134
1 ตอนที1 บทสรุปสําหรับผูบริหาร 1. ประวัติสถานศึกษา พ.ศ. 2537 อาชีวศึกษาจังหวัดอุทัยธานี (โดย ผูอํานวยการ เถลิงเกียรติ โนนทนวงศ) ไดจัดทํา แผนรองรับการขยายโอกาสทางการศึกษาดานอาชีพใหมีความสอดคลองตอความตองการของประชาชน ซึ่งขณะนั้นเปนนโยบายของกองการศึกษาอาชีพ(โดย ผูอํานวยการกองอัมพร ภักดีชาติ) ไดใหการสนับสนุนใหมี การสํารวจความเหมาะสม ดานวิทยาลัยสารพัดชางเพื่อที่จะตอบสนองตอความตองของผูเรียนโดยผูที่อยู หางไกลเมืองที่ตองการเรียนสายวิชาชีพใหเปดวิทยาลัยการอาชีพในอําเภอที่มีความเหมาะสม สวนประชาชนทีตองการเรียนหลักสูตร วิชาชีพระยะสั้นก็ใหเปดวิทยาลัยสารพัดชางขึ้นรองรับ การดําเนินการในระยะแรก ไดมีการสํารวจพื้นที่ภายในอําเภอเมืองที่มีความเหมาะสมในป พ.ศ.2537 โดยกรมอาชีวศึกษาไดแตงตั้งให นายไชยยันต ถาวรวรณ ผูชวยผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี เปนผูประสานงานในการจัดตั้งวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ซึ่งไดเสนอบริเวณพื้นที่ราชพัสดุในบริเวณสนามบินเกา จังหวัดอุทัยธานี เนื้อที่ 20 ไร ตั้งอยูตําบลน้ําซึม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งตอมากรมธนารักษ กระทรวงการคลัง ไดอนุมัติพื้นที่จัดสรางวิทยาลัยอยูดานในสุดของพื้นทีเลขที่ 45 หมู 3 ตําบลน้ําซึม ถนนอุทัย-หนองฉาง อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดรับการประกาศจัดตั้งเมื่อวันที1 เมษายน 2539 ดวยเงินงบประมาณ 36 ลานบาท เปนที่ดินของราชพัสดุ กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง ตั้งอยูทิศใตของสนามบินเกาอุทัยธานี ตําบลน้ําซึม อําเภอเมือง จังหวัด อุทัยธานี โดยแยกจากถนน อุทัยธานี – หนองฉาง (ขางสํานักงานขนสงจังหวัดอุทัยธานี) เขาไปเปนระยะทาง 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 20 ไร พ.ศ. 2541 กรมอาชีวศึกษา มีคําสั่งแตงตั้ง นายไชยยันต ถาวรวรณ ผูชวยอํานวยการ วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี ใหดํารงตําแหนง ผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2541 และไดจัดการเรียนการสอนโดยในระยะแรกเปดรับนักศึกษาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น เพียงอยางเดียว ตอมาในป พ.ศ. 2542 เปดรับนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเปนตนมาจนถึงปจจุบัน 2. สถานที่ตั้งและลักษณะชุมชน 2.1 ที่ตั้งของสถานศึกษา วิทยาลัยสารพัดชางอุทันธานี ตั้งอยูเลขที45 หมูที3 ตําบลน้ําซึม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ในบริเวณสวนราชการใหมของจังหวัดอุทัยธานี โดยอยูดานในสุดของพื้นทีในเนื้อที20 ไร ลักษณะของ ชุมชนเปนแบบผสมผสาน บริเวณดานหนาทางเขามียานการคา หมูบาน และมีสวนราชการเรียงเปนแนวยาว จนถึงสถานศึกษา ซึ่งอยูในสุด บริเวณโดยรอบมีพื้นที่ทําการเกษตรเบาบาง เนื่องจากไมมีคลองหรือแมน้ํา เสนทางการจราจรสามารถเชื่อมโยงสูเสนทางอื่นได แตยังไมไดขยายเปนเสนทางหลักและไมมีรถประจําทาง วิ่งผานหนาสถานศึกษา (ระยะทางจากถนนใหญถึงสถานศึกษา 2 กิโมเมตร)

1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

1

ตอนท่ี 1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

1. ประวัติสถานศึกษา

พ.ศ. 2537 อาชีวศึกษาจังหวัดอุทัยธานี (โดย ผูอํานวยการ เถลิงเกียรติ โนนทนวงศ) ไดจัดทํา

แผนรองรับการขยายโอกาสทางการศึกษาดานอาชีพใหมีความสอดคลองตอความตองการของประชาชน

ซึ่งขณะน้ันเปนนโยบายของกองการศึกษาอาชีพ(โดย ผูอํานวยการกองอัมพร ภักดีชาติ) ไดใหการสนับสนุนใหมี

การสํารวจความเหมาะสม ดานวิทยาลัยสารพัดชางเพื่อที่จะตอบสนองตอความตองของผูเรียนโดยผูที่อยู

หางไกลเมืองที่ตองการเรียนสายวิชาชีพใหเปดวิทยาลัยการอาชีพในอําเภอที่มีความเหมาะสม สวนประชาชนที่

ตองการเรียนหลักสูตร วิชาชีพระยะสั้นก็ใหเปดวิทยาลัยสารพัดชางข้ึนรองรับ

การดําเนินการในระยะแรก ไดมีการสํารวจพื้นที่ภายในอําเภอเมืองที่มีความเหมาะสมในป พ.ศ.2537

โดยกรมอาชีวศึกษาไดแตงต้ังให นายไชยยันต ถาวรวรณ ผูชวยผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี

เปนผูประสานงานในการจัดต้ังวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ซึ่งไดเสนอบริเวณพื้นที่ราชพัสดุในบริเวณสนามบินเกา

จังหวัดอุทัยธานี เน้ือที่ 20 ไร ต้ังอยูตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งตอมากรมธนารักษ

กระทรวงการคลัง ไดอนุมัติพื้นที่จัดสรางวิทยาลัยอยูดานในสุดของพื้นที่ เลขที่ 45 หมู 3 ตําบลนํ้าซึม

ถนนอุทัย-หนองฉาง อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ไดรับการประกาศจัดต้ังเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2539 ดวยเงินงบประมาณ 36 ลานบาท เปนที่ดินของราชพัสดุ

กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง ต้ังอยูทิศใตของสนามบินเกาอุทัยธานี ตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัด

อุทัยธานี โดยแยกจากถนน อุทัยธานี – หนองฉาง (ขางสํานักงานขนสงจังหวัดอุทัยธานี) เขาไปเปนระยะทาง

2 กิโลเมตร มีเน้ือที่ 20 ไร

พ.ศ. 2541 กรมอาชีวศึกษา มี คําสั่ งแตงต้ัง นายไชยยันต ถาวรวรณ ผูชวยอํานวยการ

วิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี ใหดํารงตําแหนง ผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เมื่อวันที่ 24 กันยายน

พ.ศ. 2541 และไดจัดการเรียนการสอนโดยในระยะแรกเปดรับนักศึกษาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น เพียงอยางเดียว

ตอมาในป พ.ศ. 2542 เปดรับนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพเปนตนมาจนถึงปจจุบัน

2. สถานท่ีต้ังและลักษณะชุมชน

2.1 ท่ีต้ังของสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทันธานี ต้ังอยูเลขที่ 45 หมูที่ 3 ตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี

ในบริเวณสวนราชการใหมของจังหวัดอุทัยธานี โดยอยูดานในสุดของพื้นที่ ในเน้ือที่ 20 ไร ลักษณะของ

ชุมชนเปนแบบผสมผสาน บริเวณดานหนาทางเขามียานการคา หมูบาน และมีสวนราชการเรียงเปนแนวยาว

จนถึงสถานศึกษา ซึ่งอยูในสุด บริเวณโดยรอบมีพื้นที่ทําการเกษตรเบาบาง เน่ืองจากไมมีคลองหรือแมนํ้า

เสนทางการจราจรสามารถเช่ือมโยงสูเสนทางอื่นได แตยังไมไดขยายเปนเสนทางหลักและไมมีรถประจําทาง

ว่ิงผานหนาสถานศึกษา (ระยะทางจากถนนใหญถึงสถานศึกษา 2 กิโมเมตร)

Page 2: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

2

สถานท่ีต้ังวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

เลขท่ี 45 หมู 3 ตําบลนํ้าซึม อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี

Page 3: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

3

แผนผังบริเวณภายในสถานศึกษา

1

2

3

4

5

6 7

8

9 10

11

12

13

13

13

14 14

14

15 16

17

152 ม.

321 ม.

280 ม.

139 ม.

รายละเอียดสิ่งกอสรางที่มีอยูในปจจุบัน

1. พระประจําสถานศึกษา

2. อาคารสํานักงานหอประชุม

3. โรงจอดรถ

4. อาคารสํานักงานองคกรวิชาชีพ

5. เสาธงวิทยาลัยฯ

6. ปายชื่อวิทยาลัยฯ

7. พระวิษณุกรรม

8. อาคารเรียน 1 (3 ชั้น)

9. อาคารเรียน 2 (3 ชั้น)

10. อาคารโรงฝกงาน 4 ชั้น

11. บานพักผูอํานวยการ

12. โรงจอดรถบานพักครู

13. บานพักครู 6 หนวย 3 หลัง

14. บานพักนักการภารโรง

15. สนามกีฬา

16. ร้ัวคอนกรีตบล็อก

17. ระบบประปาบาดาล

Page 4: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

4

2.2 สภาพชุมชน เศรษฐกิจ สังคม ท่ีต้ังของจังหวัดอุทัยธานี

2.2.1. ขอมูลโดยสรุปของจังหวัดอุทัยธานี พ.ศ.2553

คําขวัญจังหวัด อุทัยธานี เมืองพระชนกจักรี ปลาแรดรสดี ประเพณีเทโว สมโอ

บานนํ้าตก มรดกโลกหวยขาแขง แหลงตนนํ้าสะแกกรัง ตลาดนัดดัง

โคกระบือ

วิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดอุทัยธานี “อุทัยธานี เมืองทองเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย สังคมอุทัย

ผาสุก”

ตนไมประจําจังหวัด ตนสะเดา

ดอกไมประจําจังหวัด ดอกสุพรรณิการ

พ้ืนท่ี 4,206,404 ไร (6,730.246 ตร.กม.) เปนพื้นที่ปาไม 1,992,471 ไร

(47.36%) พื้นที่การเกษตร 2,034,209 ไร (48.36%) ที่เหลือ

เปนพื้นที่ไมไดจําแนก 179,643 ไร (4.28%) (พื้นที่เพาะเลี้ยง

สัตวนํ้าจืด 6,125.83 ไร )

สถานท่ีต้ังอาณาเขตติดตอ ต้ังอยูภาคเหนือตอนลางหางจากกรุงเทพฯ 222 กิโลเมตร มีอาณาเขต

ทิศเหนือติดกับจังหวัดนครสวรรค ทิศตะวันออกติดตอกับจังหวัด

นครสวรรคและจังหวัดชัยนาท ทิศใตติดตอกับจังหวัดชัยนาทและ

สุพรรณบุรี ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดตากและจังหวัดกาญจนบุรี

ประชากร รวมทั้งสิ้น 327,879 คน เปนชาย 161,289 คน เปนหญิง 166,590

คน จํานวนครัวเรือน 106,640 ครัวเรือน

หนวยการปกครอง 8 อําเภอ 70 ตําบล 642 หมูบาน 49 องคการบริหารสวน

ตําบล 14 เทศบาล

หนวยราชการ สวนภูมิภาค 32 หนวย สวนกลาง 25 หนวยงาน หนวยงาน

อิสระ 4 หนวยงาน

การเลือกต้ัง 2 เขตเลือกต้ัง มี ส.ส. 2 คน และมี สว. 1 คน

รายได ประชากรมีรายไดเฉลี่ยตอหัว 60,630 บาท ตอป

อาชีพหลัก เกษตรกรรม ประมง รับจาง

พืชเศรษฐกิจ ขาว ออย สับปะรด มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว

การพาณิชกรรม ยอดลงทุนธุรกิจที่เปนนิติบุคคล 61,800,000 บาท

อุตสาหกรรม จํานวนสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม 257 แหง คนงาน

3,330 คน เปนชาย 2,068 คน เปนหญิง 1,272 คน เงินทุน

2,673,526,016 บาท

แรงงานและสถานประกอบการ สถานประกอบการ 778 แหง ลูกจางทั้งหมด 11,770 คน

การจัดการศึกษา มีสถานศึกษา 300 แหง (อาชีวศึกษา 5 แหง)

Page 5: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

5

ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ รอยละ 99.62 รองลงมาคือ คริสต อิสลาม

โรงเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษาจํานวน 21 แหง ,โรงเรียนประถมศึกษา

จํานวน 256 แหง , วิทยาลัยประเภทอาชีวศึกษารัฐบาลจํานวน

4 แหง , เอกชนจํานวน 1 แหง , โรงเรียนเทศบาลจํานวน 5 แหง ,

โรงเรียนกรมการศาสนาจํานวน 3 แหง , ทบวงมหาวิทยาลัยจํานวน

4 แหง จํานวนนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจํานวน

2,805 คน จํานวนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง

จํานวน 1,632 คน , จํ านวนครู อาจารย ผู สอนระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพและประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง จํานวน

215 คน

2.2.2 สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดอุทัยธานี จากการทํายุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด

แบบบูรณาการสงผลตอแนวคิดในการปรับแผนการจัดการศึกษาใหสอดคลองตอสภาพเศรษฐกิจของ

กลุมจังหวัด ซึ่งจังหวัดอุทัยธานีถูกจัดใหอยูในกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง กลุมที่ 2 ประกอบดวย

จังหวัดนครสวรรค อุทัยธานี กําแพงเพชรและพิจิตร วิสัยทัศนของกลุมจังหวัด เปนศูนยธุรกิจขาวชั้นนํา

ของประเทศไทย (Rice Hub of Thailand) มีพันธกิจ คือสงขาวและผลิตภัณฑแปรรูปจากขาวออกสูตลาด

ภายในประเทศและตลาดโลก วิสัยทัศนจังหวัดอุทัยธานี “อุทัยธานี เมือทองเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย

สังคมอุทัยผาสุก” โดยจังหวัดอุทัยธานีไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด แบบบูรณาการใหหัวหนาสวน

ราชการปรับแผนพัฒนารวมกับจังหวัด (ปจจุบันมีรายไดเฉลี่ย 60,630 บาท/คน/ป เปนลําดับที่ 50 ของ

ประเทศและเปนลําดับที่ 10 ของภาคเหนือ) และประชาชนมีคุณภาพชีวิต ผานเกณฑความจําเปนพื้นฐาน

(จปฐ.) ที่กําหนด 37 ตัวช้ีวัด จึงเปนภารกิจที่มีอิทธิพลตอการจัดการอาชีวศึกษาที่ตองจัดใหสอดคลองตาม

ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดซึ่งเปนไปตามเปาประสงคของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

2.2.3 ดานสังคม วิทยาลัยเปนสถานศึกษาหน่ึงใน 300 แหงของจังหวัด จัดการศึกษาในแบบ

อาชีวศึกษา โดยมีสถานศึกษาภายในจังหวัด ไดแก โรงเรียนมัธยมศึกษา 21 แหง , ประถมศึกษา 256 แหง ,

อาชีวศึกษาของรัฐบาล 4 แหง , อาชีวศึกษาเอกชน 1 แหง , โรงเรียนเอกชน 10 แหง , โรงเรียนเทศบาล

5 แหง , กรมการศาสนา (ศน.) 3 แหง , ทบวงมหาวิทยาลัย 4 แหง , มีจํานวนนักเรียน นักศึกษา ประเภท

อาชีวศึกษา 4,437 คน แยกเปนระดับ ปวช. 2,805 คน ปวส. 1,632 คน มีครู อาจารยในระดับ ปวช.

และ ปวส. รวม 215 คนวิทยาลัยมีสวนรวมในโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ , โครงการรวมดวยชวยประชาชน,

โครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน , รวมทั้งใหบริการตาง ๆ ตามที่จังหวัดหรือหนวยงานตาง ๆ ขอความรวมมือ

ในภาพรวมประชาชนทั่วไปมีความต่ืนตัวตอการศึกษาของบุตรหลาน และขวนขวายที่จะศึกษาหลักสูตรวิชาชีพ

ตาง ๆ เพิ่มเติม เพื่อเปนอาชีพสํารองและอาชีพหลักใหแกตนเอง

Page 6: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

6

3. ปรัชญาการจัดการศึกษาของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

ความรู คูคุณธรรม นําสูอาชีพ

KNOWLEDGE AND MORAL FOR SUCCESSFUL CAREER

ความรู : มีความรอบรูในสรรพวิทยาทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ

คูคุณธรรม : มีจิตใจที่ดีงามมีความซื่อสัตยตออาชีพและรวมรับผิดชอบตอสังคม

นําสูอาชีพ : มุงมั่นใหผูเรียนมีการพัฒนาการไปสูระดับมืออาชีพอยางแทจริง

4. วิสัยทัศน (Vision)

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี เปนองคกรการเรียนรูเพื่อพัฒนาคนใหมีความรู ความสามารถมี

ทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรม นําสูการพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพได

5. พันธกิจ (Mission)

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี มุงจัดการศึกษาดานวิชาชีพและฝกอบรมอาชีพระยะสั้นเพื่อผลิตและ

พัฒนากําลังคนอยางมีคุณภาพและไดมาตรฐาน สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีสามารถ

ตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระในดานตางๆ ดังน้ี

5.1 จัดการศึกษาดานอาชีวศึกษาประเภทชางอุตสาหกรรมและพณิชยกรรม ต้ังแตระดับช้ัน ปวช.

ข้ึนไปใหไดทรัพยากรบุคคลที่มีความรูและทักษะในวิชาชีพ ตลอดทั้งใหมีจริยธรรม คุณธรรม ทัศนคติ ตลอดจน

จรรยาบรรณที่ดีงามในวิชาชีพ ทั้งน้ีเพื่อที่จะดํารงตนใหอยูในสังคมอยางมีคุณภาพและมีความสุข

5.2 จัดการศึกษาประเภทหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ใหแกประชาชนทั่วไปตามความสนใจตาม

ความถนัดเพื่อพัฒนาไปสูการเปนผูประกอบการและเปนพลเมืองดีของสังคม เปนแหลงเรียนรูเพื่อเสริมวิชาชีพ

ใหแกนักเรียนโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษา เพื่อใหเกิดจินตภาพ และจินตนาการ ตอเสนทางสายอาชีพใน

อนาคตอันใกล

5.3 ใหบริการทางวิชาการ สื่อสารสนเทศในดานวิชาชีพ แกชุมชน องคการสวนทองถ่ินทั้งใน

ภาครัฐและเอกชน

5.4 ดําเนินกิจกรรมในการอนุรักษ สงเสริมศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ใหคงเปนเอกลักษณ

ของชาติสืบไป

5.5 ดําเนินกิจกรรมเพื่อปองกันและแกไขปญหาผลกระทบที่มีตอรางกายและจิตใจของบุคคล รวม

อนุรักษสังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม

5.6 สงเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาภารกิจดานการเรียนการสอน

5.7 พัฒนาและเพิ่มพูนศักยภาพบุคลากรของวิทยาลัยใหมีความรู ความสามารถในดานอาชีพใหได

มาตรฐานสากล

Page 7: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

7

6. สิ่งศักด์ิสิทธิ์ประจําสถานศึกษา

พระพุทธรูปปางประธานพร “พระศรีอาริยะพุทธสาระวิทยา”

องควิษณุกรรม

สีประจําสถานศึกษา เลือดหมู - ขาว

สีเลือดหมู แสดงถึง ชีวิตและความเขมขนทางวิชาการ

สีขาว แสดงถึง คุณธรรมประจําใจ

7. เกียรติยศและชื่อเสียง

วิทยาลัยมีความมุงเนนพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในแตละดานและไดรับการประกาศจาก

กระทรวงศึกษาธิการ เปนสถานศึกษาระดับรางวัลพระราชทาน ประเภทอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา

2549 โดยมีผลประจักษและโลรางวัลดังน้ี

ป พ.ศ. รายละเอียด

พ.ศ. 2541 -ไดรับโล “สภาพเริ่มแรก สถานศึกษาใหม เหมาะสมยอดเย่ียม” ปการศึกษา 2538-2539

พ.ศ. 2545 -นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ชนะเลิศการแขงขันเดินสายไฟฟา ในงานศิลปะหัตกรรม

-นักเรียน ครั้งที่ 54 ภาคกลางและภาคตะวันออก

พ.ศ. 2547 -นักเรียนสาขาวิชาชางยนตไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 2 ในการแขงขันรายการฮอนดา

ประหยัดนํ้ามันเช้ือเพลิง ระดับชาติ ประเภทรถประดิษฐ ขนาด 120 CC.

พ.ศ. 2548 -ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาคและรางวัลชมเชยระดับชาติ “เครื่องผลิตหมูเสน”

สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม

พ.ศ. 2549 -ไดรับรางวัลสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ประเภทอาชีวศึกษา ประจําปการศึกษา 2549

พ.ศ. 2551 -นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาคในการแขงขัน

ทักษะวิชาชีพสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ประเภทการติดต้ังเครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ

พ.ศ. 2552 -นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค ในการแขงขัน

ทักษะวิชาชีพ ภาคเหนือ ปการศึกษา 2552

- นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟา ไดรับรางวัลชนะเลิศ ระดับชาติ ในการแขงขันทักษะวิชาชีพ

ระดับชาติ ทักษะงานเครื่องปรับอากาศ ครั้งที่ 19 ประจําปการศึกษา 2552

พ.ศ. 2553 -นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ไดลําดับท่ี 4 การแขงขันติดต้ังเครื่องปรับอากาศ เน่ืองใน

วันครูโลก ณ อิมแพคเมืองทองธานี

-นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟากําลัง ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค ในการแขงขัน

ทักษะวิชาชีพ งานเครื่องปรับอากาศ ภาคเหนือ ปการศึกษา 2553

-นักเรียนสาขาวิชาชางไฟฟา ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอับดับ 2 ระดับชาติ การแขงขันทักษะ

งานติดต้ังเครื่องปรับอากาศ ประจําปการศึกษา 2553

Page 8: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

8

8. ระบบโครงสรางการบริหารของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีไดกระจายอํานาจการบริหารจัดการใหครูและบุคลากรในวิทยาลัยฯ ไดรวมวางแผน รวมตัดสินใจ และปฏิบัติงานรวมกันเพื่อใหบรรลุเปาหมาย

และไดแบงการดําเนินงานออกเปนฝาย 4 ฝาย ตามโครงสรางการบริหารสถานศึกษา โดยมีผูอํานวยการวิทยาลัย เปนผูบริหารสูงสุด

งานส่ือการเรียนการสอน งานโครงการพิเศษและการบริการชุมชน งานสงเสริมผลิตผล การคา และประกอบธุรกิจ

งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาค ีงานสวัสดิการนักเรียนนักศึกษา งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

งานวิทยบริการและหองสมุด งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและส่ิงประดิษฐ

งานวัดผลและประเมินผล งานปกครอง งานความรวมมือ

งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน งานครูที่ปรึกษา งานศูนยขอมูลสารสนเทศ

แผนกวิชา งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา งานวางแผนและงบประมาณ งานบริหารงานทั่วไป

ฝายวิชาการ ฝายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา ฝายแผนงานและความรวมมือ ฝายบริหารทรัพยากร

คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผูอํานวยการวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

งานประชาสัมพันธ

งานบุคลากร

งานการเงิน

งานการบัญชี

งานพัสดุ

งานอาคารและสถานที ่

งานทะเบียน

Page 9: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

9

สถานศึกษาแบงหนวยงานออกเปนฝาย ดังตอไปน้ี

1. ฝายบริหารทรัพยากร มีหนาท่ี และรับผิดชอบ ควบคุมดูแล

- งานบริหารงานทั่วไป

- งานบุคลากร

- งานการเงิน

- งานการบัญชี

- งานพัสดุ

- งานอาคารสถานที ่

- งานทะเบียน

- งานประชาสัมพันธ

2. ฝายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา มีหนาท่ี และรับผิดชอบ ควบคุมดูแล

- งานกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา

- งานครูที่ปรึกษา

- งานปกครอง

- งานแนะแนวอาชีพและการจัดหางาน

- งานสวัสดิการนักเรียนนักศึกษา

- งานโครงการพิเศษและการบริการชุมชน

3. ฝายแผนงานและความรวมมือ มีหนาท่ี และรับผิดชอบ ควบคุมดูแล

- งานวางแผนและงบประมาณ

- งานศูนยขอมูลสารสนเทศ

- งานความรวมมือ

- งานวิจัยพัฒนานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

- งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

- งานสงเสริมผลิตผล การคา และประกอบธุรกิจ

4. ฝายวิชาการ มีหนาท่ี และรับผิดชอบ ควบคุมดูแล

- แผนกวิชา

- งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน

- งานวัดผลและประเมินผล

- งานวิทยบริการและหองสมุด

- งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

- งานสื่อการเรียนการสอน

Page 10: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

10

ตอนท่ี 2 สภาพในปจจุบันของสถานศึกษา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี (ปการศึกษา 2553) ปฏิบัติภารกิจดานการจัดการศึกษา ดานวิชาชีพและ

งานดานนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยการจัดการศึกษาในระดับประกาศนียบัตร

วิชาชีพในแบบเรียนเต็มเวลาและในแบบที่เปดโอกาสใหผูเรียนไดมีการเทียบโอน สอบเทียบความรูและ

ประสบการณ จัดการศึกษาหลักสูตรเสริมวิชาชีพแกนประถมและมัธยมใหกับโรงเรียนตางๆในเขตพื้นที่จังหวัด

อุทัยธานีเปดสอนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นแกประชาชนทั่วไป โดยมีองคประกอบในดานตางๆ ดังน้ี

1. สถานท่ีและสิ่งกอสราง

ลําดับ

เลขท่ีโฉนด

หรือเลขท่ี

อาคาร

รายการ จํานวน ราคา (บาท) หมาย

เหตุ

1 อน 272

(บางสวน)

ที่ดินที่ราชพัสดุ 1 แปลง -

2 01 อาคารเรียนและปฏิบัติการ 3 ช้ัน (ตึก 1) 1 หลัง 20,959,330.00

3 03 อาคารหอประชุมพรอมสํานักงาน 1 หลัง 5,594,290.00

4 04 บานพักผูบริหารระดับ 7 - 8 1 หลัง 607,000.00

5 05 บานพักครูเรือนแถว 18 หนวย 18 หลัง 6,600,000.00

6 08 บานพักนักการภารโรง 4 หนวย 4 หลัง 1,099,998.00

7 11-12 สนามบาสเก็ตบอล 2 สนาม 250,000.00

8 13 รั้ว คสล. พรอมปายช่ือและเหล็กดัด 1,295,706.00

9 14 ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หนา 12 cm. 540,000.00

10 15 ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หนา 200 ตร.ซม. 618,573.00

11 16 ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก หนา 12 cm. 639,761.40

12 18 ระบบประปาบาดาล 1 ระบบ 2,359,000.00

13 19 อาคารโรงฝกงาน 4 ช้ัน 1 หลัง 18,000,000.00

รวมท้ังสิ้น 58,563,658.40

Page 11: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

11

2. บุคลากร

2.1 บุคลากรท้ังหมด แสดงจํานวนบุคลากรทั้งหมด จําแนกตาม ตําแหนง เพศ

ตําแหนง เพศ

รวม หมายเหตุ ชาย หญิง

1. ผูอํานวยการวิทยาลัย 1 - 1

2. รองผูอํานวยการ 2 - 2

3. ขาราชการคร ู 2 1 3

4. พนักงานราชการ 8 5 13

5. ครูพิเศษรายเดือน 2 2 4

6. เจาหนาที ่ 1 10 11

7. ลูกจางจางเหมาบริการ 3 1 4

รวม 19 19 38

2.2 ฝายบริหาร แสดงจํานวนและระดับการศึกษา

ตําแหนง จํานวน ระดับการศึกษา

ปริญญาโท ปริญญาตร ี ตํ่ากวาปริญญาตร ี

1. ผูอํานวยการ 1 - 1 -

2. รองผูอํานวยการ 2 2 - -

2.3 สายผูสอน แสดงจํานวนครูสายการสอน จําแนกตามสาขาวิชา ตําแหนง และระดับการศึกษา

คณะวิชา/แผนกวิชา ขาราช

การ

พนักงาน

ราชการ

ครู

พิเศษ

สอน

รวม

ระดับการศึกษา

สูงกวา

ปริญญาตร ีปริญญาตร ี

ตํ่ากวา

ปริญญาตร ี

1. ชางยนต - 3 - 3 - 3 -

2. ชางไฟฟา 1 1 - 2 - 2 -

3. เทคนิคพื้นฐาน - - 1 1 - 1 -

4. แผนกบัญชี 2 3 - 5 - 5 -

5. แผนกคอมพิวเตอร - 4 - 4 - 4 -

6. แผนกคหกรรม - - 2 2 - 2 -

7. แผนกสามัญสัมพันธ - 2 1 3 - 3 -

รวมท้ังหมด 3 13 4 20 20

Page 12: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

12

2.4 สายสนับสนุนการสอน

แสดงจํานวนบุคลากรสายสนับสนุนการเรียนการสอนจําแนกตามการปฏิบัติหนาที ่

การปฏิบัติหนาท่ี ชาย หญิง รวม หมายเหตุ

1. เจาหนาที่งานบริหารงานทั่วไป - 2 2

2. เจาหนาที่งานกิจกรรม - 1 1

3. เจาหนาที่งานวิทยบริการและหองสมุด - 1 1

4. เจาหนาที่งานทะเบียน - 1 1

5. เจาหนาที่งานพัสดุ - 2 2

6. เจาหนาที่งานบัญชี - 1 1

7. เจาหนาที่งานการเงิน - 1 1

8. พนักงานขับรถยนต 1 - 1

9. นักการภารโรง 2 1 3

10. ยามรักษาความปลอดภัย 1 - 1

รวมท้ังหมด 4 10 14

3. หลักสูตรท่ีเปดสอน

ปจจุบันสถานศึกษา ไดดําเนินการบริหารกิจการสถานศึกษา วางแผนการปฏิบัติงาน พัฒนาสภาพ

ภายในและสิ่งแวดลอม ไปดวยความเจริญกาวหนา และจัดการศึกษาอาชีวศึกษาตามพระราชบัญญัติการ

อาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 8 โดยจัดการเรียนการสอนจํานวน 4 หลักสูตร ไดแก

3.1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช. )

3.1.1 ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม

- สาขางานยานยนต

- สาขางานไฟฟา

3.1.2 ประเภทวิชาพณิชยกรรม

- สาขางานการบัญชี

- สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ

3.2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ( ปวส. เทียบโอนประสบการณ)

3.2.1 ประเภทวิชาพณิชกรรม

- สาขางานบัญชี

- สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ

Page 13: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

13

3.3 หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น

3.3.1 ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม

- สาขางานยานยนต

- สาขางานไฟฟา

3.3.2 ประเภทวิชาพณิชยกรรม

- สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ

- สาขางานบัญชี

3.3.3 ประเภทวิชาคหกรรมทั่วไป

- กลุมวิชาชางเสริมสวย

- กลุมวิชาอาหารและขนม

- กลุมวิชาศิลปะประดิษฐ

3.4 หลักสูตรเสริมวิชาชีพแกนประถม/มัธยมศึกษา

3.4.1 ประเภทวิชาพณิชยกรรม

- สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ

- สาขางานบัญชี

3.4.2 ประเภทวิชาคหกรรมทั่วไป

- กลุมวิชาอาหารและขนม

- กลุมวิชาศิลปะประดิษฐ

4. จํานวนนักเรียน นักศึกษา ปการศึกษา 2553

4.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

- นักเรียนระดับ ปวช. ช้ันปที่ 1 65 คน

- นักเรียนระดับ ปวช. ช้ันปที่ 2 30 คน

- นักเรียนระดับ ปวช. ช้ันปที่ 3 47 คน

- รวมจํานวนนักเรียนระดับ ปวช. ทั้งหมด 142 คน

4.2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เทียบโอน MOU 20 คน

4.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส. เทียบโอนประสบการณ)

- นักศึกษาระดับ ปวส. ช้ันปที่ 1 5 คน

- นักศึกษาระดับ ปวส. ช้ันปที่ 2 8 คน

- รวมจํานวนนักศึกษาระดับช้ัน ปวส. ทั้งหมด 13 คน

4.4 หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น (บุคคลทั่วไป)

- ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม จํานวนผูเรียน 292 คน

- ประเภทวิชาพาณิชยกรรม จํานวนผูเรียน 2,052 คน

Page 14: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

14

- ประเภทวิชาคหกรรม จํานวนผูเรียน 253 คน

- รวมจํานวนผูเรียนหลกัสูตรวิชาชีพระยะสั้น ทั้งหมด 2,597 คน

4.5 หลักสูตรเสรมิวิชาชีพแกนประถม/มัธยมศึกษา (นักเรียนโรงเรียนประถม/มัธยม)

4 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม จํานวนนักเรียน 701 คน

5 ประเภทวิชาคหกรรม จํานวนนักเรียน 847 คน

6 รวมจํานวนนักเรียนหลักสูตรเสริมวิชาชีพแกนมัธยมศึกษาทั้งหมด 1,548 คน

แสดงจํานวนนักเรียน นักศึกษา จําแนกตามหลักสูตรและเพศ

ระดับชั้น จํานวนนักเรียน นักศึกษา

ชาย หญิง รวม

ปวช.1 78 25 103

ปวช.2 41 15 56

ปวช.3 68 20 88

รวม 187 60 247

ปวส. เทียบโอนประสบการณ 4 4 8

ระยะสั้น 1,315 1,282 2,597

เสริมวิชาชีพ 842 706 1,548

ทวิภาคี(เรือนจํา) 146 42 188

รวม 2,307 2,034 4,341

รวมท้ังสิ้น 2,494 2,094 4,588

แสดงจํานวนนักเรียนหลักสูตร ปวช. จําแนกตามชั้นปและสาขาวิชา

ระดับชั้น

สาขาวิชา

ชางยนต

สาขาวิชา

ชางไฟฟา

กําลัง

สาขา

คอมพิวเตอรธุรกิจ

สาขาวิชา

บัญชี รวม

ปวช.1 34 8 15 8 65

ปวช.2 19 - 7 4 30

ปวช.3 27 7 8 5 47

รวมท้ังสิ้น 80 15 30 17 142

อัตตาสวนคร ู(20) : ผูเรียน (142) = 1 : 7

Page 15: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

15

แสดงจํานวนผูเรียนหลักสูตรระยะสั้น จําแนกตามสาขาวิชา

ระดับชั้น สาขา

อุตสาหกรรม

สาขา

พาณิชกรรม

สาขา

คหกรรม รวม

หลักสูตรหลากหลาย 292 2,052 253 2,597

รวมท้ังสิ้น 292 2,052 253 2,597

แสดงจํานวนผูเรียนหลักสูตรเสริมวิชาชีพแกนประถม/มัธยม จําแนกตามสาขาวิชา

ระดับชั้น สาขา

อุตสาหกรรม

สาขา

พาณิชกรรม

สาขา

คหกรรม รวม

หลักสูตรหลากหลาย - 701 847 1,548

รวมท้ังสิ้น - 701 847 1,548

5. งบประมาณจํานวนท้ังสิ้น 15,682,349.95 บาท รายละเอียดในตาราง

ตารางแสดงงบดําเนินการ งบประมาณประจําปการศึกษา 2553

รายการ จํานวนเงิน (บาท)

1. งบบุคลากร

(เงินเดือน, เงินประจําตําแหนง, เงินวิทยฐานะ, คาจางลูกจางประจํา)

4,671,472.07

2. งบดําเนินงาน

2.1 งบดําเนินงาน (ของแผนงานโครงการในแผนปฏิบัติการประจําป) 781,400

2.2 คาสาธารณูปโภค 340,188.66

3. คาเสื่อมราคา 4,910,574.22

4. งบเรียนฟรี 15 ป: คาจัดการเรียนการสอน (งบอุดหนุนข้ันพื้นฐาน)

4.1 คาจัดการเรียนการสอน 3,409,450

4.2 คาหนังสือเรียน+เครื่องแบบ+อุปกรณ+กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 544,265

5. งบรายจายอื่น ๆ (เงินอุดหนุนโครงการพิเศษตาง ๆ)

5.1 โครงการ Fix it Center 885,000

5.2 โครงการทําดีมีอาชีพ 27,00

5.3 สิ่งประดิษฐของคนรุนใหม 60,00

5.4 โครงการคุณธรรมนําความรูสูเศรษฐกิจพอเพียง 100,000

5.5 โครงการหารายไดระหวางเรียน 40,000

รวมงบดําเนินการท้ังสิ้น 15,682,349.95

Page 16: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

16

ตอนท่ี 3

ยุทธศาสตร และกลยุทธเพื่อการพัฒนา

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี โดยคณะกรรมการสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา

ไดรวบรวมแนวคิดในการกําหนดยุทธศาสตรและกลยุทธ เพื่อพัฒนาสถานศึกษาตามแหลงความรูตาง ๆ ดังน้ี

1. นโยบายของสํานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในป พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ดังน้ี

วิสัยทัศน

ผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาอยางมีคุณภาพไดมาตรฐาน ตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน

และสังคมระดับประเทศ และภูมิภาคอาเซียน

พันธกิจ

1. จัดและสงเสริมการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพใหมีคุณภาพมาตรฐาน

2. ขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพอยางทั่วถึงและเสมอภาค

3. วิจัย สรางนวัตกรรม พัฒนาองคความรู เพื่อการพัฒนาอาชีพ

ในการผลักดันให วิสัยทัศน และพันธกิจบรรลุตามเปาหมายน้ัน สํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษาไดกําหนดยุทธศาสตรไว 6 ยุทธศาสตร 35 กลยุทธ ดังน้ี

ยุทธศาสตรท่ี 1 : การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพใหมีคุณภาพมาตรฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ

โดยคํานึงถึงคุณธรรมและความเปนเลิศทางวิชาชีพการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ

