Arial Regular, Bold, Italic

Courier Regular, Oblique

Whimsy Regular, Bold

Page 10: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชงานตัวอกัษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย

10

ในการใชตัวอักษรที่มขีนาดเล็กจะตองชัดเจนและอานงาย

ขอความทีต่องการจะเนนควรจะมีลักษณะทีแ่ตกตางจากขอความธรรมดา

เชน มีการขดีเสนใต ตัวอักษรตวัเอียง หรอืตัวหนา

จัดชองวางของบรรทดัใหเหมาะสมและอานงาย

จัดขนาดของตวัอักษรตามความสําคญัของขอความ

หัวขอทีใ่ชตัวอกัษรขนาดใหญควรมรีะยะชองไฟของตวัอักษรที่ใหความรูสึกที่

ดี ไมตดิ หรอืหางกันเกินไป

จัดสีของขอความใหอานงาย มีความแตกตางจากสีของพื้นหลัง

ควรใชวิธีการ Anti-aliasing กับหัวขอที่เปนอกัษรกราฟฟกขนาดใหญ

Page 11: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชงานตัวอกัษรและรูปแบบตัวอักษรในมัลติมีเดีย

(ตอ)

11

หากตองการจัดขอความใหอยูกึ่งกลางบรรทัด ไมควรทําติดตอกันหลายบรรทัดจะดูไมสวยงาม

ในภาษาอังกฤษควรใชอักษรพิมพใหญ และพิมพเล็กอยางเหมาะสม

เนนความนาสนใจของขอความดวยการไลแสงเงาใหตัวอักษรหรือวางหัวขอหลกัๆ บนพื้นที่วาง ซึ่งเปนจุดที่สนใจทีม่องเหน็ไดอยางชัดเจน

สรรหาขอคิด คําเสนอแนะ หรือคําติชมจากหลายๆ ความคิดมาสรุปเพื่อเลือกใชตวัอักษรที่เหมาะสมที่สุด

ใชคําศัพททีม่คีวามหมายนาสนใจและเขาใจงาย เพื่อเชื่อมโยงหัวขอกับเนื้อความเขาดวยกัน

ขอความสําหรับเชื่อมโยงบนหนาเว็บเพจ ควรมีลักษณะตัวอักษรที่เนนขอความ เชน ใสสีสัน ขีดเสนใตขอความ ควรหลีกเลี่ยงการเนนดวยสีเขียวบนพื้นสีแดง

เนนเนื้อความที่เปนจุดสําคญัดวยการทําแถบสีที่ขอความนัน้ๆ แตไมควรใหเหมือน Text Link หรือขอความบนปุมกด Button

Page 12: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การจัดวางขอความสําหรับการอาน (Fields for Reading)

12

จัดวางขอความสําคัญๆ แตละหัวขอใหอยูบนจอภาพเดียวกัน

แบงเนื้อความอธิบายเปนสวนๆ แยกยอยกันไปในแตละยอหนา

ใชตัวอักษรที่อานงาย และมีขนาดของตัวอักษรไมใหญหรือเล็กจนเกินไป

เชื่อมโยงความสมัพันธของขอความใหงายตอการเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยาง

รวดเร็ว

Page 13: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ภาพกราฟก (Graphics)

13

กราฟก (Graphic) ก็คือภาพตาง ๆ ที่เกิดจากการสรางสรรค ไมวาจะเปนวาด

เสน หรอืระบายสีจนเกิดเปนภาพ ลักษณะตาง ๆ ขึ้นมา สวนคําวา

คอมพิวเตอรกราฟก (Computer Graphic – CG) ก็คอืภาพตาง ๆ ที่เกิดขึ ้

นมา จากการใชเครือ่งคอมพิวเตอรเปนเครือ่งมอืในการสรางสรรค

Page 14: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ตัวอยางโปรแกรม

14

โปรแกรมสําหรับวาดภาพ เชน โปรแกรม Microsoft Paint,

Illustrator, Corel Painter หรือ Corel DRAW เปนตน

โปรแกรมสําหรับการตกแตงภาพ เชน Photoshop, Paint Shop Pro

หรือ GIMP เปนตน

โปรแกรมสําหรับงานตัดตอหรือแกไขวิดีโอ Premiere Pro, Final

Cut Pro, After Effect, Newtek VT หรือ Combustion เปนตน

โปรแกรมสําหรับสรางงาน 2D Animation เชน Flash, Moho หรือ

Toon Boom เปนตน

โปรแกรมสําหับสรางงาน 3D Animation เชน 3ds Max, Maya,

Lightwave, Softimage XSI หรือ Cinema 4D เปนตน

Page 15: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ประเภทของภาพ

15

วิธีการที่เครื่องคอมพิวเตอรจะสามารถสรางภาพ และบันทึกขอมูล

ของภาพนั้นเก็บเอาไวมีอยู 2 วิธี หลัก ๆ ดวยกัน คือ

วิธีการสรางภาพแบบ Raster Graphic

วิธีการสรางภาพแบบ Vector Graphic

Page 16: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Raster Graphic

16

เปนวิธีการสรางภาพและจดจาํขอมูลของภาพแบบที่เรียบ

งายที่สุด อาศัยหลักการ โดยนําเอาจุดสีเล็ก ๆ ที่เรียกวา Pixel

หลาย ๆ จุดมาวางเรียงกันจนกลายเปนภาพขนาดใหญ ยิ่งจุดสี

หรือ Pixel มีจํานวนมากเทาไหร ภาพก็ยิ่งมีรายละเอียดมาก

แลดสูวยงาม (ความละเอียดของภาพแบบ Raster วดัเปน

จํานวนจุด Pixel ตอพื้นที่ 1 ตารานิว้ หรือตารางเซนติเมตร)

Page 17: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Raster Graphic (ตอ)