จะเนนการผลิตกําลังคนใหมีคุณภาพมาตรฐาน มีเสนทางอาชีพที่ชัดเจน เพื่อสนับสนุนขีดความสามารถในการ

แขงขันของประเทศ ตลอดจนใหมีการรับรองสมรรถนะของบุคคลในการประกอบอาชีพ เสริมสรางทักษะการ

เปนผูประกอบการ และสรางคานิยมที่ดีตอการอาชีวศึกษา โดยมีเปาประสงคใหผูสําเร็จอาชีวศึกษาและการ

ฝกอบรมวิชาชีพมีคุณภาพ มาตรฐาน มีงานทําและดํารงชีวิตอยางมีความสุขในสังคม โดยมีกลยุทธหลักคือ

1. พัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา

2. เรงรัดพัฒนาคุณภาพและสมรรถนะผูเรียน

3. สรางมาตรฐานและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล

4. สงเสริมการประกันคุณภาพสถานศึกษา

5. สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

6. พัฒนาสถานศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาใหไดมาตรฐาน มีความเปนเลิศทางวิชาชีพ

7. สรางเสริมประสบการณวิชาชีพ ปลูกจิตอาสา ดวยการบริการสังคม

Page 17: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

17

8. สงเสริมใหนําเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ นวัตกรรม มาใชในการเรียนการสอน เสริมสรางทักษะการ

เปนผูประกอบการ

9. สรางภาพลักษณที่ดีตอการอาชีวศึกษา

ยุทธศาสตรท่ี 2 : สรางเครือขายและสงเสริมความรวมมือ

การผลิตและพัฒนากําลังคนใหตรงตามความตองการของประเทศ ตองไดรับรวมมือกับองคกร

ที่ตองการใชกําลังคน ต้ังแตภาคการผลิต เอกชน รัฐวิสาหกิจ และชุมชน เพื่อสรางเครือขายความรวมมือ

ในการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในและตางประเทศ นําไปสูการกําหนดหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ในการผลิตกําลังคนไดตรงกับความตองการภาคการผลิตและความตองการของผูใช โดยมีเปาประสงค เพื่อผลิต

และพัฒนากําลังคนสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและทองถ่ิน และมีกลยุทธ คือ

1. สงเสริมและสนับสนุนความรวมมือในการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพทั้งในและ

ตางประเทศ

2. สรางความเขมแข็งในการสรางเครือขายและความรวมมือในการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรม

วิชาชีพ

3. พัฒนาฐานขอมูลความรวมมือ

4. พัฒนาศูนยกําลังคนอาชีวศึกษา

5. ประสาน สงเสริมและสนับสนุน การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพของสถานศึกษา

เอกชน สถานประกอบการและเครือขาย

ยุทธศาสตรท่ี 3: พัฒนาระบบบริหารจัดการอาชีวศึกษา

คุณภาพของการอาชีวศึกษา มีระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาองคประกอบที่สําคัญที่สุดที่จะสงผล

ตอคุณภาพ การปฏิรูประบบราชการ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง

ที่ดี พ.ศ. 2546 และนําแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management

Quality Award : PMQA) ซี่งเปนเครื่องมือในการพัฒนาองคกรไปสูความเปนเลิศ ในขณะที่กฎหมายการ

อาชีวศึกษาไดระบุถึงการจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา ซึ่งตองมีการพัฒนาระบบการบริหารและจัดการ

ในรูปแบบสถาบันการอาชีวศึกษาควบคูไปดวย อีกทั้งจากการประกาศใชกฎหมายการอาชีวศึกษาดังกลาว มีผล

ใหตองสรางกฎหมาย กฎระเบียบ ตางๆเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ ดังน้ันเพื่อใหการพัฒนาระบบบริหารและจัดการ

อาชีวศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดกําหนดกลยุทธไวดังน้ี

1. จัดและพัฒนาโครงสรางการบริหารงานใหเปนไปตาม ก.ม.การอาชีวศึกษาและก.ม.อื่นที่เกี่ยวของ

2. พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและธรรมาภิบาล

3. พัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ

4. กระจายอํานาจการบรหิารจัดการสูสถานศึกษาและสถาบัน

5. ผลักดันการจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา

6. พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลใหมีประสิทธิภาพ

7. พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในใหมีประสิทธิภาพ

Page 18: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

18

8. สงเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการใหบริการ

9. เสริมสรางสวัสดิการและขวัญกําลังใจ

ยุทธศาสตรท่ี 4 : ขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

มุงเนนการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพใหประชาชนทุกคนมีโอกาสเขาถึงการศึกษาดานวิชาชีพที่มี

คุณภาพมาตรฐานอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม

อัธยาศัย โดยมีจุดมุงหมายใหคลอบคลุมประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และกลุมเปาหมายทั้งเด็ก เยาวชน วัย

แรงงาน สตรี ผูสูงอายุ โดยเฉพาะผูยากไร ดอยโอกาส คนพิการ ผูหางไกลทุรกันดารและชนกลุมนอย มีกลยุทธ

ดังน้ี

1. สงเสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพ ดวยรูปแบบที่หลากหลายทั้งใน

ระบบ นอกระบบ และทวิภาคี

2. สงเสริมและพัฒนาอาชีพใหประชาชนในการสรางงานสรางรายได

3. จัดการศึกษาวิชาชีพแกผูดอยโอกาส คนพิการ ผูสูงอายุ

4. สงเสริมใหมีการสรางรายไดระหวางเรียน

ยุทธศาสตรท่ี 5 : จัดอาชีวศึกษาเพ่ือสรางเสริมความมั่นคงของรัฐ

สงเสริมการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดน ใหเปนกลไกเสริมสรางความสมานฉันท สันติวิธีวิถี

ประชาธิปไตย บนพื้นฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความเปนอัตลักษณของแตละพื้นที่ มีความ

รวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา แลกเปลี่ยนความรู พัฒนาวิชาการ/วิชาชีพ เตรียมความพรอมรองรับ

การเปดเสรีการคาในอนาคต โดยหวังผลใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการศึกษาวิชาชีพในภูมิภาค โดยเฉพาะ

สาขาที่มีศักยภาพและความพรอม ประกอบไปดวยกลยุทธ ดังน้ี

1. สงเสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพในเขตชายแดนภาคใต

2. สงเสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพในพื้นที่ชายแดน และเขตพัฒนา

พิเศษเฉพาะกิจ

3. สงเสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพตามโครงการพระราชดําร ิ

4. สงเสริมและพัฒนาการจัดอาชีวศึกษารวมกับประเทศเพื่อนบานเพื่อสรางความเขาใจอันดี

ยุทธศาสตร ท่ี 6 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาถายทอดองคความรูและเทคโนโลยี

เพื่อใหการอาชีวศึกษาเปนองคกรแหงการเรียนรู ต้ังแตการพัฒนาระบบการบริหารจัดการใหเอื้อตอ

การเรียนรู การสรางองคความรู และนวัตกรรมทางวิชาชีพ การเช่ือมโยงการวิจัยกับกระบวนการจัดการเรียน

การสอนวิชาชีพ มีกลไกนําผลการวิจัยไปใชประโยชนไดจริง มีกลยุทธ ดังน้ี

1. สงเสริมพัฒนาการวิจัย สรางนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ และการวิจัยเชิงนโยบาย การวิจัยเพื่อ

ตอบสนองความตองการของสถานประกอบการ

2. สงเสริมการนําองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรม ไปใชพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและ

การเรียนการสอน

Page 19: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

19

3. สงเสริมใหนําความรู เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ไปใชพัฒนาอาชีพ จดสิทธิบัตร และ

พัฒนาสูเชิงพาณิชย

4. พัฒนาระบบบริหารจัดการ เครือขายงานวิจัย และการจัดการความรูอาชีวศึกษา ทั้งในประเทศและ

ระดับนานาชาติ

มาตรฐานการอาชีวศึกษา

มาตรฐานการอาชีวศึกษา หมายถึง ขอกําหนดที่เกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค กระบวนการ

ดําเนินงานสถานศึกษา และปจจัยสนับสนุนที่ตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรู

ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ ในงานอาชีพตามที่กําหนดในหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพใน

สาขาวิชาที่เรียน และเพื่อใหเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับการตรวจประเมิน การกํากับดูแล และสงเสริม

การพัฒนา คุณภาพการศึกษา ดานวิชาชีพประกอบดวย 12 มาตรฐาน

มาตรฐานดานผูสําเร็จการศึกษาและผูเรียน

1. ผูสําเร็จการศึกษา มีความรูเชิงวิชาการ มีทักษะในวิชาชีพ และทักษะชีวิตอันสงผลตอการประกอบ

อาชีพอยางมีประสิทธิภาพ

2. ผูเรียนมีการพัฒนาความรู ในทักษะพื้นฐาน ทักษะในเชิงปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองในวิชาชีพไดอยาง

เหมาะสม

3. ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยม มีความรักในอาชีพและเปนสมาชิกที่ดีในสังคม

มาตรฐานกระบวนการ

4. สถานศึกษา มีการระดมทรัพยากร จัดระบบเครือขายในการจัดการอาชีวศึกษา รวมทั้งสงเสริมความ

รวมมือกับสถานประกอบการ ชุมชน แหลงการเรียนรูตางๆ เพื่อการสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษา

ใหมีประสิทธิภาพ

5. สถานศึกษามีการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย เนนการฝกปฏิบัติจริง เรียนรูจากประสบการณจริง และ

บูรณาการการประเมินผลตามสภาพจริง

6. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบไดเนนการมีสวนรวม

7. สถานศึกษามีการสงเสริมการทํางานวิจัยและงานสรางสรรคที่มีคุณภาพ เผยแพรสูสาธารณชน และ

นําไปพัฒนาชุมชนทองถ่ิน เพื่อใหสังคมไทยเปนสังคมแหงภูมิปญญา และมีการเรียนรูตลอดชีวิต

8. สถานศึกษามีการบริการทางวิชาชีพที่เปนประโยชนตอการพัฒนาชุมชนทองถ่ิน เพื่อใหสังคมไทย

เปนสังคมแหงภูมิปญญาและมีการเรียนรูตลอดชีวิต

มาตรฐานดานปจจัย

9. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรียนรู และการฝกปฏิบัติ

รวมถึงความปลอดภัยของผูเรียน

10. ผูสอนและบุคลากรของสถานศึกษามีความรู ความสามารถ และประสบการณในวิชาที่สอน การปฏิบัติ

หนาที่ และพัฒนาตนเองใหทันตอเทคโนโลยี

Page 20: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

20

11. สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผูเรียน มีการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับเทคโนโลยี

งานอาชีพและสอดคลองกับสภาพทองถ่ิน

12. การจัดกระบวนการประกันคุณภาพภายใน โดยเปนสวนหน่ึงของกระบวนการการบริหารการศึกษา

และสามารถรองรับการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการ

อาชีวศึกษา

2. ศึกษาจากขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก

จากการวิเคราะหและศึกษาเอกสารคูมือการประกันคุณภาพสถานศึกษา รายงานประจําป รายงาน

การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา สัมภาษณผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ ครู- อาจารยนักศึกษา

กรรมการสถานศึกษาและผูที่เกี่ยวของ ผลการประเมินระดับสถานศึกษา มีดังน้ี

ในมาตรฐานท่ี 1 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พบวา มีการกําหนดระเบียบวิธีการ

ข้ันตอนการทํางาน การมอบหมายงานที่ชัดเจนและ มีการกําหนดนโยบายแผนงานการประกันคุณภาพ กําหนด

วิธีการข้ันตอนเกี่ยวกับการทํางานของบุคลากร และกําหนดระยะเวลาการประเมินคุณภาพภายในที่เหมาะสม

มีการพัฒนาเครื่องมือในการติดตามคุณภาพ ของคณะบุคคลหรือหนวยงานที่รับผิดชอบการทํางานที่ชัดเจน

จัดทําคูมือการประกันคุณภาพ การกําหนดมาตรฐานและเกณฑในการประกันคุณภาพ และรายงานการประเมิน

ตนเอง ในปการศึกษา 2547-2548 และดานประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามีการนําผล

การประเมินมาใชในการปรับปรุงการบริหารและจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาและสาธารณะชน

และมีนวัตกรรมที่พัฒนาข้ึนมีการปฏิบัติที่ดี เชน เครื่องผลิตหมูเสน ดานการบริหารจัดการ ผูบริหารเปนคนที่มี

วิสัยทัศนและมีภาวะผูนําเปนที่ยอมรับของผูใตบังคับบัญชา มีการบริหารงานแบบมีสวนรวมในการพัฒนา

สถานศึกษาโดยมีการประชุมหารือกับผูที่มีสวนเกี่ยวของ ทําใหการบริหารสถานศึกษาใหเปนที่พึงพอใจของ

บุคลากรทางการศึกษา และชุมชน จากผลการสํารวจความพึงพอใจในการทํางานของผูบริหารอยูในระดับ

คอนขางดีการใชฐานขอมูลของสถานศึกษาในการบริหารและการจัดการ สถานศึกษามีขอมูลพื้นฐานเพื่อการ

ตัดสินใจ มีระบบการบริหารจัดการขอมูลและกําหนดผูรับผิดชอบชัดเจน สวนการเช่ือมโยงขอมูลในสถานศึกษา

ควรมีการปรับปรุง พัฒนาระบบฐานขอมูล สารสนเทศใหทันสมัยอยูเสมอ พรอมทั้ง ควรเพิ่มประสิทธิภาพ

และความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการขอมูล ในดานจํานวนอาจารยไดรับการพัฒนาในดานวิชาชีพ

ตามสาขาวิชา/รายวิชาที่สอน(20ช่ัวโมง/ป) สถานศึกษาไดสนับสนุนใหอาจารยไดรับการพัฒนาทุกคนและ

สถานศึกษาไดดําเนินงาน/โครงการตามแผน ยุทธศาสตรในการพัฒนาคุณภาพ โดยเนนการเปดโอกาส

ใหเครือขายและประชาคมอาชีวศึกษาเขามามีสวนรวมในการใชทรัพยากรรวมกัน 10 โครงการ สถานศึกษา

ไดประสานความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบการในชุมชนจัดการศึกษาโดยสงนักศึกษา

เขาไปฝกงานในสถานประกอบการ จํานวน 35 แหง

ในมาตรฐานท่ี 2 การฝกอบรม พบวา สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะในการ

ฝกอบรมที่ทันสมัย สอดคลองกับความตองการของสังคมอยางตอเน่ืองทุก 2 ป คิดเปน รอยละ 77.2

อัตราสวนอาจารยประจําผูชํานาญการทางวิชาชีพที่ใหการฝกอบรมตอนักศึกษาในแตละประเภทวิชามี

อัตราสวนอาจารย 1: 20 ความพอเพียงและความทันสมัยของครุภัณฑ การฝกอบรมในแตละรายวิชา

Page 21: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

21

มีพอเพียงเหมะสม และมีความทันสมัย รอยละ 80 ความพอเพียงของวัสดุอุปกรณในการฝกอบรมในแตละ

รายวิชา มีพอเพียงและเหมาะสมกับหลักสูตร รอยละ 90 ความพอเพียงและความเหมาะสมของ

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน และอาคารสถานที่ในการฝกอบรม ดีเพียงพอเหมาะสมทุกรายวิชา กระบวนการ

สรางวินัยในการทํางาน ผูเขารับการอบรมทุกคนปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติ และขอบังคับในการใช

หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน ตลอดจนการแตงกายมีความเปนระเบียบและมีวินัยเปนอยางดี สวนประสิทธิผลใน

การฝกอบรม มีการประเมินผลทุกข้ันตอนทุกรายวิชา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการ

ฝกอบรม เน่ืองจากสถานศึกษาไมไดมีการสํารวจไว ผูสําเร็จการฝกอบรมในรายวิชาตางๆ มีความพึงพอใจ

ในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ย 4.00 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ผลการเรียนรู นักศึกษาที่เขารับการฝกอบรม

ผานเกณฑการจบหลักสูตร รอยละ 96.7 การนําความรู จากการฝกอบรมไปประกอบอาชีพหรือนําไปใช

ประโยชน คิดเปน รอยละ 75.47 ความพึงพอใจของนายจาง หรือผูประกอบการ หรือชุมชนที่มีตอผูสําเร็จการ

ฝกอบรมสถานศึกษายังไมมีการสํารวจไว ผูประเมินไดไปสัมภาษณหัวหนาหนวยงาน 1 แหง สถานประกอบการ

1 แหง และกลุมแมบานทุกคนมีความพึงพอใจในระดับดี มีคะแนนเฉลี่ย 4.00 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

ในมาตรฐานท่ี 3 การจัดการศึกษา ระดับ ปวช. และ ปวส. พบวา ระดับ ปวส. ยังไมมีผูสําเร็จ

การศึกษาจึงประเมินเฉพาะระดับ ปวช. ซึ่งสถานศึกษาใชขอสอบมาตรฐานวิชาชีพจากสวนกลางมีผูสอบผาน

เกณฑ รอยละ 76.66 จากผูสําเร็จการศึกษา รอยละ 28.03 มีงานทําและประกอบอาชีพอีก รอยละ 43.33

ระดับความพึงพอใจของนายจางและสถานประกอบการ มีคะแนนเฉลี่ย 4.45 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน

สําหรับการพัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ พบวา ไดมีการปรับแผนการเรียนรูวิชา ภาษีเงินไดบุคคล

ธรรมดาและเพิ่มเน้ือหาวิชาใหเหมาะสมกับสภาพปจจุบัน โดยเนนการปฏิบัติ นอกจากน้ัน ยังไดปรับเปลี่ยน

รายวิชาเดิมใหมีเน้ือหาสาระและการปฎิบัติ สวนหลักสูตรที่เนนการปฏิบัติเปนสวนใหญ ในดานการจัดระบบ

การเรียนรู และฝกการปฏิบัติจริงน้ัน พบวา สถานศึกษาไดจัดใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติจริงจากสถาน

ประกอบการจํานวน 35 แหง และมีการจัดสงบุคลากรเขารับการอบรมสัมมนา เพื่อนํามาพัฒนาการเรียน

มีการสอนโดยใชใบงาน การสอนซอมเสริม การจัดการเรียนเปนกลุม ปฏิบัติงานและมีการประเมินผลตาม

สภาพจริง สําหรับอัตราสวนครูที่มีวุฒิทางวิชาชีพตอจํานวนนักศึกษา พบวา ประเภทวิชาอุตสาหกรรมมีครูตอ

นักศึกษา 1: 26 คน และประเภทวิชาพณิชยกรรม มีครูตอนักศึกษา 1:4 คน ในดานการเชิญผูเช่ียวชาญ

ผูทรงคุณวุฒิ จากภาคธุรกิจหรือภูมิปญญาทองถ่ินมาใหความรูกับนักศึกษา พบวา ไดมีการเชิญผูเช่ียวชาญมาให

ความรูทุกแผนกวิชาและทุกภาคเรียน สําหรับการสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอน

ของครู พบวา มีความพึงพอใจ มีคะแนนเฉลี่ย 4.41 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ในดานการจัดสรร

งบประมาณคาวัสดุฝกในแตละสาขาวิชาน้ัน พบวา ไดจัดสรรงบประมาณคาวัสดุฝก จํานวน 337,248 บาท

และมีงบประมาณดําเนินการทั้งสิ้น 26,135,759.11 บาท

สําหรับความพรอมของศูนยวิทยบริการ พบวา สถานศึกษามีหองสมุด หองสืบคนขอมูลทาง

Internet และมีการเก็บสถิติการใชบริการหองสมุด หอง Self Access ในดานความพอเพียงและทันสมัยของ

ครุภัณฑเครื่องมือ อุปกรณ ในแตละรายวิชา พบวา ประเภทวิชา อุตสาหกรรม มีความทันสมัย รอยละ

91.67 และความเพียงพอ รอยละ 45.71 สําหรับประเภทวิชาพณิชยกรรม มีความทันสมัย รอยละ 72.09

สําหรับการจัดกิจกรรม/โครงการ ในการพัฒนานักศึกษาน้ันพบวา ในภาคเรียนที่ 1/2549 มี 17 โครงการ

Page 22: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

22

และภาคเรียนที่ 2/2549 มีจํานวน 15 โครงการ โดยทุกแผนกวิชาไดรับการพัฒนาครบถวน ในดาน

ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมสงเสริมนักศึกษา ทังดานวิชาการและคุณธรรม จริยธรรม และดานเสริมสราง

ประโยชนตอสังคมและชุมชน พบวา มีการจัดกิจกรรมไวในแผนปฏิบัติและจัดกิจกรรมนอก แผนปฏิบัติการที่

ดําเนินการตามนโยบาย ตามนโยบายเรงดวน โดยเปนดานตางๆ มีนวัตกรรมสิ่งประดิษฐและงานวิจัยจํานวน 13

ผลงาน คิดเปนรอยละ 75 ของสาขาวิชาที่มีจํานวนนวัตกรรม อยางนอย 1 เรื่อง

(ผลงาน) ตอภาคเรียนมีผลงานไดรับรางวัลจากการประกวดระดับอาชีวศึกษาจังหวัด และใชประโยชน

ทางวิชาชีพของสถานศึกษาจํานวน 6 ผลงาน ใชงบประมาณของสถานศึกษา รอยละ 0.36 ของงบประมาณ

ดําเนินการทั้งหมด

ในมาตรฐานท่ี 4 การเทียบโอนผลการเรียนรู สถานศึกษายังไมไดดําเนินการทั้งระบบ อยูในข้ัน

เตรียมการแตไดจัดเทียบโอนรายวิชาที่เรียนในรายวิชาที่เรียนในรายวิชาระยะสั้นมาเปนระดับ ปวช.

ในมาตรฐานท่ี 5 การบริการวิชาการตอชุมชนและสังคม พบวาสถานศึกษาจัดใหมีการบริการทาง

วิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองตอชุมชน และสังคมจํานวน 18 โครงการ/กิจกรรม ประสิทธิผลของการ

ใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองตอชุมชนและสังคม โดยจัดสรรเงินงบประมาณไปดําเนินการ

จํานวนให 1,257,087 บาท คิดเปนรอยละ 4.80 ของงบประมาณดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําป

การศึกษา 49 และการปฏิบัติการตามแผนฯ และการประสานงานจากหนวยงานภายนอกสถานศึกษา ดวยการ

จัดการฝกอบรมประชาชนและใหบริการทางวิชาการวิชาชีพแกชุมชนอยางครบถวนตามพันธกิจของสถานศึกษา

รวมทั้งการบูรณาการการเรียนการสอนตามโครงการพี่สอนนอง และออกแนะนําใหความรูทางวิชาชีพเพื่อ

แกปญหาผลกระทบจากภัยธรรมชาติตามชุมชนตางๆ สรางเครือขายความรวมมือกับหนวยอื่น อาทิ เรือนจํา

จังหวัด และสถานศึกษาข้ันพื้นฐานหลายแหงเปนที่พึงพอใจแกประชาชนในชุมชนและสังคมอยางย่ิง

ในมาตรฐานท่ี 6 การบริหารและการจัดการ พบวา สถานศึกษามีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป

มีการประเมินตนเอง โดยการมีสวนรวมของคณะ ครู-อาจารยและบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษามีการ

พัฒนาวิสัยทัศนที่สอดคลองกับความตองการของทองถ่ินโดยจัดประชุมคณะ ครู-อาจารย บุคลากรทางการ

ศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อกําหนดทิศทางในการผลิตนักศึกษาใหมีคุณภาพเปนที่ยอมรับและ

สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบการและชุมชน สถานศึกษามีขอมูลพื้นฐานในการตัดสินใจ

เกี่ยวกับนักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษามีการกําหนดผูรับผิดชอบในระบบการบริหารจัดการขอมูล รอยละ

ของจํานวนอาจารยที่ไดรับการพัฒนาในดานวิชาชีพที่สอนและกระบวนการจัดการเรียนรู ( 20 ช่ัวโมง/ป )คิด

เปนรอยละ 100 สถานศึกษามีการพัฒนางานโครงการที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตร เนนการมีสวนรวมของ

เครือขายและประชาคม จํานวน 7 โครงการ สถานศึกษามีโครงงานที่ใชในการพัฒนางานในดานตางๆ และ

สถานศึกษาจัดทําโครงการการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของเครือขายประชาคมอาชีวศึกษา

ภาคอุตสาหกรรม และสถานประกอบการโดยจัดสงนักศึกษาเขาไปทํางานหรือฝกงานในสถานประกอบการ

สถานศึกษามีการกระจายอํานาจโดยออกคําสั่งมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบการทํางานในหนาที่ตาง ๆ

อยางชัดเจน สถานศึกษามีขอมูลพื้นฐานในระบบเครือขายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและตัดสินใจ ขอมูล

ของบุคลากร ขอมูลนักศึกษา ขอมูลตลาดแรงงาน มีระบบการบริหารจัดการขอมูลโดยกําหนดผูรับผิดชอบ

ชัดเจน แตระบบการประเมินประสิทธิภาพ การควบคุมกํากับ ติดตามประเมินผล และความปลอดภัยของ

Page 23: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

23

ระบบบริหารจัดการขอมูลไมชัดเจนรวมทั้งการทํางานประสานงานเครือขายในสถานศึกษาและการพัฒนาระบบ

ฐานขอมูลสารสนเทศที่ทันสมัย

สรุปผลการประเมินระดับสถานศึกษาอยูในระดับ ดี

จุดเดนของสถานศึกษา

1. สถานศึกษาใหการบริการวิชาการกับชุมชนและทองถ่ินคอนขางมาก

2. สถานศึกษา มีเครื่องมือ เครื่องจักร และครุภัณฑที่เพียงพอ

3. สถานศึกษามีโครงการที่เปนการปฏิบัติที่ดี (Good practices) ดานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐโครงงาน

ตางๆที่สอดคลองกับสาขาวิชาชีพคอนขางมาก

4. นักศึกษาสวนใหญที่ออกไปทํางานในสถานประกอบการเปนที่พึงพอใจของนายจาง

5. ผูบริหารมีวิสัยทัศนและภาวะผูนําเปนที่ยอมรับของผูใตบังคับบัญชา และชุมชน ความพึงพอใจของ

ผูใตบังคับบัญชา และชุมชน ทีมีตอการทํางานของผูบริหารอยูในระดับดี

จุดท่ีสถานศึกษาควรพัฒนา

1. สถานศึกษาควรจัดสรรงบประมาณดานวัสดุฝกเพิ่มข้ึนในทุกสาขาวิชา

2. สถานศึกษาควรจัดใหคร-ูอาจารยไดรับการพัฒนาในดานวิชาชีพสาขาวิชาคอมพิวเตอร

3. สถานศึกษาควรจัดหาสื่อการเรียนการสอน และตําราเรียนเพิ่มมากข้ึน ในสาขาวิชาชางยนต

4. สถานศึกษาควรพัฒนา/สงเสริมงานวิจัย นวัตกรรมเทคโนโลยี ในทุกสาขาวิชา

5. สถานศึกษา ควรมีการปรับปรุง พัฒนาระบบฐานขอมูล สารสนเทศใหทันสมัยอยูเสมอ พรอมทั้ง

เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการ

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

1. สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสตูรระยะสั้น ในสาขาวิชาคอมพิวเตอร ใหทันสมัยสอดคลองกับความ

ตองการของตลาดแรงงานดานคอมพิวเตอร

2. สถานศึกษาควรพัฒนาระบบการติดตามผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา

3. สถานศึกษาควรสรางระบบคลังขอสอบมาตรฐานวิชาชีพ

4. สถานศึกษาควรวิเคราะห วิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเทียบโอนความรูและประสบการณ

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในอนาคต

1. สถานศึกษาควรใหการบริการวิชาการกับชุมชนและทองถ่ินอยางทั่วถึง

2. สถานศึกษาควรจัดหา เครื่องมือ เครื่องจักร และครุภัณฑที่ทันสมัยเพิ่มมากข้ึน

3. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาโครงการที่เปนการปฏิบัติที่ดี (Good practices) ดานนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ โครงงานตางๆ ที่สอดคลองกับสาขาวิชาชีพเพิ่มมากข้ึน

Page 24: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

24

สรุปผลการประเมินคุณภายนอกเพ่ือการรับรองมาตรฐานการศึกษา

ผลการประเมินวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี มีผลการประเมินระดับสถานศึกษาไดระดับ ดี

มีคาเฉลี่ย 4.30 ผลการประเมินระดับมาตรฐานได ระดับดีมาก จํานวน 1 มาตรฐาน ไดแกมาตรฐานที่ 5

การบริการวิชาการตอชุมชนและสังคม ระดับดี จํานวน 3 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานที่ 1 การประกัน

คุณภาพภายใน มาตรฐานที่ 2 การฝกอบรม และมาตรฐานที่ 6 การบริหารและการจัดการ ระดับพอใช

จํานวน 1 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษาระดับ ปวช. ปวส. และไมมีมาตรฐานใดอยูระดับ

ตองปรับปรุง

แสดงวา ผลการจัดการศึกษาของสถาบันไดมาตรฐาน เห็นสมควรเสนอให สมศ. รับรองมาตรฐาน

คุณภาพภายนอกสถานศึกษา

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก

มาตรฐาน คะแนน ผลการประเมิน

มาตรฐานที่ 1 การประกันคุณภาพภายใน 4.00 ดี

มาตรฐานที่ 2 การฝกอบรม 4.50 ดี

มาตรฐานที่ 3 การจัดการศึกษาระดับ ปวช. ปวส. 3.39 พอใช

มาตรฐานที่ 4 การเทียบโอนผลการเรียนรู - -

มาตรฐานที่ 5 การใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพตอชุมชน

และสังคม

5.00 ดีมาก

มาตรฐานที่ 6 การบริหารและการจัดการ 4.00 ดี

ผลการประเมินระดับสถานศึกษา 4.30 ดี

Page 25: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

25

สรุปขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพและแนวทางปฏิบัติ

ขอเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง

1. สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น

ในสาขาวิชาคอมพิวเตอรใหทันสมัยสอดคลองกับ

ความตองการของตลาดแรงงานดานคอมพิวเตอร

- โครงการตนกลาอาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

2. สถานศึกษาควรพัฒนาระบบการติดตาม

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา

- โครงการแนะแนวการศึกษาตอและจัดหางาน

3. สถานศึกษาควรพัฒนาสรางระบบคลังขอสอบ

มาตรฐานวิชาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

- พัฒนาเว็บไซตของสถานศึกษา

4. สถานศึกษาควรวิเคราะห วิจัยเพื่อพัฒนา

กระบวนการเทียบโอนความรูและประสบการณ

- พัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานดานวิชาชีพ

การประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด

1. รอยละของผูเรียนออกกลางคัน - ปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุมผูปกครอง

2. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ

โครงงานในระดับ ปวส.

- โครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม

3. ควรจัดระบบฐานขอมูลและมีการประเมิน

ประสิทธิภาพของระบบขอมูล

- พัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช

มัลติมีเดีย

4. การรายงานผลโครงการ กิจกรรม การบริการ

วิชาชีพสูสังคมยังไมครบถวน

- การติดตามรายงานผลประจําป

5. การประเมินรอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามช้ันปใหตรง

ตามเกณฑมาตรฐานของสอศ.

- โครงการเย่ียมบานและติดตามดูแลนักศึกษา

6. การประเมินรอยละของผูสามารถประยุกต

หลักการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร จากเกรด 1

เปน 3,4

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

7. การประเมินคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน - โครงการอบรมคุณธรรมทางชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย

8. การจัดงบประมาณจัดซื้อวัสดุ - จัดทํารายงานประจําป

9. การจัดทําสรุปผล รายงานผลการระดมทรัพยากร

ทั้งภายในและภายนอก

- จัดทํารายงานประจําป

Page 26: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

26

3. ศึกษาจากความคิดเห็นของผูบริหาร ครู และเจาหนาท่ี

จากการสํารวจความคิดเห็นของผูบริหาร ครู เจาหนาที่ บุคลากร และผูทรงคุณวุฒิ โดยการ

ประชุมสัมมนาและอภิปราย สามารถสรุปได ดังน้ี

3.1 สภาพแวดลอมและปจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลตอการพฒันาวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

3.1.1 ดานเทคโนโลยี ถือวาเปนโอกาส (Opportunity) มากที่สุด คือ ความกาวหนาของเครือขาย

การนําเทคโนโลยีมาบริหารจัดการ และการเรียนการสอนผานทางระบบอินเตอรเน็ต เอื้อตอการศึกษา

การคนควาดวยตนเองของผูเรียน

3.1.2 ดานสังคมและวัฒนธรรม ถือวาเปนอุปสรรค (Threat) โดยภาพรวมคือ เยาวชนขาดการ

ดูแลอยางใกลชิดจากผูปกครอง และชุมชนรับอารยธรรมตะวันตกมากเกินไป ทําใหเปนผลกระทบตอการ

ดํารงชีวิตในสังคม ขาดการศึกษาที่ดี และทําใหวัฒนธรรมไทยผิดเพี้ยนไปจากพื้นฐานความเปนไทย

3.1.3 ดานเศรษฐกิจ ถือวาเปนโอกาส (Opportunity) คือ มีแหลงเงินทุนจากภาครัฐ สนับสนุน

ใหมีการลงทุน สงผลใหอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิ่มข้ึน ทําใหประชาชนในชุมชนไดศึกษาอาชีพ

ที่ตองการ และสามารถนําความรูไปประกอบอาชีพอิสระสวนตัวได

3.1.4 ดานการเมืองและกฎหมาย ถือวาเปนอุปสรรค (Threat) คือ กฎหมาย กฎระเบียบ

ขอบังคับ การปฏิรูปการศึกษายังไมชัดเจน และประชาชนยังขาดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย เชน

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับปจจุบัน, พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 (ปรับปรุง)

พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 รวมถึงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก ที่ผูปกครอง

ตองมีสวนรวมในการดูแลบุคคลในความปกครองใหไปสูความเจริญงอกงามในทางที่ดี

3.2 สภาพแวดลอมและปจจัยภายในที่มากระทบตอวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

3.2.1 ดานการจัดการเรียนการสอน และการจัดกิจกรรม ถือวาเปนจุดแข็ง (Strength) มีการ

เรียนการสอนแบบบูรณาการ และจัดกิจกรรมตามนโยบายรัฐบาล 3D กิจกรรมลูกเสือ องคการวิชาชีพ

ในอนาคตแหงประเทศไทย (อวท.) เพื่อใหผูเรียนไดกลาแสดงออก ใชความคิดสรางสรรค ทําใหผูเรียนเปนคนดี

คนเกง เพื่ออยูรวมในสังคมไดอยางมีความสุข

3.2.2 ดานระบบสารสนเทศ ถือวาเปนจุดแข็ง (Strength) มีการแจงขอมูลขาวสาร กิจกรรม

ตางๆ ผานระบบอินเตอรเน็ต เว็ปไซตสถานศึกษา

3.2.3 ดานบุคลากร ถือวาเปนออน (Weakness) ครูผูสอนมีอัตราการบรรจุแตงต้ังนอย ทําให

มีการโยก ยายไปตามความมั่นคงของชีวิต และบางรายวิชาที่สําคัญไมมีการบรรจุแตงต้ัง ทําใหผูสอน

ขาดความมั่นคงตออนาคต อันมีผลตอการจัดการเรียนการสอน

3.2.4 ดานผูบริหาร ถือวาเปนจุดแข็ง (Strength) มีวิสัยทัศนที่กวางไกล มีภาวะผูนําระดับสูง

มีการวางแผนโครงการ/กิจกรรม โดยใหครู เจาหนาที่มีสวนรวมทุกครั้ง และเปนประชาธิปไตย และมีการ

ตัดสินใจที่แนนอน สนับสนุนและใหกําลังใจครู เจาหนาที่ ทําใหมีขวัญและกําลังใจในการทํางาน

3.2.5 ดานผูเรียน ถือวาเปนจุดออน (Weakness) ผูเรียนสวนมากมาจากโรงเรียนขยายโอกาส

พื้นฐานความรูเดิมคอนขางออน และผูเรียนสวนมากเลือกที่จะศึกษาตอในสถานศึกษา ที่มีช่ือเสียงมากอน

เมื่อเขาไมไดจึงมาสมัครเขาเรียนที่วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

Page 27: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

27

3.2.6 ดานการวิจัย ถือวาเปนจุดออน (Weakness) ขาดบุคลากรที่มีความรู ความสามารถ

ในดานการวิจัยทําใหไมมีผูรับผิดชอบ แนะนํา และชวยเหลือการวิจัยใหกับบุคลากรในสถานศึกษา

3.2.7 ดานหลักสูตร ถือวาเปนจุดออน (Weakness) มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลายเหมาะสม

กับความตองการของผูเรียน และชุมชน แตยังขาดบุคลากรผูเช่ียวชาญในการใชหลักสูตร มีเอกสารที่เกี่ยวกับ

หลักสูตรไมเพียงพอ ทําใหผูสอนและผูเกี่ยวของในการใชหลักสูตรขาดแนวทางและไมเขาใจในหลักสูตรดีพอ

3.2.8 ดานการจัดการเรียนการสอน ถือวาเปนจุดแข็ง (Strength) มีการจัดการเรียนการสอน

ที่หลากหลายมีความยืดหยุนได ทําใหเกิดความคลองตัว ในการดําเนินกิจกรรม การเรียนการสอน

3.2.9 ดานการใชงบประมาณ ถือวาเปนจุดออน (Weakness) มากที่สุด ไมไดมีการประชุม

ไมไดมีการวางแผนโดยใชประชามติในการจัดสรรงบประมาณ ทําใหงบประมาณมากหรือนอยในสายงาน

บางงาน ทําใหการจัดการในหนวยงานไมคลองตัว และขาดการควบคุมดูแลการใชงบประมาณ

3.2.10 ดานการประชาสัมพันธ ถือวาเปนจุดออน (Weakness) การประชาสัมพันธ ขอมูล

ขางสารตางๆ มีความลาชา และขาวสารบางอยางไมไดประชาสัมพันธ ทําใหบุคคลภายในสถานศึกษา ไมทราบ

ขอมูลขางสารตาง ๆ ทําใหเกิดผลเสียตอการปฏิบัติงาน

3.2.11 ดานความปลอดภัย ถือวาเปนจุดออน (Weakness) วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ไมมี

ยามรักษาการณ เวลากลางวัน ทําใหไมมีการควบคุมการเขา-ออกสถานศึกษาของผูเรียน และงานปกครอง

มีบุคลากรไมเพียงพอ ทําใหการควบคุมดูแลนักเรียนไมดีเทาที่ควร

3.2.12 ดานอาคารสถานที่ ถือวาเปนจุดแข็ง (Strength) มีความพอเพียงและสวยงาม

4. เปาหมายการพัฒนาของสถานศึกษา

จากนโยบายของสํานักคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การศึกษาขอเสนอแนะจากผลการประเมิน

คุณภาพภายนอกรอบสอง (พ.ศ. 2549) และจากการรวบรวมแนวความคิดของผูบริหาร ครู เจาหนาที่ จัดทํา

การวิเคราะหดวยวิธีการ SWOT นํามากําหนดเปนเปาหมายการพัฒนาสถานศึกษาเพื่อที่จะไดกําหนดและ

ปรับปรุงยุทธศาสตร และกลยุทธใหมีความทันสมัย ตรงประเด็นมากย่ิงข้ึนตอไป

Page 28: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

28

เปาหมายการพัฒนาและกลยุทธ

เปาหมายการพัฒนา กลยุทธ

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน นักศึกษาแต

ละระดับช้ันผานเกณฑการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

อยางนอยรอยละ 75

- จัดทําแผนพัฒนาการเรียนรูของครูและผูเรียน

ในรายวิชาตางๆ ที่มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

- จัดทําแผนพัฒนาดานครุภัณฑทางการศึกษาและสื่อ

การเรียนการสอน

- สงเสริมและพัฒนาดานกระบวนการวัดผล

ประเมินผลสูมาตรฐานอันเปนที่ยอมรับ

- พัฒนาแผนการเรียนรูตามแบบฐานสมรรถนะ

วิชาชีพใหครบทุกรายวิชา

- จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยเนนผูเรียน

เปนศูนยกลาง

2. นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัย เปนผูที่มี

บุคลิกภาพสงางาม มีระเบียบ มีวินัย มีคุณธรรม

จริยธรรม และมีคานิยมในความเปนไทย

- บูรณาการดานจิตพิสัยและพฤติกรรมที่พึงประสงค

ลงในแผนการเรียนรูทุกรายวิชา

- จัดกิจกรรมตามนโยบาย 3D

- สงเสริมการเปนสมาชิกองคการวิชาชีพทั้งในระดับ

สถานศึกษา ระดับภาคและระดับชาติ

- สงเสริมการเขารวมกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา

ใหครอบคลุมกิจกรรมทางสังคม วันสําคัญของชาติ

ศาสนา พระมหากษัตริย

3. เพิ่มสมรรถนะครูผูสอนใหมีความรูและทักษะ

เช่ียวชาญในสาขาวิชาที่เปดสอน

- บูรณาการแหลงเรียนรูภายในและภายนอก

สถานศึกษาสูการเรียนการสอน

- วิจัยและพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองตอความ

ตองการของตลาดแรงงาน ชุมชนทองถ่ิน

- ขยายเครือขายความรวมมือกับสถานประกอบการ

ใหครอบคลุมทุกหลักสูตร

4. ชุมชนและองคกรสวนทองถ่ินมีสวนรวมในการ

พัฒนาสถานศึกษา

- การสรรหาบุคคลภายนอกรวมเปนคณะกรรมการ

สถานศึกษา

- จัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษาแบบมีสวนรวม

ระหวางชุมชน องคกรสวนทองถ่ิน กับสถานศึกษา

- จัดทําโครงการฝกอบรมและฝกอาชีพใหกับ

ผูดอยโอกาสทางการศึกษา

Page 29: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

29

เปาหมายการพัฒนา กลยุทธ

5. พัฒนาประสิทธิภาพดานการวิจัยและนวัตกรรม

เพื่อนําไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนและ

นําไปพัฒนาชุมชนทองถ่ิน

- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการใหองคความรูแกครู และ

บุคลากรทางการศึกษา ดานการวิจัยและนวัตกรรม

ทางการศึกษา

- สํารวจสภาพปญหาดานการจัดการเรียนการสอน

และดานความตองการของชุมชนทองถ่ิน

6. พัฒนาสื่อและอุปกรณการเรียนการสอนใหทันตอ

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในปจจุบัน

- จัดทําแผนพัฒนาความรวมมือระหวางสถานศึกษา

สถานประกอบการ และสถาบันการศึกษาตางๆ เพื่อ

แลกเปลี่ยนความรู

- จัดทําแผนพัฒนาสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน

7. เพิ่มจํานวนนักคิด นักประดิษฐและผลงาน

สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม ในกลุมครู นักเรียน

นักศึกษา หรือโดยความรวมมือทั้งสองฝาย

- จัดทําแผนพัฒนาศูนยขอมูลและสารสนเทศเพื่อเปน

แหลงคนควาหาความรู

- จัดทําแผนเพื่อสงเสริมและพัฒนาสิ่งประดิษฐและ

นวัตกรรมในทุกสาขาวิชาชีพ

8. จัดสภาพแวดลอม ดานอาคาร สถานที่ ใหมี

บรรยากาศที่เอื้ออํานวยตอการเรียนรู

- จัดทําแผนการศึกษาและดูงาน

- จัดทําแผนพัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม

9. เพ่ิมจํานวนผูเรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น หลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพข้ันสูง (เทียบโอนประสบการณ)

- จัดทําแผนการใหบริการวิชาชีพรวมกับชุมชน

องคกรสวนทองถ่ิน กลุม OTOP ของจังหวัด

- จัดทํา MOU กับเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรียน

มัธยมศึกษา

- เพิ่มโอกาสการศึกษาวิชาชีพกับผูที่มีงานทําอยูแลว

ใหมีวุฒิทางวิชาชีพเพิ่มข้ึน

- จัดทําแผนเพิ่มและพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น

ใหมีความหลากหลาย

10. นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน

แนวปฏิบัติ

- จัดสภาพจริงการดําเนินงานหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา

- ประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน

หลักสูตรและแผนการเรียนรูทุกรายวิชา

- จัดอบรมความรูดานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงใหแกครู นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร

ของวิทยาลัย

Page 30: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

30

จุดเดน - จุดท่ีตองพัฒนา

จุดเดนของสถานศึกษา

1. มีการจัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนานักเรียนนักศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรมตอเน่ือง

2. มีงบประมาณที่ใชในการสรางพัฒนาและเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

3. มีวิสัยทัศนที่ชัดเจนสามารถนําองคกรสูความเปนเลิศดวยการประสานความรวมมือทั้งบุคลากร

ภายในและหนวยงานภายนอก

4. มีการบริการวิชาชีพสูสังคมประสบความสําเร็จดีมาก

5. นักเรียนสามารถเขาถึงสื่อเทคโนโลยีไดอยางทั่วถึง

6. มีการจัดการเรียนที่หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ฝกปฏิบัติจริง

7. มีการจัดหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความตองการของตลาดแรงงาน

จุดท่ีตองพัฒนาของสถานศึกษา

1. รอยละของผูเรียนออกกลางคัน

2. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานในระดับ ปวส.

3. ควรจัดระบบฐานขอมูลและมีการประเมิน ประสิทธิภาพของระบบขอมูล

4. การรายงานผลโครงการ กิจกรรม การบริการวิชาชีพสูสังคมยังไมครบถวน

5. การประเมินรอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามช้ันปใหตรงตาม

เกณฑมาตรฐานของสอศ.

6. การประเมินรอยละของผูสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร จากเกรด 1

เปน 3,4

7. การประเมินคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน

8. การจัดงบประมาณจัดซื้อวัสดุ

9. การจัดทําสรุปผล รายงานผลการระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอก

5. เปาประสงค

1. จัดการศึกษาดานอาชีวศึกษาอยางมีคุณภาพ และไดมาตรฐาน

1. จัดการเรียนการสอนทั้งในระบบ และนอกระบบ

2. จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการทั้งใน และนอกสถานศึกษา

3. สรางและผลิตงานวิจัย พัฒนานวัตกรรม และสิ่งประดิษฐฯ

2. ปลูกฝงใหผูเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

1. จัดกิจกรรมที่มุงเนน 3 D. และคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานประกอบการ

2. พัฒนาผูเรียนใหเปนคนเกง และคนดี

3. นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารงานและการจัดการเรียนการสอน

1. สงเสริมใหผูบริหาร ครู บุคลากร และผูเรียนนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช

ในชีวิตประจําวัน

Page 31: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

31

4. สนับสนุน และบริการวิชาชีพสูสังคม มุงเนนการเรียนรูตลอดชีวิต

1. ประสานความรวมมือกับชุมชน และหนวยงานภายนอก เพื่อบริการวิชาชีพสูสังคม

2. ระดมทรัพยากรทั้งในและนอก ในการจัดการเรียนรูใหคุมคา

5. ปรับปรุงสภาพแวดลอมใหพรอมและเอ้ืออํานวยตอการจัดการศึกษา

1. จัดทําแผนพัฒนาบํารุงรักษาอาคาร สถานที่ และระบบอํานวยความสะดวก สูมาตรฐาน

คุณภาพ

2. พัฒนาระบบ 5ส ในทุกหนวยงาน

3. ปรับปรุง บํารุงรักษา สื่อ อุปกรณและครุภัณฑทางการศึกษาใหพรอมใชงาน

6. เพ่ิมจํานวนผูเรียนในแตละหลักสูตร

1. พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธ

2. จัดทําโครงการความรวมมือ (MOU) ระหวางสถานศึกษากับสถานศึกษา ระหวาง

สถานศึกษากับหนวยงาน ระหวางสถานศึกษากับองคกร ชุมชนทองถ่ิน

3. พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นใหเกิดความหลากหลาย ตอบสนองตอความตองการของ

ตลาดแรงงาน ชุมชนทองถ่ิน

6. ประเด็นยุทธศาสตรและกลยุทธ

นําเปาหมายการพัฒนาสถานศึกษามากําหนดเปนประเด็นยุทธศาสตรโดยเนนการจัดการศึกษา ทั้งใน

ระบบและนอกระบบของวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี สงเสริมสนับสนุนพัฒนาบุคลากร ผูเรียน การจัดการ

เรียนการสอน การบริหารจัดการ ประสานความรวมมือหนวยงานภายในและภายนอก โดยนอมนําหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางในการดําเนินงานและกําหนดเปนยุทธศาสตรของการพัฒนาสถานศึกษา

ดังน้ี

ยุทธศาสตร 1 : การจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ

กลยุทธ

1. การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. จัดสื่อการเรียนการสอนอยางพอเพียง และมีคุณภาพ ตรงตามสาขาวิชา

3. สรางและผลิตงานวิจัย พัฒนานวัตกรรม และสิ่งประดิษฐฯ

4. เพิ่มศักยภาพครูผูสอน และบุคลากรทางการศึกษา

5. ความปลอดภัยของผูเรียน

Page 32: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

32

ยุทธศาสตร 2 : การสงเสริมและสรางคุณธรรม จริยธรรม และความเปนไทย

กลยุทธ

1. จัดกิจกรรมตามนโยบาย 3D

2. พัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี และคนเกง

3. รวมมือกับชุมชนในการจัดกิจกรรม ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย

ยุทธศาสตร 3 : การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการบริหารจัดการ

และการจัดการเรียนการสอน

กลยุทธ

1. พัฒนาและอบรมผูบริหาร ครู บุคลากร และผูเรียนใหเขาใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

2. จัดกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. นําเทคโนโลยีมาใชการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน

4. บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงในแผนการเรียนรู

ยุทธศาสตร 4 : สรางความรวมมือกับชุมชนและหนวยงานตางๆ

กลยุทธ

1. สรรหาบุคคลภายนอกเปนคณะกรรมการสถานศึกษา

2. ระดมทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกในการสนับสนุนจัดการศึกษา

3. จัดโครงการ/แผนงาน ตามนโยบายรัฐบาล และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

4. อบรมและฝกอาชีพใหกับผูดอยโอกาสทางการศึกษา

ยุทธศาสตร 5 : การบรหิารจัดการสภาพแวดลอมใหเอ้ืออํานวยตอการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ

กลยุทธ

1. จัดแผนพัฒนาและบํารุงรักษาดานอาคาร สถานที่ และสิ่งอํานวยความสะดวก

2. จัดระบบ 5ส อยางมีคุณภาพในทุกกลุมงาน

3. ปรับปรุง บํารุงรักษา สื่อ อุปกรณและครุภัณฑทางการศึกษาใหพรอมใชงาน

ยุทธศาสตร 6 : การเพ่ิมจํานวนผูเรียนในแตละหลักสูตร

กลยุทธ

1. พัฒนารูปแบบการประชาสัมพันธใหเขาถึงกลุมผูเรียน

2. ขยายเครือขายความรวมมือ (MOU) ระหวางสถานศึกษากับสถานศึกษา ระหวาง

สถานศึกษากับหนวยงาน ระหวางสถานศึกษากับองคกร ชุมชนทองถ่ิน

3. พัฒนาหลักสูตรระยะสั้นใหเกิดความหลากหลาย ตอบสนองตอความตองการในทุกระดับ

Page 33: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

33

ตอนท่ี 4 การดําเนินงานตามมาตรฐานและตัวบงชี ้

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเรียนและผูสําเร็จการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น

ขอกําหนดท่ี 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในเรื่องตอไปน้ี

ขอกําหนดท่ี 1.1 สรางวินัยในการทํางาน มีคานิยมท่ีดีงาม

ตัวบงชี้ท่ี 1 รอยละของผูเขารับการอบรมท่ีปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงานในการใช

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมือ เครื่องแตงกาย ตามระเบียบ

แนวทางท่ีกําหนด

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัย เปดทําการสอนในปการศึกษา 2554 ประกอบดวยหลักสูตรระยะสั้นในชวงเวลาปกติ

(ภาคกลางวัน) และชวงนอกเวลา (ภาคคํ่า) วิทยาลัย กําหนดใหแตละแผนกวิชา แตละหลักสูตรจัดทําปาย

แสดงกฎ ระเบียบ แนวทางการใชหองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณตางๆ ใหเหมาะสมกับ

แตละรายวิชา แตละหลักสูตร เชน ระเบียบการใชหองปฏิบัติการหองคอมพิวเตอร ระเบียบการใช

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณทางชาง ระเบียบการแตงกาย การรักษาความสะอาด

และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในนักศึกษาปฏิบัติตามอยางชัดเจน และแจงผูเรียนไดปฏิบัติตาม

อยางเครงครัดและครูผูสอนคอยกํากับดูแล อบรมแนะนําใหผูเรียนปฏิบัติอยางถูกตองและจัดใหมีการ

ประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงาน กฎระเบียบการปฏิบัติงาน

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยสารพัดชางมีผูเขารับการอบรมหลักสูตรระยะสั้น แตละหลักสูตร แตละรายวิชา แบงเปน

หลักสูตร MOU ,ประชาชนทั่วไป ,แกนประถม แกนมัธยม ในปการศึกษา 2554 จํานวนนักศึกษาตลอด

ปการศึกษา 6,926 คน จากแบบประเมินผลการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงาน กฎระเบียบการปฏิบัติงาน

มีจํานวนนักศึกษาที่ปฏิบัติตามแนวทางการใชหองปฏิบัติการโรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณ การแตงกาย

การรักษาความปลอดภัย ทั้ง จากจํานวนนักศึกษา 6,914 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวาการฝกอบรมแตละหลักสูตร แตละรายวิชา มีนักศึกษาปฏิบัติตาม

แนวทางการใชหองปฏิบัติการโรงฝกงาน การใชเครื่องมืออุปกรณ การแตงกาย ตามระเบียบแนวทางที่กําหนด

จํานวนนักศึกษา 6,914 คน คิดเปนรอยละ 99.82 ของจํานวนนักศึกษาหลักสูตร ระยะสั้น ปการศึกษา 2554

ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดีขอกําหนดที่ 1.2 ผลการเรียนรูของผูเขารับการอบรม

Page 34: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

34

ตัวบงชี้ท่ี 2 รอยละของผูเขารับการอบรมท่ีผานเกณฑการจบหลักสูตร หรือมีผลคะแนน

ทดสอบหลังการอมรมสูงกวากอนการอบรม

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัย เปดทําการสอนหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2554 ในเวลาปกติ (ภาคกลางวัน) และ

ชวงนอกเวลา (ภาคคํ่า) ประกอบดวยรายวิชาดังน้ี

หลักสูตร ลําดับที ่ รายวิชา จํานวน

ชม.

จํานวน

ผูเรียน จํานวนผูจบ

MOU

1 คณิตศาสตรชางยนต 36 12 12

2 ภาษาอังกฤษเพ่ืองานคอมพิวเตอร 54 31 31

3 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 72 11 11

4 งานฝกฝมือ 108 11 11

5 วัสดุชางอตุสาหกรรม 36 20 20

6 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 72 8 8

7 งานเครื่องมือกลเบื้องตน 72 19 19

8 ชางซอมเคร่ืองปรับอากาศแยกสวน 75 16 16

9 งานไฟฟาเบื้องตน 36 23 23

10 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและวงจร 72 7 7

11 เขียนแบบไฟฟา 72 11 11

12 เครื่องวัดไฟฟา 72 8 8

13 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 72 5 5

14 งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบ้ืองตน 72 23 23

15 วงจรไฟฟา 1 90 7 7

16 วงจรไฟฟา 2 90 5 5

17 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 108 5 5

18 เคร่ืองทําความเย็นและปรับอากาศ1 108 7 7

19 เคร่ืองทําความเย็นและปรับอากาศ2 108 5 5

20 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 54 7 7

21 งานเครื่องยนตแกสโซลีน 108 12 12

22 งานเครื่องยนตดีเซล 108 12 12

23 การขับรถยนต 75 12 12

24 งานเครื่องยนตเบื้องตน 36 8 8

Page 35: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

35

หลักสูตร ลําดับที ่ รายวิชา จํานวน

ชม.

จํานวน

ผูเรียน จํานวนผูจบ

MOU

25 งานสงกําลังรถยนต 108 12 12

26 งานเครื่องยนตเล็ก 108 12 12

27 มารยาทการสมาคม 72 48 48

28 บัญชีเบื้องตน 40 24 24

29 บัญชีเบื้องตน 1 72 38 38

30 การจัดเก็บเอกสาร 72 31 31

31 การใชเครื่องใชสํานักงาน 72 37 37

32 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 54 63 63

33 การเงินสวนบุคคล 54 63 63

34 พลังงานและสิ่งแวดลอม 54 48 48

35 การขาย 1 54 17 17

36 ธุรกิจทั่วไป 36 30 30

37 เอกสารธุรกิจ 36 30 30

38 เศรษฐศาสตรเบื้อตน 36 37 37

39 การตัดตอวีดีโอข้ันพื้นฐาน 30 15 15

40 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 54 57 57

41 คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย 40 16 16

42 การประมวลผลขอมูลอิเล็คทรอนิกส 36 51 51

43 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 36 38 38

44 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 72 51 51

45 หลักการเขียนโปรแกรม 72 37 37

46 โครงงาน 72 37 37

47 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบ้ืองตน 72 38 38

48 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 72 22 22

49 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 108 42 42

50 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา 54 30 30

51 จริยธรรมในอาชีพคอม ฯ 36 35 35

52 การใชโปรแกรมกราฟกส 72 46 46

53 การสรางเว็บเพจ 72 63 63

54 ระบบเครือขายเบื้องตน 72 46 46

55 เทคโนโลยีสํานักงาน 72 31 31

Page 36: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

36

หลักสูตร ลําดับที ่ รายวิชา จํานวน

ชม.

จํานวน

ผูเรียน จํานวนผูจบ

MOU

56 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการGUI 72 35 35

57 การใชโปรแกรมตารางงาน 72 59 59

58 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 72 30 30

59 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 72 46 46

60 การขับรถยนต 75 92 92

ประชาชนทั่วไป

61 ซอยผม-ดัดผม 120 84 84

62 การเปลี่ยนสีผม 30 64 64

63 อาหารไทย 10 14 14

แกนประถม

64 อาหารไทย 3 20 157 157

65 ขนมไทยเบื้องตน 3 20 185 185

66 อาหารไทยเบื้องตน 4 40 52 52

67 ขนมไทยเบื้องตน 4 40 68 68

68 การทําซาลาเปาไสหมู การทําขนมจีบหมู 6 100 100

69 พัฒนานวัตกรรมตอยอดผลิตภัณฑชุมชน 6 246 246

70 งานใบตอง 20 149 149

71 แกะสลักผักและผลไม 20 125 125

72 ศิลปะการผูกผา 20 59 59

73 การรอยมาลัย 20 47 47

74 สิ่งประดิษฐจากแปง 20 59 59

75 ศิลปะประดิษฐ 20 410 404

76 พิมพดีดไทยเบื้องตน 75 15 15

77 พิมพดีดไทย 20 372 372

78 พิมพดีดอังกฤษ 40 14 14

79 พิมพดีดอังกฤษดวยคอมฯ 54 38 38

80 พิมพไทยดวยคอม 1 72 38 38

81 พิมพไทยดวยคอม 2 54 30 30

82 โปรแกรมตารางงานข้ันพื้นฐาน 20 355 352

83 โปรแกรมนําเสนอขอมูล 20 180 180

84 โปรแกรมประมวลผลคําขั้นพ้ืนฐาน 20 301 298

85 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 20 271 271

86 โปรแกรมตารางงานประยุกต 20 323 323

Page 37: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

37

หลักสูตร ลําดับที ่ รายวิชา จํานวน

ชม.

จํานวน

ผูเรียน จํานวนผูจบ

แกนประถม

87 งานบริการและซอมเครื่องใชไฟฟา 6 290 290

88 ชางเดินสายไฟฟาเบื้องตน 15 175 175

89 ชางเดินสายไฟฟาในอาคาร 40 26 26

90 ชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน 45 37 37

91 การติดตั้งไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 54 28 28

92 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 1 15 197 197

93 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 2 15 75 75

94 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 3 15 58 58

95 ไวยกรณเบื้องตน 1 20 139 139

96 ไวยกรณเบื้องตน 2 40 104 104

97 ระบบสารสนเทศ IT 10 200 200

98 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 10 149 149

รวม 6,926 6,914

ผลการดําเนินงาน

จากการเปดการเรียนการสอน หลักสูตรระยะสั้นของวิทยาลัย ในปการศึกษา 2554 มีจํานวนนักศึกษา

ทั้งหมด 6,926 คน มีนักศึกษาที่ผานเกณฑการจบหลักสูตรทั้งหมด 6,914 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวามีจํานวนผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2554

มีจํานวน 6,926 คน และมีผูที่ผานเกณฑการจบหลักสูตร หรือมีผลคะแนนทดสอบหลังการอบรมสูงกวากอน

การอบรมจํานวน 6,914 คน คิดเปนรอยละ 99.82 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 1.3 การนําความรูจากการฝกอบรมไปประกอบอาชพี หรือนําไปใชประโยชน

ตัวบงชี้ท่ี 3 รอยละของผูสําเร็จการอบรมท่ีนําความรูไปประกอบอาชีพ หรือนําไปใชประโยชน

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัย จัดการเรียนการสอนใหผูเขารับการฝกอบรมไดฝกปฏิบัติจริงจนเกิดทักษะ สามารถนําความรู

ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน และไดมีการจัดเก็บรวบรวมขอมูลของผูสําเร็จการฝกอบรมในแตละหลักสูตร

แตละรายวิชา ที่ไดนําความรูจากการอบรมไปประกอบอาชีพ หรือนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

อยางตอเน่ือง

Page 38: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

38

ผลการดําเนินงาน

จากการเปดการเรียนการสอน หลักสูตระยะสั้นของวิทยาลัยในปการศึกษา 2554 มีจํานวนนักศึกษา

ทั้งหมด 6,926 คน มีนักศึกษาที่ผานเกณฑการจบหลักสูตรทั้งหมด 6,914 คน

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวามีจํานวนผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ปการศึกษา 2554

จํานวน 6,926 คน คิดเปนรอยละ 100 และมีผูผานเกณฑการจบหลักสูตร การอบรมจํานวน 6,914 คน

คิดเปนรอยละ 99.82 และมีจํ านวนผูสํ า เร็จการอบรมแตละหลักสูตรที่ นําความรูจากการอบรม

ไปประกอบอาชีพ จํานวน 1,590 คน คิดเปนรอยละ 23.00 นําความรูไปใชพัฒนาอาชีพ จํานวน 898 คน

คิดเปนรอยละ 13.00 นําไปเปลี่ยนอาชีพจํานวน 1,106 คน คิดเปนรอยละ 16.00 นําไปประยุกตเพื่อลด

คาใชจ าย ไมมีผู ใหขอมูล และนําไปใช ในการ ศึกษาตอจํ านวน 3,318 คน คิดเปนรอยละ 48.00

ในปการศึกษา 2554 ผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ใหขอมูลดานผูสําเร็จการอบรมที่นําความรู

ไปประกอบอาชีพหรือนําไปใชประโยชน ทั้งหมด 100 % จากจํานวนผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2554

ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 1.4 คุณลักษณะของผูสําเร็จการอบรมท่ีสถานประกอบการหรือหนวยงานพึงพอใจ

ตัวบงชี้ท่ี 4 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการท่ีมีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละ

หลักสูตร

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัย ไดตระหนักถึงความพึงพอใจของผูบริหาร เจาของสถานประกอบการหรือผูที่เกี่ยวของ

ที่มีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละหลักสูตร ในเรื่องเกี่ยวกับความรูความสามารถ ทางดานทักษะการทํางานตาม

ลักษณะงานในหลักสูตรน้ันๆ ดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการทํางาน และดานคุณธรรม

จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ ตรงตอเวลารับผิดชอบตอหนาที่ ประสิทธิผลในการทํางาน โดยสํารวจ

ความคิดเห็นของสถานประกอบการหรือหนวยงานตางๆ ทั้งของสวนภาครัฐและเอกชนที่มีตอการทํางานของ

ผูสําเร็จการอบรมหลักสูตรระยะสั้นในรายวิชาตางๆ ความรูความสามารถทางดานทักษะการทํางานตาม

ลักษณะงานในหลักสูตรน้ันๆ ดานความรูความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการทํางานและดานคุณธรรม

จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอหนาที่ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม เปนตน

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัย มีผูเขารับการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น แตละหลักสูตร แตละรายวิชา ในปการศึกษา

2554 มีจํานวน 6,926 คน จํานวนผูสําเร็จการอบรมแตละหลักสูตร มีจํานวน 6,914 คน และนําความรู

จากการอบรมไปประกอบอาชีพ จํานวน 898 คน

Page 39: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

39

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล สรุปไดวา ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการ

อบรมในแตละหลักสูตร อยูในระดับ ดี คือ คาเฉลี่ยระดับความพึงพอใจที่สถานประกอบการมีตอผูสําเร็จการ

อบรมมากวา 3.74 โดยมีคาเฉลี่ยเปน 3.95 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 40: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

40

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่1 รอยละของผูเขารับ

การอบรมที่ปฏิบัติตามแนว

ทางการปฏิบัติงานในการใช

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน การ

ใชเคร่ืองมือ การแตงกายตาม

ระเบียบแนวทางที่กําหนด

รอยละของผูเขารับการฝกอบรม

ที่ปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนด

รอยละ 90

รอยละของผูเขารับการ

ฝกอบรมที่ปฏิบัติตามแนวทาง

ที่กําหนด รอยละ 99.82

ตัวบงชี้ที ่2 รอยละของผูเขารับ

การฝกอบรมที่ผานเกณฑการจบ

หลักสูตร หรือมีผลคะแนน

ทดสอบหลังการอบรมสูงกวา

กอนการอบรม

รอยละของผูเขารับการฝกอบรม

ที่ผานเกณฑการจบหลักสตูรตอง

ไมนอยกวา รอยละ 80

รอยละของผูเขารับการ

ฝกอบรมที่ผานเกณฑการจบ

หลักสูตรคิดเปนรอยละ 99.82

ตัวบงชี้ที ่3 รอยละของผูสําเร็จ

การอบรมที่นําความรูไปประกอบ

อาชีพ หรือนําไปใชประโยชน

รอยละของผูสําเร็จการอบรมที่

นําความรูไปประกอบอาชีพ หรือ

นําไปใชประโยชนตองไมนอย

กวา รอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการอบรมที่

นําความรูไปประกอบอาชีพ

หรือนําไปใชประโยชนคิดเปน

รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่4 ระดับความ

พึงพอใจของสถานประกอบการที่

มีตอผูสําเร็จการอบรมในแตละ

หลักสูตร

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการ

อบรมในแตละหลักสูตรตองไม

มากกวา 3.74

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอผูสําเร็จการ

อบรมในแตละหลักสูตรตองไม

มากกวา 3.95

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

ในปการศึกษา 2554 วิทยาลัยฯมีการกําหนดเปาหมายโดยใหคาเฉลี่ยเพิ่มข้ึนสําหรับมาตรฐานที่ 1

จากการรวบรวมขอมูลของมาตรฐานที่ 1 ทุกตัวบงช้ี (ตัวบงช้ีที่ 1,2,3 และ 4) ผลสัมฤทธ์ิที่ไดโดยคิดเปนรอยละ

เพิ่มข้ึนโดยเปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดโดยสถานศึกษา

จุดท่ีควรพัฒนา

ในปการศึกษา 2554 สําหรับมาตรฐานที่ 1 ตัวบงช้ีที่ 4 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ

ที่มีตอผูสําเร็จการอบรม ผลสัมฤทธ์ิของการดําเนินการ ได 3.95 ซึ่งตํ่ากวาผลสัมฤทธ์ิของปที่ผานมา

Page 41: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

41

มาตรฐานท่ี 2 หลักสูตรและการจัดฝกอบรม หลักสูตรระยะสั้น

ขอกําหนดท่ี 2.1 พัฒนาหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะในการฝกอบรมอยางตอเน่ืองทุก 2 ป

ตัวบงชี้ท่ี 5 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีไดรับการพัฒนาแบบฐานสมรรถนะ สอดคลองกับ

ความตองการของสังคม

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยมีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีการดําเนินการประเมินความตองการฝกอบรมของ

ชุมชน สังคม สํารวจความตองการ ความคิดเห็นของผูจบหลักสูตร เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุง

หลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการ แลวนําหลักสูตรที่ไดปรับปรุงไปใชในการฝกอบรม

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดเปดหลักสูตรระยะสั้นจํานวนทั้งสิ้น 95 รายวิชา(ยกเวนโครงการ Fix It Center และ

108 อาชีพ) และไดมีการประเมินผลและสํารวจความตองการของชุมชน นํามาพัฒนาและปรับปรุงจํานวนทั้งสิ้น

71 รายวิชา

ผลสัมฤทธิ ์

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการพัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยางตอเน่ืองทุก 2 ป เมื่อเทียบกับรายวิชา

ทั้งหมด คิดเปนรอยละ 74.73 อยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 2.2 ระดับในการประเมินผลการฝกอบรม

ตัวบงชี้ท่ี 6 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีการประเมินผลการประเมินการฝกอบรม

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยมีวิธีการประเมินผลผูเขารับการอบรมอยางเปนระบบ โดยมีการประเมินในระหวางการ

ฝกอบรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เนนการประเมินพัฒนาทักษะวิชาชีพ กิจนิสัยและความปลอดภัย

ในการทํางาน มีการประเมินเมื่อสิ้นสุดการอบรมตามเกณฑการจัดหลักสูตรระยะสั้น โดยทดสอบสมรรถนะ

ตามระดับทักษะ มีกระบวนการการฝกอบรมที่หลากหลาย มีการสังเกตการทํางาน การประเมินช้ินงาน

เพื่อประเมินความกาวหนาและความสําเร็จของการทํางาน แลวนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุง

การจัดกระบวนการฝกอบรมและกระบวนการเรียนรู

Page 42: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

42

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยจัดใหมีการประเมินในระหวางการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยมีกระบวนการ

ที่เนนการประเมินทั้งดานทักษะวิชาชีพ รวมไปถึงกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานอยางปลอดภัยในทุกรายวิชา

และมีการประเมินเมื่อสิ้นสุดการฝกอบรมตามเกณฑการจบหลักสูตร โดยมีการประเมินดวยกระบวนการ

ที่หลากหลาย และนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการจัดกระบวนการฝกอบรมและกระบวนการเรียนรู

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยมีหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 95 รายวิชา ที่มีการประเมินผลการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏิบัติ โดยมีกระบวนการที่เนนการประเมินทั้งดานทักษะวิชาชีพ รวมไปถึงกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน

อยางปลอดภัยและมีการประเมินเมื่อสิ้นสุดการฝกอบรมตามเกณฑการจบหลักสูตรโดยมีการประเมินดวย

กระบวนการที่หลากหลาย ครบทุกข้ันตอน 84 รายวิชา คิดเปน รอยละ 88.42 อยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 2.3 จัดการฝกอบรมอยางมีคุณภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 7 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมท่ีมีตอคุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยจัดการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้นที่หลากหลาย เปดโอกาสใหประชาชนและผูที่มีความสนใจ

ทั่วไปเขารวมการฝกอบรม เพื่อนําความรูที่ไดรับนําไปใชในการประกอบอาชีพหรือเพื่อเปลี่ยนอาชีพและยัง

สามารถนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชเพื่อลดคาใชจาย แลวยังสามารถพัฒนาอาชีพเดิมที่ทําอยูใหมี

ประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนตอไป

ผลการดําเนินงาน

ผูเขารับการฝกอบรมตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดการฝกอบรม หลักสูตรระยะสั้น

ของวิทยาลัย หลังจากสิ้นสุดการฝกอบรม เพื่อนํามาหาคาระดับความพึงพอใจของการจัดการการฝกอบรม

หลักสูตรระยะสั้น

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยมีรายวิชาหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 95 รายวิชา และแตละรายวิชามีการประเมินระดับความ

พึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม โดยใชแบบสอบถามแบบมาตรวัด 5 ระดับ ผลของการประเมินระดับความ

พึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม โดยสุมเลือกแบบสอบถามจากรายวิชาที่หลากหลายเปนตัวแทนของ

ทุกหลักสูตร มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ 4.20 มีผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 43: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

43

ขอกําหนดท่ี 2.4 จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูของผูรับการอบรมในหลักสูตรตาง ๆ อยาง

เหมาะสมเพียงพอ เพ่ือใหผูรับการฝกอบรมไดฝกทักษะจนมีสมรรถนะเพียงพอ

ตามหลักสูตร

ตัวบงชี้ท่ี 8 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑพอเพียง ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตร

ในการฝกอบรม

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยจัดประชุมช้ีแจงและสํารวจความตองการ ครุภัณฑ ครุภัณฑตํ่ากวาเกณฑ การซอมแซม

ครุภัณฑของแตละแผนกวิชาและจัดประชุมเพื่อจัดสรรงบประมาณ ตามลําดับความสําคัญไดอยางเหมาะสมโดย

บรรจุไวในแผนปฏิบัติการประจําปของสถานศึกษา มอบใหพัสดุจัดซื้อเปนไปตามระเบียบและเบิกจายแกแผนก

วิชา จัดสรรงบประมาณสําหรับการบํารุงดูแลรักษา ซอมแซม ใหครุภัณฑการศึกษามีสภาพพรอมใชงานเสมอ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยจัดซื้อครุภัณฑ ครุภัณฑตํ่ากวาเกณฑ การซอมบํารุงรักษาครุภัณฑเครื่องมือ อุปกรณการศึกษา

ที่ทันสมัยเพิ่มข้ึน แตละรายวิชาไดมีการจัดระบบและการดูแลรักษาไดอยางเหมาะสม มีความเพียงพอกับ

รายวิชาที่สอน

สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน/ผูเขารับการฝกอบรม ประจําปการศึกษา 2554