17

ถาเราขยายภาพที่เปน Raster Graphic ขึ้นมากๆ เราจะพบวาภาพนั้นประกอบไป

ดวยจุดสีสี่เหลี่ยมที่ เรียกวา Pixel หลาย ๆ จุดมาวางเรียงตอกัน ไฟลประเภทนีไ้ดแก

BMP, CGM, GIF, HGL, JPEG, PBM, PCX, PGM, PNM, PPM, PSD, RLE, TGA,

TIFF และ WPG

สวนใหญภาพประเภทนี้จะนํามาจากแหลงขอมูลตางๆ ผานโปรแกรมที่รองรับการ

ทํางานเกี่ยวกับรูปภาพ การคัดลอก (Copy) ภาพที่แสดงบนจอภาพ โดยกดปุม

Print Screen บนคียบอรด จากนั้นวาง (Paste) ในโปรแกรมที่สามารถแกไขภาพ

หรือโปรแกรมที่จะใชพิมพ

การนําภาพถายผานทางเครื่องสแกนเนอร (Scanner) หรือรูปภาพจากกลอง

ถายภาพดิจิตอลหรือกลองวิดีโอดิจิตอล เปนตน

Page 18: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Vector Graphic

18

เปนภาพที่มีวิธกีารสรางภาพและบันทึกขอมูลของภาพที่แตกตาง

ออกไปอยางสิ้นเชิง เพราะภาพแบบ Vector จะอาศัยการทางเลขาคณติมา

เปนตัวชวยในการสรางภาพและบันทึกขอมูลภาพ เชน ภาพสี่เหลี่ยม 1 รปู

แทนที่จะบันทึกดวยขอมูลของจุด Pixel หลาย ๆ จุด ก็บันทึกเปนสูตร

คณติศาสตรแทน เชน จําวาจุดทั้ง 4 มมุ ของภาพสี่เหลี่ยมวางอยูในตําแหนง

ใดบาง สีภายในภาพสี่เหลี่ยมเปนสีอะไร ซึ่งทั้งหมดนีจ้ะเปนขอมูลที่มจีํานวน

นอยกวาขอมูลของจุด Pixel ทั้งหมดในภาพสี่เหลี่ยมมาก

Page 19: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

Vector Graphic (ตอ)

19

เนื่องจากภาพแบบ Vector เปนภาพแบบที่สรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต

จึงทําใหภาพแบบ Vector ไมมีปญหาเรื่องความคมชัดเมื่อขยายภาพขึ้นมาก ๆ

อยางภาพ Raster เพราะไมวาภาพจะเล็กหรือ ใหญเทาใด จํานวนขอมูลทีต่องจํากม็ี

ขนาดเทาเดิม

แตขอเสียของการสรางจากสูตรคณิตศาสตรหรือเลขาคณิต ของภาพแบบ Vector

ก็คือมันไมสามารถสรางหรือบันทึกภาพที่มีรายละเอียดของสีมาก ๆ อยางภาพถาย

ตาง ๆ ได ดังนั้น ภาพแบบ Vector จึงเหมาะสําหรับการสรางและบันทึกภาพที่มีสี

เรียบ ๆ เทานัน้ ไฟลประเภทนี้ไดแก AI, CDR, CGM, CMX, DRW, DFX,EPS,PDF,

PCT, PIC, PLT และ WMF เปนตน

Page 20: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

คุณภาพของรูปภาพ

20

ความละเอียดของภาพ (Image Resolution)

การบีบอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression)

Page 21: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความละเอียดของภาพ (Image Resolution)

21

หนวยที่ใชวัดความละเอยีดของภาพเรียกวา พิกเซลตอนิ้ว (Pixel Per Inch :

PPI) จอคอมพิวเตอรสวนใหญจะมคีวามละเอียดที่ 72 PPI คอืความกวาง 1

นิ้วบนจอคอมพวิเตอรจะแสดงจุดได 72 จุดนั่นเอง ดงันั้นไฟลภาพที่เรานํามา

ไมวาจากกลองหรอืเครือ่งสแกนก็ตาม หากคิดวาจะใชแสดงผลแคบน

จอคอมพิวเตอรเทานั้น ก็ใหกําหนดความละเอยีดเปน 72 PPI

จดุแตละจดุทีป่ระกอบเปนภาพ เรยีกวา Pixel

300 จดุ

400 จดุ

Resolution ของภาพนี้

คือ 300 จุด * 400 จุด

= 120,000 pixels

Page 22: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การบบีอัดขนาดของรูปภาพ (Image Compression)

22

ลดจํานวนขอมูลในการแสดงภาพใหนอยลงโดยเมื่อนําขอมูลที่ลด

ขนาดไปมาสรางภาพขึ้นใหม คุณภาพของภาพใหมจะไมมกีารสูญ

เสียหรือมีการสูญเสียทีย่อมรับได เมื่อเทียบกับภาพเดิม

การบีบอัดมาก - เสียความละเอียดมาก - ไฟลขนาดเล็กการบีบอัดนอย - เสียความละเอียดนอย - ไฟลขนาดใหญ

Compressed

Page 23: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ชนิดของ image compression

23

Lossless Image Compression

ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคณุภาพเหมือนภาพเดิมโดยไมมีการ

เปลี่ยนแปลง

ภาพทางการแพทยที่ตองการความแมนยํามาก ความผิดพลาดเพียงเล็กนอยอาจ

หมายถึงชีวิตของผูปวยได

Lossy Image Compression

ภาพที่สรางกลับมาจากขอมูลที่ถูกบีบอัดมีคณุภาพไมเหมือนภาพเดิม (แตตามนษุยไม

สามารถแยกออกได)

การบันทกึภาพวิดีโอ ถึงแมวาภาพที่แปลงมาจากการ compress จะไมเหมือนเดมิ

ทีเดียว แตมีผลกระทบกับคุณภาพของภาพเพียงเล็กนอยก็สามารถยอมรับได

Page 24: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ภาพ 3 มิติ (3D Image)

24

เปนภาพประเภทหนึ่งของภาพเวกเตอร มีลักษณะมุมมองของภาพที่

เหมือนจริง อยูในรูปทรง 3 มิติ (3D: Three Dimensions) การสราง

และการแสดงผลของภาพ 3 มิตินั้น จะตองใชซอฟตแวรที่เหมาะสม

สําหรับสรางแกไข หรือแสดงภาพในรูปแบบ 3 มิติ และเพิ่มลักษณะ

พิเศษใหกับภาพ 3 มิติ เชน สรางฉากหลัง เพิ่มทิศทางของแสง และ

เพิ่มเทคนิคพิเศษใหกับภาพ

Page 25: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ตัวอยาง

25

Page 26: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

สี (Color)

26

เปนสวนประกอบสําคัญในการตกแตงภาพเวกเตอรและภาพ

บิตแมปใหเปนไปตามความตองการ สําหรับงานมัลติมีเดีย

ไมวาจะแสดงผลผานจอภาพหรือพมิพลงแผนพับโฆษณา

ตางๆ

Page 27: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพวิเตอร

27

HSB

เปนพื้นฐานของการมองเห็นแสงสีของดวงตามนษุย ประกอบดวยลักษณะ

ของแสงสี 3 ประการ คอื Hue, Saturation, Brightness

Lab

คาขอมลูแสงสีของ Lab ประกอบไปดวยคาตางๆ ไดแก คาระดับความเขม

ของแสงสวาง คาแสดงการไลแสงสีจากสีเขียวไปยังแสงสีแดง และคาแสดง

การไลแสงสีจากแสงสีน้ําเงินไปยังแสงสีเหลือง

Page 28: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพวิเตอร (ตอ)

28

Saturation

เปนคาความเขมของแสงสีที่อยูในชวงแสงสีจางจนถึงแสงสีเขม จะเปนสัดสวนของแสงสี Hue ที่มีอยูในโทนสี