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑเพียงพอ

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการ

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

1 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 1 3.99 79.80 พอใช

2 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 2 4.02 80.40 ดี

3 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 3 4.35 87.00 ดี

4 ไวยกรณเบื้องตน 1 4.33 86.60 ดี

5 ไวยกรณเบื้องตน 2 4.12 82.40 ดี

6 คณิตศาสตรชางยนต 4.00 80.00 ดี

7 ภาษาองักฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 4.30 86.00 ดี

8 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 4.38 87.60 ดี

9 งานฝกฝมือ 4.25 85.00 ดี

10 วัสดุชางอุตสาหกรรม 4.26 85.20 ดี

11 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 4.15 83.00 ดี

12 งานเครื่องมือกลเบื้องตน 4.30 86.00 ดี

Page 44: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

44

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑเพียงพอ

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการ

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

13 ชางซอมเครื่องปรับอากาศแยกสวน 4.30 86.00 ดี

14 งานไฟฟาเบื้องตน 4.08 81.60 ดี

15 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและวงจร 4.11 82.20 ดี

16 เขียนแบบไฟฟา 4.12 82.40 ดี

17 ชางเดินสายไฟฟาเบื้องตน 4.69 93.80 ดี

18 ชางเดินสายไฟฟาในอาคาร 4.03 80.60 ดี

19 ชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน 4.06 81.20 ดี

20 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 4.20 84.00 ดี

21 เครื่องวัดไฟฟา 4.02 80.40 ดี

22 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 4.02 80.40 ดี

23 งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.22 84.40 ดี

24 วงจรไฟฟา 1 4.04 80.80 ดี

25 วงจรไฟฟา 2 4.03 80.60 ดี

26 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 4.22 84.40 ดี

27 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ1 4.23 84.60 ดี

28 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ2 4.00 80.00 ดี

29 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 3.95 79.00 พอใช

30 งานเครื่องยนตแกสโซลีน 4.14 82.80 ดี

31 งานเครื่องยนตดีเซล 4.30 86.00 ดี

32 การขับรถยนต 3.50 70.00 พอใช

33 งานเครื่องยนตเบื้องตน 3.80 76.00 พอใช

34 งานสงกําลังรถยนต 4.00 80.00 ดี

35 งานเครื่องยนตเล็ก 4.00 80.00 ดี

36 ซอยผม-ดัดผม 4.00 80.00 ดี

37 การเปลี่ยนสีผม 4.00 80.00 ดี

38 อาหารไทย 4.00 80.00 ดี

39 อาหารไทย 3 3.90 78.00 พอใช

Page 45: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

45

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑเพียงพอ

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการ

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

40 ขนมไทยเบื้องตน 3 3.95 79.00 พอใช

41 อาหารไทยเบื้องตน 4 3.85 77.00 พอใช

42 ขนมไทยเบื้องตน 4 3.90 78.00 พอใช

43 การทําซาลาเปาไสหม ูการทําขนมจีบหม ู 3.80 76.00 พอใช

44 งานใบตอง 4.00 80.00 ดี

45 แกะสลักผักและผลไม 4.30 86.00 ดี

46 ศิลปะการผูกผา 4.32 86.40 ดี

47 การรอยมาลัย 4.30 86.00 ดี

48 สิ่งประดิษฐจากแปง 4.30 86.00 ดี

49 ศิลปะประดิษฐ 4.01 80.20 ดี

50 พิมพดีดไทยเบื้องตน 4.30 86.00 ดี

51 พิมพดีดไทย 4.35 87.00 ดี

52 พิมพดีดอังกฤษ 4.10 82.00 ดี

53 พิมพดีดอังกฤษดวยคอมฯ 4.08 81.60 ดี

54 พิมพไทยดวยคอม 1 4.00 80.00 ดี

55 พิมพไทยดวยคอม 2 4.35 87.00 ดี

56 มารยาทการสมาคม 3.82 76.40 พอใช

57 บัญชีเบื้องตน 3.89 77.80 พอใช

58 บัญชีเบื้องตน 1 3.75 75.00 พอใช

59 การจัดเก็บเอกสาร 3.50 70.00 พอใช

60 การใชเครื่องใชสํานักงาน 3.20 64.00 พอใช

61 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.00 80.00 ดี

62 การเงินสวนบุคคล 4.30 86.00 ดี

63 พลังงานและสิ่งแวดลอม 4.32 86.40 ดี

64 การขาย 1 4.30 86.00 ดี

65 ธุรกิจทั่วไป 3.84 76.80 พอใช

66 เอกสารธุรกิจ 4.31 86.20 ดี

Page 46: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

46

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑเพียงพอ

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการ

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

67 เศรษฐศาสตรเบื้อตน 4.33 86.60 ดี

68 โปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.36 87.20 ดี

69 โปรแกรมประมวลผลคําข้ันพื้นฐาน 4.36 87.20 ดี

70 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 4.33 86.56 ดี

71 โปรแกรมตารางงานข้ันพื้นฐาน 4.34 86.78 ดี

72 โปรแกรมตารางงานประยุกต 4.35 87.00 ดี

73 การตัดตอวีดีโอข้ันพื้นฐาน 4.36 87.22 ดี

74 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 3.90 78.00 พอใช

75 คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย 3.72 74.40 พอใช

76 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 3.70 74.00 พอใช

77 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 3.80 76.00 พอใช

78 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 3.91 78.20 พอใช

79 หลักการเขียนโปรแกรม 3.80 76.00 พอใช

80 โครงงาน 4.00 80.00 ดี

81 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 3.82 76.40 พอใช

82 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 3.89 77.80 พอใช

83 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.01 80.20 ดี

84 ระบบสารสนเทศ IT 4.01 80.20 ดี

85 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 3.92 78.40 พอใช

86 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา 3.80 76.00 พอใช

87 จริยธรรมในอาชีพคอม ฯ 4.02 80.40 ดี

88 การใชโปรแกรมกราฟก 4.02 80.40 ดี

89 การสรางเว็บเพจ 4.22 84.40 ดี

90 ระบบเครือขายเบื้องตน 3.82 76.40 พอใช

91 เทคโนโลยีสํานักงาน 3.89 77.80 พอใช

92 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการGUI 4.22 84.40 ดี

93 การใชโปรแกรมตารางงาน 4.30 86.00 ดี

Page 47: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

47

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีครุภัณฑเพียงพอ

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการ

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

94 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.02 80.40 ดี

95 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 4.35 87.00 ดี

รวมคาเฉลีย่/คิดเปนรอยละ 4.07 81.50 ดี

ผลสัมฤทธิ ์

รอยละของหลักสูตรรายวิชาที่มีครุภัณฑเพียงพอ ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรในการฝกอบรม

เทากับ รอยละ 81.50 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 9 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ ในการฝกอบรมในแตละ

หลักสูตรรายวิชา

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณ สําหรับจัดซื้อวัสดุ ในการฝกอบรมในแตละรายวิชาตาง ๆ โดยกําหนด

ไวในแผนปฏิบัติการประจําป จัดประชุมรวมกับครูผูสอน เพื่อพิจารณา แผนการสอน/โครงการ/กิจกรรม

ในแตละรายวิชาที่มีความจําเปนจัดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุใหเพียงพอเหมาะสม และเกิดประโยชนสูงสุด

จัดทําแบบสํารวจสอบถามความพอเพียงของวัสดุ กับครูผูสอนและผูเรียนเพื่อนํามาประมวลผลในรายวิชา

ระยะสั้นทุกรายวิชา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณ สําหรับจัดซื้อวัสดุ ในการฝกอบรมในแตละสาขาวิชาตาง ๆ อยาง

เพียงพอและเหมาะสมตามแผนการจัดการเรียนการสอน จากการสํารวจหลักสูตรรายวิชาจํานวน 95 รายวิชา

มีความเพียงพอดานวัสดุ อุปกรณ โดยสรุปดังน้ี

สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน/ผูเขารับการฝกอบรม ประจําปการศึกษา 2554

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

1 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 1 4.35 87.00 ดี

2 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 2 4.33 86.60 ดี

3 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 3 4.12 82.40 ดี

Page 48: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

48

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

4 ไวยกรณเบื้องตน 1 4.00 80.00 ดี

5 ไวยกรณเบื้องตน 2 4.30 86.00 ดี

6 คณิตศาสตรชางยนต 4.38 87.60 ดี

7 ภาษาอังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 4.25 85.00 ดี

8 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 4.26 85.20 ดี

9 งานฝกฝมือ 4.15 83.00 ดี

10 วัสดุชางอุตสาหกรรม 4.30 86.00 ดี

11 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 4.30 86.00 ดี

12 งานเครื่องมือกลเบื้องตน 4.08 81.60 ดี

13 ชางซอมเครื่องปรับอากาศแยกสวน 4.11 82.20 ดี

14 งานไฟฟาเบื้องตน 4.12 82.40 ดี

15 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและวงจร 4.69 93.80 ดี

16 เขียนแบบไฟฟา 4.03 80.60 ดี

17 ชางเดินสายไฟฟาเบื้องตน 4.06 81.20 ดี

18 ชางเดินสายไฟฟาในอาคาร 4.20 84.00 ดี

19 ชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน 4.02 80.40 ดี

20 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 4.02 80.40 ดี

21 เครื่องวัดไฟฟา 4.22 84.40 ดี

22 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 4.04 80.80 ดี

23 งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.03 80.60 ดี

24 วงจรไฟฟา 1 4.22 84.40 ดี

25 วงจรไฟฟา 2 4.23 84.60 ดี

26 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 4.00 80.00 ดี

27 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ1 3.95 79.00 พอใช

28 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ2 4.14 82.80 ดี

29 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.30 86.00 ดี

30 งานเครื่องยนตแกสโซลีน 4.07 81.40 ดี

Page 49: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

49

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

31 งานเครื่องยนตดีเซล 4.08 81.60 ดี

32 การขับรถยนต 4.50 90.00 ดี

33 งานเครื่องยนตเบื้องตน 4.24 84.80 ดี

34 งานสงกําลงัรถยนต 4.31 86.20 ดี

35 งานเครื่องยนตเล็ก 4.00 80.00 ดี

36 ซอยผม-ดัดผม 4.31 86.20 ดี

37 การเปลี่ยนสีผม 4.30 86.00 ดี

38 อาหารไทย 4.30 86.00 ดี

39 อาหารไทย 3 4.08 81.60 ดี

40 ขนมไทยเบื้องตน 3 3.89 77.80 พอใช

41 อาหารไทยเบื้องตน 4 4.02 80.40 ดี

42 ขนมไทยเบื้องตน 4 3.92 78.40 พอใช

43 การทําซาลาเปาไสหม ูการทําขนมจีบหม ู 4.27 85.40 ดี

44 งานใบตอง 4.40 88.00 ดี

45 แกะสลักผักและผลไม 4.01 80.20 ดี

46 ศิลปะการผูกผา 3.99 79.80 พอใช

47 การรอยมาลัย 4.02 80.40 ดี

48 สิ่งประดิษฐจากแปง 4.35 87.00 ดี

49 ศิลปะประดิษฐ 4.33 86.60 ดี

50 พิมพดีดไทยเบื้องตน 4.12 82.40 ดี

51 พิมพดีดไทย 4.00 80.00 ดี

52 พิมพดีดอังกฤษ 4.20 84.00 ดี

53 พิมพดีดอังกฤษดวยคอมฯ 4.35 87.00 ดี

54 พิมพไทยดวยคอม 1 4.07 81.40 ดี

55 พิมพไทยดวยคอม 2 4.07 81.40 ดี

56 มารยาทการสมาคม 4.08 81.60 ดี

57 บัญชีเบื้องตน 4.50 90.00 ดี

Page 50: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

50

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

58 บัญชีเบื้องตน 1 4.24 84.80 ดี

59 การจัดเก็บเอกสาร 4.31 86.20 ดี

60 การใชเครื่องใชสํานักงาน 4.00 80.00 ดี

61 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.31 86.20 ดี

62 การเงินสวนบุคคล 4.30 86.00 ดี

63 พลังงานและสิ่งแวดลอม 4.30 86.00 ดี

64 การขาย 1 4.08 81.60 ดี

65 ธุรกิจทั่วไป 4.11 82.20 ดี

66 เอกสารธุรกิจ 4.12 82.40 ดี

67 เศรษฐศาสตรเบื้อตน 4.44 88.80 ดี

68 โปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.00 80.00 ดี

69 โปรแกรมประมวลผลคําข้ันพื้นฐาน 4.30 86.00 ดี

70 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 4.32 86.40 ดี

71 โปรแกรมตารางงานข้ันพื้นฐาน 4.30 86.00 ดี

72 โปรแกรมตารางงานประยุกต 3.84 76.80 พอใช

73 การตัดตอวีดีโอข้ันพื้นฐาน 4.36 87.20 ดี

74 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 4.31 86.20 ดี

75 คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย 4.33 86.60 ดี

76 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 4.36 87.20 ดี

77 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 4.36 87.20 ดี

78 การใชโปรแกรมฐานขอมลู 4.45 89.00 ดี

79 หลักการเขียนโปรแกรม 4.03 80.60 ดี

80 โครงงาน 4.06 81.20 ดี

81 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 4.20 84.00 ดี

82 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 4.02 80.40 ดี

83 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.02 80.40 ดี

84 ระบบสารสนเทศ IT 4.22 84.40 ดี

Page 51: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

51

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

85 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 4.04 80.80 ดี

86 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา 3.80 76.00 พอใช

87 จริยธรรมในอาชีพคอม ฯ 3.83 76.60 พอใช

88 การใชโปรแกรมกราฟก 4.01 80.20 ดี

89 การสรางเว็บเพจ 4.00 80.00 ดี

90 ระบบเครือขายเบื้องตน 4.01 80.20 ดี

91 เทคโนโลยีสํานักงาน 4.30 86.00 ดี

92 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการGUI 4.50 90.00 ดี

93 การใชโปรแกรมตารางงาน 4.02 80.40 ดี

94 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 3.92 78.40 พอใช

95 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 4.02 80.40 ดี

รวมคาเฉลี่ย/คิดเปนรอยละ 4.17 83.39 ดี

ผลสัมฤทธิ ์

รอยละของหลักสูตรรายวิชาที่มีวัสดุอุปกรณเพียงพอ ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตรรายวิชา

เทากับ รอยละ 83.39 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 10 รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการ/โรงฝกงานและอาคารสถานท่ีใน

การฝกอบรมมีเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร

วิธีการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดมีการจัดเตรียมหองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน ใหมีความเหมาะสม และเพียงพอ

ตอการเรียนการสอนตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ตลอดจนจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับผูเรียน มีการ

วางแผนการใชหองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน โดยกําหนดตารางการใชหองเรียนเพื่อใหสะดวก

ตอหลักสูตรน้ันๆ และทําการติดตามเพื่อประเมินผลถึงความเหมาะสม ความเพียงพอของหองเรียน

หองปฏิบัติการ และโรงฝกงาน ของแตละรายวิชา โดยนําผลที่ไดรับมาปรับปรุงแกไขเพื่อจัดทําแผนการ

ปรับปรุงหองเรียน โรงฝกงาน ไวในแผนปฏิบัติการประจําปครั้งตอไป

Page 52: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

52

ผลการดําเนินงาน

สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน/ผูเขารับการฝกอบรม ประจําปการศึกษา 2554

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการเพียงพอ

เหมาะสมกับหลักสูตร

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

1 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 1 3.98 79.60 พอใช

2 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 2 3.71 74.20 พอใช

3 สนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตฯ 3 3.83 76.60 พอใช

4 ไวยกรณเบื้องตน 1 3.45 69.00 พอใช

5 ไวยกรณเบื้องตน 2 3.56 71.20 พอใช

6 คณิตศาสตรชางยนต 3.99 79.80 พอใช

7 ภาษาอังกฤษเพื่องานคอมพิวเตอร 3.89 77.80 พอใช

8 เขียนแบบเทคนิคเบื้องตน 4.27 85.40 ดี

9 งานฝกฝมือ 4.40 88.00 ดี

10 วัสดุชางอุตสาหกรรม 4.01 80.20 ดี

11 งานเช่ือมและโลหะแผนเบื้องตน 3.99 79.80 พอใช

12 งานเครื่องมือกลเบื้องตน 4.02 80.40 ดี

13 ชางซอมเครื่องปรับอากาศแยกสวน 4.35 87.00 ดี

14 งานไฟฟาเบื้องตน 4.33 86.60 ดี

15 อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและวงจร 4.12 82.40 ดี

16 เขียนแบบไฟฟา 4.00 80.00 ดี

17 ชางเดินสายไฟฟาเบื้องตน 4.20 84.00 ดี

18 ชางเดินสายไฟฟาในอาคาร 4.35 87.00 ดี

19 ชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน 4.07 81.40 ดี

20 การติดต้ังไฟฟาในอาคารและในโรงงาน 4.07 81.40 ดี

21 เครื่องวัดไฟฟา 4.08 81.60 ดี

22 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 4.50 90.00 ดี

23 งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 4.24 84.80 ดี

24 วงจรไฟฟา 1 4.31 86.20 ดี

25 วงจรไฟฟา 2 4.00 80.00 ดี

Page 53: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

53

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการเพียงพอ

เหมาะสมกับหลักสูตร

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

26 มอเตอรไฟฟากระแสสลับ 4.31 86.20 ดี

27 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ1 4.30 86.00 ดี

28 เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ2 4.30 86.00 ดี

29 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.08 81.60 ดี

30 งานเครื่องยนตแกสโซลีน 4.11 82.20 ดี

31 งานเครื่องยนตดีเซล 4.12 82.40 ดี

32 การขับรถยนต 4.69 93.80 ดี

33 งานเครื่องยนตเบื้องตน 4.03 80.60 ดี

34 งานสงกําลังรถยนต 4.06 81.20 ดี

35 งานเครื่องยนตเล็ก 4.20 84.00 ดี

36 ซอยผม-ดัดผม 4.02 80.40 ดี

37 การเปลี่ยนสีผม 4.02 80.40 ดี

38 อาหารไทย 4.22 84.40 ดี

39 อาหารไทย 3 4.04 80.80 ดี

40 ขนมไทยเบื้องตน 3 4.03 80.60 ดี

41 อาหารไทยเบื้องตน 4 4.22 84.40 ดี

42 ขนมไทยเบื้องตน 4 4.23 84.60 ดี

43 การทําซาลาเปาไสหม ูการทําขนมจีบหม ู 4.00 80.00 ดี

44 งานใบตอง 3.95 79.00 พอใช

45 แกะสลักผักและผลไม 4.14 82.80 ดี

46 ศิลปะการผูกผา 4.30 86.00 ดี

47 การรอยมาลัย 4.01 80.20 ดี

48 สิ่งประดิษฐจากแปง 4.30 86.00 ดี

49 ศิลปะประดิษฐ 4.35 87.00 ดี

50 พิมพดีดไทยเบื้องตน 4.10 82.00 ดี

51 พิมพดีดไทย 4.08 81.60 ดี

52 พิมพดีดอังกฤษ 4.00 80.00 ดี

Page 54: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

54

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการเพียงพอ

เหมาะสมกับหลักสูตร

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

53 พิมพดีดอังกฤษดวยคอมฯ 4.35 87.00 ดี

54 พิมพไทยดวยคอม 1 4.31 86.20 ดี

55 พิมพไทยดวยคอม 2 4.29 85.80 ดี

56 มารยาทการสมาคม 4.00 80.00 ดี

57 บัญชีเบื้องตน 4.31 86.20 ดี

58 บัญชีเบื้องตน 1 4.30 86.00 ดี

59 การจัดเก็บเอกสาร 4.00 80.00 ดี

60 การใชเครื่องใชสํานักงาน 4.30 86.00 ดี

61 ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ 4.32 86.40 ดี

62 การเงินสวนบุคคล 4.30 86.00 ดี

63 พลังงานและสิ่งแวดลอม 3.84 76.80 พอใช

64 การขาย 1 4.36 87.20 ดี

65 ธุรกิจทั่วไป 4.31 86.20 ดี

66 เอกสารธุรกิจ 4.33 86.60 ดี

67 เศรษฐศาสตรเบื้อตน 4.36 87.20 ดี

68 โปรแกรมนําเสนอขอมูล 4.36 87.20 ดี

69 โปรแกรมประมวลผลคําข้ันพื้นฐาน 3.80 76.00 พอใช

70 โปรแกรมประมวลผลคําประยุกต 3.85 77.00 พอใช

71 โปรแกรมตารางงานข้ันพื้นฐาน 3.83 76.60 พอใช

72 โปรแกรมตารางงานประยุกต 3.81 76.20 พอใช

73 การตัดตอวีดีโอข้ันพื้นฐาน 3.81 76.20 พอใช

74 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 3.90 78.00 พอใช

75 คอมพิวเตอรมัลติมีเดีย 3.72 74.40 พอใช

76 การประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส 3.70 74.00 พอใช

77 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 3.80 76.00 พอใช

78 การใชโปรแกรมฐานขอมูล 3.91 78.20 พอใช

79 หลักการเขียนโปรแกรม 3.80 76.00 พอใช

Page 55: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

55

ท่ี รายวิชา

รอยละของหลักสูตรรายวิชาท่ีมีหองปฏิบัติการเพียงพอ

เหมาะสมกับหลักสูตร

คาเฉลี่ย คิดเปนรอยละ เกณฑท่ีได

80 โครงงาน 4.00 80.00 ดี

81 คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน 3.82 76.40 พอใช

82 ฮารดแวรและยูทิลิต้ีเบื้องตน 3.89 77.80 พอใช

83 ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร 4.01 80.20 ดี

84 ระบบสารสนเทศ IT 4.01 80.20 ดี

85 การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน 3.92 78.40 พอใช

86 การใชโปรแกรมประมวลผลคํา 3.80 76.00 พอใช

87 จริยธรรมในอาชีพคอม ฯ 3.83 76.60 พอใช

88 การใชโปรแกรมกราฟก 4.01 80.20 ดี

89 การสรางเว็บเพจ 4.00 80.00 ดี

90 ระบบเครือขายเบื้องตน 4.01 80.20 ดี

91 เทคโนโลยีสํานักงาน 4.30 86.00 ดี

92 การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการGUI 3.89 77.80 พอใช

93 การใชโปรแกรมตารางงาน 4.02 80.40 ดี

94 การใชโปรแกรมนําเสนอขอมูล 3.92 78.40 พอใช

95 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ 4.02 80.40 ดี

รวมคาเฉลี่ย/คิดเปนรอยละ 4.08 81.55 ดี

ผลสัมฤทธิ ์

รอยละของหลักสูตรรายวิชาที่มีปฏิบัติการ โรงฝกงาน และอาคารเรียนเหมาะสม เพียงพอกับหลักสูตร

เทากับ รอยละ 81.55 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 2.4 จัดสรรทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูของผูเขารับการอบรมในหลักสูตรตาง ๆ

เพ่ือใหผูรับการฝกทักษะจนมีสมรรถนะเพียงพอตามหลักสูตร

ตัวบงชี้ท่ี 11 อัตราสวนของผูสอนประจําวิชา หรืออาจารยพิเศษ หรือผูชํานาญการทาง

วิชาชีพท่ีใหการฝกอบรม ตอผูเรียนในแตละหลักสูตร

Page 56: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

56

วิธีดําเนินการ

สถานศึกษาไดดําเนินการจัดบุคลากรที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตรงตามหลักสูตร โดยกําหนดกรอบ

อัตรากําลังของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงอัตราสวนของครูสอนประจําตอผูเรียน และไดดําเนินการรับสมัครครู

พิเศษสอน ที่มีคุณวุฒิทางวิชาชีพและผูชํานาญการทางวิชาชีพ เพื่อใหจํานวนครูเพียงพอตอผูเรียนครบทุก

หลักสูตร

ผลการดําเนินการ

สถานศึกษามีการดําเนินงาน การปฏิบัติและความสําเร็จตามขอกําหนดโดย จัดหาครูใหเพียงพอตอการ

จัดการฝกอบรมวิชาชีพครบถวนทุกหลักสูตร มีผูมาสมัครเขารับการฝกอบรมเปนไปตามแผนการรับสมัครของ

สถานศึกษา โดยมีอัตราสวน ครูตอผูเขารับการฝกอบรม ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม 1 ตอ 34.43

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 1 ตอ 27.67 ประเภทวิชาคหกรรม 1 ตอ 26.38

ผลสัมฤทธิ ์

อัตราสวนอาจารยประจําและหรือชํานาญการทางวิชาชีพที่ใหการฝกอบรมตอผูเขารับการฝกอบรม

ในแตละดานตามที่สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษากําหนด หลักสูตรดานอุตสาหกรรม อยูในเกณฑ

ที่มากกวาเกณฑ ซึ่งเกณฑการตัดสินอยูในข้ันที่พอใช หลักสูตรดานพาณิชยกรรม อยูในเกณฑไมถึงเกณฑ

ซึ่งเกณฑการตัดสินอยูในข้ันที่ตองปรับปรุงที่ และหลักสูตรดานคหกรรมอยูในเกณฑที่มากกวาเกณฑ ซึง่เกณฑการ

ตัดสินที่พอใช

Page 57: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

57

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่5 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่ไดรับการพัฒนาแบบ

ฐานสมรรถนะสอดคลองกับความ

ตองการของสังคม

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการ

พัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยาง

ตอเนื่อง 2 ป

หลักสูตรรายวิชาที่ไดรับการ

พัฒนาแบบฐานสมรรถนะอยาง

ตอเนื่อง 2 ป เมื่อเทียบกับ

รายวิชาทั้งหมด รอยละ 73

ตัวบงชี้ที ่6 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่มีการประเมินผล

หลักสูตรรายวิชา ที่มีการ

ดําเนินการประเมินการฝกอบรม

ของผูเรียน ครบทุกขั้นตอน

หลักสูตรรายวิชา ที่มีการ

ดําเนินการประเมินการ

ฝกอบรมของผูเรียน ครบทุก

ขั้นตอน รอยละ 88.42

ตัวบงชี้ที ่7 ระดับความพึงพอใจ

ของผูเขารับการฝกอบรมทีม่ีตอ

คุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษา

จากผลการดําเนินการของ

สถานศึกษาในการจัดฝกอบรม

หลักสูตรระยะสั้น ไดดําเนินการ

สอบถามความพึงพอใจของผูเชา

รับการฝกอบรมที่มีคุณภาพการ

ฝกอบรมของสถานศึกษา

จากผลการดําเนินการของ

สถานศึกษาในการจัดฝกอบรม

หลักสูตรระยะสั้น ได

ดําเนินการสอบถามความพึง

พอใจของผูเชารับการฝกอบรม

ที่มีคุณภาพการฝกอบรมของ

สถานศึกษาคาเฉลี่ย 4.20

ตัวบงชี้ที ่8 รอยละของหลักสูตร

รายวิชามีครุภัณฑพอเพียง

ทันสมัย เหมาะสมกับหลักสูตรใน

การฝกอบรม

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีหลกัสูตร

รายวิชาที่มีครุภัณฑที่เพียงพอ

ทันสมัยเหมาะสมกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีหลักสูตร

รายวิชาที่มีครุภัณฑที่เพียงพอ

ทันสมัยเหมาะสมกับหลักสูตร

รอยละ 81.50

ตัวบงชี้ที ่9 รอยละของหลักสูตร

รายวิชาที่มีวสัดุอุปกรณเพียงพอ

ในการฝกอบรมในแตละหลักสูตร

รายวิชา

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีวัสดุอุปกรณ

ตอความตองการกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มีวัสดุอุปกรณ

ตอความตองการกับหลักสตูร

รอยละ 83.39

ตัวบงชี้ที ่10 รอยละของ

หลักสูตรรายวิชาที่มี

หองปฏิบัติการ / โรงฝกงาน และ

อาคารสถานที่ในการฝกอบรมมี

เพียงพอ เหมาะสมกับหลักสูตร

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรม มี

หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน ตอ

ความตองการแตละหลักสูตร

รายวิชา

สถานศึกษาไดดําเนินการ

ประเมินความพึงพอใจของผูเขา

รับการฝกอบรมที่มี

หองปฏิบัติการ/โรงฝกงาน ตอ

ความตองการแตละหลักสูตร

รายวิชา รอยละ 81.55

ตัวบงชี้ที ่11 อัตราสวนของ

ผูสอนประจํา หรืออาจารยพิเศษ

หรือผูชํานาญการทางวิชาชีพที่ให

การฝกอบรม ตอผูเรียนในแตละ

หลักสูตร

อัตราสวนของครูผูสอน หรือครู

พิเศษ ผูชํานาญการบุคลากรที่มี

ความรูความสามารถตรงตาม

คุณวุฒิทางวิชาชีพ

อัตราสวนของครูผูสอน หรือครู

พิเศษ ผูชํานาญการบุคลากรที่

มีความรูความสามารถตรงตาม

คุณวุฒิทางวิชาชีพ อัตราสวน

1:26.38

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

Page 58: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

58

จุดเดน

1. มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะตามความตองการของนักเรียน ชุมชน อยางตอเน่ือง

2. หองเรียน หองปฏิบัติงาน โรงฝกงาน มีความเพียงพอตอหลักสูตรระยะสั้นที่เปดสอน

3. มีการจัดสรรงบประมาณ ในการจัดซือ้วัสดุเพียงพอตอจํานวนผูเรียน

4. มีการจัดสรรงบประมาณ ในการจัดซื้อครุภัณฑเพียงพอตอจํานวนผูเรียน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการประชาสัมพันธการเปดอบรมหลักสูตรตางๆใหชุมชนไดรับขาวสารมากข้ึน

2. ตอบสนองความตองการดานวิชาชีพที่ชุมชนตองการเมื่อจบหลักสูตรสามารถนําไปประกอบอาชีพ

ไดจริง

3. ควรมีหลักสูตรที่หลากหลายและเปนที่ตองการของตลาดแรงงานในปจจุบัน

Page 59: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

59

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

ขอกําหนดท่ี 3 สถานศึกษาควรกําหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

(ปวส.)

กําหนดท่ี 3.1 ความรู และทักษะวิชาชีพ ตามหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับเศรษฐกิจ สังคมและ

เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงไป

ตัวบงชี้ท่ี 12 รอยละของผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑท่ีกําหนดตามชั้นป

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยจัดใหมีการปฐมนิเทศ การเสริมคุณภาพนักศึกษาใหม และการประชุมผูปกครองเพื่อให

รับทราบถึงปญหาและอุปสรรค ตอการไมจบการศึกษาตามกําหนดและสาเหตุการออกกลางคัน ไดมอบหมาย

ใหอาจารยที่ปรึกษาเปนผูจัดทําทะเบียนประวัติ ตรวจสอบและติดตามในรายที่พบปญหาเปนที่ผิดสังเกต

ประสานกับผูปกครองและผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการชวยเหลือในเบื้องตนตอนักศึกษาที่มีปญหา จัดใหมีการวัด

และประเมินผลตามสภาพจริงเพื่อลดปญหาการสอบตกของผูเรียนและใหมีการสอนเสริมเพื่อใหเกิดคุณภาพ

มีการจัดเสริมทักษะวิชาชีพตามความเหมาะสมของผูเรียน จัดกิจกรรมแขงขันทักษะวิชาชีพ

ผลการดําเนินงาน

งานทะเบียนไดจัดทําแบบสรุปผลการลงทะเบียนของจํานวนนักศึกษาในแตละช้ันป ในปการศึกษา

2554 โดยเทียบกับจํานวนนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพ ตามรายละเอียดดังน้ี

จํานวนผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประจําปการศึกษา 2554

หลักสูตรประกาศนีบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ลําดับ แผนกวิชา ชั้นป จํานวนนักศึกษาท่ี

ลงทะเบียนเรียน

จํานวนนักศึกษาท่ีมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพ

คิดเปน

รอยละ

1 ชางยนต ปวช.1 38 32 84.21

2 ชางยนต ปวช.2 12 12 100

3 ชางยนต ปวช.3 16 16 100

4 ชางไฟฟา ปวช.1 22 7 32.82

5 ชางไฟฟา ปวช.2 4 4 100

Page 60: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

60

ลําดับ แผนกวิชา ชั้นป จํานวนนักศึกษาท่ี

ลงทะเบียนเรียน

จํานวนนักศึกษาท่ีมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพ

คิดเปน

รอยละ

6 ชางไฟฟา ปวช.3 - - -

7 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช.1 5 2 40

8 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช.2 3 3 100

9 คอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช.3 5 3 60

10 บัญชี ปวช.1 6 4 66.67

11 บัญชี ปวช.2 4 4 100

12 บัญชี ปวช.3 4 3 75

รวม 119 90 75.63

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปวช.1 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผานเกณฑ

การพนสภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ยต้ังแต 1.50 ข้ึนไป จํานวน 45 คน ช้ันปวช.2 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ผานเกณฑการพนสภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ยต้ังแต 1.75 ข้ึนไป จํานวน 23 คน ช้ันปวช.3 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ผานเกณฑการพนสภาพซึ่งมีเกรดเฉลี่ยต้ังแต 2.00 ข้ึนไป จํานวน 22 คน รวมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนผานเกณฑการพนสภาพ จํานวน 90 คน ในปการศึกษา 2554 คิดเปนรอยละ 75.63 ผลการ

ประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.2 ความรูความเขาใจในหลักการดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรใหสามารถนํามา

ประยุกตใชในงานอาชีพได

ตัวบงชี้ท่ี 13 รอยละของผูเรียนท่ีสามารถประยุกตหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปโดยใหบรรจุโครงการสงเสริมดานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ

เพื่อใหดําเนินการอยางตอเน่ืองและไดดําเนินการตามขอกําหนดของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพโดยให

ผูสําเร็จการศึกษาระดับ ปวช. ไดจัดทํานวัตกรรมโครงงาน/โครงการวิชาชีพ และไดจัดการเรียนการสอนวิชา

คณิตศาสตร วิทยาศาสตรใหกับนักเรียนนักศึกษาทุกคน ดําเนินการจัดการเรียนการสอน โดยใชสื่อตาง ๆ ที่มี

คุณภาพและทันสมัย มอบหมายใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิชาชีพที่ใชหลักการ

ทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรมาประยุกตใช จัดใหมีคณะกรรมการสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมคัดเลือก

ผลงานและโครงการสิ่งประดิษฐของคนรุนใหมเพื่อเขาแขงขันในระดับภาคและระดับชาติ

Page 61: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

61

ผลการดําเนินงาน

ครูผูสอนวิชาโครงงานของสาขางานตาง ๆ ไดจัดการเรียนการสอนที่ใหผู เรียนสามารถประยุกต

หลักการทางคณิตศาสตร และวิทยาศาสตรมาใชแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพได ทําใหผูเรียนมีพฤติกรรม

ในการประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรมาใชในการแกปญหาอยางเปนระบบ ซึ่งมีจํานวน

ดังน้ี

ท่ี ประเภทวิชา/สาขางาน หลักสูตร จํานวน นร./นศ.

จํานวนผูเรียนท่ีสามารถประยุกต

หลักการทางวิทยาศาสตร และ

คณิตศาสตร

จํานวน (คน) รอยละ

1

2

3

4

สาขาชางยนต

สาขาชางไฟฟา

สาขาการบัญชี

สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ปวช.3

16

-

3

5

12

-

2

5

75.00

-

66.67

100.00

รวม 24 19 79.17

ผลสัมฤทธิ ์

ผูเรียนที่เรียนวิชาโครงงานมีจํานวนทั้งหมด 24 คน สามารถประยุกตใชหลักการทางวิทยาศาสตรและ

คณิตศาสตรมาใชในการแกปญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอยางเปนระบบ มีจํานวนทั้งสิ้น 19 คน คิดเปน

รอยละ 79.17 จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ74 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.3 ทักษะในการใชภาษาสื่อสารไดอยางถูกตองเหมาะสม

ตังบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนท่ีมีทักษะในการสื่อสาร ดานการฟง การอาน

การเขียนและการสนทนา ท้ังภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษใหแกผูเรียนในทุกช้ันปและวิชาภาษาไทยใหแก

ผูเรียนช้ัน ปวช.1 ทุกแผนกวิชา ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิชาภาษาไทยได

ฝกใหผูเรียนมีการพัฒนาการใชภาษาไทยใหถูกตองในดานการอานและการเขียนเรื่องตางๆตามหลักสูตร

ในรายวิชาภาษาอังกฤษไดเนนในเรื่องการพูดใหถูกตองตามสําเนียงของเจาของภาษา โดยมีรูปแบบการเรียน

ตางๆมีการใชโปรแกรม CAI โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเขามาเสริมชวยใน

การสอน จัดหองเรียนรูดวยตนเองใหแกผูเรียนเพื่อฝกทักษะเพิ่มเติม และมอบหมายใหผูเรียนแตละกลุม

ชวยกันจัดองคความรูเพิ่มเติมภายในและนอกหองเรียน

Page 62: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

62

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนมีทักษะในการสื่อสารทั้งวิชาภาษาไทยและวิชาภาษาอังกฤษไดอยางถูกตองและสามารถนําไปใช

ในชีวิตประจําวันของการประกอบอาชีพได หองสมุด หองเรียนภาษามีชุดการสอนพรอมอุปกรณที่สามารถ

เรียกดูและศึกษาไดตลอดเวลา มีหองเรียนรูดวยตนเอง มีการจัดทําปายรณรงคใหผูเรียนรักการอานและ

สงเสริมใหนักศึกษาอานหนังสือใหมากข้ึน

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาอังกฤษ (ภาคเรียนท่ี 1)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

ชางยนต ปวช.1/1 19 - - 2 5 5 4 3 - - 12

ปวช.1/2 19 1 - 2 2 7 4 3 - - 12

ปวช.2 12 1 1 2 5 2 - 1 - - 11

ปวช.3 16 - - 4 2 6 1 - - 3 12

บัญชี ปวช.1 6 - - 2 - - - 3 - 1 2

ปวช.2 4 1 - 2 - - 1 - - - 3

ปวช.3 3 1 2 - - - - - - - 3

คอมพิวเตอร

ปวช.1 5 - - - 1 1 - 1 - 2 2

ปวช.2 3 1 1 - - - 1 - - - 2

ปวช.3 5 3 - - - 1 - - - 1 4

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 22 - - - 2 4 8 4 - 4 6

ปวช.2 4 2 - 1 - - - - - 1 3

รวมจํานวนนักเรียน 118 10 4 15 17 26 19 15 - 12 72

คิดเปนรอยละ 61.02

Page 63: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

63

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาอังกฤษ (ภาคเรียนท่ี 2)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 6 - 1 - - 1 - 3 - 1 2

ปวช.2 4 1 1 1 1 - - - - - 4

ปวช.3 3 2 1 - - - - - - - 3

ชางยนต ปวช.1/1 19 1 1 2 2 - - 1 - 12 6

ปวช.1/2 19 - - 2 - - 1 6 - 10 2

ปวช.2 12 1 2 4 3 2 - - - - 12

ปวช.3 16 1 3 2 1 2 5 - - 2 9

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 22 - - - - - 1 1 9 11 0

ปวช.2 4 1 - 2 - - - - - 1 3

คอมพิวเตอร

ปวช.1 5 - - - - - - - - 5 0

ปวช.2 3 2 - - - 1 - - - - 3

ปวช.3 5 4 - - - - - 1 - - 4

รวมจํานวนนักเรียน 118 13 9 13 7 6 7 12 9 42 48

คิดเปนรอยละ 40.68

สรุป วิชาภาษาองักฤษภาคเรียนที่ 1 คิดเปนรอยละ 61.02 และภาคเรียนที่ 2 คิดเปนรอยละ

40.68 รวม 2 ภาคเรียน ผานเกณฑรอยละ 50.85

Page 64: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

64

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาไทย (ภาคเรียนท่ี 1)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

อ่ืนๆ

รวม 2

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 6 - - - 3 2 1 - - - 5

ชางยนต ปวช.1/1 19 1 1 2 7 5 1 - - 2 16

ปวช.1/2 19 1 1 1 3 9 2 2 - - 15

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 22 - - 2 6 8 4 - 1 1 16

คอมพิวเตอร ปวช.1 5 - - 1 - 2 1 - - 1 3

รวมจํานวนนักเรียน 71 2 2 6 19 26 9 2 1 4 55

คิดเปนรอยละ 77.46

Page 65: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

65

แบบสํารวจประเมินคุณภาพภายในวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี

มาตรฐานท่ี 3 การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตัวบงชี้ท่ี 14 รอยละของผูเรียนมีทักษะในการใชภาษาสื่อสารดานการฟง การอาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

แหลงขอมูล งานทะเบียน (ผูที่มีผลการเรียนผานเกณฑ = เกรด 2 ข้ึนไป)

เครื่องมือ ใบรายงานแสดงผลการเรียนเฉลี่ยสะสม

การวิเคราะหขอมูล คารอยละของผูที่ผานเกณฑเกรด 2 ข้ึนไป

เกณฑการตัดสิน ดี = > 74 % พอใช = 60 – 74 % ปรับปรุง = < 60 %

วิชาภาษาไทย (ภาคเรียนท่ี 2)

สาขาวิชา ชั้น จํานวน

นศ.

ระดับผลการเรียน

4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ขร.

ขป.

รวม 1

ขึ้นไป

บัญชี ปวช.1 6 - 1 - 1 3 - - - 1 5

ชางยนต ปวช.1/1 19 1 - 3 4 3 2 - 1 5 11

ปวช.1/2 19 - - 2 4 4 8 - - 1 10

ชางไฟฟา

กําลัง

ปวช.1 22 - - - 4 1 - - 8 9 5

คอมพิวเตอร ปวช.1 5 - - - 1 - 1 - 3 - 1

รวมจํานวนนักเรียน 71 1 1 5 14 11 11 - 12 16 32

คิดเปนรอยละ 45.07

สรุป วิชาภาษาไทยภาคเรียนที่ 1 คิดเปนรอยละ 77.46 และภาคเรียนที่ 2 คิดเปนรอยละ

45.07 รวม 2 ภาคเรียน ผานเกณฑรอยละ 64.73

ผลสัมฤทธิ ์

ผูเรียนวิชาภาษาอังกฤษทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00 เฉลี่ยรอยละ

50.58 และผูเรียนวิชาภาษาไทยทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00 เฉลี่ยรอยละ

64.73 สรุปโดยภาพรวมของผูเรียนทั้งสองวิชาทุกระดับช้ันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเกรดไมตํ่ากวา 2.00

เฉลี่ยรอยละ 57.66 อยูในเกณฑ ปรับปรุง

Page 66: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

66

ขอกําหนดท่ี 3.4 ความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีท่ีจําเปนในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงาน

วิชาชีพไดอยางเหมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 15 รอยละของผูเรียนท่ีมีความสามารถใชความรูเทคโนโลยีท่ีจําเปนในการศึกษาและ

ปฏิบัติงานวิชาชีพไดอยางเหมาะสม

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ตระหนักถึงความสําคัญที่ใหผูเรียนสามารถใชเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา โดยใหแตละ

แผนกวิชาจัดแผนการเรียนการสอนที่มีวิชาเกี่ยวกับการใชคอมพิวเตอร และมอบครูผูสอนไดจัดการเรียนการ

สอนแบบบูรณาการสมรรถนะ ที่มุงเนนการฝกทักษะ ประสบการณ ความรูโดยปฏิบัติงานจริง ในการศึกษา

สืบคนขอมูล การเรียนรูดวยตนเองไดจัดแหลงเรียนรูในหองอินเทอรเน็ต หองสมุด ทั้งรูปแบบมีสายและไร

สายเพื่อใหครอบคลุมกับอุปกรณสื่อสารเคลี่อนที่ในรูปแบบตางๆ ปรับปรุงระบบการใหบริการหองสมุด

หองอินเทอรเน็ต หองทะเบียน งานธุรการ มีความคลองตัวมากข้ึนเพื่อใหเกิดความเหมาะสมตอ

แนวทางการประกอบอาชีพตามสาขาน้ันๆ

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัย จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การสรางช้ินงานตามโครงการ การใช

สื่อเทคโนโลยีในการสงงาน การจัดกิจกรรมการคนควาดวยตนเอง ทําใหผูเรียนมีความสามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีไปใชในการเรียน จากการวัดและประเมินผลจากรายวิชาที่ใชเทคโนโลยีชวยในการศึกษาคนควาและ

ปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพ โดยประเมินผลผูเรียนที่ผานเกณฑในระดับ เกรด 1 ข้ึนไปของแตละสาขางาน

ปการศึกษา 2554 ปรากฏผลตามจํานวนดังน้ี

ลําดับ สาขาวิชา จํานวน

ผูเรียน

จํานวนผูเรียนสามารถใชเทคโนโลยีใน

การศึกษาคนควาและปฏิบัติงานวิชาชีพ

จํานวนคน รอยละ

1 ชางยนต 66 59 89.39

2 ชางไฟฟากําลัง 26 10 38.46

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 13 10 76.92

4 การบัญชี 14 12 85.71

รวม 119 91 76.47

Page 67: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

67

ผลสัมฤทธิ ์

จากการรวบรวมขอมูล การวัดผล ประเมินผล คะแนนของแตละรายวิชาที่เกี่ยวของกับรายวิชาที่ใช

เทคโนโลยีชวยในการศึกษาคนควาและปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพ คิดเปนรอยละ 76.47 จากเปาหมายที่ต้ังไว

ไมนอยกวารอยละ 75 ของจํานวนผูเรียนทั้งหมด ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี (มากกวารอยละ 74 ของ

ผูเรียนที่ใชความรูความสามารถทางเทคโนโลยีในการศึกษาคนควา)

ขอกําหนดท่ี 3.5 คุณธรรม จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ การมีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม

และมนุษยสัมพันธท่ีดี

ตัวบงชี้ท่ี 16 รอยละของผูเรียนท่ีมคุีณภาพ จริยธรรม คานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพ

ท่ีเหมาะสม และมีมนุษยสัมพันธท่ีดี

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษา มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียน ในดานการสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม

โดยสอดแทรกความรูทั้งในเวลาเรียนและจัดกิจกรรมสงเสริมดานพระพุทธศาสนา รวมทั้งกิจกรรมที่แสดงออก

ถึงความจงรักภัคดีตอสถาบัน ชาติศาสนา พระมหากษัตริย เพื่อสรางบุคลิกภาพอันเหมาะสมและคานิยม

อันดีงาม

ผลการดําเนินงาน

สถานศึกษา จัดโครงการสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงกิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดี

ตอสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ไดแก กิจกรรมตรวจสารเสพติดโดย ใหความรูเรื่องโทษพิษภัยจาก

สิ่งเสพติด ตามนโยบายสถานศึกษา รวมกิจกรรมวันลอยกระทง , อนุรักษประเพณี , สรางกิจกรรมมนุษย

สัมพันธกับชุมชน ที่อยูใกลกับสถานศึกษา และกิจกรรมวันเฉลิมพระชนพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ภูมิพลอดุลยเดช เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภัคดีตอสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยเพื่อสรางบุคลิกภาพ

อันเหมาะสมและคานิยมอันดีงาม

ผลสัมฤทธิ ์

จากการดําเนินการทํากิจกรรมของสถานศึกษา ผูเรียนทั้งหมดมีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดี

ในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธที่ดี รอยละ 94.82 ผลประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 68: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

68

ขอกําหนดท่ี 3.6 ความรูและทักษะตามาตรฐานวิชาชีพและหลักสูตรสําหรับผูสําเร็จการศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 17 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จ

การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย จัดใหมีการปฐมนิเทศ การเสริมคุณภาพนักศึกษาใหม และการประชุมผูปกครอง เพื่อให

ทราบถึงปญหา และอุปสรรคตอการไมจบการศึกษาตามกําหนด และสาเหตุการออกกลางคัน และได

มอบหมายใหอาจารยที่ปรึกษา เปนผูทําทะเบียนประวัติ ตรวจสอบและติดตามนักเรียน นักศึกษาที่พบปญหา

และอยูในกลุมเสี่ยง โดยการประสานผูปกครองและผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการชวยเหลือในเบื้องตน ตอนักศึกษา

ที่มีปญหา จัดใหมีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อลดปญหาการสอบตกของผูเรียน และจัดใหมีการ

สอนเสริมนอกเวลาเรียน เพื่อใหเกิดคุณภาพ โดยมอบหมายใหงานทะเบียน งานวัดผล งานหลักสูตรเปน

ผูจัดทําสถิติของนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับช้ัน ปวช.3 เมื่อเทียบกับจํานวนแรกเขาของนักศึกษา

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัย มอบหมายงานทะเบียนจัดทําแบบสรุปจํานวนนักศึกษาแรกเขาในปการศึกษา 2554

เทียบกับจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2554 มีจํานวนนักศึกษาระดับช้ัน ปวช.3 ที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนตามเกณฑการสําเร็จการศึกษา โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.00 ข้ึนไป เทียบกับรอยละของจํานวน

แรกเขาตามรายละเอียดดังน้ี

ตาราง รอยละผูสําเร็จการศึกษา ประจําป 2554

ลําดับท่ี ระดับชั้น/

สาขาวิชา

นักศึกษา

ลงทะเบียน

เทอม 1 ป 2554

ผูสําเร็จการศึกษา

ระดับชั้น ปวช. 3

ป 2554

รอยละผูสําเร็จ

การศึกษาระดับชั้น

ปวช. 3 ป 2554

รอยละผูสําเร็จ

การศึกษา

ป 2554

1 ชางยนต 20 16 80

79.31

2 ชางไฟฟากําลัง - - -

3 คอมพิวเตอร 5 3 60

4 การบัญชี 4 4 100

รวม 29 23 -

Page 69: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

69

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาที่จบการศึกษาตองมีเกรดเฉลี่ย 2.00 ข้ึนไป ในปการศึกษา 2553 หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ (ปวช.) มีผูจบการศึกษาผานเกณฑ 2.00 ข้ึนไป คิดเปนรอยละ 79.31 เทียบจากจํานวนแรกเขา

โดยต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 50 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 19 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ีผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ไดมีนโยบายใหครู อาจารยผูสอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับสภาพจริง

เชน เรียนเปนช้ินงาน เรียนเปนโครงการ การแขงขันทักษะวิชาชีพ รวมถึงการฝกทักษะนอกเวลาเรียน

เพื่อนําไปสูมาตรฐานวิชาชีพ โดย เปนไปตามระเบียบการวัดผล ประเมินผลของสํานักงานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพแตละสาขางานที่เปดสอน

ไดทําการประเมินมาตรฐานวิชาชีพทั้งทฤษฏีและปฏิบัติ สําหรับนักเรียน นักศึกษา ระดับ ปวช. 3 ทุกคน และ

จัดทํารายงานผลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของผูสําเร็จการศึกษาแตละสาขางานที่เปดสอน

ผลการดําเนินงาน

จากการดําเนินงานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพปรากฏผลสําเร็จการศึกษาผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพของแตละสาขางานดังน้ี

ท่ี สาขางาน ระดับชั้น

จํานวน

นักศึกษา

จํานวนผูผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพ

จํานวน (คน) รอยละ

1 สาขางานยานยนต ปวช. 3 16 11 68.75

2 สาขางานชางไฟฟากําลัง ปวช. 3 - - -

3 สาขางานการบัญชี ปวช. 3 2 2 100

4 สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ ปวช. 3 4 4 100

รวม 22 17 77.27

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวนผูที่สําเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. 3 จํานวน 22 คน ผานการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

จํานวน 17 คน ในปการศึกษา 2554 หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีจํานวนรอยละ 77.27

ซึ่งผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 70: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

70

ขอกําหนดท่ี 3.7 ความรู และทักษะในการหางานทํา การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอิสระ

ตัวบงชี้ท่ี 21 รอยละของผูสําเร็จการศึกษาท่ีไดงานทําในสถานประกอบการ/ประกอบอาชีพ

อิสระ และศึกษาตอภายใน 1 ป

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําไปรษณียบัตรใหกับนักเรียนนักศึกษาที่จะจบการศึกษาและทางวิทยาลัยไดมี

การแนะแนวใหขอมูลสถานศึกษาแกผูสําเร็จการศึกษาที่ตองการจะศึกษาตอในสถาบันตาง ๆ และการสมัคร

งานนอกจากน้ีวิทยาลัยไดมอบหมายใหงานแนะแนวฯจัดทําแบบสํารวจและโทรติดตอ เพื่อรวบรวมขอมูล

ของผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2553 เกี่ยวกับการติดตามนักศึกษาที่มีงานทําในสถานประกอบการ/

ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาตอภายใน 1 ปของผูสําเร็จการศึกษา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําขอมูลดานการศึกษาตอแนะแนวและจัดหางาน โดยการจัดทําแบบติดตามและ

สอบถามขอมูลประวัติสวนตัวของนักเรียน นักศึกษาเพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการติดตามสอบถามขอมูล

ดานการทํางานในสถานประกอบการและการศึกษาตอ นอกจากน้ีไดจัดสงแบบสํารวจทางไปรษณียบัตร

เพื่อเปนการตอบกลับเปนขอมูลใหกับวิทยาลัย ซึ่งผลการติดตามพบวามีผูสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2553

จํานวน 39 คน ศึกษาตอจํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 51.28 ประกอบอาชีพในสถานประกอบการและ

ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 28.20 วางงานจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 7.69

ติดตอไมได จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 12.82

ผลสัมฤทธิ ์

มีนักเรียน นักศึกษา ศึกษาตอและประกอบอาชีพจํานวน 31 ราย จากจํานวนที่จบการศึกษาจํานวน

39 ราย คิดเปนรอยละ 79.48 ผลการดําเนินงานอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.8 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษา ท่ีสถานประกอบการหรือหนวยงานพึงพอใจ

ตัวบงชี้ท่ี 22 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการท่ีมีตอคุณลักษณะท่ีพึงประสงค

ของผูสําเร็จการศึกษา

Page 71: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

71

วิธีดําเนินการ

จากการติดตามประเมินผลของคณะกรรมการดานความรวมมือกับสถานประกอบการ พบวาในปการศึกษา

ที่ผานมา มีปจจัยดานการตรงตอเวลา การมีนํ้าใจตอเพื่อนรวมงาน ความอดทนการทํางาน วิทยาลัยจัดใหมี

การดําเนินงานที่เขมขนข้ึนในกระบวนการเรียนการสอนที่เนนดานคุณธรรมและจริยธรรมในรายวิชาใหแก

ผูเรียนซึ่งเปนลักษณะที่พึงประสงคของสถานประกอบการ หนวยงานตางๆที่สงเสริมและพัฒนาคุณธรรมและ

จริยธรรมในชีวิตประจําวันกิจกรรมเขาแถวเคารพธงชาติ กิจกรรมสวดมนต กิจกรรมอบรมในทุกวันพุธและ

กิจกรรมในการทํางานรวมกันตามความสนใจของผูเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศกอนออกฝกงานและสัมมนา

หลังจากเสร็จสิ้นการฝกงาน จัดใหมีการปจฉิมนิเทศ เชิญสถานประกอบการ หนวยงานราชการ มาใหความรู

ประสบการณ แกนักศึกษากอนจบการศึกษา จัดใหมีระบบการติดตามและสํารวจผูที่จบการศึกษา โดยจัดทําเขา

แฟมขอมูลเพื่อการสืบคนไดตลอดเวลา จัดทําทะเบียนสถานประกอบการ เพื่อการติดตอสื่อสารไดตลอดเวลา

ผลการดําเนินการ

ผูเรียนที่สําเร็จการศึกษา เปนผูที่มีความรูความสามารถและความชํานาญในการประกอบอาชีพ

มีความประพฤติดี และประพฤติชอบในเรื่อง การตรงตอเวลา ความซื่อสัตยสุจริต อดทนขยันหมั่นเพียร

มีความประพฤติเรียบรอย มีสัมมาคารวะ ออนโยน ออนนอมถอมตน เปนตน

ผลสัมฤทธิ ์

สถานประกอบการที่รับผูสําเร็จการศึกษาที่เขาทํางาน มีระดับความพึงพอใจที่มีผลสัมฤทธ์ิ 4.10

อยูในระดับ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.9 รวมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคลอง

กับความตองการของตลาดแรงงาน

ตัวบงชี้ท่ี 23 รอยละของหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีมีคุณภาพ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย ไดเขารวมการอบรมและประชุมสัมมนา เพื่อพัฒนาหลักสูตรของแตละสาขาวิชาใหมี

สมรรถนะสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยนํารายวิชาที่พัฒนาแลวมาจัดทําเปนแผนการ

เรียนรูจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มี 4 สาขางาน คือ สาขางานยานยนต

สาขางาน ไฟฟากําลัง สาขางานการบัญชี สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ และยังมีการจัดทําแผนการเรียนรูแบบ

ฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการบันทึกหลังการสอน รวมทั้งมีการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพ เพื่อใหเกิดคุณภาพ และตอบสนองความตองการของประชาชน สถานประกอบการและ

ตลาดแรงงานตาง ๆ ใหมีความสามารถตรงตอความตองการของตลาดแรงงานและสถานประกอบการ ทั้งน้ีมีการ

ปรับปรุงสมรรถนะในแผนการเรียนรูอยางตอเน่ือง อันเน่ืองจากาความตองการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยี

ใหม ๆ

Page 72: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

72

ผลการดําเนินการ

แตละสาขางาน มีการนําหลักสูตรฐานสมรรถนะของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามาจัดทํา

แผนการเรียนรูในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทั้ง 4 สาขางาน และจัดทําแผนการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

และบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มีจํานวน 59 เลม สงจํานวน

59 เลม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 มีจํานวน 68 เลม สงจํานวน 68 เลม รวมทั้งบันทึกหลังสอน

ทุกรายวิชาของหลักสูตร

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัย จัดทําหลักสูตรฐานสมรรถนะครบทุกรายวิชา คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.10 จัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนา

ตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 24 รอยละของแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยคํานึงถึงประโยชนที่ผูเรียนจะไดรับ และ

จัดกระบวนการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะความรู อีกทั้งยังสงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรม

จริยธรรม ดานความมีมนุษยสัมพันธ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเช่ือมั่นในตนเอง ความสนใจใฝรู ความ

สามัคคี รวมทั้งการนอมนําแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในการเรียนการสอน โดยผานการ

จัดการเรียนการสอนของครูผูสอน โดยทําแผนการการเรียนรูแบบบูรณาการ อีกทั้งสถานศึกษายังพัฒนา

บุคคลากรครูใหมีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยมอบหมายใหครูผูสอนจัดทําแผนการจัดการเรียนรู โครงการสอนแบบบูรณาการ

มีวัตถุประสงคเพื่อใหคํานึงถึงผูเรียน และเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยมีเกณฑคุณภาพดังน้ี

1. จํานวนรายวิชาที่เปดสอนในสาขาวิชา / สาขางาน

2. จํานวนรายวิชาที่มีการเขียนแผนการจัดการเรียนรูและผานการตรวจการเขียนแผนการจัดการ

เรียนรูจากฝายวิชาการ มีรายงานผลการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู

3. รอยละของรายวิชาที่มีการเขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการอยางมีคุณภาพ

Page 73: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

73

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดดําเนินการพัฒนาบุคลากรครู และผูเรียนใหเกิดประเกิดประสิทธิภาพในการเรียนการสอน

โดยกําหนดใหครูทําแผนการจัดการเรียนรูแบบบรูณาการ และโครงการสอนแบบบูรณาการ และจํานวน

รายวิชาที่มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู โครงการสอนแบบบูรณาการจํานวน 158 รายวิชา จากทั้งหมด

จํานวน 179 รายวิชา คิดเปนรอยละ 88.26 อยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 25 ระดับความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการสอนของผูสอน

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดดําเนินการสงเสริมสนับสนุนใหครูมีความรูและทักษะในการเลือกใชวิธีสอนที่หลากหลายมา

ใชในการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ และทําแผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ

โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญจัดอบรมความรูเพื่อใหครูผูสอนมี ความรู ทักษะในการบูรณาการ จัดการเรียนการ

สอนที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค สงเสริมใหมีการใชสื่อการเรียนการสอน และ

จัดหาวัสดุ อุปกรณใหเกิดความพอเพียงและมีความทันสมัย จัดใหมีการประเมินผลการสอนและประเมินระดับ

ความพึงพอใจของผูเรียนตอคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาและ

ปรับปรุงตอไป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และครูดําเนินการจัดการเรียนการสอนที่

หลากหลายวิธี โดยแตละวิชาไดจัดทําแผนการเรียนรูแบบบูรณาการโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ จัดใหมีการวัด

และประเมินผลตามสภาพจริงในทุกรายวิชา จัดใหมีการประเมินผลการสอน และประเมินระดับความพึงพอใจ

ของผูเรียนตอคุณภาพการสอนมาตรวัด 5 ระดับ

ผลสัมฤทธิ ์

ระดับความพึงพอใจโดยรวมของผูเรียนที่มีตอครูผูสอน อยูในระดับ 4.29 อยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชีท่ี้ 26 รอยละของงบประมาณท่ีสถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการ

เรียนการสอนอยางเหมาะสม

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ไดรับอนุมัติเงินงบประมาณ ดําเนินการจัดสรร เพื่อใชในการดําเนินการจัดเรียนการสอน

สําหรับการจัดซื้อวัสดุฝกและอุปกรณตาง ๆ ใหกับ สาขาวิชา และแผนกวิชาตาง ๆ โดยการพิจารณารวมกัน

ของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา เพื่อใหเพียงพอตอการเรียนการสอน

Page 74: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

74

ผลการดําเนินงาน

คณะวิชา สาขาวิชา และแผนกวิชาตางๆ ไดนําเงินงบประมาณ ไปดําเนินการจัดซื้อวัสดุฝก และ

อุปกรณสําหรับการจัดการเรียนการสอน ใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามรายการ

ของงบประมาณดังน้ี

ตารางแสดง รอยละของงบประมาณท่ีแตละสาขาวิชาไดรับตองบประมาณสําหรับวัสดุฝกและอุปกรณ

การเรียนการสอน ประจําปการศึกษา 2554

ประเภทวิชา/สาขาวิชา งบท่ีจัดซื้อวัสดุฝกงานของแผนกวิชา

งบประมาณท่ีจาย

1. สาขาวิชาชางยนต 103,144.58

2. สาขาวิชาชางไฟฟา 143,147.00

3. สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ 56,645.00

4. สาขาวิชาการบัญชี 30,111.00

รวม 333,047.58

Page 75: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

75

ตารางแสดง จํานวนงบประมาณท่ีวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี ไดรับ ประจําปการศึกษา 2554

ตามประเภทของงบประมาณรายจาย และประเภทงบประมาณ

หมวดรายจายงบประมาณ

ประเภทงบประมาณท่ีไดรับจัดสรร

หมายเหตุ งบประมาณท่ี

ไดรับ

งบประมาณท่ี

จาย คงเหลือ

1. งบบุคลากร งบวัสดุฝกและ

อุปกรณ

เปนเงิน

333,047.58

บาท คิดเปน

รอยละ 2.16

( ไมรวม

งบลงทุนและ

ครุภัณฑ )

- เงินเดือน+ประจําตําแหนง 3,042,386.44 3,042,386.44 0

- พนักงานราชการ 2,837,400.00 1,875,363.54 962,036.46

2. งบดําเนินการ - ระยะสั้น

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 4,135,850.00 3,539,051.92 596798.08

- คาสาธารณูปโภค 417,500.00 169,791.82 247708.18

3. งบดําเนินงาน - ปวช.

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 638,350.00 119,189.50 519,160.50

4. งบดําเนินงาน - ปวส.

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 32,100.00 5,000.00 27,100.00

5. เงินอุดหนุน

- เรียนฟรี 15 1,089,115.00 446,749.20 642,365.80

- ข้ันพื้นฐาน 2,304,500.00 2,117,957.95 186,542.05

- โครงการคุณธรรรมนําความรู 75,000.00 75,000.00 0

- โครงการสิ่งประดิษฐ

คนรุนใหม 60,000.00 60,000.00 0

- ทุนราชกุมาร ี 11,250.00 11,250.00 0

6. รายจายอ่ืน ๆ

- โครงการสายใยรัก 15,000.00 14,999.50 0.50

7. งบดําเนินงาน (Fix it center)

- คาตอบแทน ใชสอย วัสดุ 500,000.00 499,999.45 0.50

8. เงินรายไดสถานศึกษา 227,377.00 77,824.63 149,552.37

รวม 15,385,828.44 12,054,563.95 3,331,264.44

ผลสัมฤทธิ ์

จากงบดําเนินการทั้งหมด 15,385,828.44 บาท วิทยาลัยจัดซื้อวัสดุฝก อุปกรณฝก สําหรับจัดการ

เรียนการสอนเปนจํานวนเงิน 333,047.58 บาท คิดเปนรอยละ 2.16 จากที่ต้ังเปาหมายไวมากกวารอยละ 15

ผลการประเมินอยูในเกณฑ ปรับปรุง

Page 76: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

76

ขอกําหนดท่ี 3.11 จัดระบบคอมพิวเตอรใหเหมาะสมและเพียงพอในแตละสาขาวิชา

ตัวบงชี้ท่ี 27 ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดกํ าหนดใหมี รายวิชาคอมพิวเตอร ในทุกสาขาวิชาตรงตามหลักสูตรที่กํ าหนด

จัดหองเรียนคอมพิวเตอรพรอมอุปกรณการเรียนการสอนใหมีความทันสมัย จัดหาเครื่องคอมพิวเตอรให

เพียงพอกับจํานวนนักศึกษา โดยจัดทําโครงการขอความชวยเหลือจากองคการบริหารสวนจังหวัดอุทัยธานี

เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการเรียนการสอน มีการปรับปรุงหองและปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรใหมี

ความทันสมัยย่ิงข้ึน จัดทําตารางการใชหองคอมพิวเตอรใหเกิดการเหมาะสมตอสภาพการใชงานและบํารุงรักษา

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2554 วิทยาลัยมีหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรทั้งหมด 4 หอง โดยแบงเปนจํานวนหองละ

20 , 20 , 20 และ 40 เครื่องตามลําดับ จํานวนเครื่องคอมพิวเตอรรวมทั้งสิ้น 100 เครื่อง โดยขอยืมครุภัณฑ

คอมพิวเตอรจากองคการบริหารสวนจังหวัดอุทัยธานี 30 เครื่อง มีการปรับปรุงหองและเครื่องคอมพิวเตอรให

อยูในสภาพสมบูรณใชงานไดตลอดเวลา เพื่อใหผูเรียนในทุกสาขาวิชาไดเรียนวิชาคอมพวิเตอรตรงตามหลักสูตร

และวัตถุประสงครายวิชา

ตารางแสดงจํานวนผูเรียนตอเครื่องคอมพิวเตอร

ลําดับ สาขาวิชา จํานวน

ผูเรียน แบงตามระดับช้ัน หองเรียนคอมพิวเตอร

1 ชางยนต 66

ปวช.1/1 = 19 ศูนยวิทยบริการ = 20 เครื่อง

ปวช.1/2 = 19 ศูนยวิทยบริการ = 20 เครื่อง

ปวช.2 = 12 ศูนยวิทยบริการ = 20 เครื่อง

ปวช.3 = 16 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 = 20 เครื่อง

2 ชางไฟฟากําลัง 26 ปวช.1 = 22 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 3 = 40 เครื่อง

ปวช.2 = 4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 = 20 เครื่อง

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 13

ปวช.1 = 5 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 = 20 เครื่อง

ปวช.2 = 3 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 = 20 เครื่อง

ปวช.3 = 5 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 = 20 เครื่อง

4 การบัญชี 14

ปวช.1 = 6 ศูนยวิทยบริการ = 20 เครื่อง

ปวช.2 = 4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 = 20 เครื่อง

ปวช.3 = 4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2 = 20 เครื่อง

รวม 119

Page 77: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

77

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดจัดอุปกรณระบบคอมพิวเตอรไวเพียงพอกับความตองการของผูเรียนคิดเปนอัตราสวน

1 คนตอ 1 เครื่องในแตละรายวิชาที่เขามาเรียนหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรจากที่ต้ังเปาหมายไว 1 คนตอ

1 เครื่อง ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.12 จัดสถานท่ีเรียน สถานท่ีฝกปฏิบัติงาน สถานท่ีศึกษาคนควา ใหเหมาะสมกับ

สาขาวิชา ท้ังในสถานศึกษา สถานประกอบการ และแหลงการเรียนรูอ่ืน ๆ

ตัวบงชี้ท่ี 28 ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนท่ีฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาท่ีเรียน

มีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยจัดใหมีคณะกรรมการดูแลรักษาสภาพแวดลอมของสถานศึกษา มีหัวหนางานอาคารสถานที่

กํากับ ติดตาม ตรวจสอบ เพื่อการบํารุงรักษา ซอมแซม มอบหมายใหหัวหนาแผนกวิชา จัดองคประกอบ

ของการเรียนการสอนใหมีบรรยากาศที่เหมาะสม มีแผนการใชพื้นที่ของแผนก มีใบควบคุมคุณภาพการ

ปฏิบัติงานประจําพื้นที่ที่ตองดูแลรักษาเปนพิเศษประจําวัน โดยใหมีผูรับผิดชอบและผูตรวจ เชน หองนํ้า

โรงอาหาร เปนตน มีการดูแลรักษาอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โดยมีพื้นที่และ

หองเรียนอยางชัดเจน ตลอดจนมีผูรับผิดชอบในแตละพื้นที่ จัดใหมีการประเมินความพึงพอใจตอการใชพื้นที่

ในสวนตาง ๆ เพื่อนําผลมาพัฒนา ปรับปรุงใหดีข้ึน

ผลการดําเนินงาน

1. การจัดองคประกอบดานหองเรียน หองปฏิบัติการและโรงฝกงาน

ลําดับท่ี สถานท่ี การปรับปรุง

1.

2.

3.

หองเรียน

หองปฏิบัติการ

โรงฝกงาน

1. มีตารางการใชหองเรียน หองปฏิบัติการและโรง

ฝกงาน

2. มีการประเมินการใชอาคารสถานที่ โดยมีแบบ

ประเมินความพึงพอใจ

3. มีแผนการปรับปรุง ดูแลรักษาพื้นที ่

4. มีการปรับปรุงดูแล รักษา

ผลการดําเนินงาน อยูในเกณฑ ดี (ปฏิบัติไดท้ัง 4 ขอ)

Page 78: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

78

2. การจัดองคประกอบดานศูนยวิทยบริการ ( แหลงเรียนรู )

ลําดับท่ี แหลงเรียนรู การปรับปรุง

1.

2.

3.

4.

หองสมุด

- เอกสาร ตํารา และสื่อตาง ๆ

ในหองสมุด

- ระบบการจัดการยืม – คืนหนังสือ

ในหองสมุด

- ระบบการสืบคน

- บอรดและมุมวิชาการตาง ๆ

หองดูหนัง ฟงเพลง (Entertain)

- มีการเผยแพรความรูระบบ

ทางไกล

- มีสื่อประเภท VCD อยาง

หลากหลาย

- บอรดและมุมวิชาการตาง ๆ

หองอินเทอรเน็ต

มีระบบอินเทอรเน็ตที่พรอมใชงาน

ในหองอินเทอรเน็ต

- ประจําในสาขางานและฝายตาง ๆ

- มีอุปกรณการเรียนรูที่เปนสวนตัว

(ชุดอุปกรณเสริมในการฟง)

- มีระบบการใหบริการที่เพียงพอ

แกนักศึกษาและบุคคลภายนอก

สื่อและอุปกรณการเรียน

1. มีสื่อที่หลากหลาย เชน ระบบสื่อสารทางไกล

ผานดาวเทียม คอมพิวเตอรเพื่อการคนควาผาน

ระบบอินเทอรเน็ต ใหมีสื่อและอุปกรณการศึกษา

เชน เครื่องฉายภาพทึบแสง , VCD , DVD ,

เอกสาร ตําราและสิ่งพิมพตาง ๆ

2. มีระบบจัดการและการสืบคนดวยระบบ

คอมพิวเตอร

3. มีระบบการใหบริการที่เพียงพอแกนักศึกษา

ของวิทยาลัยและบุคคลภายนอก

4. มีการประเมินคุณภาพการใหบริการ โดยใช

แบบสํารวจความพงึพอใจของผูใชบริการงาน

วิทยบริการและหองสมุด

5. มีระบบควบคุมการใชบริการงานวิทยบริการ

และหองสมุด

ผลการดําเนินการ อยูในเกณฑ ดี (ปฏิบัติไดท้ัง 4 ขอ)

ผลสัมฤทธิ ์

ระดับความเหมาะสมที่เอื้อตอการเรียนรูอยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทุกขอ

Page 79: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

79

ตัวบงชี้ท่ี 29 ระดับความเหมาะสมในการจัดศูนยวิทยบริการใหเหมาะสมกับวิชาท่ีเรียน

มีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ไดตระหนักถึงการเรียนรูของนักเรียน นักศึกษา นอกจากที่จะเรียนภายในหองเรียนเพียง

อยางเดียว ยังไดจัดใหมีศูนยวิทยบริการ เชน หองสมุด หองอินเทอรเน็ต และมุมสื่อวีดีทัศนเพื่อรองรับการ

เรียนรูของนักเรียน นักศึกษาและบุคคลภายนอก ที่ตองการการเพิ่มพูนความรูของตัวเองใหมากย่ิงข้ึน

ในการศึกษาหาความรูในสิ่งที่สนใจ และทางวิทยาลัยไดรองรับในการขอใชสถานที่จากหนวยงานราชการ

ภายนอก ที่จะมาใชหองอินเตอรเน็ตภายในวิทยาลัย เพื่อจัดอบรมความรูตางๆ ใหกับประชาชนทั่วไป

เพราะวิทยาลัยเห็นความสําคัญในการเรียนรู และเปนสวนหน่ึงในการบริการชุมชน เพื่อการพัฒนาของสังคม

ในปจจุบันและอนาคตใหดีย่ิงข้ึนตอไป

ผลการดําเนินงาน

ปการศึกษา 2554 งานวิทยบริการและหองสมุดไดมีการดําเนินงานโครงการตางๆ และปรับปรุง

บรรยากาศ เพิ่มเติมจํานวนตําราเรียน หนังสือประเภทตาง ๆ มีระบบโปรแกรมระบบงานหองสมุดเพื่อใชใน

การยืม-คืนหนังสือและคนหารายช่ือหนังสือภายในหองสมุด มีการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหเพียงพอตอความ

ตองการของนักศึกษา ประชาชนภายนอกที่เขามาใชบริการ หองสมุด และหองอินเทอรเน็ต รวมทั้งมีการใช

แบบสอบถามใหบริการ เพื่อนําไปใชในการปรับปรุงการบริการใหมุงสูมาตรฐานคุณภาพ

จากการเก็บขอมูลในการใหบริการของศูนยวิทยบริการ วิทยาลัย มีศูนยวิทยบริการและแหลงการ

เรียนรู ดังน้ี

- หองสมุดวิทยาลัย จํานวน 1 หอง

- มุมศึกษาคนควา จํานวน 1 แหง

- มุมสื่อวีดีโอ จํานวน 1 แหง

- หองอินเทอรเน็ต จํานวน 1 หอง

- มุมหนังสอืแวดวงอาชีวะ จํานวน 1 แหง

- เครื่องคอมพิวเตอร จํานวน 30 เครื่อง

- จุดกระจายสัญญาณเครือขาย Internet ไรสาย จํานวน 3 แหง

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัย มีการรองรับการใหบริการวิชาการแกชุมชน หนวยงานราชการภายนอกที่มาขอรับบริการ

เพื่อเพิ่มความรูแกของประชาชน และทางศูนยวิทยบริการวิทยาลัย ไดดําเนินโครงการปรับปรุงศูนยวิทยบริการ

และแหลงเรียนรู เพื่อนําไปสูมาตรฐานคุณภาพ ผลการประเมินระดับความเหมาะสมในการจัดศูนยการเรียนรู

ใหเหมาะสมกับวิชาที่เรียนมีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรูและเกิดประโยชนสูงสุดของวิทยาลัยฯ ไดปฏิบัติตาม

เกณฑการตัดสินทุกขอตามขอมูลประกอบการตัดสิน ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 80: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

80

ตัวบงชี้ท่ี 30 ระดับความเหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ ไดจัดใหมีอุปกรณ/ครุภัณฑที่มีความทันสมัยและเพียงพอกับจํานวนนักเรียนนักศึกษา มีการ

บํารุงรักษาใหอยูในสภาพพรอมใชงานอยูตลอดเวลา

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ จัดใหมีการจัดซื้ออุปกรณ/ครุภัณฑในแตละแผนกวิชาใหเพียงพอและพรอมใชตามสาขาวิชา

แตงต้ังหัวหนาแผนกวิชาติดตามตรวจสอบ เพื่อการบํารุงรักษา ซอมแซม จัดทําแผนการใชพื้นที่ของแผนก

มีใบควบคุมคุณภาพของครุภัณฑ ดานการใชการซอมแซมไวอยางชัดเจน จัดใหมีการประเมินความพึงพอใจ

ในการใชอุปกรณ ครุภัณฑในสวนตางๆ รวมทั้งมีการสํารวจในแตละแผนกวิชา เพื่อนําครุภัณฑและอุปกรณ

มาพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึน

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาไดใชครุภัณฑ เครื่องมือ และอุปกรณอยางทั่วถึง พอเพียงที่จะมีสมรรถนะ ทักษะและได

ทดลองใชเครื่องมือเบื้องตนในการนําไปปฏิบัติงานอาชีพที่เกี่ยวของไปประกอบอาชีพอิสระของตนเอง ระดับ

ความเหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑและอุปกรณอยูในเกณฑ พอใช คือปฏิบัติตามเกณฑขอ 1 – 4

ขอกําหนดท่ี 3.13 จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีเอ้ือตอ

การเรียนรู

ตัวบงชี้ท่ี 31 ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดลอม สิ่งอํานวย

ความสะดวกท่ีเอ้ือตอการเรียนรูในสาขาวิชา / สาขางาน

วิธีดําเนินงาน

สถานศึกษา ตระหนักถึงความปลอดภัยของการจัดสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวก ทั้งใน

หองเรียน และนอกหองเรียน จัดต้ังคณะกรรมการควบคุมดูแลรักษาสภาพแวดลอม และความปลอดภัยของ

สถานศึกษา โดยจัดใหมีการประชุมช้ีแจง เรื่องความปลอดภัยตอครูอาจารย เจาหนาที่ และแจงขอพึงปฏิบัติ

ตอนักศึกษา ดูแลบํารุงรักษาอุปกรณดับเพลิงตามอาคารตาง ๆ เชน อาคารพาณิชยการ อาคารชางยนต อาคาร

ชางไฟฟา อาคารอํานวยการ จัดหองพยาบาลไวรับรองนักศึกษา ที่เจ็บปวยหรือเกิดอุบัติเหตุ จากการ

ฝกปฏิบัติงานขณะทําการเรียนการสอน ภายในหองพยาบาลจัดใหมีเวชภัณฑที่จําเปนสําหรับการรักษาพยาบาล