เทา โดยวัดคาเปนเปอรเซนต

Hue

เปนการเปลี่ยนแปลงเฉดสีที่แตกตางจากแสงหลักทั้งสาม (แดง เขียว น้ําเงิน) โดยเปรียบเทียบกบัองศา

ตางๆ บนวงกลมที่เปนการนําองศาของวงกลมมาใชแบงความแตกตางของแสงสีตั้งแต 0-360 องศา

Brightness

คาความสวางของแสงสี คือ คาของแสงสีดําไลระดับสวางขึ้นเรื่อยๆ จนถึงแสงสีขาวสวาง ซึ่งวัดคาเปน

เปอรเซ็นตจาก 0% (แสงสีดํา) จนถึง 100 % (แสงสีขาว

Page 29: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของแสงสีที่ใชงานบนคอมพวิเตอร (ตอ)

29

RGB

เกิดจากการรวมแสงของแสงสหีลกั คือ แสงสีแดง (Red) เขียว (Green) และน้ําเงิน

(Blue) โดยแสงสหีลักทัง้ 3 จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 255 เมื่อขอมูลแสงสี RGB

เปลี่ยนไป ความเขมของแสงสแีดง เขียว และน้ําเงิน บนจอภาพจะปรับเปลี่ยน

ตามไปดวย

CMYK

เกิดจากการซึมซับหมึกพิมพลงบนกระดาษ โดยมีสีพื้นฐาน คือ สีน้ําเงินเขยีว

(Cyan) สีแดงมวง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow)

Page 30: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

เสียง (Sound)

30

ประเภทของเสยีง

มิดี้ (MIDI : Musical Instrument Digital Interface)

คือ ขอมูลที่แสดงถึงลักษณะเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนดิตางๆ ซึ่งเปนมาตรฐานในการ

สื่อสารดานเสียงหรือหมายถึง โนตเพลงที่มีรูปแบบเปนสัญลักษณหรือตัวเลข ที่จะบอกใหรู

วาตองเลนโนตตัวใดในเวลานานเทาไร เพื่อใหเกิดเปนเสียงดนตรี

ขอดี

ไฟลขอมูลมีขนาดเล็ก การสรางขอมูล MIDI ไมจําเปนตองใชเครื่องดนตรีจริงๆ ใช

หนวยความจํานอย ทําใหประหยัดพื้นที่บนฮารดดิสก เหมาะสําหรับใชงานบนระบบ

เครือขาย และงายตอการแกไขและปรับปรุง

ขอเสีย

แสดงผลเฉพาะดนตรีบรรเลงและเสียงที่เกิดจากโนตดนตรีเทานัน้ และอุปกรณ

อิเล็กทรอนิกสทีใ่ชสรางมีราคาคอนขางสูง

Page 31: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

31

เสียงแบบดิจิตอล (Digital Audio)

คือ สัญญาณเสียงที่สงมาจากไมโครโฟน เครื่องสังเคราะหเสียง เครื่องเลนเทป หรือจาก

แหลงกําเนิดเสียงตางๆ แลวนําขอมลูที่ไดแปลงเปนสัญญาณดิจติอล ซึ่งขอมูลดิจติอล

จะถูกสุมใหอยูในรูปแบบของบิต และไบต โดยเรียกอัตราการสุมขอมูลที่ไดมา วา

“Sampling Size” จะเปนตัวกําหนดคุณภาพของเสียงที่ไดจากการเลนเสียงแบบ

ดิจติอล

เสียงดิจิตอลจะมีขนาดของขอมูลใหญ ทําใหตองใชหนวยความจําและทรัพยากรบน

หนวยประมวลผลกลางมากกวา MIDI

Page 32: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound)

32

การบันทึกเสียงเปนการนําเสียงที่ไดจากการพูด การเลนเครื่อง

ดนตรี หรือเสียงจากแหลงตางๆ เชน เสียงน้ําตก ฟารอง หรือ สัตว

รอง มาทําการจัดเก็บลงในหนวยความจําหรือหนวยจัดเก็บ เพื่อ

นําไปใชงานตามที่ตองการ เสียงที่ทํางานผานคอมพิวเตอรเปน

สัญญาณดิจิตอล มี 2 รูปแบบคือ

Page 33: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การบันทึกขอมูลเสียง (Recording Sound) ตอ

33

Synthesize Sound เปนเสียงที่เกิดจากตัววิเคราะหเสียง ที่

เรียกวา MIDI โดยเมื่อตัวโนตทํางาน คําสั่ง MIDI จะถูกสงไปยัง

Synthesize Chip เพื่อทําการแยกเสียงวาเปนเสียงดนตรีชนิดใด

ไฟลที่ไดจะมีขนาดเล็ก

Sound Data : เปนเสียงที่ไดจากการแปลงสัญญาณอนาลอกเปน

สัญญาณดิจิตอล โดยจะมีการบันทึกตัวอยางคลื่น (Sample ) ให

อยูที่ใดที่หนึ่งในชวงของเสียงนั้นๆ และการบันทึกตัวอยางคลื่นจะ

เรียงกนัเปนจํานวนมาก เพื่อใหมีคุณภาพที่ดี

Page 34: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ (Sound Editing and Effects)

34

คอื การตดัตอ และการปรับแตงเสียง โดยสิ่งที่สําคัญในการแกไขเสียง คือ

การจัดสรรเวลาของการแสดงผลใหสัมพันธกับองคประกอบตางๆ ที่ใชงาน

รวมกับเสียง เชน การตดัตอเสยีงสําหรับนํามาใชในการนําเสนอไฟลวิดีโอ

ตัวอยางเชน โปรแกรม Audio Edit สําหรับใชแกไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ

ใหกับเสียงที่ไดทําการบันทึก เพื่อสรางความตอเนือ่งของเสียง

Page 35: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การจัดเก็บแฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล(Preparing Digital

Audio File)

35

หลักสําคญัในการจัดเกบ็แฟมขอมูลเสียงแบบดิจิตอล คือ

1. จะตองเตรียม RAM และทรัพยากรบนฮารดดิสรองรับใหเหมาะสมกับ

คณุภาพของเสยีงที่ตองการ

2. ปรับระดบัของการบันทึกเสียงใหตรงกับคณุภาพที่ตองการและมี

มาตรการปองกันเสียงรบกวนได

Page 36: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การแสดงผลเสียงบนระบบเครอืขายทําได 2 วิธคีอื

36

1. จัดเก็บขอมลูเสียงจากระบบเครอืขาย (Download) ลงบนเครือ่ง

คอมพิวเตอรของผูใชกอนแลวจึงแสดงผลเสียง ในขณะที่กําลังใชงานบน

ระบบเครอืขาย (Streaming)

2. คณุภาพของเสียงจะขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของอปุกรณเชื่อมตอ

(Modem) ดวย

รูปแบบของไฟลเสียงที่นิยมใชบนระบบเครอืขายไดแกไฟล AU. Wav,

MIDI, MPEG และ MP3 ซึ่งนิยมนาํมาใชกับเทคโนโลยีสตรมีมิ่งมีเดีย

(Streaming Media Technology)

Page 37: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

แอนิเมชนั (Animation)

37

หลักการของแอนิเมชนั

แอนิเมชันอาศัยปรากฎการณทางชีววิทยาที่เรยีกวา “ความตอเนือ่งของการ

มองเหน็ รวมกบัการทําใหวัตถุมีการเคลื่อนทีท่ี่ความเร็วระดบัหนึ่ง จนตาของ

คนเรามองเห็นวาวัตถุนั้นมีการเคลื่อนไหว ภาพแตละภาพที่นํามาทํา

แอนิเมชันเรียกวา “เฟรม (Frame)”

Page 38: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วิธีการสรางแอนิเมชัน

38

1.เฟรมตอเฟรม (Frame by frame) เปนการนําภาพมาใสไวในแตละเฟรม

และทําการกําหนดคียเฟรม (คียเฟรม คือ เฟรมที่ถูกกําหนดใหมีการ

เปลี่ยนแปลงของวตัถุเพื่อสรางการเคลื่อนไหว) การสรางเคลื่อนไหวแบบ

Frame by Frame เหมาะสําหรบั ภาพอะนิเมชันที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบ

รวดเร็ว หรอืงานที่ซับซอนมากๆ

Page 39: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)

39

2.ทวีนแอนิเมชนั (Tween Animation)

Tween (ทวีน) ยอมาจากคําวา Between แปลวา “ระหวาง” ดังนั้นการสรางภาพ

แบบนี้เปนการกําหนดคียเฟรมเริ่มตนและคียเฟรมสุดทาย จากนัน้ปลอยให

โปรแกรมสรางความเปลี่ยนแปลงระหวางเฟรมโดยอัตโนมัติ คือ การสราง

ภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween จะสรางเฟรมเพียงสองเฟรม คือ เฟรมเริ่มตนและ

เฟรมสุดทาย แบงได 2 แบบคือ

1.Motion Tween หรือ Motion Path:

2.Shape Tween:

Page 40: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)

40

Motion Tween หรอื Motion Path: เปนการเคลื่อนไหวที่มีการกําหนดการเคลือ่นที่ หมุน ยอ หรอืขยายไปตามเสนที่วาดไว โดยที่รูปทรงของวตัถุไมมกีารเปลี่ยนแปลง และวธิีนีน้ิยมใชมากที่สุด

Shape Tween: เปนการสรางภาพเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของวัตถุ จากรูปทรงหนึ่งไปเปนอีกรปูทรงหนึ่งโดยสามารถกําหนด ตําแหนง ขนาด ทิศทาง และสขีองวตัถุในแตละชวงเวลาตามตองการ นิยมใชกับรูปวาดเทานั้น

Page 41: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วิธีการสรางแอนิเมชัน (ตอ)

41

3.เอ็คชันสคริปต (Action Script)

เปนภาษาโปรแกรมที่นํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของระบบ และ

สามารถโตตอบ (Interactive) กับผูใชงานได โดย Action Script จะถูกนํามาใชเมื่อ

มีการกระทําเกิดขึ้น เรียกวา “เหตุการณ”(Event) เชน การคลิกเมาส หรือการกด

คียบอรด เปนตน

Page 42: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format)

42

1. GIF (Graphics Interlace File)

ไฟล GIF (Graphics Interlace File) หรอื กิฟอะนิเมชัน เปนอะนิเมชันที่ไดรับ

ความนยิมมาก เนื่องจากประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูล โดยจัดเก็บ

ภาพนิ่งเปนลําดับตอเนื่องกัน เหมาะสําหรับการใชงานบนเว็บไซต เพื่อ

เพิ่มเตมิความสวยงามและสรางความนาสนใจ

Page 43: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ

43

2. JPG (Joint Photographer’s Experts Group)

เปนไฟลภาพที่ใชงานบนระบบเครือขาย มโีปรแกรมสนับสนุนในการสรางจํานวน

มาก นําเสนอภาพที่มีความละเอียดสูง และคมชัด แตมีขอเสียคือ ไมสามารถทําให

พื้นภาพโปรงใสได เมื่อมีการสงภาพจาก Server ไปแสดงผลที่ Client จะทําใหการ

แสดงผลภาพชามาก เพราะตองเสียเวลาในการคลายไฟล

Page 44: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

รูปแบบของไฟลแอนิเมชัน (Animation File Format) ตอ

44

3. PNG (Portable Network Graphics)

เปนไฟลที่ทําใหพื้นภาพใหโปรงใสได สนับสนุนสีไดตามคา “True color) มีระบบ

แสดงผลตั้งแตความละเอียดนอยๆ และคอยๆ ขยายไปสูรายละเอียดที่มีความ

คมชัดมากขึ้น โดยผูใชสามารถกําหนดคาการบีบอัดไฟลไดตามตองการ ไฟลที่ไดมี

ขนาดเล็ก แตหากกําหนดคาการบีบไฟลไวสูง ก็จะตองใชเวลาในการคลายไฟลสูง

ไปดวย โปรแกรมสนับสนุนในการสรางมีนอย ไมสามารถเรียกดูกับ Graphic

Browser รุนเกาได

Page 45: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วิดีโอ (Video)

45

ชนิดของวิดีโอ

วิดีโออนาลอก (Analog Video) วิดีโออนาลอก เปนวิดีโอที่ทําการบันทึก

ขอมูลภาพและเสียงใหอยูในรปูของสญัญาณอนาลอก สําหรับวดิีโอที่เปน

อนาลอก ไดแก VHS ( Video Home System) เปนมวนเทป วิดีโอที่ใชคู

กันตามบาน

Page 46: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ชนิดของวิดีโอ (ตอ)

46

วิดีโอดิจิตอล (Digital Video) เปนวิดีโอที่ทําการบันทกึขอมูลภาพและ

เสียงที่ไดมา จากกลองวิดีโอดจิิตอล ใหอยูในรูปของสัญญาณดิจิตอล คือ 0

กับ 1 สวนการตดัตอขอมูลของภาพและเสียงที่ไดมาจากวิดโีอดิจิตอลนั้น

จะแตกตางจากวิดีโออนาลอก เพราะขอมูลที่ไดจะยังคงคณุภาพความคมชัด

เหมอืนกับขอมลูตนฉบับ

Page 47: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

แหลงที่มาของวิดีโอ

47

แผนวีดโีอซีดี (VCD)

กลองดจิิตอล (Digital Camera)

แผนดีวีดี (DVD)

เทปวีดีโอที่ใชดกูันตามบาน (VHS)

เว็บไซตตางๆ

Page 48: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ลักษณะการทํางานของวิดีโอ