เบื้องตน จัดเวรยามกลางคืน มีปายเตือนเรื่องความปลอดภัยในการใชรถ และถนนภายในสถานศึกษา รวมถึง

มีภาพเตือนเรื่องความปลอดภัยในการใชเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณในการฝกปฏิบัติงาน นอกจากน้ียังมี

การจัดทําประกันอุบัติเหตุใหกับนักศึกษา ตลอดจนดูแลซอมแซมอาคารสถานที่ใหมีความปลอดภัย ใหมี

ความเรียบรอย สะอาดและสวยงาม

Page 81: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

81

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยฯ มีคณะกรรมการควบคุมดูแลรักษาสภาพแวดลอมและความปลอดภัย และจัดทําแบบ

สํารวจสภาพความปลอดภัย และสิ่งอํานวยความสะดวกในแตละสาขาวิชาดังน้ี

- มีปายคําเตือนความปลอดภัย / เครื่องหมาย / สัญลักษณ

- มีปายแสดงข้ันตอนการใชเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณปองกันอัคคีภัย

- มีสถานที่ และ หองเก็บอุปกรณ เครื่องใช อยางเปนสัดสวน

- มีอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในหองปฏิบัติการ

- มีบันทึกการตรวจสภาพ บํารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร

- มีอุปกรณสวมใสเพื่อปองกันอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน

- มีเวชภัณฑยาสามัญ อุปกรณปฐมพยาบาล ประจําแผนกวิชา

- จัดทําสมุดบันทึกสถิติเขาใชบริการหองปฐมพยาบาลของวิทยาลัยฯ

ความปลอดภัยเปนไปตามเกณฑของสถานศึกษา รอยละ 100 อยูในเกณฑดี

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวนสาขางานที่จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดลอม และสิ่งอํานวยความสะดวก ครบทั้ง

4 ดาน คิดเปนรอยละ 100 ผลการประมินอยูในเกณฑ ดี จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 70

ขอกําหนดท่ี 3.14 พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานท่ีเก่ียวของอยางเปนระบบและ

ตอเน่ือง

ตัวบงชี้ท่ี 32 รอยละของบุคคลกรภายในสถานศึกษาท่ีไดรับการพัฒนาตามหนาท่ี ท่ีรับผิดชอบ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดจัดทําแผนพัฒนาในวิชาชีพหรือหนาที่ที่รับผิดชอบใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษา

ทั้งหมดของวิทยาลัย ในรูปแบบตางๆ โดยใหมีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร ทั้งสายครูผูสอนและสาย

สนับสนุน โดยจัดต้ังแผนงบประมาณ มีการสงเสริมใหบุคลากรศึกษาตอใหมีคุณวุฒิสูงข้ึน จัดสงบุคลากรเขา

รับการอบรม ประชุมสัมมนาทางวิชาการ จัดศึกษาดูงาน ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยจัดใหมี

ระบบการติดตามและรายงานผล จัดใหมีการศึกษาคนควาการเรียนรูดวยตนเอง สงเสริมดานระบบเครือขาย

Internet เพื่อใหสามารถศึกษาหาความรูไดตลอดเวลา จัดใหมีแฟมสะสมผลงาน เพื่อการประเมินผลการ

ปฏิบัติงานในหนาที่ที่รับผิดชอบ

Page 82: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

82

ผลการดําเนินงาน

บุคลากรภายในวิทยาลัยไดรับการพัฒนาในหนาที่ที่รับผิดชอบ และมีการพัฒนาตนเองตลอดป

การศึกษาในรูปแบบของการฝกอบรมตอในระดับที่สูงข้ึน ศึกษาดูงาน ประชุม สัมมนาทางวิชาการ ทั้งภายใน

และภายนอกสถานศึกษา และศึกษาคนควาเรียนรูดวยตนเองสงเสริมดานระบบเครือขาย Internet ไปสูงาน

ในฝายตางๆ โดยบุคลากรของทางวิทยาลัย มีการพัฒนาตนเองตามหนาที่ที่รับผิดชอบมากกวา 20 ช่ัวโมงตอ

คนตอป

จํานวนบุคลากรท่ีไดรับการพัฒนาตามหนาท่ีท่ีรับผิดชอบมีรายละเอียดดังน้ี

ท่ี บุคลากร จํานวนคน ชั่วโมงอบรม

ไมนอยกวา 20 ชั่วโมง (คน) รอยละ

1 สายครูผูสอน 22 22 100

2 สายสนับสนุนการสอน 9 9 100

บุคลากรท่ีไดรับการพัฒนาไมนอยกวา 20 ชั่วโมง คิดเปนรอยละ 100

ผลสัมฤทธิ ์

บุคลากรภายในวิทยาลัยสายครูผูสอน ไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบมากกวา 20 ช่ัวโมง

ตอคนตอป คิดเปนรอยละ 100 และสายสนับสนุนการสอนไดรับการพัฒนาตามหนาที่ที่รับผิดชอบไมนอย

กวา 20 ช่ัวโมงตอคนตอป คิดเปนรอยละ 100 ดังน้ัน บุคลากรภายในสถานศึกษาที่ไดรับการพัฒนาตาม

หนาที่ ที่รับผิดชอบทั้งหมดอยางมีประสิทธิภาพ คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี จากที่

ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 80

ขอกําหนดท่ี 3.15 ระดมทรัพยากรท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษารวมกันจัดการศึกษาท้ังใน

ระบบและทวิภาคีอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 33 จํานวนครั้งหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยมีนโยบายตอการบริหารการศึกษาโดยใหภาครัฐและเอกชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและ

การพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน ขณะเดียวกันวิทยาลัยก็เปดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนในการศึกษาอาทิเชน

การจัดหาสถานที่ในการฝกประสบการณ การจัดหาทุนการศึกษา การจัดหาผูสนับสนุนวัสดุ-ครุภัณฑ

เพื่อสนับสนุนการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ

Page 83: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

83

ผลการดําเนินงาน

วิทยาลัยไดรับการสนับสนุนครุภัณฑและสื่อการเรียนการสอนจากภาครัฐและเอกชน 6 ครั้ง สถาน

ประกอบการภาครัฐและเอกชน ไดขอใชสถานที่ในการจัดการอบรม จํานวน 5 ครั้ง จัดการอบรมใหความรูจาก

วิทยากรภายนอกและเปนวิทยากร จํานวน 7 ครั้ง การจัดหาทุนการศึกษา จํานวน 3 ครั้ง และวิทยาลัย

สนับสนุนงบประมาณจากรายไดสถานศึกษาในการจัดซื้อครุภัณฑ จํานวน 6 ครั้ง ซอมแซมครุภัณฑ จํานวน

1 ครั้ง

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการ

จัดการศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ จํานวน 28 ครั้ง ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 34 จํานวนสถานประกอบการท่ีมีการจัดการศึกษารวมกับสถานศึกษา จัดการศึกษา

ระบบทวิภาคีและระบบปกติ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดประสานงานและจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการ โดยจัดสงผูเรียนเขาเรียนและ

ฝกงานภายนอกวิทยาลัยในสถานประกอบการ ตามหลักสูตรที่กําหนด มีการประเมินผลผูเรียนรวมกันระหวาง

ครูผูนิเทศกับครูผูสอนของสถานประกอบการ วิทยาลัยจัดใหมีการลงนามความรวมมือระหวางสถาน

ประกอบการกับวิทยาลัย จัดใหมีศูนยกําลังคนอาชีวศึกษา ระดับวิทยาลัยโดยลงใน www.v-cop.net ลงใน

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นักศึกษาสามารถสืบคน สมัครงานและหาสถานที่ฝกงาน

ทางอินเตอรเน็ตได

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนไดรับความรูและไดรับประสบการณจริงจากการเรียนการสอนและการฝกปฏิบัติงานตามสภาพ

ความเปนจริงของธรรมชาติการเรียนรูของผูเรียน มีทักษะ ความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงข้ึน

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดจัดการศึกษารวมกับสถานประกอบการในระบบทวิภาคีและระบบปกติ ระดับ ปวช. จํานวน

15 สถานประกอบการ ปวส. (เทียบโอน) จํานวน 4 สถานประกอบการ และระยะสั้น(คูขนาน) โรงเรียน

ลานสักวิทยา จํานวน 9 สถานประกอบการ โรงเรียนการุงวิทยา จํานวน 6 สถานประกอบการ เพียงพอ

กับจํานวนนักศึกษาที่ออกฝกงานทั้งหมด 62 คน จํานวน 34 สถานประกอบการ มีผลสัมฤทธ์ิรอยละ 100

อยูในระดับ ดี

Page 84: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

84

ตัวบงชี้ท่ี 35 จํานวนคน-ชั่วโมง ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปญญาทองถ่ิน ท่ีมีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนและองคกรตาง ๆ เพื่อมาเปน

วิทยากรในการใหความรู และทักษะแกผูเรียน ไดใหแผนกวิชามีการจัดหาผูเช่ียวชาญ ผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู

ความสามารถ เช่ียวชาญเฉพาะดานจากสถานประกอบการ หนวยงานตาง ๆ ชุมชนและทองถ่ินมาใหความรู

ในวิทยาลัย นักศึกษาไดรับความรูความเขาใจที่ดีและทันตอความกาวหนาใหครูผูสอนมีการจัดทัศนศึกษาดูงาน

ทั้งภายในและภายนอกทองถ่ินเพื่อใหผูเรียนไดรับประสบการณตรงจากวิทยากรผูเช่ียวชาญ ผูทรงคุณวุฒิเพื่อ

เปนการพัฒนาการเรียนการสอน

ผลการดําเนินการ

ลําดับท่ี แผนกวิชา โครงการ

จํานวนผูเชี่ยวชาญ

คน/ชั่วโมง รวม

ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

1 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการ Story Telling

Competition (ประกวด

เลานิทาน)

1-3 - 1-3

2 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการศึกษาดูงานสถาน

ประกอบการนักเรียน-นักศึกษา

2554

2-5 - 2-5

3 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา

และประชุมผูปกครอง 2554

3-2 - 3-2

4 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการอบรมเรื่องพิษภัย

ยาเสพติด

1-2 - 1-2

5 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

โครงการคุณธรรม นําความรู

สูอาชีพ

1-2 - 1-2

6 ชางยนต,ชางไฟฟา

บัญชี,คอมพิวเตอร

เขาคายพักแรมลูกเสือเนตรนาร ี - 3-2 3-2

7 ชางยนต,ชางไฟฟา โครงการฝกอบรมจัดองคความรู

การขับข่ีปลอดภัยเสริมสราง

วินัยจราจร

- 1-7 1-7

Page 85: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

85

ผลสัมฤทธิ ์

จํานวน คน/ช่ัวโมง ของผูเช่ียวชาญที่มีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียน ต้ังแต 2 คน/ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ข้ึนไป มีครบทุกสาขางาน คิดเปน รอยละ 100 จากที่ต้ังเปาหมายไวไมนอยกวารอยละ 80 ผลการประเมิน

อยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 36 อัตราสวนของผูสอนประจําท่ีมีคุณวุฒิดานวิชาชีพตอผูเรียนในแตละสาขาวิชา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย มีแผนในการจัดอัตรากําลังคนในแตละสาขาวิชาตามความจําเปนไดเปดสอนในหลักสูตร

ตาง ๆ ดังน้ี หลักสูตรวิชาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาชางอุตสาหกรรม สาขางาน

ยานยนต สาขางานไฟฟากําลัง ประเภทพาณิชยกรรม สาขางานบัญชี สาขางานคอมพิวเตอรธุรกิจ หลักสูตร

ปวส.เทียบโอนความรูและประสบการณ, หลักสูตรระยะสั้น, หลักสูตรแกนประถม - มัธยม และหลักสูตร

ปวช. ในโรงเรียนมัธยม สงเสริมใหครู อาจารย มีการพัฒนาคุณวุฒิตามสาขาวิชา สงเสริมใหไดรับใบประกอบ

วิชาชีพครูตามเกณฑที่ครุสภากําหนด กําหนดใหแตละสาขาวิชามีครู อาจารยสอนตามคุณวุฒิรอยละ 80

โดยการเชิญครูผูสอนจากสถานศึกษาอื่นเขารวมในสาขาวิชาที่ไมมีวุฒิน้ัน ๆ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัย ไดมีการจัดหาบุคลากรที่มีคุณวุฒิดานวิชาชีพตรงตามสาขาวิชาเพื่อทําการจัดการเรียนการ

สอนใหกับนักศึกษาในแตละสาขาวิชาตาง ๆ ไดจัดตารางสอนของครู อาจารยผูสอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา

ในแตละภาคการศึกษาจัดทําตารางสรุปสัดสวนของผูสอนแยกตามสาขาวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิ และตรงตาม

วุฒิการศึกษาดังน้ี

ตารางสรุปการสอนของครูอาจารยท่ีสอนตรงตามวุฒิการศึกษาในปการศึกษา 2554

แผนกวิชา

จํานวนครูผูสอน จํานวนนักเรียนท้ังหมด

รวม จํานวนครูตอ

นักเรียน ภาคเรียนท่ี

1

ภาคเรียนท่ี

2

ภาคเรียนท่ี

1

ภาคเรียนท่ี

2

ชางไฟฟากําลัง 2 2 33 26 59 14.75

ชางยนต 3 3 78 66 144 24

การบัญชี 3 3 16 14 30 5

คอมพิวเตอร 3 2 20 13 33 6.6

รวม 11 10 147 119 266 12.66

Page 86: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

86

ดังน้ันจํานวนครูผูสอนประจําตอนักเรียนท่ีสอนตรงตามวุฒิการศึกษาในปการศึกษา 2554

ครูผูสอนประจําตอนักเรียน = 44 x 100

= 100

4 หมายถึง จํานวนสาขาวิชาที่ผานเกณฑ (ครู 1 คน ตอ นักเรียน 35 คน)

4 หมายถึง จํานวนสาขาวิชาที่เปดสอนทั้งหมด

ผลสัมฤทธิ ์

ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มีจํานวนรายวิชาที่เปดสอนทั้งหมด 50 รายวิชา จํานวนรายวิชา

ที่สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา คิดเปนรอยละ 100 และภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 มีจํานวน

รายวิชาที่เปดสอนทั้งหมด 59 รายวิชา จํานวนรายวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษา คิดเปนรอยละ 100

ดังน้ันในปการศึกษา 2554 มีรายวิชาที่สอนตรงตามคุณวุฒิการศึกษาคิดเปนรอยละ 100 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี

ตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 90 - 100

ตัวบงชี้ท่ี 37 อัตราสวนของครูผูสอนประจําตอผูเรียน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย มีแผนงานในการจัดสรรอัตรากําลัง ของครูใหมีความพอเพียงตอการจัดการเรียนการสอน

โดยไดมอบหมายใหงานทะเบียนจัดทําสถิติของผูเรียนในแตละภาคเรียนในปการศึกษา 2554 และขอมูล

บุคลากรของสถานศึกษาที่ทําหนาที่สอนจากงานบุคลากร ในสาขาวิชาตาง ๆ ของวิทยาลัย มาจัดทําขอมูล

ใหเปนปจจุบัน

ผลการดําเนินการ

ตารางสรุปจํานวนนักศึกษาและจํานวนบุคลากรของสถานศึกษาท่ีทําหนาท่ีสอน

ปการศึกษา แผนกวิชา จํานวน

ครู-อาจารย

จํานวน

นักศึกษา

อัตราสวนจํานวน

คร/ูจํานวน

นักศึกษา

1/2554 ชางยนต

ชางไฟฟากําลัง

การบัญชี

คอมพิวเตอร

3

2

3

3

78

33

16

20

1:26

1:16.5

1:5.3

1:6.6

รวม 11 147 1:13.3

Page 87: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

87

ปการศึกษา แผนกวิชา จํานวน

ครู-อาจารย

จํานวน

นักศึกษา

อัตราสวนจํานวน

คร/ูจํานวน

นักศึกษา

2/2554 ชางยนต

ชางไฟฟากําลัง

การบัญชี

คอมพิวเตอร

3

2

3

2

66

26

14

13

1:22

1:13

1:4.6

1:6.5

รวม 10 119 1:11.9

รวมในปการศึกษา 2554 ท้ังสิ้น 21 คน 266 คน 1:12.6

ผลสัมฤทธิ ์

อัตราสวนผูสอนตอผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา ในปการศึกษา 2554 ในภาคเรียนที่ 1 ครูจํานวน

1 คน ตอผูเรียนจํานวน 13.3 คน ภาคเรียนที่ 2 ครจูํานวน 1 คน ตอผูเรียนจํานวน 11.9 คน และในป

การศึกษา 2554 น้ัน ครจูํานวน 1 คน สอนผูเรียนเฉลี่ยอยูที ่12.6 คน ซึ่งอยูเกณฑ ดี จากที่ต้ังเปาหมายไว

ผูสอนจํานวน 1 คน ตอผูเรียน ไมเกินจํานวน 25 คน

ขอกําหนดท่ี 3.16 จัดทําระบบดูแลใหคําปรึกษาผูเรียนอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ

ตัวบงชี้ท่ี 38 จํานวนครั้งของการจัดใหผูเรียนพบครูท่ีปรึกษา

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยไดใหความสําคัญในการดูแลติดตามใหคําแนะนําแกผูเรียนดานการศึกษา และความประพฤติ

อยางตอเน่ือง โดยการแตงต้ังครูที่ปรึกษาและหมอบหมายใหดูแล ติดตามนักศึกษาและกําหนดใหครูที่ปรึกษา

ตรวจสอบนักศึกษาในกิจกรรมการเขาแถวเคารพธงชาติทุกวัน ในแตละสัปดาห เพื่อติดตามผลการเรียน

และพฤติกรรมของนักศึกษา หากพบวานักศึกษามีผลการเรียนตํ่ากวาเกณฑ ตลอดจนมีความประพฤติที่ไม

เหมาะสม ไมปฏิบัติตามกฎระเบียนของสถานศึกษา ครูที่ปรึกษาก็จะดูแลติดตามใหคําแนะนําปรึกษาและ

ประสานกับผูปกครอง เพื่อทราบและชวยกันหาทางแกไขปญหา เพื่อใหผูเรียนสามารถสําเร็จการศึกษา

ตามเกณฑที่กําหนด

Page 88: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

88

ผลการดําเนินการ

ครูที่ปรึกษาไดดําเนินการพบนักเรียน นักศึกษา ดูแล ติดตาม ใหคําปรึกษา แนะนํา เกี่ยวกับ

การเรียน และความประพฤติอยางตอเน่ืองอยางมีประสิทธิภาพตลอดปการศึกษา 2554 โดยจัดใหผูเรียนพบ

ครูที่ปรึกษาดังน้ี

ภาคเรียนที่ 1 - จํานวนกลุมและหองของนักศึกษา 9 หอง

- จํานวนครั้งของนักศึกษาพบครูที่ปรึกษา 84 ครั้ง

ภาคเรียนที่ 2 - จํานวนกลุมและหองของนักศึกษา 12 หอง

- จํานวนครั้งของนักศึกษาพบครูที่ปรึกษา 81 ครั้ง

ผลสัมฤทธิ ์

จากการที่วิทยาลัยไดดําเนินการดูแลติดตามผูเรียนอยางใกลชิดตลอดปการศึกษา ครูที่ปรึกษาไดดูแล

ใหคําแนะนําปรึกษาแกผูเรียน มีผลทําใหนักศึกษามีความประพฤติที่เหมาะสม ซึ่งการพบกลุมผูเรียนของ

ครูที่ปรึกษาทุกคนมีจํานวน 165 ครั้ง อยูในเกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 39 จํานวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสารเสพติดใหกับผูเรียน

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัย ไดจัดต้ังแผนงบประมาณประจําปในการบรรจุโครงการตรวจสารเสพติดของสถานศึกษา

แตงต้ังคณะกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดของสถานศึกษาใหความสําคัญตอการมีสวนรวมในการ

ดูแลปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในสถานศึกษา เขารวมประชุมและเปนคณะกรรมการศูนยปฏิบัติการ

ตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดอุทัยธานีในการรณรงคปองกันยาเสพติดจัดใหมีการตรวจหาสารเสพติด

ประเภทรายแรงและอบรมใหความรูจากหนวยงานที่รับผิดชอบดานยาเสพติดจัดใหมีกิจกรรมเสริมเพื่อเปนการ

ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและหางไกลจากยาเสพติด เชน การเลนดนตรี เลนกีฬา และอินเตอรเน็ตชวงหลัง

เลิกเรียน เปนตน

ผลการดําเนินงาน

ผูเรียนมีความรูในเรื่องของพิษภัยยาเสพติดใหโทษตางๆ จัดโครงการและกิจกรรม เพื่อเสริมสรางความ

เขมแข็งและเปนภูมิคุมภัยจากยาเสพติด มีการรายงานตอสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อําเภอ จังหวัดและ

สอศ. อยางตอเน่ือง และจัดทําโครงการตรวจหาสารเสพติดตามแผนภายในวิทยาลัยฯเปนประจําทุกป

ผลสัมฤทธิ ์

สถานศึกษาจัดบริการตรวจหาสารเสพติดใหกับผูเรียนปละ 1 ครั้ง จากจํานวนนักศึกษาทั้งหมด

118 คน เขารับการตรวจจํานวน 115 คน คิดเปนรอยละ 97.45 มีผลสัมฤทธ์ิ คือ ไมมีผูติดสารเสพติด

ประเภทรายแรงจากผลการตรวจหาสารเสพติด ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 89: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

89

ตัวบงชี้ท่ี 40 รอยละของผูเรียนท่ีออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย ไดเห็นความสําคัญของการออกกลางคันของนักศึกษา โดยไดจัดทําโครงการเพื่อแกไขปญหา

ไวในแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา เชน โครงการประชุมผูปกครองและนักศึกษา โครงการพบครูที่ปรึกษา

ทุกวันหลังเขาแถวเคารพธงชาติ รวมทั้งจัดกิจกรรมเสริมคุณภาพนักศึกษาตลอดปการศึกษา จัดทําขอมูล

ผลการเรียนเฉลี่ยของนักศึกษารายบุคคล เพื่อรายงานผลการเรียนใหผูปกครองรับทราบ เชิญผูปกครองมาพบ

เปนรายบุคคล รายกลุมเพื่อรวมแกปญหา และจัดใหมีการชวยเหลือนักศึกษาที่มีฐานะยากจน โดยมอบหมาย

งานแนะแนว งานอาจารยที่ปรึกษา งานปกครอง และอาจารยประจําวิชารวมใหขอมูล เพื่อจัดทุนการศึกษา

แกนักศึกษา และจัดใหมีคณะกรรมการบริหารกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) สําหรับนักศึกษาที่มี

ความตองการกูยืมจากกองทุน

ผลการดําเนินการ

สรุปจํานวนนักศึกษาแรกเขาปการศึกษา 2554 ทุกช้ันป ทุกสาขาวิชา จํานวนทั้งสิ้น 147 คน และ

ปจจุบันมีจํานวนนักศึกษา 119 คน โดยนักศึกษาจํานวน 29 คน ที่หยุดเรียนกลางคัน บางสวนหยุดเรียน

เพื่อชวยลดรายจายของครอบครัว บางสวนไมไดต้ังใจเรียนต้ังแตแรกเขา บางสวนเรียนตามที่ผูปกครอง

เลือกให บางสวนถูกสภาวะแวดลอมชักจูงใหมีพฤติกรรมไมเหมาะสม เวลาเรียนไมพอจึงไมผานเกณฑ

การศึกษาตามกําหนดเวลา

ตารางแสดงจํานวนนักเรียนท่ีออกกลางคัน ปการศึกษา 2554

แผนกวิชา จํานวนนักศึกษา

แรกเขา (คน)

จํานวนนักศึกษา

ปจจุบัน (คน)

จํานวนศึกษา

ท่ีออกกลางคัน

(คน)

จํานวนรอยละ

ท่ีออกกลางคัน

ชางยนต

ปวช.1

ปวช.2

ปวช.3

44

14

20

38

12

16

6

2

4

13.63

14.28

20.00

รวม 78 66 12 15.38

ชางไฟฟา

ปวช.1

ปวช.2

ปวช.3

29

4

0

22

4

0

7

0

0

24.13

0.00

0.00

รวม 33 26 7 21.21

Page 90: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

90

แผนกวิชา จํานวนนักศึกษา

แรกเขา (คน)

จํานวนนักศึกษา

ปจจุบัน (คน)

จํานวนศึกษาท่ี

ออกกลางคัน

(คน)

จํานวนรอยละท่ี

ออกกลางคัน

การบัญช ี

ปวช.1

ปวช.2

ปวช.3

8

4

4

6

4

4

2

0

0

25.00

0.00

0.00

รวม 16 14 2 12.50

คอมพิวเตอรธุรกิจ

ปวช.1

ปวช.2

ปวช.3

13

3

4

5

3

5 *

8

0

0

61.53

0.00

0.00

รวม 20 13 8 40.00

รวมท้ังสิ้น 147 119 29 19.73

หมายเหตุ * แผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ช้ันปที่ 3 มีจํานวนนักศึกษาที่ในภาคเรียนปจจุบันมากกวา

แรกเขาเน่ืองจากมีนักศึกษาที่พักการเรียนกลับเขามาเรียนในภาคเรียนปจจุบัน

ผลสัมฤทธิ ์

นักศึกษาแรกเขาในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 มีจํานวน 147 คน นักศึกษาปจจุบัน

ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 มีจํานวน 119 คน และนักศึกษาที่ออกกลางคัน มีจํานวน 29 คน

คิดเปนรอยละ 19.73 ซึ่งอยูในเกณฑ ดี คือ นอยกวารอยละ 31 ของนักศึกษาแรกเขา

ขอกําหนดท่ี 3.17 จัดกิจกรรมสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีดีงามใน

วิชาชีพ รวมท้ังดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ตัวบงชี้ท่ี 41 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมท่ีสงเสริมดานวิชาการ คุณธรรม

จริยธรรมคานิยมท่ีดีงามในวิชาชีพ รวมท้ังดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดวางแผนการจัดกิจกรรมสงเสริมหลักสูตรในการพัฒนาผูเรียน ในดานวิชาการ ดานคุณธรรม

จริยธรรมและคานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ ใหมีเมตตากรณุา ความซีอ่สัตย และมีวินัยดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ที่ดี ไดสนับสนุนสงเสริมอนุรักษความเปนไทยและสงเสริมประชาธิปไตย ในการเปนคนไทยเพื่อเปนการหลีกเลี่ยง

อบายมุข และสิ่งเสพติด โดยใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรมทุกคน และจัดทําแผนปฏิบัติการไวเปนแนวทางการ

ดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 91: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

91

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัย ไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมดานวิชาการ ดานคุณธรรมจริยธรรม คานิยมในวิชาชีพ และดาน

บุคลิกภาพ สรางมนุษยสัมพันธ และปลูกฝงใหรักประเทศไทย โดยจัดกิจกรรมเคารพธงชาติ กลาวคําปฏิญาณ

กอนเขาหองเรียน โดยใหคณะกรรมการองคการวิชาชีพ ดําเนินกิจการประจําวัน และไดจัดกิจกรรม

ตามแผนปฏิบัติการประจําป 2554 และนอกแผนปฏิบัติการประจําป 2554 โดยใหนักศึกษาเขารวมโครงการ

และรับผิดชอบใน ปการศึกษา 2554 มีโครงการ ทั้งหมดจํานวน 24 โครงการ และสามารถแยกออกเปนดาน

ได 3 ดาน ดังน้ี

1. ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ มีจํานวน 9 กิจกรรม/โครงการ

2. ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดาน คุณธรรม มีจํานวน 20 กิจกรรม/โครงการ

3. ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ มีจํานวน 11 กิจกรรม/โครงการ

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ ภาคเรียนท่ี 1/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการเสริมคุณภาพ

นักศึกษาใหม ปวช.1

41 21 8 10 80 ปวช.1

2 ปฐมนิเทศนักศึกษาและ

ประชุมผูปกครอง

ปการศึกษา 2554

38 23 6 8 75 ปวช.1

3 การจัดการศึกษาดูงาน

สถานประกอบการของ

นักเรียน นักศึกษาใหม

34 30 11 10 85 ปวช.1,2

4 โครงการอบรมใหความรู

เรื่อง พิษภัยยาเสพติด

41 15 13 12 81 ปวช.1,2,3

Page 92: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

92

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ ภาคเรียนท่ี 2/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ)

ระดับภาค ภาคเหนือ

จ.แพร

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

2 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ)

ระดับชาติ จ.ระยอง

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

3 การประกวดสิ่งประดิษฐ

คนรุนใหม ระดับภาค

ภาคเหนือ จ.แพร

- - 2 - 2 ตัวแทน

นักศึกษา

4 ประชุมวิชาการองคการ

วิชาชีพระดับภาค จ.แพร

1 - 3 - 4 ตัวแทน

นักศึกษา

5 ประชุมวิชาการองคการ

วิชาชีพระดับชาติ จ.ระยอง

1 - 3 - 4 ตัวแทน

นักศึกษา

6 โครงการขับข่ีปลอดภัย

เสริมสรางวินัยจราจร

30 15 12 10 67 ปวช.1-3

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมโครงการท่ีสงเสริมพัฒนาดานวิชาการ

ลําดับท่ี แผนกวิชา ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการ

เขารวม 1 2

1 ชางยนต 4 6 10 7

2 ชางไฟฟากําลัง 4 6 10 7

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 4 6 10 5

4 การบัญชี 4 6 10 8

Page 93: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

93

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดาน คุณธรรม จริยธรรม ภาคเรียนท่ี 1/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการแหเทียนพรรษา 37 17 10 12 76 ปวช.1-3

2 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center)

ตําบลปาออ

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

3 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center)

ตําบลเจาวัด

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

4 โครงการศูนยซอมสรางเพื่อ

ชุมชน (Fix it center)

ตําบลทองหลาง

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

5 โครงการเสริมคุณภาพ

นักศึกษาใหม ปวช.1

41 21 8 10 80 ปวช.1

6 ปฐมนิเทศนักศึกษาและ

ประชุมผูปกครอง

38 23 6 8 75 ปวช.1

7 โครงการตรวจสารเสพติด

ภายในสถานศึกษา

65

24 13 13 115 ปวช.1-3

8 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบประกาศ

เกียรติคุณ

68 29 14 17 128 ปวช. 1-3

9 โครงการวันแมแหงชาติ

12 สิงหา มหาราชินี

52 19 8 10 89 ปวช.1-3

10 โครงการอบรมใหความรู

เรื่อง พิษภัยยาเสพติด

41 15 13 12 81 ปวช.1-3

11

โครงการฟุตซอลตอตาน

ยาเสพติด

47 18 - - 65 น.ศ.ชาย

12 โครงการปลูกตนไมถวาย

เปนพระราชกุศล

52 19 8 10 89 ปวช.1-3

13 โครงการตรวจสุขภาพ

ประจําปของนักศึกษา

66 33 16 14 129

ปวช.1-3

Page 94: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

94

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมพัฒนานักศึกษาดาน คุณธรรม จริยธรรม ภาคเรียนท่ี 2/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการวันสําคัญ ชาติ

ศาสนา พระมหากษัตริย

(วันพอแหงชาติ)

38 14 6 3 61 ปวช.1-3

2 โครงการเลือกต้ัง

คณะกรรมการองคการ

นักศึกษา อาชีวศึกษา

39 8 12 20 79 ปวช.1-3

3

ประชุมวิชาการองคการ

วิชาชีพระดับภาค จ.แพร

1 - 2 - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

4 ประชุมวิชาการองคการ

วิชาชีพระดับชาติ จ.ระยอง

1 1 1 1 4 ตัวแทน

นักศึกษา

5 โครงการสานสายใยรัก

แหงครอบครัว

4 2 2 2 10 คัดเลือก

นักศึกษา

6

โครงการขับข่ีปลอดภัย

เสริมสรางวินัยจราจร

30 15 12 10 67 ปวช.1-3

7 การแขงขันกีฬาสีภายใน 60 25 13 13 111 ปวช.1-3

8 เขาคายลูกเสือ – เนตรนารี

วิสามัญ

24 15 6 5 50 ปวช.1

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมโครงการท่ีสงเสริมพัฒนาดาน คุณธรรม จริยธรรม

ลําดับ

ท่ี แผนกวิชา

ภาคเรียน จํานวน

โครงการท้ังหมด

จํานวน

โครงการเขารวม 1 2

1 ชางยนต 13 8 21 21

2 ชางไฟฟากําลัง 13 8 21 20

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 13 8 21 19

4 การบัญชี 13 8 21 20

Page 95: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

95

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ภาคเรียนท่ี 1/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการปลูกตนไมถวาย

เปนพระราชกุศล

52 19 8 10 89 ปวช.1-3

2 โครงการศูนยซอมสราง

เพื่อชุมชน (Fix it center)

ตําบลปาออ

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

3 โครงการศูนยซอมสราง

เพื่อชุมชน (Fix it center)

ตําบลเจาวัด

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

4 โครงการศูนยซอมสราง

เพื่อชุมชน (Fix it center)

ตําบลทองหลาง

12 12 2 4 30 ตัวแทน

นักศึกษา

5 โครงการเสริมคุณภาพ

นักศึกษาใหม ปวช.1

41 21 8 10 80 ปวช.1

6 โครงการฟุตซอลตอตาน

ยาเสพติด

47 18 - - 65 น.ศ.ชาย

7 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบ

ประกาศเกียรติคุณ

68 29 14 17 128 ปวช. 1-3

8 การจัดการศึกษาดูงาน

สถานประกอบการของ

นักเรียน นักศึกษาใหม

34 30 11 10 85 ปวช.1,2

Page 96: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

96

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ ภาคเรยีนท่ี 2/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการสานสายใยรักแหง

ครอบครัว

4 2 2 2 10 คัดเลือก

นักศึกษา

2 การแขงขันกีฬาสีภายใน 60 25 13 13 111 ปวช.1-3

3 เขาคายลูกเสือ – เนตรนารี

วิสามัญ

24 15 6 5 50 ปวช.1

4 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ)

ระดับภาค ภาคเหนือ

จ.แพร

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

5 การแขงขันทักษะวิชาชีพ

(เครื่องปรับอากาศ)

ระดับชาติ จ.ระยอง

- 3 - - 3 ตัวแทน

นักศึกษา

ตารางสรุปผลการเขารวมกิจกรรมของแตละแผนกวิชา ท่ีมีการสงเสริมพัฒนา

ดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ลําดับท่ี แผนกวิชา ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการเขา

รวม 1 2

1 ชางยนต 8 5 12 11

2 ชางไฟฟากําลัง 8 5 12 12

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 8 5 12 10

4 การบัญชี 8 5 12 10

Page 97: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

97

ตารางสรุปผลการจัดและเขารวมกิจกรรมของแตละแผนกวิชา ท่ีมีการสงเสริมพัฒนานักศึกษาดานวิชาการ

ดานสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และดานสงเสริมบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 ดานวิชาการ 10 7 7 8 5 ใน 1 โครงการ

สามารถสงเสริม

คุณภาพ นศ.

ไดหลายดาน

2 ดานสงเสริมคุณธรรม

จริยธรรม

21 21 20 20 19

3 ดานสงเสริมบุคลิกภาพ

และมนุษยสัมพันธ

12 11 12 10 10

ผลสัมฤทธิ ์

สาขาวิชา /สาขางาน จํานวนประเภทกิจกรรมที่เขารวม

(ประเภทกิจกรรม)

รอยละของสาขาวิชาที่มี

การจัดกิจกรรม

1. ชางยนต 3 100

2. ชางไฟฟากําลัง 3 100

3. คอมพิวเตอรธุรกิจ 3 100

4. การบัญชี 3 100

นักเรียน นักศึกษา ทุกสาขาวิชา/สาขางานไดมีการจัดและเขารวมกิจกรรมครบทั้ง 3 ประเภท

กิจกรรม โดยมีประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานวิชาการ ประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานคุณธรรม

จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ และประเภทกิจกรรมที่สงเสริมทางดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 98: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

98

ขอกําหนดท่ี 3.18 จัดกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณี และ

ทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ท่ี 42 จํานวนครั้งและประเภทของกิจกรรมท่ีสงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม

ประเพณี และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย ไดจัดทําแผนการจัดกิจกรรมแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรมประเพณี เพื่อให

ผูเรียนมีความรักในทองถ่ินและรวมกันพัฒนาทองถ่ินของตนเอง โดยใหนักเรียน นักศึกษา เขารวมและเปน

ผูรับผิดชอบโดยมีคณะกรรมการองคการวิชาชีพเปนผูนําและนักศึกษาทุกสาขาวิชา สาขางาน เขารวม

กิจกรรมโดยมีการบันทึกผลการเขารวมกิจกรรมแตละครั้ง ทั้งภายในวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัยที่ไดเขารวม

กิจกรรม กับหนวยงานอื่นตามหลักฐานสมุดบันทึกการเขารวมกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา ที่อาจารย

ที่ปรึกษาแตละช้ันป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัย ไดจัดกิจกรรมที่สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ประเพณี โดยมีการจัดต้ัง

คณะกรรมการองคการวิชาชีพเปนผูนําในการปฏิบัติงานและมีนักศึกษาทุกแผนกเขารวมกิจกรรม โดยแยก

กิจกรรมออกไดดังน้ี

1. กิจกรรมสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จํานวน 1 กิจกรรม

2. กิจกรรมการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประเพณี จํานวน 4 กิจกรรม

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรม

โครงการสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภาคเรียนท่ี 1/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการปลูกตนไมถวาย

เปนพระราชกุศล

52 19 8 10 89 ปวช.1-3

Page 99: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

99

ตารางสรุป ผลของแตละแผนกวิชา ในการเขารวมกิจกรรมโครงการท่ีสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม

ลําดับท่ี แผนกวิชา ภาคเรียน จํานวนโครงการ

ท้ังหมด

จํานวนโครงการเขา

รวม 1 2

1 ชางยนต 1 - 1 1

2 ชางไฟฟากําลัง 1 - 1 1

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 - 1 1

4 การบัญชี 1 - 1 1

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรม

โครงการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีภาคเรียนท่ี 1/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการแหเทียนพรรษา 37 17 10 12 76 ปวช.1-3

2 กิจกรรมไหวครูประจําป

การศึกษาและมอบ

ประกาศเกียรติคุณ

68 29 14 17 128 ปวช.1-3

3 โครงการวันแมแหงชาติ

12 สิงหา มหาราชินี

52 19 8 10 89 ปวช.1-3

ตารางแสดงผลการจัดกิจกรรม

โครงการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีภาคเรียนท่ี 2/2554

ลําดับ

ท่ี กิจกรรม / โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ ชางยนต

( คน )

ชางไฟฟา

( คน )

บัญชี

( คน )

คอมฯ

( คน ) รวม

1 โครงการวันสําคัญ ชาติ

ศาสนา พระมหากษัตริย

(วันพอแหงชาติ)

38 14 6 3 61 ปวช.1-3

Page 100: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

100

ตารางสรุปผลของแตละแผนก ในการเขารวมกิจกรรม

โครงการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี

ลําดับ

ท่ี แผนกวิชา

ภาคเรียน จํานวน

โครงการท้ังหมด

จํานวน

โครงการเขารวม 1 2

1 ชางยนต 3 1 4 4

2 ชางไฟฟากําลัง 3 1 4 4

3 คอมพิวเตอรธุรกิจ 3 1 4 4

4 การบัญชี 3 1 4 4

ตารางสรุป ผลการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและการอนุรักษ

และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท่ีแตละสาขาวิชา / สาขางานท่ีเขารวม

ลําดับ

ท่ี

กิจกรรม /

โครงการ

สาขางาน / สาขาวิชา

หมายเหตุ จํานวน

กิจกรรม

(โครงการ)

ชางยนต

(โครงการ)

ชางไฟฟา

(โครงการ)

บัญชี

(โครงการ)

คอมฯ

(โครงการ)

1 กิจกรรมสงเสริม

การอนุรักษ

ธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม

1 1 1 1 1

2 กิจกรรมสงเสริม

ทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม

และประเพณี

4 4 4 4 4

รวม 5 5 5 5 5

ผลสัมฤทธิ ์

สาขาวิชา /สาขางาน จํานวนประเภทกิจกรรมที่เขารวม

(ประเภทกิจกรรม)

รอยละของสาขาวิชาที่มี

การจัดกิจกรรม

ชางยนต 2 100

ชางไฟฟากําลัง 2 100

คอมพิวเตอรธุรกิจ 2 100

การบัญชี 2 100

Page 101: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

101

นักเรียน นักศึกษา ทุกสาขาวิชา/สาขางาน ไดมีการจัดกิจกรรมและเขารวมกิจกรรมครบทั้ง 2 ประเภท

กิจกรรม โดยมีประเภทกิจกรรมที่สงเสริมดานการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และประเภทกิจกรรม

ที่สงเสริมดานการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมิน

อยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 3.19 สงเสริม สนับสนุนใหมีการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

และโครงการท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และ

ประเพณี

ตัวบงชีท่ี้ 43 จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงาน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย มีนโยบายสนับสนุนใหผูสอนบุคลากรและผู เรียนมีการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนการประกอบอาชีพและ

พัฒนาชุมชนทองถ่ินและประเทศซึ่งนําไปสูการแขงขันระดับชาติ โดยสนับสนุน งบประมาณในการจัดทํา

คณะกรรมการโครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหมจัดใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงาน/โครงการวิชาชีพ /นวัตกรรม

และสิ่งประดิษฐโดยใหนักเรียนนักศึกษาเขารวมกับอาจารยที่ปรึกษาเพื่อสรางสรรคผลงานและสงเสริม

สนับสนุนใหไปแขงขันในระดับภาคและระดับประเทศ ตลอดจนเผยแพรสูสาธารณชนใหนําไปใชประโยชนจริง

ในชุมชนตอไป

ผลการดําเนินการ

ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2554 มีจํานวนผลงาน ดังน้ี

แผนกวิชา นวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ โครงการวิชาชีพ รวม

ท่ีปรึกษานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ/

โครงการวิชาชีพ

ชางยนต 2 4 6 อ.ชัยวัฒน รักธัญการ

ชางไฟฟากําลัง 2 - 2 อ.ชุมพล สุระดม,อ.เทวา ปนมณี

การบัญชี 2 1 2 อ.อรพิน ไทยกวีพจน

คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 4 5 อ.กิติกร มะโนสา

รวม 6 9 15

จากตารางสามารถแยกรายละเอียดดังน้ี

วิทยาลัย ไดจัดทํานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ โครงงาน ที่เปนประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน

ประกอบอาชีพและการพัฒนาชุมชนทองถ่ิน จํานวน 15 เรื่อง

Page 102: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

102

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัย มีผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐและโครงงานใน 4 สาขาวิชา รวม 15 เรื่อง ซึ่งแตละ

สาขาวิชามีผลงานไมนอยกวา 2 เรื่อง /ปการศึกษา โดยภาคเรียนไมนอยกวา 1 เรื่อง ผลการประเมินอยูใน

เกณฑ ดี

ตัวบงชี้ท่ี 44 จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงาน ท่ีมีประโยชนทางวิชาชีพ

และ/หรือไดรับการเผยแพรระดับชาติ

วิธีดําเนินงาน

วิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนใหผูสอน บุคลากรและผูเรียน มีการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพและ

พัฒนาชุมชนทองถ่ินและประเทศซึ่งนําไปสูการแขงขันระดับชาติ โดยสนับสนุนงบประมาณในการจัดต้ัง

คณะกรรมการโครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม จัดใหแตละสาขาวิชาจัดทําโครงงาน/โครงการวิชาชีพ/นวัตกรรม

และสิ่งประดิษฐ โดยใหนักศึกษาเขารวมกับอาจารยที่ปรึกษา เพื่อสรางสรรคผลงาน และสงเสริมสนับสนุนใหไป

แขงขันในระดับภาคและระดับประเทศ ตลอดจนเผยแพรสูสาธารณชนใหนําไปใชประโยชนจริงในชุมชนตอไป

ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2554 มีจํานวนผลงาน ดังน้ี

ระดับปวช.

แผนกวิชา นวัตกรรม/

สิ่งประดิษฐ โครงการวิชาชีพ รวม

ท่ีปรึกษานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ/

โครงการวิชาชีพ

1. ชางยนต 2 4 6 อ.ชัยวัฒน รักธัญการ

2. ชางไฟฟากําลัง 2 - 2 อ.ชุมพล สุระดม, อ.เทวา ปนมณี

3. การบัญชี 1 1 2 อ.อรพิน ไทยกวีพจน

4. คอมพิวเตอรธุรกิจ 1 4 5 อ.กิติกร มะโนสา

รวม 6 9 15

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดจัดทํานวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ จํานวน 6 ช้ิน โครงการวิชาชีพ 9 ช้ิน ซึ่งเปนประโยชน

ในการพัฒนาการเรียน การสอน ประกอบอาชีพและการพัฒนาชุมชน ซึ่งมีผลงานรวมแลว 15 ช้ิน ซึ่งแตละ

สาขา มีผลงานไมนอยกวา 2 เรื่อง คิดเปนรอยละ 100 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 103: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

103

ขอกําหนดท่ี 3.20 จัดสรรงบประมาณในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย และโครงงานท่ีนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม

และประเทศชาติ

ตัวบงชี้ท่ี 45 รอยละของงบประมาณท่ีใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงานตองบดําเนินการ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณสนับสนุนใหผูสอน บุคลากรและผูเรียน มีการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและโครงงานที่นําไปใชประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนประกอบอาชีพและพัฒนา

ชุมชนทองถ่ินรวมทั้งมอบหมายใหสาขาวิชาทําโครงงานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ/โครงงานวิชาชีพ

เพื่อคัดเลือกเปนผลงานของสถานศึกษาและไดรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อพัฒนาผลงานใหดีข้ึนตอไป

ผลการดําเนินการ

สรุปเงินงบประมาณ ปการศึกษา 2554

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน

งบดําเนินการ

จํานวนเงิน

คาใชจาย

คิดเปน

รอยละ

1 งบบุคลากร 4,930,106.44 - -

2 งบดําเนินงาน 5,723,800.00 - -

3 งบอุดหนุน 3,398,665.00 60,000.00 -

4 คาเสื่อมราคา 4,376,820.72 - -

5 เงินรายไดสถานศึกษา 227,337.00 - -

6 งบรายจายอื่น 15,000.00 -

รวม 18,671,729.16 60,000.00 0.32

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัย ไดรับงบประมาณประเภทงบดําเนินการ เปนจํานวนเงิน 18,671,729.16 บาท และคาใชจาย

ที่ใชในการสราง พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงงาน ที่ใชจายจากงบประมาณ

ของวิทยาลัย เปนจํานวนเงิน 60,000 บาท คิดเปนรอยละ 0.32 ซึ่งผลการประเมินอยูในเกณฑ ปรับปรุง

Page 104: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

104

ขอกําหนดท่ี 3.21 จัดเผยแพรขอมูลเก่ียวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย

และโครงการท่ีนําไปใช ในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคมและ

ประเทศชาติ

ตัวบงชี้ท่ี 46 จํานวนครั้งและชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย และโครงงาน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณใหมีการสรางและพัฒนา นวัตกรรมสิ่งประดิษฐตางๆ

แกทุกสาขาวิชา และไดมีการเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการสรางและพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐดวยวิธีที่

หลากหลาย เพื่อใหชุมชนและสังคมไดทราบการพัฒนาของสิ่งประดิษฐ

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดจัดเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการสรางและพัฒนา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัยและ

โครงการที่นํามาใชพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ จํานวน 4 ชองทาง คือ

1.อินเตอรเน็ต 2. ทางนิทรรศการ 3. การนําเสนอผลงานทางทางชุมชนตางๆ 4. เอกสารและรูปเลมรายงาน

อยูในเกณฑ ระดับ ดี

Page 105: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

105

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่12 รอยละของผูเรียน

ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑที่กําหนดตามชั้นป

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพไมนอยกวา

รอยละ 74

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผาน

เกณฑการพนสภาพ

รอยละ 75.63

ตัวบงชี้ที ่13 รอยละของผูเรียน

ที่สามารถประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน

อาชีพไดอยางเปนระบบ

รอยละของผูเรียนที่สามารถ

ประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร มาใชแกปญหาในการปฏิบัติงาน

อาชีพไดอยางเปนระบบ ไม

นอยกวารอยละ 74

รอยละของผูเรียนที่สามารถ

ประยุกตหลักการทาง

วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

มาใชแกปญหาในการ

ปฏิบัติงานอาชีพไดอยางเปน

ระบบรอยละ 79.17

ตัวบงชี้ที ่14 รอยละของผูเรียน

ที่มีทักษะใชภาษาสื่อสาร ดาน

การฟง การอาน การเขียน และ

การสนทนา ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศ

รอยละของผูเรียนที่มีทักษะใช

ภาษาสื่อสาร ดานการฟง การ

อาน การเขียน และการสนทนา ทั้งภาษาไทยและภาษา ตางประเทศเพ่ือการสื่อสารได

อยางถูกตองเหมาะสม ไมนอยกวา รอยละ 74

รอยละของผูเรียนที่มีทักษะใช

ภาษาสื่อสาร ดานการฟง การ

อาน การเขียน และการ

สนทนา ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตางประเทศเพ่ือการ

สื่อสารไดอยางถูกตอง

เหมาะสม รอยละ 57.66

ตัวบงชี้ที ่15 รอยละของผูเรียน

ที่มีความสามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีที่จําเปนในการศึกษา

คนควา และปฏิบัติงานวิชาชีพได

อยางเหมาะสม

รอยละของผูเรียนทั้งหมด ที่สามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และใชเทคโนโลยีในการ

ปฏิบัติงานวิชาชีพไมนอยกวา

รอยละ 74

รอยละของผูเรียนทั้งหมด ที่สามารถใชความรูและ

เทคโนโลยีในการศึกษาคนควา และใชเทคโนโลยีในการ

ปฏิบัติงานวิชาชีพ รอยละ 76.47

ตัวบงชี้ที ่16 รอยละ ของ

ผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามในวิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และ มนุษยสัมพันธที่ด ี

รอยละ ของผูเรียนทีม่ีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามใน

วิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และ มนุษยสัมพันธที่ด ีไมนอยกวารอยละ 74

รอยละ ของผูเรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงามใน

วิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่

เหมาะสม และ มนุษยสัมพันธที่

ดี รอยละ 94.82

ตัวบงชี้ที ่17 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนตามเกณฑการ

สําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่มี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑการสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ไมนอยกวา รอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

เกณฑการสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ รอยละ 79.31

ตัวบงชี้ที ่18 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนตามเกณฑการ

สําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

- - - - -

Page 106: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

106

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่19 รอยละของผูสําเร็จ

การศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ผาน

การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

รอยละของผูสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ที่ผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษา

หลักสูตรประกาศนียบัตร

วิชาชีพ ที่ผานการประเมิน

มาตรฐานวิชาชีพรอยละ 77.27

ตัวบงชี้ที ่20 รอยละของ

ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่ผานการประเมินมาตรฐาน

วิชาชีพ

- - - - -

ตัวบงชี้ที ่21 รอยละของผูสําเร็จ

การศึกษาที่ไดงานทําในสถาน

ประกอบการ/ประกอบอาชีพ

อิสระและศึกษาตอภายใน 1 ป

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

ไดงานทําในสถานประกอบการ

ประกอบอาชีพอิสระและศึกษา

ตอภายใน 1 ป ไมนอยกวา

รอยละ 74

รอยละของผูสําเร็จการศึกษาที่

ไดงานทําในสถานประกอบการ

ประกอบอาชีพอิสระและศึกษา

ตอภายใน 1 ป รอยละ 79.48

ตัวบงชี้ที ่22 ระดับความพึง

พอใจของสถานประกอบการที่มี

ตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของ

ผูสําเร็จการศึกษา

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะ

ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ

การศึกษา เฉลี่ยโดยรวมไมนอย

กวาระดับ 5

ระดับความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการที่มีตอคุณลักษณะ

ที่พึงประสงคของผูสําเร็จ

การศึกษาเฉลี่ยโดยรวมระดับ

4.10

ตัวบงชี้ที ่23 รอยละของ

หลักสูตรฐานสมรรถนะที่มี

คุณภาพ

รอยละของหลักสูตรฐาน

สมรรถนะที่มีคุณภาพ ครบทั้ง 4 ขอ ไมนอยกวา รอยละ 75

รอยละของหลักสูตรฐาน

สมรรถนะที่มีคุณภาพครบทั้ง

4 ขอ ไมนอยกวา รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่24 รอยละของ

แผนการจัดการเรียนรูแบบ บูรณาการ

รอยละของวิชาที่มีการเขียน

แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณ

การ ไมนอยกวารอยละ 75

รอยละของวิชาที่มีการเขียน

แผนการจัดการเรียนรูแบบ

บูรณการ รอยละ 88.26

ตัวบงชี้ที ่25 ระดับความพึง

พอใจของผูเรียนตอคุณภาพการ

สอนของผูสอน

ระดับความพึงพอใจของผูเรียน

ตอคุณภาพการสอนของผูสอน โดยเฉลี่ย ไมนอยกวาระดับ 5

ระดับความพึงพอใจของผูเรียน

ตอคุณภาพการสอนของผูสอน โดยเฉลี่ย ไมนอยกวาระดบั

4.29

ตัวบงชี้ที ่26 รอยละของ

งบประมาณทีส่ถานศึกษาจัดซ้ือ

วัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการ

จัดการเรียนการสอนอยาง

เหมาะสม

รอยละของงบประมาณที่

สถานศึกษาจัดซ้ือวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการเรียน

การสอนตองบดําเนินการ

ทั้งหมด ไมนอยกวา รอยละ

15 ของงบดําเนินการทั้งหมด

รอยละของงบประมาณที่

สถานศึกษาจัดซ้ือวัสดุฝก อุปกรณ สําหรับการจัดการ

เรียนการสอนตองบดําเนินการ

ทั้งหมด ไมนอยกวา รอยละ

2.16 ของงบดําเนินการทั้งหมด

ตัวบงชี้ที ่27 ระดับความ

เหมาะสมและเพียงพอของระบบ

คอมพิวเตอรในแตละสาขาวิชา

จํานวนผูเรียนตอเคร่ือง

คอมพิวเตอร ในแตละคร้ังของ

การเรียนในรายวิชาที่ใช

คอมพิวเตอร 1 คน : 1 เคร่ือง

จํานวนผูเรียนตอเคร่ือง

คอมพิวเตอร ในแตละคร้ังของ

การเรียนในรายวิชาที่ใช

คอมพิวเตอร 1 คน : 1 เคร่ือง

Page 107: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

107

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่28 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน

หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่

ฝกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่

เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการ

เรียนรู และเกิดประโยชนสูงสุด

ระดับความเหมาะสมในการจัด

อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่ฝกปฏิบัติงาน

เหมาะสมกับวิชาที่เรียน โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

อาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงฝกงาน พ้ืนที่ฝกปฏิบัติงาน

เหมาะสมกับวิชาที่เรียน โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ตัวบงชี้ที ่29 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดศูนย วิทยบริการ ใหเหมาะสมกับวิชา

ที่เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการ

เรียนรู และเกิดประโยชนสงูสุด

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ศูนยวิทยบริการ ใหเหมาะสมกับ

วิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอ้ือ

ตอการเรียนรู ตองปฏิบัติครบทุก

ขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ศูนยวิทยบริการ ใหเหมาะสม

กับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่

เอ้ือตอการเรียนรู ตองปฏิบัติ

ครบทุกขอ

ตัวบงชี้ที ่30 ระดับความ

เหมาะสมในการจัดใหมีครุภัณฑ และอุปกรณ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ใหมีครุภัณฑและอุปกรณ โดย

ปฏิบัติครบทุกขอ

ระดับความเหมาะสมในการจัด

ใหมีครุภัณฑ และอุปกรณ โดย

ปฏิบัติขอ1-4

ตัวบงชี้ที ่31 ระดับคุณภาพใน

การจัดระบบความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกที่เอ้ือตอการเรียนรู

ในสาขาวิชา / สาขางาน

รอยละของสาขางานที่จัดระบบ

ความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกไดอยางมีคุณภาพ ไม

นอยกวา รอยละ 70

รอยละของสาขางานที่จัดระบบ

ความปลอดภัย ของ

สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความ

สะดวกไดอยางมีคุณภาพ รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่32 รอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่ไดรับ

การพัฒนาตามหนาที ่

ที่รับผิดชอบ

รอยละของครูและบุคลากร

สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนา

ในวิชาชีพหรือตามหนาที ่

ที่รับผิดชอบไมนอยกวา

รอยละ 89

รอยละของครูและบุคลากร

สนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาใน

วิชาชีพหรือตามหนาที่ที่

รับผิดชอบไมนอยกวารอยละ

100

ตัวบงชี้ที ่33 จํานวนคร้ังหรือ

ปริมาณในการระดมทรัพยากร

จากแหลงตาง ๆ ทั้งภายในและ

ภายนอกสถานศึกษา เพ่ือ

สนับสนุนการจัดการศึกษาอยาง

มีประสิทธิภาพ

จํานวนคร้ังหรือปริมาณในการ

ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ

ทั้งภายในและภายนอก

สถานศึกษาเพ่ือสนับสนุนการจัด

การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

ไมนอยกวา 25 คร้ัง

จํานวนคร้ังหรือปริมาณในการ

ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง

ๆ ทั้งภายในและภายนอก

สถานศึกษา เพ่ือสนับสนุนการ

จัดการศึกษาอยางมี

ประสิทธิภาพ จํานวน 28 คร้ัง

ตัวบงชี้ที ่34 จํานวนสถาน

ประกอบการที่มีการจัดการศึกษา

รวมกับสถานศึกษาจัดการศึกษา

ระบบทวิภาคีและระบบปกต ิ

จํานวนสถานประกอบการที่มี

การจัดการศึกษารวมกับ

สถานศึกษาจัดการศึกษาระบบ

ทวิภาคีและระบบปกต ิไมนอย

กวา 20 แหง

จํานวนสถานประกอบการที่มี

การจัดการศึกษารวมกับ

สถานศึกษาจัดการศึกษาระบบ

ทวิภาคีและระบบปกต ิจํานวน

34 แหง

ตัวบงชี้ที ่35 จํานวนคน-ชั่วโมง

ของผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิหรือ

ภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวนรวมใน

การพัฒนาผูเรียน

รอยละของสาขาวิชาที่มีการ

จัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ

หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน ไม

นอยกวารอยละ 89

รอยละของสาขาวิชาที่มีการ

จัดหาผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ

หรือภูมิปญญาทองถิ่นที่มีสวน

รวมในการพัฒนาผูเรียน

รอยละ 100

Page 108: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

108

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่36 อัตราสวนของ

ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนในแตละ

สาขาวิชา

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนตามเกณฑ

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียน 35

คน ไมนอยกวารอยละ 100

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่ผูสอนประจําที่มีคุณวุฒิดาน

วิชาชีพตอผูเรียนตามเกณฑ

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียน 35

คน รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่37 อัตราสวนของ

ผูสอนประจําตอผูเรียน

อัตราสวนของผูสอนประจําตอ

ผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียนไมนอย

กวา 25 คน

อัตราสวนของผูสอนประจําตอ

ผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษา

ผูสอน 1 คน ตอผูเรียนไมนอย

กวา 12.6 คน

ตัวบงชี้ที ่38 จํานวนคร้ังของการ

จัดใหผูเรียนพบครู

ที่ปรึกษา

จํานวนคร้ังของการจัดใหผูเรียน

พบครูที่ปรึกษา ไมนอยกวา 25

คร้ังตอป

จํานวนคร้ังของการจัดใหผูเรียน

พบครูที่ปรึกษา 165 คร้ังตอป

ตัวบงชี้ที ่39 จํานวนคร้ังของการ

จัดบริการ ตรวจสอบสารเสพติด

ใหกับผูเรียน

จํานวนคร้ังของการจัดบริการ

ตรวจสอบสารเสพติดใหกับ

ผูเรียน ทั้งหมด 1 คร้ังตอป

หรือไมนอยกวารอยละ 90

จํานวนคร้ังของการจัดบริการ

ตรวจสอบสารเสพติดใหกับ

ผูเรียนทั้งหมด 1 คร้ังตอป

หรือ รอยละ 97.45

ตัวบงชี้ที ่40 รอยละของผูเรียน

ที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับ

แรกเขา

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่ออก

กลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา

นอยกวารอยละ 31

รอยละของผูเรียนทั้งหมดที่ออก

กลางคันเมื่อเทียบกับแรกเขา

ไมนอยกวา รอยละ 19.73

ตัวบงชี้ที ่41 จํานวนคร้ังและ

ประเภทของกิจกรรมที่สงเสริม

ดานวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม

คานิยมที่ดีงาม ในวิชาชีพ รวมทั้ง

ดานบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรม

ทั้ง 3 ประเภทกิจกรรมไมนอย

กวารอยละ 80

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 3

ประเภทกิจกรรมรอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่42 จํานวนคร้ังและ

ประเภทของกิจกรรมที่สงเสริม

การอนุรักษสิ่งแวดลอม

วัฒนธรรมประเพณี และนํานุ

บํารุงศิลปวัฒนธรรม

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 2

ประเภทกิจกรรมไมนอยกวา

รอยละ 80

รอยละของสาขาวิชา/สาขางาน

ที่มีการจัดกิจกรรมทั้ง 2

ประเภทกิจกรรมรอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่43 จํานวนนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐงานวิจัย และ

โครงงาน

รอยละของสาขางานทั้งหลักสูตร

ปวช.และปวส.ที่มีการจัดทํา

นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ งานวิจัย

และโครงงานตามเกณฑที่

กําหนด ไมนอยกวารอยละ 100

รอยละของสาขางานทั้ง

หลักสูตร ปวช.และปวส.ที่มีการ

จัดทํา นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัยและโครงงานตาม

เกณฑที่กําหนด ไมนอยกวา

รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่44 จํานวนนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย โครงงานที่

มีประโยชนทางวิชาชีพ หรือ

ไดรับการเผยแพรระดับชาต ิ

จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชน

ทางวิชาชีพ หรือไดรับการ

เผยแพรระดับชาต ิ ไมนอยกวา

3 ชิ้นขึ้นไป

จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ

งานวิจัย โครงงานที่มีประโยชน

ทางวิชาชีพ หรือไดรับการ

เผยแพรระดับชาต ิ

จํานวน 15 ชิ้น

Page 109: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

109

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่45 รอยละของ

งบประมาณที่ใชในการสราง

พัฒนา และเผยแพร นวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ

โครงงานตองบดําเนินการทั้งหมด

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง

ในการดําเนินการ ยกเวนงบ

ลงทุน ไมนอยกวารอยละ 1.00

รอยละของงบประมาณที ่

ใชจริงในการดําเนินการ

ยกเวนงบลงทุน

รอยละ 0.32

ตัวบงชี้ที ่46 จํานวนคร้ังและ

ชองทางการเผยแพรขอมูล

ขาวสารเก่ียวกับนวัตกรรม

สิ่งประดิษฐงานวิจัยและโครงงาน

ที่นําไปใชในการพัฒนาการเรียน

การสอน ชุมชน สังคม และ

ประเทศชาต ิ

จํานวนคร้ังและชองทางการ

เผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับ

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย

และโครงงาน ไมนอยกวา 4

คร้ังและ 4 ชองทาง/ผลงาน

หรือมากกวา

จํานวนคร้ังและชองทางการ

เผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับ

นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานวิจัย

และโครงงาน ไมนอยกวา 4

คร้ังและ 4 ชองทาง/ผลงาน

หรือมากกวา

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

1. มีการพัฒนากิจกรรมเพื่อสงเสริมใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมากข้ึน

2. มีการจัดกิจกรรมสงเสริม ดานคุณธรรม ความดีงามในวิชาชีพ สงเสริมบุคลิกภาพ

3. มีพัฒนาแหลงการเรียนรู เชน อาคาร หองเรียน จํานวนคอมพิวเตอร เครือขาย อินเทอรเน็ต

และหองสมุดเพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะและประสบการณ

4. เขารวมการแขงขันทักษะ ระดับภาค ระดับประเทศ และมีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของ

ผูเรียนช้ัน ปวช.3

5. มีการติดตามประเมินผลความพึงพอใจ ของผูเรียน ผูที่สําเร็จการศึกษา และรวมมือกับสถาน

ประกอบการ เพื่อหาขอมูลมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

6. คํานึงถึงจํานวนผูสอนเพื่อความเหมาะสมกับผูเรียน รวมถึงการสงเสริมการพัฒนาวิชาชีพของ

ครูผูสอนและบุคลากรสายสนับสนุน

7. มีการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณและการดําเนินงานในการสรางและพัฒนานวัตกรรม

สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และโครงสราง เพื่อใชในการพัฒนาการเรียนการสอนภายในสถานศึกษา

ชุมชน และระดับชาติ

จุดท่ีควรพัฒนา

1. เพิ่มการ ตรวจสอบสารเสพติดกับกลุมเสี่ยง และจัดกิจกรรมรณรงคเพื่อตอตานสารเสพติดและ

เพื่อใหเห็นโทษของสารเสพติด

2. จัดกิจกรรมรวมมือกับผูเรียน ผูปกครอง ผูที่เกี่ยวของ อยางจริงจังเพื่อหาสาเหตุของการไมจบ

การศึกษา และสาเหตุของการออกกลางคัน รวมถึงการปองกันการใชสารเสพติดของผูเรียน

3. ควรสนับสนุนงบประมาณดานการจัดการเรียนการสอนใหมากข้ึนเพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน

Page 110: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

110

มาตรฐานท่ี 4 การเทียบโอนความรูและเทียบโอนประสบการณงานอาชีพ

ขอกําหนดท่ี 4 สถานศึกษาควรจัดกลไกในการเทียบโอนความรูและเทียบโอน

ประสบการณงานอาชีพ ดังน้ี

ขอกําหนดท่ี 4.1 จัดระบบกลไกการเทียบโอนความรู และประสบการณงานอาชีพอยางเมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 47 ระดับคุณภาพของระบบและกลไกในการเทียบโอนความรู และประสบการณ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดกําหนดระเบียบ วิธีการ ข้ันตอน บุคลากร งบประมาณ และระยะเวลาในการเทียบโอน

กําหนดนโยบาย และแผนงานการเทียบโอน จัดใหมีกระบวนการประเมินเพื่อเทียบโอนความรูและ

ประสบการณงานอาชีพในรูปแบบคณะกรรมการเปนไปตามที่ระเบียบที่ สอศ. กําหนด มีข้ันตอนดําเนินการ

ที่ชัดเจน และเปดโอกาสใหผูมีความรูและประสบการณงานอาชีพนําความรูและประสบการณ มาทําการ

ประเมินความรู ทักษะ ความสามารถ เพื่อเทียบโอนเขาสูหนวยกิต และเปนสวนหน่ึงของผลการเรียนโดย

วิทยาลัยไดจัดหลักสูตรการเทียบโอนความรู และประสบการณในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง มีการ

ประเมินการ เพื่อปรับปรุงระบบการเทียบโอนฯ ใหเกิดประสิทธิภาพตอไป

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยมีการกําหนดนโยบาย และแผนงาน ระเบียบ วิธีการ ข้ันตอน บุคลากร มาตรฐานและ

เกณฑ การเทียบโอน และนําผลประเมินมาพัฒนาปรับปรุง ทั้ง 2 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการบัญชี และ

สาชาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ตามตารางดังตอไปน้ี

ท่ี รายการ มี ไมม ีหลักฐาน/

เอกสารอางอิง

1 มีนโยบาย และแผนงาน เทียบโอนของสถานศึกษา √ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ป ร ะ จํ า ป

งบประมาณ 2553

2 มีคําสั่งแตงต้ังคณะบุคคล หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ

การเทียบโอนความรู และประสบการณในสถานศึกษา √ คํ าสั่ ง วิท ยาลั ยสา รพัด ช า ง

อุทัยธานีที ่ 135 /2554,

317/2554, 433/2554,

3 มีเอกสารคูมือที่กําหนดแนวทาง วิธีการ ข้ันตอน

บุคลากรในการเทียบโอน มาตรฐานและเกณฑ

การเทียบโอน

คูมือการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณงานอาชีพเขาสู

หนวยกิต

4 มีการจัดเก็บขอมูลของผูที่มาขอเทียบโอนผลการ

เรียนรู และผลการประเมินเบื้องตน √

แบบบันทึกขอมูลการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

Page 111: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

111

ท่ี รายการ มี ไมม ีหลักฐาน/

เอกสารอางอิง

5 มีการสรุปผลการดําเนินการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ ปญหาและอุปสรรค แนวทางในการ

ปรับปรุงการดําเนินงานของสถานศึกษา

แบบบันทึกขอมูลการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

6 มีหลักฐานที่แสดงการปรับปรุง พัฒนาการดําเนินงาน

ของสถานศึกษา ซึ่งเกิดจากการนําผลการประเมิน

มาพัฒนา

บันทึกการปรับปรุงพัฒนาการ

ดําเนินงานของสถานศึกษา

รวม 6 -

ผลสัมฤทธิ ์

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2554 วิทยาลัยมีระบบ และกลไกในการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ ที่กอใหเกิดคุณภาพ จํานวน 6 ขอ ผลการประเมินอยูในระดับ ดี

ขอกําหนดท่ี 4.2 เปดโอกาสใหผูอยูในอาชีพ หรือผูมีประสบการณงานอาชีพ ขอประเมิน

เทียบโอนความรู และประสบการณงานอาชีพ เขาสูหนวยกิตหลักสูตรการ

อาชีวศึกษา และดําเนินการเทียบโอนอยางเหมาะสม เกิดประสิทธิผล

ตัวบงชี้ท่ี 48 รอยละของผูท่ีไดรับการเทียบโอนความรู และประสบการณ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดมีการดําเนินงานโดยเก็บขอมูลจํานวนผูมาย่ืนคํารองขอประเมินความรูและประสบการณ

ทั้งหมดในรอบป และขอมูลรายละเอียดจํานวนของผูที่ไดรับการเทียบโอน จําแนกเปนหลักสูตรสาขาวิชาการ

บัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ

ผลการดําเนินการ

จํานวนผูที่ไดรับการเทียบโอนความรู และประสบการณ เทียบกับจํานวนผูที่ย่ืนคํารองขอประเมิน

ความรูและประสบการณ แยกตามหลักสูตรสาขาวิชา

Page 112: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

112

ผลสัมฤทธิ ์

ท่ี หลักสูตร ปวส./สาขางาน ชั้นป

ผูยื่นคํารองขอ

เทียบโอน

ท้ังหมด

ผูไดรับการ

เทียบโอน

ผานการ

เทียบโอน รอยละ

1 สาขาการบัญชี 1 2 2 2 100

2 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ 1 5 5 5 100

รวม 7 7 7 100

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2554 มีผูที่ไดรับการเทียบโอนความรูและประสบการณ รอยละ 100

ขอกําหนดท่ี 4.3 สํารวจความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอน และผูมีสวนเก่ียวของ

ตัวบงชี้ท่ี 49 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอนท่ีมีตอระบบการเทียบโอนของ

สถานศึกษา

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดมีการติดตามการประเมินผลของคณะกรรมการเทียบโอนสํารวจความพึงพอใจของผูรับการ

ประเมินเทียบโอนความรูพบวาในปการศึกษาที่ผานมา วิทยาลัยไดจัดระบบกลไกในการเทียบโอนไดสมบูรณ

ดําเนินการในการเทียบโอนความรูและเทียบประสบการณอยางมีประสิทธิภาพ

ผลการดําเนินการ

ผูเขารับการเทียบโอน ไดรับการใหคําแนะนํา คําช้ีแจง ขอมูลขาวสาร ระเบียบ วิธีการ ข้ันตอน

ในการเทียบโอน อยางถูกตอง ครบถวน และมีประสิทธิภาพ สงผลใหผูเขารับการเทียบโอนเกิดผลสัมฤทธ์ิ

ในการเทียบโอนอยางสมบูรณ

ผลสัมฤทธิ ์

ลําดับ สาขาวิชา ความพึงพอจาของผูเขารับการเทียบโอน

คาเฉลี่ย ระดับ

1. การบัญชี 4.17 ดี

2. คอมพิวเตอรธุรกิจ 3.97 ดี

คาเฉลี่ยรวม 4.07 ดี

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2554 ระดับความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอนที่มีตอระบบ

เทียบโอนของสถานศึกษา อยูในระดับ ดี

Page 113: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

113

ขอกําหนดท่ี 4.3 สํารวจความพึงพอใจของผูเขารับการเทียบโอน และผูมีสวนเก่ียวของ

ตัวบงชี้ท่ี 50 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชนและสังคม ท่ีมีตอผลการเรียนรู

ของผูท่ีสําเร็จการศึกษาระบบเทียบโอน

วิธีดําเนินการ

ติดตามการประเมินผลของคณะกรรมการเทียบโอนสํารวจความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชน

และสังคมพบวาในปการศึกษาที่ผานมาวิทยาลัยจัดใหมีการดําเนินงานที่สมบูรณในกระบวนการสอนที่เนนดาน

คุณธรรมและจริยธรรมในรายวิชาใหแกผู เขารับการเทียบโอนซึ่งเปนลักษณะอันพึงประสงคของสถาน

ประกอบการ หนวยงานตาง ๆ และไดมีการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย สอดคลองกับความตองการของชุมชน

และสังคม

ผลการดําเนินการ

ผูเขารับการเทียบโอนที่สําเร็จการศึกษา เปนผูที่มีความรูความสามารถและความชํานาญในการ

ประกอบอาชีพ สามรถนําความรูและเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการปฏิบัติงานไดอย างมีประสิทธิภาพ

มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมนุษยสัมพันธที่ดีในการปฏิบัติงาน ตามแบบสํารวจความพึงพอใจของสถาน

ประกอบการ ชุมชนและสังคม

ผลสัมฤทธิ์

หลักสูตร/สาขาวิชา ชื่อสถานประกอบการชุมชน

และสังคม

ความพึง

พอใจเฉลี่ย ความหมาย หมายเหตุ

ปวส.

สาขาวิชาการบัญชี

1. สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค

จังหวัดอุทัยธานี

4.00 ดี

ปวส.