48

กลองวิดโีอเปนการนําเอาหลักการของแสงที่วา “แสงตกกระทบกับวัตถแุลว

สะทอนสูเลนสในดวงตาของมนุษยทําใหเกดิการมองเห็น “มาใชในการสราง

ภาพรวมกับวงจรอิเล็กทรอนิกส โดยภาพที่ไดจะถูกเก็บบันทึกเปนสัญญาณ

อิเล็กทรอนิกส ที่เรียกวา “สัญญาณอนาลอก (Analog Signal) ประกอบดวย

ขอมูลสี 3 ชนิด คอื แดง เขียว น้ําเงิน (Red, Green, Blue : RGB)

Page 49: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ลักษณะการทํางานของวิดีโอ (ตอ)

49

สัญญาณวิดโีอจะถูกสงไปบันทึกยังตลับเทปวิดีโอ (Video Cassette

Recorder VCR) โดยการแปลงสัญญาณอเิล็กทรอนิกสเปนสัญญาณ

ดิจิตอลและบันทึกลงบนอุปกรณบันทึกขอมูลดวยหลักการของสนามแมเหล็ก

การบันทึกจะตองกระทาํผานอุปกรณทีเ่รียกวา “หัวเทปวิดีโอ “ ที่สามารถ

บันทึกไดทั้งภาพ (Video Track) เสียง (Audio Track) และขอมูลควบคุม

การแสดงภาพ (Control Track)

Page 50: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

มาตรฐานการแพรภาพวิดีโอ

50

National Television System Committee (NTSC) เปนมาตรฐานเกี่ยวกับ

โทรทศันและวิดโีอในสหรัฐอเมริกา

Phase Alternate Line (PAL) เปนมาตรฐานของโทรทัศนและวดิโีอที่

นิยมใชกันในแถบยุโรป อังกฤษ ออสเตรเลีย อัฟริกาใต และประเทศไทย

Sequential Color and Memory (SECAM) เปนมาตรฐานการเผยแพร

สัญญาณโทรทศันและวิดีโอทีใ่ชกันในประเทศฝรั่งเศส รัสเซีย ยุโรปตะวันออก

ตะวันออกกลาง

High Definition Television (HDTV) เปนเทคโนโลยีของการแพรภาพ

โทรทศันที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแสดงภาพที่มีความละเอียดสูง

Page 51: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การบีบอดัวิดีโอ

51

เจเพ็ก (JPEG) เปนมาตรฐานการบีบอดัขอมลูที่คดิขึน้ในยคุปลายทศวรรษ

1980

Motion – JPEC หรอื M-JPEG เปนมาตรฐานการบีบอดัขอมูลที่สามารถบีบ

อดัและขยายสัญญาณไดตัง้แต12:1 , 5 : 1 และ 2 : 1

CODEC เปนเทคโนโลยีการบบีอดัและการคลายขอมูล สามารถนําไปใชกับ

ซอฟตแวรและฮารดแวร สวนมาก CODEC นิยมใชบีบอดัแบบ MPEG ,

Indeo และ Cinepak

เอม็เพ็ก (MPEG : Moving Picture Experts Group) เปนมาตรฐานการบีบ

อดัสัญญาณภาพและเสียง โดยใชระบบ DCT ที่ใชกับระบบวดิโีอคณุภาพสูง

ทั่วไป

Page 52: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

คุณภาพของวิดีโอ

52

อัตราเฟรม (Frame Rate)

คอือตัราความถี่ในการแสดงภาพจาก Timeline ออกทางหนาจอ อัตราที่

เฟรมถูกแสดงในวิดีโอมีหนวยเปนเฟรมตอวินาที

ความละเอยีด (Resolution)

หมายถึง ความคมชัดของภาพที่แสดงผลออกทางจอภาพ ความละเอียด

ของจอภาพขึ้นอยูกับจํานวนจุดทั้งหมดที่เกดิบนจอ จุดตางๆ นี้เรียกวา พิก

เซล (Pixels)

รูปแบบของไฟลวิดีโอ เชน *rm / *.ra / *.ram *.MPEG2 / *.MPEC4 *.viv *.mov

*. Avi (Audio / Video Interleave)

Page 53: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความสําคญัของสี

53

สี คือลักษณะของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี (พจนานุกรมฉบับ

ราชบัณฑิตยสถาน)

ในทางวทิยาศาสตรใหคําจํากัดความของสวีา เปนคลื่นแสงหรือความเขมของแสงที่

สายตาสามารถมองเห็น

ในทางศลิปะ สีคือ ทัศนธาตุอยางหนึง่ที่เปนองคประกอบสําคัญของงานศิลปะ และ

ใชในการสรางงานศิลปะ โดยจะทําใหผลงานมีความสวยงาม ชวยสรางบรรยากาศ

มีความสมจริง เดนชัดและนาสนใจมากขึ้น

Page 54: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ประโยชนของสี

54

1. ใชในการจําแนกสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเห็นชดัเจน

2.ใชในการจัดองคประกอบของสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเกิดความสวยงาม กลมกลืน เชน การ

แตงกาย การจัดตกแตงบาน

3. ใชในการจัดกลุม พวก คณะ ดวยการใชสีตาง ๆ เชน คณะสี เครื่องแบบตาง ๆ

4. ใชในการสื่อความหมาย เปนสัญลักษณ หรือใชบอกเลาเรื่องราว

5. ใชในการสรางสรรคงานศิลปะ เพื่อใหเกิดความสวยงาม สรางบรรยากาศ สมจริง

และนาสนใจ

6. เปนองคประกอบในการมองเห็นสิ่งตาง ๆ ของมนุษย

Page 55: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

แสงสี

55

แสง เปนพลังงานรังสี (Radiation Energy) ที่ตารับรูและมีปฏิกิริยาตอบสนอง

ดวยกระบวนการ วิเคราะหแยกแยะของสมอง ตาสามารถวิเคราะหพลังงาน

แสงโดยการรับรูวัตถุ สัมพันธกับตําแหนง ทิศทาง ระยะทาง ความเขมของแสง

และความยาวคลื่นทีม่องเห็นได

สี คือลักษณะความเขมของแสงที่ปรากฏแกสายตาใหเห็นเปนสี โดยผาน

กระบวนการรบัรูดวยตา มองจะรับขอมูลจากตา โดยที่ตาไดผานกระบวนการ

วิเคราะหขอมูลพลังงานแสงมาแลว ผานประสาท สัมผัสการมองเหน็ ผาน

ศูนยสับเปลี่ยนในสมองไปสูศูนยการมองเห็นภาพ การสรางภาพหรือการ

มองเหน็ก็คือ การที่ขอมูลไดผานการวิเคราะหแยกแยะใหเรารับรูถงึสรรพสิ่ง

รอบตัว

Page 56: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

เกี่ยวกับสี

56

ในราวป ค.ศ. 1666 เซอร ไอแซค นิวตันไดแสดงใหเห็นวา สีคือสวนหนึ่งใน

ธรรมชาติของแสงอาทิตย โดยใหลําแสงสองผานแทงแกวปริซึม แสงจะหักเห

เพราะแทงแกวปริซึมความหนาแนนมากกวาอากาศ

เมื่อลําแสงหักเหผานปริซึมจะปรากฏแถบสีสเปคตรัม ( Spectrum) หรือที่เรียกวา สี

รุง (Rainbow) คือ สีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงตกกระทบ

โมเลกุลของสสาร พลังงานบางสวนจะดูดกลืนสีจาก แสงบางสวน และสะทอนสี

บางสีใหปรากฏเห็นได พื้นผิววัตถุที่เราเห็นเปนสีแดง เพราะ วัตถุดูดกลืนแสงสี

อื่นไว สะทอนเฉพาะแสงสีแดงออกมา วัตถุสีขาวจะสะทอนแสงสีทกุสี และวัตถุสีดํา

จะดูดกลืนทุกสี

Page 57: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

เกี่ยวกับสี (ตอ)

57

จากทฤษฎีการการหักเหของแสงของ ของนิวตัน และจากสามเหลีย่มสี CIE พบวา

แสงสีเปนพลังงานเพียง ชนิดเดียวที่ปรากฎสี จากดานทั้ง 3 ดานของรูป

สามเหลีย่มสี CIE นักวิทยาศาสตรไดกําหนดแมสีของแสงไว 3 สี คือ สีแดง ( Red )

สีเขียว (Green) และสีน้ําเงิน ( Blue ) แสงทัง้สามสี เมื่อนํามาฉายสองรวมกัน จะ

ทําใหเกิด สีตาง ๆ ขึ้นมา คือ

แสงสีแดง + แสงสีเขียว = แสงสีเหลือง ( Yellow )

แสงสีแดง + แสงสีน้ําเงิน = แสงสีแดงมาเจนตา ( Magenta)

แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = แสงสีฟาไซแอน ( Cyan )

Page 58: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

เกี่ยวกับสี (ตอ)

58

และถาแสงสีทัง้สามสีฉายรวมกัน จะไดแสงสีขาว หรือ ไมมีสี เราสามารถสังเกต

แมสีของแสง ไดจากโทรทัศนสี หรือจอคอมพิวเตอรสี โดยใชแวนขยายสองดูหนาจอ

จะเห็นเปนแถบสีแสงสวาง 3 สี คือ แดง เขียว และน้ําเงิน นอกจากนี้เราจะ

สังเกตเห็นวา เครื่องหมายของสถานีโทรทัศนสีหลาย ๆ ชอง จะใชแมสีของแสง

ดวยเชนกัน

ทฤษฎีของแสงสนีี้ เปนระบบสีที่เรียกวา RGB ( Red - Green - Blue ) เราสามารถ

นําไปใชในการ ถายทําภาพยนตร บันทึกภาพวิดีโอ การสรางภาพ เพื่อแสดงทาง

คอมพิวเตอร การจัดไฟแสงสีในการแสดง การจัดฉากเวที

Page 59: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

59

แสงสทีี่เปนแมสี คือ สีแดง น้ําเงนิ เขียว จะเรียกวา สีพื้นฐานบวก ( Additive

primary colors ) คือ เกิดจาก การหักเหของแสงสีขาว

สวนสีใหมที่เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสงทัง้สามสี จะเรียกวา สีพื้นฐาน

ลบ (Subtractive primary colors ) คือ สีฟาไซแอน (Cyan) สีแดงมาเจนตา

(Magenta) และสีเหลือง (Yellow) ทั้งสามสีเปนแมสีแมใชในระบบการพิมพออฟ

เซท หรือที่เรียกวา ระบบสี CMYK โดยที่มีสีดํา (Black) เพิ่มเขามา

Page 60: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

แมสี Primary Colour

60

แมสี คอื สีที่นํามาผสมกันแลวทําใหเกิดสีใหม ที่มีลักษณะแตกตางไปจากสี

เดมิแมสี มือยู 2 ชนิด คอื

1. แมสีของแสง เกิดจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปรซิึม มี 3 สี คือ สี

แดง สีเหลือง และสีน้ําเงิน อยูในรูปของแสงรังสี ซึ่งเปนพลังงานชนิดเดียวที่มี

สี คุณสมบตัขิองแสงสามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทศัน การจัด

แสงสีในการแสดงตาง ๆ เปนตน

Page 61: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

แมสี Primary Colour (ตอ)

61

2. แมสีวัตถุธาตุ เปนสีที่ไดมาจากธรรมชาติ และจากการ

สังเคราะหโดยกระบวน ทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ํา

เงิน แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีที่นํามาใช งานกันอยางกวางขวาง ใน

วงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ

Page 62: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

62

แมสีวัตถุธาตุ เมื่อนํามาผสมกันตามหลักเกณฑ จะทําใหเกิด วงจรสี ซึ่งเปนวง

สี ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกันของแมสีวัตถุธาตุ เปนสีหลักที่ใชงานกันทัว่ไป

ใน วงจรสี จะแสดงสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้

Page 63: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

วงจรสี ( Colour Circle)

63

สีขั้นที่ 1 คือ แมสี ไดแก สีแดง สีเหลือง สีน้ําเงิน

สีขัน้ที่ 2 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 หรือแมสีผสมกันในอตัราสวนที่เทากัน จะทําให

เกิดสีใหม 3 สี ไดแก

สีแดง ผสมกับสีเหลือง ไดสี สม

สีแดง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีมวง

สีเหลือง ผสมกับสีน้ําเงิน ไดสีเขียว

Page 64: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

64

สีขั้นที่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกบัสีขั้นที่ 2 ในอัตราสวนที่เทากัน จะไดสีอื่น

อีก 6 สี คือ

สีแดง ผสมกับสีสม ไดสี สมแดง

สีแดง ผสมกับสีมวง ไดสีมวงแดง

สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวเหลอืง

สีน้ําเงิน ผสมกับสีเขียว ไดสีเขียวน้ําเงิน

สีน้ําเงิน ผสมกับสีมวง ไดสีมวงน้ําเงิน

สีเหลอืง ผสมกับสีสม ไดสีสมเหลือง

Page 65: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

65

วรรณะของสี คือสีที่ใหความรูสึกรอน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีรอน 7 สี และ

สีเย็น 7 สี ซึ่งแบงที่ สีมวงกับสีเหลือง ซึ่งเปนไดทั้งสองวรรณะ

Page 66: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

66

สีตรงขาม หรือสีตัดกัน หรือสีคูปฏิปกษ เปนสีที่มีคาความเขมของสี ตัดกัน

อยาง รุนแรง ในทางปฏิบัติไมนยิมนํามาใชรวมกัน เพราะจะทําใหแตละสีไม

สดใส เทาที่ควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทําไดดังนี้

1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึง่นอย

2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี

3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทัง้สองสี

Page 67: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

67

สีกลาง คือ สีที่เขาไดกับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ําตาล กับ สีเทา สี

น้ําตาล เกิดจากสีตรงขามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนที่เทากัน สีน้ําตาล

มี คุณสมบัติสําคัญ คือ ใชผสมกับสีอื่นแลวจะทําใหสีนั้น ๆ เขมขึน้โดยไม

เปลี่ยน แปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ

สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราสวนเทากัน สีเทา มีคุณสมบัติ ที่สําคัญ คือ ใชผสมกบัสี

อื่น ๆ แลวจะทําให มืด หมน ใชในสวนที่เปนเงา ซึ่งมนี้ําหนัก ออนแกในระดับตาง ๆ

ถาผสมมาก ๆ เขาจะกลายเปนสีเทา

Page 68: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ระบบสี RGB

68

ระบบสี RGB เปนระบบสีของแสง ซึ่งเกดิจากการหักเหของแสงผานแทงแกวปริซึม

จะเกิดแถบสีที่เรียกวา สีรุง ( Spectrum ) ซึ่งแยกสตีามที่สายตามองเห็นได 7 สี คือ

แดง แสด เหลือง เขียว น้ําเงิน คราม มวง ซึ่งเปนพลังงานอยูในรูปของรังสี ที่

มีชวงคลืน่ที่สายตาสามารถมองเห็นได แสงสีมวงมีความถี่คลื่นสูงที่สุด คลื่นแสง

ที่มีความถี่สูงกวาแสงสมีวง เรียกวา อุลตราไวโอเลต ( Ultra Violet ) และคลื่นแสงสี

แดง มีความถี่คลื่นต่ําที่สุด คลื่นแสง ที่ต่ํากวาแสงสีแดงเรียกวา อินฟราเรด (

Infrared) คลื่นแสงที่มคีวามถี่สูงกวาสีมวง และต่ํา กวาสีแดงนัน้ สายตาของมนษุย

ไมสามารถรับได และเมื่อศึกษาดูแลวแสงสีทั้งหมดเกิดจาก

Page 69: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การนํา RGB มาใชงาน

69

แสงสี 3 สี คือ สีแดง ( Red ) สีน้ําเงิน ( Blue)และสีเขียว ( Green )ทั้งสามสถีือ

เปนแมสี ของแสง เมื่อนํามาฉายรวมกันจะทําใหเกิดสีใหม อีก 3 สี คือ สีแดงมา

เจนตา สีฟาไซแอน และสีเหลือง และถาฉายแสงสทีัง้หมดรวมกันจะไดแสงสี

ขาว จากคุณสมบัติของแสงนี้เรา ไดนํามาใชประโยชนทั่วไป ในการฉาย

ภาพยนตร การบันทึกภาพวิดีโอ ภาพโทรทัศน การสรางภาพเพื่อการนําเสนอ

ทางจอคอมพิวเตอร และการจัดแสงสีในการแสดง เปนตน

RED BLUE GREEN

Page 70: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ระบบสี CMYK

70

ระบบสี CMYK เปนระบบสีชนิดที่เปนวัตถุ คือสีแดง เหลือง น้ําเงนิ แตไมใชสีน้ําเงิน

ที่เปนแมสีวัตถุธาตุ แมสีในระบบ CMYK เกิดจากการผสมกันของแมสีของแสง หรือ

ระบบสี RGB คือ

แสงสีน้ําเงิน + แสงสีเขียว = สีฟา (Cyan)

แสงสีน้ําเงิน + แสงสีแดง = สีแดง (Magenta)

แสงสีแดง + แสงสีเขียว = สีเหลือง (Yellow)

CYAN MAGENTA YELLOW BLACK

Page 71: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การนํา CMYK มาใชดานการพมิพ

71

ทั้ง 3 สี ไดแก สีฟา (Cyan) สีแดง (Magenta) สีเหลือง (Yellow) นีน้ํามาใชในระบบการ

พิมพ และ มีการเพิ่มเตมิ สีดําเขาไป เพื่อใหมนี้ําหนักเขมขึน้อกี เมื่อรวมสีดํา ( Black=K )

เขาไป จึงมีสี่สีโดยทั่วไปจึงเรียกระบบการพิมพนี้วาระบบการพิมพสี่สี ( CMYK )

ระบบการพิมพสี่สี ( CMYK ) เปนการพิมพภาพในระบบที่ทนัสมัยที่สุด และไดภาพ

ใกลเคียงกับภาพถายมากที่สุด โดยทําการพิมพทีละสี จากสีเหลือง สีแดง สีน้ําเงิน และ

สีดํา ถาลองใชแวนขยายสองดู ผลงานพมิพชนิดนี ้จะพบวา จะเกิดจากจุดสีเล็ก ๆ สี่สีอยู

เต็มไปหมด การทีเ่รามองเหน็ภาพมสีีตาง ๆ นอกเหนอืจากสี่สีนี้ เกิดจากการผสมของ

เม็ดสีเหลานี้ใน ปริมาณตาง ๆ คิดเปน % ของปริมาณเม็ดสี ซึ่งกําหนดเปน 10-20-30-

40-50-60-70-80-90 จนถึง 100 %

Page 72: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความรูสึกเกีย่วกบัสีในเชิงจิตวิทยา

72

-สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง

ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ อันตราย

-สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชวีา วัยรุน ความคึก

คะนอง การปลดปลอย ความเปรี้ยว การระวัง

-สีเหลือง ใหความรูสึกแจมใส ความสดใส ความราเริง ความเบิกบานสดชื่น

ชีวิตใหม ความสด ใหม ความสุกสวาง การแผกระจาย อํานาจบารมี

Page 73: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความรูสึกเกีย่วกบัสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ)

73

-ใหความรูสึก สงบ เงียบ รมรื่น รมเย็น การพักผอน การผอนคลาย ธรรมชาติ

ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขมุ เยือกเย็น

-สีน้ําเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนกัแนน เครงขรึม เอาการเอางาน

ละเอียด รอบคอบ สงางาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถอมตน

-สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาตดิตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลัง

แฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์

-สีฟา ใหความรูสึก ปลอดโปรงโลง กวาง เบา โปรงใส สะอาด ปลอดภัย

ความสวาง ลมหายใจ ความเปนอิสระเสรีภาพ การชวยเหลือ แบงปน

Page 74: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

ความรูสึกเกีย่วกบัสีในเชิงจิตวิทยา (ตอ)

74

-สีขาว ใหความรูสึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง ออนโยน เปดเผย การ

เกิด ความรัก ความหวงั ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม

-สีดํา ใหความรูสึก มืด สกปรก ลึกลับ ความสิ้นหวัง จุดจบ ความตาย

ความชั่ว ความลับ ทารุณ โหดราย ความเศรา หนักแนน เขมเข็ง อดทน มีพลงั

-สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส

วัยรุน หนุมสาว ความนารัก ความสดใส

-สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลบั ความหดหู ความชรา

ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถอมตน

-สีทอง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออา มีราคา สูงคา สิ่งสําคัญ ความ

เจริญรุงเรือง ความสุข ความมัง่คั่ง ความร่ํารวย การแผกระจาย

Page 75: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ

75

สีแดง

มีความอบอุน รอนแรง เปรียบดังดวงอาทติย นอกจากนี้ยงัแสดงถึงความมีชีวิตชีวา

ความรัก ความปรารถนา เชนดอกกุหลาบแดงวัน วาเลนไทน ในทางจราจรสีแดง

เปนเครื่องหมายประเภทหาม แสดง ถึงสิ่งที่อันตราย เปนสีที่ตองระวัง เปนสีของ

เลือด ในสมัยโรมัน สีของราชวงศเปนสีแดง แสดงความมั่งคั่งอุดมสมบูรณและ

อํานาจ

Page 76: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

76

สีเขียว

แสดงถึงธรรมชาติสีเขียว รมเย็น มักใชสื่อความหมายเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ

เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม การเกษตร การเพาะปลูกการเกิดใหม ฤดูใบไมผลิ การงอก

งาม ในเครื่องหมายจราจร หมายถึงความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน อาจหมายถงึ

อันตราย ยาพิษ เนื่องจากยาพิษ และสัตวมีพิษ ก็มักจะมีสีเขียวเชนกัน

Page 77: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

77

สีเหลือง

แสดงถึงความสดใส ความเบิกบาน โดยเรามักจะใชดอกไมสีเหลือง ในการไปเยี่ยม

ผูปวย และแสดงความรุงเรืองความมัง่คั่ง และฐานันดรศักดิ์ ในทางตะวันออกเปนสี

ของกษตัริย จักรพรรดิ์ของจนีใชฉลองพระองคสีเหลือง ในทางศาสนาแสดงความ

เจิดจา ปญญา พุทธศาสนาและยังหมายถงึการเจ็บปวย โรคระบาด ความริษยา

ทรยศ หลอกลวง

Page 78: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

78

สีน้ําเงิน

แสดงถึงความเปนสุภาพบุรุษ มีความสุขมุ หนกัแนน และยังหมายถึงความสูงศักดิ ์

ในธงชาติไทย สีน้ําเงินหมายถึงพระมหากษัตริย ในศาสนาคริตสเปนสีประจําตัวแม

พระ โดยทั่วไป สีน้ําเงินหมายถงึโลก ซึ่งเราจะ เรียกวา โลกสีน้ําเงนิ (Blue Planet)

เนื่องจากเปนดาวเคราะหทีม่องเห็นจากอวกาศโดยเห็นเปนสีน้ําเงินสดใส เนื่องจาก

มีพื้นน้ําที่กวางใหญ

Page 79: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

79

สีมวง

แสดงถึงพลัง ความมีอํานาจ ในสมัยอียปิตสีมวงแดงเปนสีของกษตัิรยตอเนื่องมา

จนถงึสมยัโรมัน นอกจากนี้ สีมวงแดงยังเปนสีชุดของพระสังฆราช สีมวงเปนสีที่มี

พลังหรือการมีพลังแอบแฝงอยู และเปนสีแหงความผูกพัน องคการลูกเสือโลกก็ใชสี

มวง สวนสีมวงออนมักหมายถึง ความเศรา ความผิดหวังจากความรัก

Page 80: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

80

สีฟา

แสดงถึงความสวาง ความปลอดโปรง เปรียบเหมือนทองฟา เปนอิสระเสรี เปนสีของ

องคการสหประชาชาติ เปนสีของความสะอาด ปลอดภัย สีขององคการอาหารและ

ยา (อย.) แสดงถงึการอนุรักษสิ่งแวดลอม การใชพลังงานอยางสะอาด แสดงถึง

อิสรภาพ ที่สามารถโบยบินเปนสีแหงความคิดสรางสรรคและจินตนาการที่ไมมี

ขอบเขต

Page 81: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

81

สีทอง

มักใชแสดงถึง คุณคา ราคา สิ่งของหายาก ความสําคัญ ความสูงสงสงูศักดิ์

ความศรัทธาสูงสุด ในศาสนาพุทธ หรือ เปนสีกายของพระพุทธรูป ในงาน

จิตรกรรมเปนสีกายของพระพุทธเจา พระมหากษตัิรย

หรือเปนสวนประกอบของเครื่องทรง เจดียตาง ๆ มกัเปนสีทอง หรือขาว และเปน

เครื่องประกอบยศศักดิ์ ของกษัตริยและขุนนาง

Page 82: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

82

สีขาว

แสดงถึงความสะอาด บริสุทธิ์ เหมือเด็กแรกเกิด แสดงถึงความวางเปลาปราศจาก

กิเลส ตัณหา เปนสีอาภรณของผูทรงศีล ความเชื่อถือ ความดีงาม ความศรัทธา และ

หมายถงึการเกิดโดยที่แสงสีขาว เปนที่กําเนดิของแสงสี ตาง ๆ เปนความรักและ

ความหวงั ความหวงใยเอื้ออาทรและเสียสละของ พอแม ความออนโยน จริงใจ บาง

กรณีอาจหมายถึง ความออนแอ ยอมแพ

Page 83: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

83

สีดํา

แสดงถึงความมดื ความลึกลับ สิ้นหวงั ความตายเปนที่สิ้นสุดของทกุสิ่ง โดยที่สีทุกสี

เมื่ออยูในความมืด จะเห็นเปนสีดํา นอกจากนี้ยงัหมายถงึ ความชั่วราย ในคริสต

ศาสนาหมายถงึ ซาตาน อาถรรพเวทมนต มนตดํา ไสยศาสตร ความชิงชัง ความ

โหดราย ทําลายลาง ความลุมหลงเมามวั แตยังหมายถงึความอดทน กลาหาญ

เขมแขง็ และเสียสละไดดวย

Page 84: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

การใชสีในเชิงสัญลกัษณ (ตอ)

84

สีชมพู

แสดงถึงความอบอุน ออนโยน ความออนหวาน นุมนวล ความนารัก แสดงถึงความ

รักของมนุษยโดยเฉพาะรุนหนุมสาว เปนสีของความ เอื้ออาทร ปลอบประโลม เอา

ใจใสดูแล ความปรารถนาดี และอาจ หมายถึงความเปนมิตร เปนสีของวัยรุน

โดยเฉพาะผูหญิง และนิยม ใชกับสิ่งของเครื่องใชของเด็กวัยรุนเปนสวนใหญ

Page 85: 11 สื่อผสม (multimedia) 001272

85

ซักซัก--ถามถาม