สาขาวิชาคอมพิวเตอร

ธุรกิจ

1. บริษัทเอกชัยซิสเต็ม (เทสโกโลตัส

สาขาพยุหะคีร)ี

3.83 ดี

2. เรือนจําจังหวัดอุทัยธานี 3.83 ดี

3. สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดอุทัยธานี 4.00 ดี

4. หมวดการทางอําเภอหนองฉาง 3.67 ดี

5. องคการบริหารสวนตําบลหนองฉาง 4.00 ดี

คะแนนความพึงพอใจเฉลี่ย 3.89 ดี

จากตารางพบวาในปการศึกษา 2554 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ ชุมชนและสังคมที่

มีผลการเรียนรูของผูสําเร็จการศึกษาจากระบบเทียบโอนตอวิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานี อยูในระดับ ดี

Page 114: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

114

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 4 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่47 ระดับคุณภาพของ

ระบบและกลไกในการเทียบโอน

ความรูและประสบการณ

มีการดําเนินการตามกลไกใน

การเทียบโอนผลการเรียนรู

อยางครบถวน

มีการดําเนินการตามกลไกใน

การเทียบโอนผลการเรียนรู

อยางครบถวน

ตัวบงชี้ที ่48 รอยละของผูที่

ไดรับการเทียบโอนความรูและ

ประสบการณ

มากกวารอยละ 74 รอยละ 100

ตัวบงชี้ที ่49 ระดับความพึง

พอใจของผูรับการเทียบโอนที่มี

ตอระบบการเทียบโอนของ

สถานศึกษา

มากกวารอยละ 3.74 รอยละ 4.07

ตัวบงชี้ที ่50 ระดับความพึง

พอใจของสถานประกอบการ

ชุมชน และสังคมที่มีผลตอการ

เรียนรูของผูที่สําเร็จการศึกษา

ระบบเทียบโอน

มากกวารอยละ 3.74 รอยละ 3.89

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 4 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

วิทยาลัยสารพัดชางอุทัยธานีสามารถเปดสอนหลกัสูตรเทียบโอนความรู และประสบการณใหกับผูเรียน

ไดทุกภาคเรียน ซึ่งตรงตามความตองการของผูเรียน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. บุคลากรผูสอนวุฒิการศึกษาไมตรงกับรายวิชาที่สอน

2. ขาดการประชาสัมพันธ

3. จํานวนผูเรียนนอย

Page 115: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

115

มาตรฐานท่ี 5 การบริการวิชาการและวิชาชีพสูสังคม

ขอกําหนดท่ี 5 สถานศึกษามีการบริการวิชาชีพสูสังคม

ขอกําหนดท่ี 5.1 บริการวิชาชีพท่ีเหมาะสมกับความตองการของชุมชน สังคม องคกร ท้ังภาครัฐ

และเอกชนเพ่ือการพัฒนาประเทศอยางตอเน่ือง

ตัวบงชี้ท่ี 51 จํานวนและประสิทธิผลของกิจกรรม/โครงท่ีใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัย ไดดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติงาน ประจําปการศึกษา 2554 และมีนโยบายใหความ

รวมมือกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการดําเนินกิจกรรม แผนงาน/โครงการที่บริการวิชาชีพ

และสงเสริมความรูในการฝกทักษะทางวิชาชีพ ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

โดยใหนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัย ไดมีสวนรวมในการบริการและฝกทักษะวิชาชีพ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดกิจกรรมที่บริการ วิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพตามแผนการปฏิบัติงานกิจกรรม/โครงการ

โดยจัดการเรียนการสอนและฝกอบรมใหกับประชาชนทั่วไป ตามความสนใจของประชาชนในทองถ่ินทั้งภาครัฐ

และภาคเอกชน ในปการศึกษา 2554 รวมทั้งสิ้น 7 กิจกรรม/โครงการ ดังน้ี

ตารางรายละเอียดการดําเนินกิจกรรม/โครงการบริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ

ประจําปการศึกษา 2554

ลําดับ

ท่ี ชื่อโครงการ

ประเภท

บริการ

วิชาชีพ

ฝกทักษะ

วิชาชีพ

1 โครงการขยายบทบาทศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix it center)

1.1 ดานการซอมเครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในการประกอบอาชีพ ฯ

1.1.1 บริการซอมบํารุงเครื่องมือและอุปกรณทางการเกษตร

1.1.2 บริการซอมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

1.1.3 บริการตัดผมบุรุษและสุภาพสตร ี

1.1.4 บริการตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร

1.2 ดานการยกระดับชางชุมชน

1.2.1 โครงการยกระดับชางชุมชน

Page 116: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

116

ลําดับ

ท่ี ชื่อโครงการ

ประเภท

บริการ

วิชาชีพ

ฝกทักษะ

วิชาชีพ

1.3 ดานการพัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน

1.3.1 ฝกอบรมพัฒนาสุขอนามัยในชุมชน

1.4 ดานการพัฒนานวัตกรรมตอยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑชุมชน

1.4.1 ฝกอบรมการสรางผลิตภัณฑใหกับชุมชน

2 โครงการอาชีวะรวมดวยเหลือผูประสบผูประสบภัยนํ้าทวม

3 โครงการออกหนวยใหบริการชุมชน

3.1 โครงการ “หนวยบําบัดทุกข บํารุงสุข สรางรอยย้ิมใหกับประชาชน”

3.2 โครงการ อบจ.อุทัยธานี สัญจร

3.3 โครงการอําเภอ...ย้ิมเคลื่อนที่ (Amphoeyim Mobile Service)

3.4 โครงการองคการบริหารสวนตําบลประดูยืนเคลื่อนที่ ประจําป 2554

3.5 โครงการ “จากประชาคมสูการพัฒนาตําบลอยางบูรณาการฯ”

3.6 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะหฯ

3.7 โครงการกรมบังคับคดีสัญจรเผยแพรความรูสูภูมิภาค

3.8 โครงการ อบต. พบประชาชน (อบต.หนองขาหยาง)

3.9 โครงการ อบต.หวยแหง พบประชาชน

3.10 โครงการทําความดีเพื่อพอซอมจักรยานใหนอง (สถานีวิทยุฯ 934)

3.11 กิจกรรม “สวท.สัญจร พลังแผนดินเอาชนะยาเสพติด”

3.12 กิจกรรมงานวันคนพิการสากลจังหวัดอุทัยธานี ประจําป 2554

3.13 โครงการเทศบาลเคลื่อนที่ ประจําป 2555

3.14 บริการตรวจเช็คสภาพรถยนตและจักรยานยนต (เทศบาล ต.หนองฉาง)

3.15 กิจกรรมใหบริการประชาชนดานอื่น ๆ

4 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ

4.1 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ สูถนนคนเดิน จังหวัดอุทัยธานี

4.2 งานประชุมวิชาการ อกท.ระดับภาคกลาง ครั้งที่ 33 (วษท.อน)

4.3 งานประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ การแขงขันทักษะวิชาชีพ และการ

แขงขันทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ระดับภาค ภาคเหนือ ครั้งที่ 23 (วท.แพร)

5 ฝกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น วิชา เดคูพาจ

6 โครงการสายใยรักแหงครอบครัว เครือขายวิทยาลัยสารพัดชางอทุัยธานี

Page 117: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

117

ลําดับ

ท่ี ชื่อโครงการ

ประเภท

บริการ

วิชาชีพ

ฝกทักษะ

วิชาชีพ

7 ฝกอบรมวิชาชีพระยะสั้น (วษท.อน.)

7.1 การขับรถยนต

7.2 คอมพิวเตอรเบื้องตน

7.3 ชางซอมเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน

7.4 การเดินสายไฟฟาในอาคาร

7.5 การทําอาหารไทยเบื้องตน

7.6 การทําขนมไทยเบื้องตน

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยสามารถจัดกิจกรรม/โครงการตางๆ ในปการศึกษา 2554 ในการใหบริการวิชาชีพ และ

สงเสริมใหความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน และฝกทักษะวิชาชีพ เพื่อการประกอบอาชีพของประชาชน

รวมทั้งสิ้น 7 กิจกรรม/โครงการ ซึ่งอยูในเกณฑ ดี

ขอกําหนดท่ี 5.2 จัดสรรงบประมาณ เพ่ือการบริการวิชาชีพอยางเปนระบบและสอดคลองกับ

แผนการบริการวิชาชีพท่ีกําหนด

ตัวบงชี้ท่ี 52 รอยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม / โครงการท่ีใหบริการวิชาชีพ และ

ฝกทักษะวิชาชีพตองบดําเนินการ

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดกิจกรรม/โครงการในการบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ สงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ินโดยการบรรจุลงแผนปฏิบัติการประจําป โดยรวมมือกับ

องคกรสวนทองถ่ิน และจัดนักเรียนนักศึกษาเขารวมโครงการในฐานะผูชวยวิทยากร ผูชวยฝกอบรม และ

ผูใหบริการ โดยบูรณาการในแตละสาขาวิชาควบคูกับการเรียนการสอน

ผลการดําเนินการ

งานวางแผนและงบประมาณ ไดจัดทําสถิติการใชงบประมาณในไตรมาสที่ 3 และ 4 ประจําป

งบประมาณ 2554 และ ไตรมาสที่ 1 และ 2 ประจําปงบประมาณ 2555 โดยวิทยาลัยไดเขารวมและจัดทํา

โครงการ ที่ใหบริการดานวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมความรูในการพัฒนาชุมชนและทองถ่ิน รวมทั้ง

จํานวนงบประมาณที่ใชจายในการดําเนินกิจกรรม/โครงการ ตามที่วิทยาลัยไดจัดสรรใหกับแผนกวิชา

ในการเขารวมหรือจัดกิจกรรมตางๆ เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 596,729.45 บาท ดังตารางตอไปน้ี

Page 118: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

118

ตารางรายละเอียดการใชเงินงบประมาณในการจัดกิจกรรม/โครงการ

ในการบริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพตามท่ีวิทยาลัยไดจัดสรรเงินงบประมาณ

ประจําปการศึกษา 2554

ลําดับท่ี กิจกรรม / โครงการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 โครงการขยายบทบาทศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fix it center)

1.1 ดานการซอมเครื่องมือเครื่องจักรที่ใชในการประกอบอาชีพ ฯ

1.1.1 บริการซอมบํารุงเครื่องมือและอุปกรณทางการเกษตร

1.1.2 บริการซอมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

1.1.3 บริการตัดผมบุรุษและสุภาพสตร ี

1.1.4 บริการตรวจเช็คเครื่องคอมพิวเตอร

1.2 ดานการยกระดับชางชุมชน

1.2.1 โครงการยกระดับชางชุมชน

1.3 ดานการพัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน

1.3.1 ฝกอบรมพัฒนาสุขอนามัยในชุมชน

1.4 ดานการพัฒนานวัตกรรมตอยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑชุมชน

1.4.1 ฝกอบรมการสรางผลิตภัณฑใหกับชุมชน

499,999.45

2 โครงการอาชีวะรวมดวยเหลือผูประสบผูประสบภัยนํ้าทวม 15,145.00

3 โครงการออกหนวยใหบริการชุมชน

3.1 โครงการ “หนวยบําบัดทุกข บํารุงสุข สรางรอยย้ิมใหกับ

ประชาชน” จังหวัดอุทัยธานี

3.2 โครงการ อบจ.อุทัยธานี สัญจร

3.3 โครงการอําเภอ...ย้ิมเคลื่อนที่

3.4 โครงการองคการบริหารสวนตําบลประดูยืนเคลื่อนที่

ประจําป 2554

3.5 โครงการ “จากประชาคมสูการพัฒนาตําบลอยางบรูณาการฯ”

3.6 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะหฯ

3.7 โครงการกรมบังคับคดีสัญจรเผยแพรความรูสูภูมิภาค

3.8 โครงการ อบต. พบประชาชน (อบต.หนองขาหยาง)

3.9 โครงการ อบต.หวยแหง พบประชาชน

3.10 โครงการทําความดีเพื่อพอซอมจักรยานใหนอง

(สถานีวิทยุฯ 934)

3.11 กิจกรรม “สวท.สัญจร พลังแผนดินเอาชนะยาเสพติด”

3.12 กิจกรรมงานวันคนพิการสากลจังหวัดอุทัยธานี ประจําป 2554

10,485.00

Page 119: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

119

ลําดับท่ี กิจกรรม / โครงการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

3.13 โครงการเทศบาลเคลื่อนที่ ประจําป 2555

3.14 บริการตรวจเช็คสภาพรถยนตและจักรยานยนต

(เทศบาลตําบลหนองฉาง)

3.15 กิจกรรมใหบริการประชาชนดานอื่น ๆ

4 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ

4.1 โครงการฝกอบรม 108 อาชีพ สูถนนคนเดิน จังหวัดอุทัยธานี

4.2 งานประชุมวิชาการ อกท.ระดับภาคกลาง ครั้งที่ 33

(วษท.อน)

4.3 งานประชุมวิชาการองคการวิชาชีพ การแขงขันทักษะวิชาชีพ

และการแขงขันทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ระดับภาค ภาคเหนือ

ครั้งที่ 23 (วท.แพร)

5,965.00

5 ฝกอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น วิชา เดคูพาจ 4,820.00

6 โครงการสายใยรักแหงครอบครัว เครือขายวิทยาลยัสารพัดชาง

อุทัยธานี

29,999.00

7 ฝกอบรมวิชาชีพระยะสั้น (วษท.อน.)

7.1 การขับรถยนต

7.2 คอมพิวเตอรเบื้องตน

7.3 ชางซอมเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน

7.4 การเดินสายไฟฟาในอาคาร

7.5 การทําอาหารไทยเบื้องตน

7.6 การทําขนมไทยเบื้องตน

30,316.00

รวมเปนเงินท้ังสิ้น 596,729.45

ยอดเงินงบประมาณท่ีจัดสรรเปนรายจาย ประจําปงบประมาณ 2554

ปการศึกษา 1/2554

พฤษภาคม – กันยายน 2554

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 งบดําเนินงาน 3,617,100.00

2 งบเงินอุดหนุน 2,274,705.00

3 งบบุคลากร 2,251,426.44

4 คาเสือ่มราคา 1,823,675.30

รวม 9,966,906.74

Page 120: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

120

ยอดเงินงบประมาณท่ีจัดสรรเปนรายจาย ประจําปงบประมาณ 2554

ปการศึกษา 2/2554

ตุลาคม 2554 – เมษายน 2555

ลําดับท่ี รายการ จํานวนเงิน หมายเหตุ

1 งบดําเนินงาน 3,164,200.00

2 งบเงินอุดหนุน 1,295,160.00

3 งบบุคลากร 3,628,360.00

4 คาเสื่อมราคา 2.553,145.42

รวม 10,640,865.42

ยอดเงิน งปม. ที่จัดสรรเปนรายจาย = 9,966,906.74

ประจําป งปม.2554 ปการศึกษา 1/2554

(พฤษภาคม – กันยายน 2554)

ยอดเงิน งปม. ที่จัดสรรเปนรายจาย = 10,640,865.42

ประจําป งปม.2555 ปการศึกษา 2/2554

(ตุลาคม 2554 – เมษายน 2555)

รวมเปนเงิน = 20,607,772.16

สรุป

งบประมาณที่ใชจริงในการดําเนินการ = 596,729.45

งบดําเนินการ = 20,607,772.16

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง = 596,729.45 x 100

ในการดําเนินการตองบดําเนินการ 20,607,772.16

รอยละ = 2.90

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยสามารถจัดกิจกรรม / โครงการที่บริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพ สงเสริมความรูในการ

พัฒนาชุมชนทองถ่ิน คิดเปนรอยละ 2.90 จากเงินงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรซึ่งอยูในเกณฑ ดี

Page 121: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

121

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 5 ในแตละตัวบงชี้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที่ 51 จํานวนและ

ประสิทธิผลของกิจกรรม/

โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ

และฝกทักษะวิชาชีพ

จํานวนของกิจกรรมในโครงการ

ที่ใหบริการวิชาชีพและฝก

ทักษะวิชาชีพตามความ

ตองการของชุมชน สังคม

องคกรทั้งภาครัฐและเอกชน

ไมนอยกวา 4 กิจกรรม/

โครงการ

จํานวนของกิจกรรม/โครงการที่

ใหบริการวิชาชีพและฝกทักษะ

วิชาชีพ ตามความตองการของ

ชุมชน สังคม องคกรทั้งภาครัฐ

และเอกชน จํานวนทั้งหมด 7

กิจกรรม/โครงการ

ตัวบงชี้ที่ 52 รอยละของ

งบประมาณในการจัดกิจกรรม/

โครงการที่ใหบริการวิชาชีพ

และฝกทักษะวิชาชีพตอ

งบดําเนินการ

รอยละของงบประมาณที่ใช

จริงในการดําเนินการไมรวม

งบลงทุน ไมนอยกวา 0.20

รอยละของงบประมาณที่ใชจริง

ในการดําเนินการไมรวมงบลงทุน

ไมนอยกวา 2.29

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 5 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

วิทยาลัยใหความรวมมือในดานการบริการวิชาชีพและฝกทักษะวิชาชีพใหกับสถานศึกษาอื่น

หรือหนวยงาน องคกรภายนอกอยางตอเน่ืองเปนประจําทุกป

จุดท่ีควรพัฒนา

วิทยาลัยควรจัดฝกอบรม พัฒนาความรูความสามารถใหกับนักเรียน เพื่อใหมีความพรอมและชํานาญ

กอนออกใหบริการวิชาชีพ

Page 122: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

122

มาตรฐานท่ี 6 ภาวะผูนําและการจัดการ

ขอกําหนดท่ี 6.1 ใชภาวะผูนําและการมีวิสัยทัศนของผูบริหารในการผสมผสานความรวมมือของ

บุคลากรในสถานศึกษาและหนวยงาน หรือบุคคลภายนอกใหเขามามีสวนรวม

ในการจัดการศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 53 ระดับคุณภาพในการบริหารงานของผูบริหารท่ีมีวิสัยทัศนและภาวะผูนํา มีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษา มีความ

โปรงใส ตรวจสอบได

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยมีคณะกรรมการวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษาโดยประสานความรวมมือของบุคลากรภายในวิทยาลัยและบุคคลภายนอกรวม

ในการจัดการศึกษา มีโครงสรางในการปฏิบัติงานชัดเจนมีระบบมอบหมายงานตามสายการบังคับบัญชา

มีการจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป รายงานผลการปฏิบัติงานประจําป ซึ่งการ

ดําเนินงานมีความตอเน่ืองและหลากหลาย สามารถปรับใชในการบริหารตามสถานการณที่นําไปสูผลสัมฤทธ์ิ

ตามนโยบายและแผนงานที่โปรงใส ตรวจสอบได มีการเผยแพรทางสารสนเทศผลการดําเนินงานของ

สถานศึกษาตอสาธารณชนและผูมีสวนเกี่ยวของ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดจัดแบงสายงานตามแผนผังการบริหารสถานศึกษาครบทุกหนาที่ตามโครงสรางในการ

ปฏิบัติงาน และ มีเจาหนาที่อยางเหมาะสมตอภาระงานตามความจําเปน จัดบุคลากรสายผูสอน และสาย

สนับสนุนการสอนอยางเหมาะสม ผูบริหารมีวิสัยทัศน บริหารงานสอดคลองตามนโยบาย และการมีสวนรวม

ของประชาคมอาชีวศึกษา ดวยความโปรงใส ตรวจสอบได โดยใหมีการประเมินการบริหารงานของผูบริหารเพื่อ

นํามาปรับปรุงและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

Page 123: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

123

เกณฑการตัดสิน

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา คําสั่ง

มอบหมายหนาที่ราชการ และบันทึกการประชุม

บันทึกความรวมมือ หนังสือขอความ

อนุเคราะห หนังสือตอบขอบคุณ

แผนพัฒนาสถานศึกษาระยะ 3 – 5 ป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

วิสัยทัศนของสถานศึกษาที่สอดคลองกับ

ความตองการในการพัฒนาชาติและทองถ่ินโดย

การมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ

ขอมูลการกระจายอํานาจและเปดโอกาส

ใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งภายในและ

ภายนอกองคกรเขามามีสวนรวมในการบริหาร

จัดการเชิงบูรณาการ เชน มีแผนงานบริหาร

สถานศึกษาโดยมีหลักฐานขอมูลที่แสดงถึงการที่

ประชาคมอาชีวศึกษา หรือคณะกรรมการ

สถานศึกษามีสวนรวมกําหนดแผนงานบริหาร

ขอมูลการระดมทรัพยากรจากแหลง

ภายนอก รวมท้ังทวิภาคี เขามามีสวนรวมใน

การจัดการศึกษา

กระบวนการจัดการความรูท่ีนําไปสู

ความสําเร็จในการพัฒนาสถานศึกษาอยาง

ยั่งยืน

ขอมูลหลักฐานดานการกํากับ ติดตาม

และประเมิน เพ่ือพัฒนาองคการในทุกภาค

สวนและท้ังองครวมขององคการ

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินระดับคุณภาพในการบริหารงานของผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและภาวะผูนํา

มีการกําหนดแผนงานบริหารโดยการมีสวนรวมของประชาคมอาชีวศึกษา มีความโปรงใส ตรวจสอบได ซึ่งผล

การประเมินตามเกณฑการพิจารณาครบทุกขอ ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 124: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

124

ขอกําหนดท่ี 6.2 จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาดานคุณธรรม จริยธรรม

ตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

ตัวบงชี้ท่ี 54 รอยละของบุคลากรในสถานศึกษาท่ีสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐาน

วิชาชีพ

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยมีการแตงต้ังคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร เพื่อประเมินผลการ

ปฎิบัติงานปละ 2 ครั้ง เผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพแกบุคลากรภายในวิทยาลัยฯ เพื่อเปนแนวทาง

ในการปฏิบัติงาน และมีการสงเสริมสนับสนุนใหบุคลากรในวิทยาลัย ไดศึกษาหาความรูเพิ่มเติมในตําแหนง

หนาที่ของตนเอง เชน การศึกษาตอ จัดอบรมพัฒนาครูดานคุณธรรม จริยธรรม สนับสนุนและสงเสริม

ใหบุคลากรในวิทยาลัยเขารับการพัฒนาทั้งที่จัดข้ึนภายในวิทยาลัยและหนวยงานภายนอกวิทยาลัย

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดมอบหมายใหงานบุคลากร ดําเนินการจัดทําเอกสารเผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

แกบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง

เหมาะสมในแตละปการศึกษา โดยวิทยาลัย ไดดําเนินการ ดังน้ี

1. แตงต้ังคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร และดําเนินการประเมินผล

การปฏิบัติงานปละ 2 ครั้ง

2. เผยแพรจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพแกบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติ

ตนไดอยางถูกตอง และเหมาะสม

3. ครูและบุคลากรปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตอง เหมาะสมไมมี

ผูกระทําผิดวินัย

Page 125: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

125

ตารางแสดงจํานวนบุคลากรในวิทยาลัยท่ีสามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

ปการศึกษา 2554

สาขาวิชา / สาขางาน

จํานวนผูบริหาร/

ครูทั้งหมด

แตละสาขาวิชา /

สาขางาน

(คน)

มีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

ไมมีใบ

ประกอบ

วิชาชีพ /

ใบอนุญาต

(คน)

จํานวนคร ู

ที่ไดรับใบ

ประกอบ

วิชาชีพครู

(คน)

จํานวนครูที่ผาน

การประเมิน

ตามมาตรฐาน

วิชาชีพและ

จรรยาบรรณ

ของวิชาชีพ

พ.ศ. 2548

1. ผูบริหาร 3 3 - 3 3

2. ชางยนต 4 4 - 4 4

3. ชางไฟฟา 2 2 - 2 2

4. บัญชี 5 5 - 5 5

5. คอมพิวเตอรธุรกิจ 5 5 - 5 5

6. คหกรรม 3 2 1 2 3

7. เทคนิคพื้นฐาน 1 1 - 1 1

8. สามัญสัมพันธ 4 3 1 3 4

รวม 27 25 2 25 27

บุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพไดอยางถูกตองเหมาะสม

ดังน้ี

1. จํานวนบุคลากรทั้งหมดเทากับ 27 คน

2. จํานวนบุคลากรที่ไดรับใบประกอบวิชาชีพคร/ูใบอนุญาตเปนครู เทากับ 25 คน คิดเปน

รอยละ 92.59

4. จํานวนครูที่ผานการประเมินตามขอบังคับคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ และ

5. จรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ.2548 ของบุคลากรเทากับ 27 คน คิดเปนรอยละ 100

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินรอยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ

ไดอยางถูกตองเหมาะสม คิดเปนรอยละ 96.30 ของบุคลากรทั้งหมด ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 126: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

126

ขอกําหนดท่ี 6.3 จัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรูเพ่ือการพัฒนาสถานศึกษาอยาง

เหมาะสม

ตัวบงชี้ท่ี 55 ระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศ และการจัดการความรูของ

สถานศึกษา

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยจัดใหมีผูรับผิดชอบเพื่อควบคุมดูแลปรับปรุงคุณภาพของขอมูลสารสนเทศ มีการจัดเก็บขอมูล

อยางเปนระบบและเปนปจจุบันสามารถนําขอมูลมาใชไดสะดวก มีการจัดระบบการรักษาความปลอดภัย

ในเครือขาย มีการสํารองขอมูลที่สําคัญ โดยไดดําเนินการจัดทําระบบเครือขายสารสนเทศภายในวิทยาลัย เชน

ระบบ RMS เพื่อใหสามารถเช่ือมโยงขอมูลไดทั้งภายในและภายนอก ดานการจัดการความรูไดมีการอบรม

ใหความรูในเรื่องสารสนเทศ และมีการดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในวิทยาลัย ตลอดเวลาเพื่อเปนการ

เพิ่มความรูใหม ๆ ของบุคลากรอยางกวางขวาง โดยจัดใหมีระบบการใหบริการสารสนเทศตาง ๆ ทั้งในระบบ

เครือขายแบบมีสาย และแบบไรสาย เชน ระบบโปรแกรม RMS เว็บไซดวิทยาลัย เปนตน ใหแกบุคลากรของ

สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา บุคลากรและหนวยงานภายนอกไดทราบ

ผลการดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการแตงต้ังคําสั่งมอบหมายหนาที่ใหหัวหนางานศูนยขอมูลและสารสนเทศเปน

ผูรับผิดชอบในการจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการขอมูลมาใช

จัดการความรูเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน และจัดทําฐานขอมูลทั้งหมดของวิทยาลัย ประสานกับเครือขาย

ภายนอกวิทยาลัย โดยไดจัดทําในรูปแบบเว็บไซตของวิทยาลัย และโปรแกรม RMS เพื่อใหบุคลากรของ

วิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปไดทราบขอมูลขาวสารของทางวิทยาลัย ซึ่งผูดูแลรับผิดชอบ

มีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันอยูเสมอ มีระบบการรักษาความปลอดภัยในเครือขาย มีการสํารองขอมูลที่

สําคัญ มีหองอินเตอรเน็ต และระบบเครือขายแบบไรสาย เพื่อใหนักเรียนนักศึกษา ไดเขามาคนควาขอมูล

ประกอบการเรียนการสอน และบุคคลภายนอกไดมาใชบริการคนหาขอมูลขาวสารไดตลอดเวลา

Page 127: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

127

เกณฑการตัดสิน

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

ขอมูล 8 ดาน

แผนผังระบบ Lan ในวิทยาลัยฯ / คําสั่ง

มอบหมายหนาที่ผูรับผิดชอบ

การเขาใชงาน Internet ของวิทยาลัยฯ

โดยการใช password และการเช่ือมโยงขอมูล

ผานระบบ RMS ไปสูสาขาวิชา/สาขางาน

โปรแกรม RMS

เว็บไซตวิทยาลัยฯ

ขอมูลพื้นฐานเพื่อใชในการตัดสินใจในการ

บริหาร

ขอมูลเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ

ขอมูล ตลอดจนบุคลากรผูรับผิดชอบ

ขอมูลผลการประเมินประสิทธิภาพและ

ความปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการ

ขอมูล ขอมูลการนําขอมูลสารสนเทศ มาใช

และการจัดการความรูของสาขาวิชา/สาขา

งานเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

ระบบฐานขอมูลท้ังหมดท่ีทํางาน

ประสานกันเปนเครือขายของสถานศึกษา

หลักฐานท่ีแสดงวามีการปรับปรุงระบบ

ฐานขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ

ผลสัมฤทธิ ์

จากการประเมินระดับคุณภาพของการจัดการระบบสารสนเทศและการจัดการความรูของวิทยาลัยได

ตามเกณฑปฏิบัติขอ 1 – ขอ 5 ผลการประเมินอยูในเกณฑ ดี

Page 128: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

128

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 6 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล /

หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่53 ระดับคุณภาพใน

การบริหารงานของผูบริหารที่มี

วิสัยทัศนและภาวะผูนํามีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการมี

สวนรวมของประชาคม

อาชีวศึกษา มีความโปรงใส

ตรวจสอบได

คุณภาพในการบริหารงานของ

ผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและภาวะ

ผูนํา มีการกําหนดแผนงาน

บริหารโดยการมีสวนรวมของ

ประชาคม อาชีวศึกษา มีความ

โปรงใส ตรวจสอบได เปนไป

ตามเกณฑการประเมินครบ ทุกขอ

ระดับคุณภาพในการ

บริหารงานของผูบริหารที่มี

วิสัยทัศนและภาวะผูนํา มีการ

กําหนดแผนงานบริหารโดยการ

มีสวนรวมของประชาคม

อาชีวศึกษา มีความโปรงใส

ตรวจสอบได ซ่ึงผลการประเมิน

ตามเกณฑพิจารณาครบทุกขอ

อยูในระดับ ด ี

ตัวบงชี้ที ่54 รอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถ

ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ

มาตรฐานวิชาชีพ

รอยละของบุคลากรใน

สถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 ไดอยางถูกตอง

เหมาะสม ไมนอยกวารอยละ

90

การประเมินรอยละของ

บุคลากรในสถานศึกษาที่

สามารถปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณของวิชาชีพ

พ.ศ. 2548 ไดอยางถูกตอง

เหมาะสมคิดเปนรอยละ

96.30 อยูในระดับ ด ี

ตัวบงชี้ที ่55 ระดับคุณภาพของ

การจัดระบบสารสนเทศ และ

การจัดการความรูของ

สถานศึกษา

คุณภาพของการจัดการระบบ

สารสนเทศและการจัดการ

ความรู

ประเมินระดับคุณภาพของการ

จัดการระบบสารสนเทศและ

การจัดการความรูของ

สถานศึกษา ปฏิบัติขอ 1 – ขอ

5 อยูในระดับ ด ี

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 6 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

วิทยาลัย ไดพัฒนาระบบบริหารจัดการสารสนเทศ ระบบการบริหารจัดการขอมูล ปรับปรุงระบบ

ฐานขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ และบุคลากรในสถานศึกษามีความพรอมตอการใชงานระบบบริหารจัดการ

สารสนเทศอยูเสมอ

จุดที่ควรพัฒนา

1. วิทยาลยัตองมีการจัดการอบรม/สัมมนา เพื่อพัฒนาบุคลากรใหครอบคลุมมากกวาน้ี

2. ควรมีการประสานงานทั้งบุคลากรภายในวิทยาลัยและบุคลากรภายนอก รวมทั้งการแสวงหา

ความรวมมือ ความชวยเหลือดานทรัพยากรและเทคนิควิธีการใหม ๆ ในการพัฒนาวิทยาลัยให

มากข้ึน

3. ควรมีการกระจายอํานาจและเปดโอกาสใหบุคลากรในสาขาวิชา/สาขางาน มีสวนรวมในการ

กําหนดทิศทางการดําเนินงานการจัดการดานการศึกษาของวิทยาลัย

Page 129: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

129

มาตรฐานท่ี 7 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

ขอกําหนดท่ี 7 สถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ตัวบงชี้ท่ี 56 ระบบและกลไกลในการประกันคุณภาพภายในท่ีกอใหเกิดการพัฒนา สถานศึกษา

อยางตอเน่ือง

วิธีการดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ2554

แผนงาน /โครงการของวิทยาลัย รวมทั้งคูมือและแผนการประเมินคุณภาพภายในอยางตอเน่ือง วิทยาลัยมีการ

กําหนดระเบียบ วิธีการ ระยะเวลาการประเมินคุณภาพภายใน และข้ันตอนการจัดทํารายงานการประเมิน

คุณภาพ มีการแตงต้ังบุคลากรที่รับผิดชอบในการทํางานประกันคุณภาพ ตลอดจนประเมินผลลัพธและไดนําผล

การประเมินมาใชในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เพื่อใหเกิดคุณภาพกับผูเรียนและผูจบการศึกษามากย่ิงข้ึน

ผลการดําเนินงาน

สถานศึกษามีการดําเนินงานและมีขอมูลที่แสดงถึงความตระหนักและความพยายาม

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปของสถานศึกษา

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ

แผนงาน /โครงการ

หนังสือ /คําสั่งที่เกี่ยวของ

บันทึกการประชุม /รายงานประชุม

คูมือแผนการประกันคุณภาพ

หลักฐานรายงานการตรวจสอบการประเมิน

คุณภาพประป

ขอมูลหลักฐานการตอบสนองขอคิดเห็น

ขอรองเรียนเพื่อปรับปรุงระบบหรือกลไกลการ

ดําเนินงานประกัน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดมีระบบกลไกในการประกันคุณภาพภายใน อยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ

Page 130: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

130

ตัวบงชี้ท่ี 57 ประสิทธิผลรายการประกันคุณภาพภายใน

วิธีดําเนินการ

วิทยาลัยไดดําเนินการจัดทํารายงานการประกันคุณภายในอยางตอเน่ืองและมีการเผยแพรตอกรรมการ

สถานศึกษาและสาธารณชน เว็บไซตของสถานศึกษา มีการจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา จัดทําโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยเชิญ

วิทยากรที่เช่ียวชาญดานการประกันคุณภาพมาอบรมใหความรูกับครู อาจารยและเจาหนาที่ ภายในวิทยาลัย

เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดทํางานประกันคุณภาพและมีการนําผลการประเมินขอเสนอแนะมาใชในการบริหาร

จัดการใหไดมาตรฐานมากย่ิงข้ึน

ผลการดําเนินการ

สถานศึกษามีผลการดําเนินงานและหลักฐานการปฏิบัติ ดังน้ี

ขอมูลประกอบการตัดสิน เกณฑการตัดสิน

เอกสารรายงานการประเมินตนเองของ

สถานศึกษา รวมทั้งสาธารณชนบนเว็บไซต

วิทยาลัย

แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ

จัดทําโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หนังสือ

คําสั่งที่เกี่ยวของ บันทึกการประชุม รายงาน

ประชุม

มีการอบรมใหความรูเกี่ยวกับงานประกัน

คุณภาพทุกปและมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศ

เว็บไซตวิทยาลัย เพื่อพัฒนาระบบประกัน

คุณภาพภายใน

มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายใน

ตอกรรมการสถานศึกษาและสาธารณะชน

มีการนําผลการประเมินขอเสนอแนะมาใช

ในการปรับปรุงการบริหารใหไดมาตรฐานและ

นําไปสูการจัดการทําแผนพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษา

มีการดําเนินการอยาตอเน่ืองและมี

นวัตกรรมที่พัฒนาที่พัฒนาข้ึน มีการปฏิบัติที่ดี

Good Practiceหรือการเปนแหลงอางอิงของ

สถานศึกษารวมทั้งเกิดการพัฒนาคุณภาพผูเรียน

ใหสูงข้ึน

ผลสัมฤทธิ ์

วิทยาลัยไดมีระบบกลไกในการประกันคุณภาพภายใน อยูในเกณฑ ดี คือ ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ

Page 131: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

131

สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 7 ในแตละตัวบงชี ้

ตัวบงชี้ที ่ เปาหมายของสถานศึกษา สัมฤทธิ์ผลของการดําเนินงาน

ผลการประเมิน ขอมูล / หลักฐาน

สนับสนุน ด ี พอใช

ปรับ

ปรุง

ตัวบงชี้ที ่56 ระบบและกลไก

การประกันคุณภาพภายในที่

กอใหเกิดการพัฒนาสถานศึกษา

อยางตอเนื่อง

ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ ปฏิบัติครบทั้ง 4 ขอ

ตัวบงชี้ที ่57 ประสิทธิผลของ

การประกันคุณภาพภายใน

ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ ปฏิบัติครบทั้ง 3 ขอ

ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 7 อยูในระดับ ดี � พอใช � ปรับปรุง

จุดเดน

1. มีการพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพอยางตอเน่ือง

2. ทําใหระบบการศึกษาภายในวิทยาลัยมีคุณภาพมากข้ึน

3. นักเรียน นักศึกษามีคุณภาพมากข้ึน

4. ประชาชนสามารถเขาถึงระบบการพัฒนา ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายในงายข้ึน

จุดท่ีควรพัฒนา

1. ควรมีการพัฒนาใหความรูกับบุคลากรดานระบบงานประกันคุณภาพมากข้ึน

2. พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

3. ควรใหคณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา เขามามีสวนรวมในระบบงานประกัน

คุณภาพมากข้ึน

Page 132: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

132

ตอนท่ี 5 สรุปและขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพและแนวทางปฏิบัติ

5.1 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน

ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา ประจําปการศึกษา 2554 สรุปไดดังน้ี

1. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับ ดี เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 1 ตัวบงช้ีที่ 1, 2, 3 และ 4

มาตรฐานที่ 2 ตัวบงช้ีที่ 5, 6, 7, 8, 9 และ 10

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 12, 13, 15, 16, 17, 19, 21, 22, 23, 24, 25, 27, 28, 29, 31,

32, 33, 34, 35, 36, 37, 38, 39, 40, 41, 42, 43, 44 และ 46

มาตรฐานที่ 4 ตัวบงช้ีที่ 47, 48, 49 และ 50

มาตรฐานที่ 5 ตัวบงช้ีที่ 51 และ 52

มาตรฐานที่ 6 ตัวบงช้ีที่ 53, 54 และ 55

มาตรฐานที่ 7 ตัวบงช้ีที่ 56 และ 57

2. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับพอใช เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 2 ตัวบงช้ีที่ 11

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 30

3. มาตรฐานและตัวบงชีท่ี้ดําเนินการไดในระดับปรับปรุง เรียงตามลําดับดังน้ี

มาตรฐานที่ 3 ตัวบงช้ีที่ 14, 26 และ 45

Page 133: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

133

สรุปขอเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพและแนวทางปฏิบัติ

ขอเสนอแนะจากการประเมิน แผนการปฏิบัติตามขอเสนอแนะ

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง

1. สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น ใน

สาขาวิชาคอมพิวเตอรใหทันสมัยสอดคลองกับความ

ตองการของตลาดแรงงานดานคอมพิวเตอร

- โครงการตนกลาอาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

2. สถานศึกษาควรพัฒนาระบบการติดตาม

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา

- โครงการแนะแนวการศึกษาตอและจัดหางาน

3. สถานศึกษาควรพัฒนาสรางระบบคลังขอสอบ

มาตรฐานวิชาชีพ

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

- พัฒนาเว็บไซตของสถานศึกษา

4. สถานศึกษาควรวิเคราะห วิจัยเพื่อพัฒนา

กระบวนการเทียบโอนความรูและประสบการณ

- พัฒนาบุคลากรศึกษาดูงานดานวิชาชีพ

การประเมินคุณภาพภายในโดยตนสังกัด

1. รอยละของผูเรียนออกกลางคัน - ปฐมนิเทศนักศึกษาและประชุมผูปกครอง

2. จํานวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ งานวิจัย และ

โครงงานในระดับ ปวส.

- โครงการสิ่งประดิษฐคนรุนใหม

3. ควรจัดระบบฐานขอมูลและมีการประเมิน

ประสิทธิภาพของระบบขอมูล

- พัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนโดยใช

มัลติมีเดีย

4. การรายงานผลโครงการ กิจกรรม การบริการ

วิชาชีพสูสังคมยังไมครบถวน

- การติดตามรายงานผลประจําป

5. การประเมินรอยละของผูเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนตามเกณฑที่กําหนดตามช้ันปใหตรง

ตามเกณฑมาตรฐานของสอศ.

- โครงการเย่ียมบานและติดตามดูแลนักศึกษา

6. การประเมินรอยละของผูสามารถประยุกต

หลักการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร จากเกรด 1

เปน 3,4

- พัฒนาสื่อการเรียนการสอน

7. การประเมินคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน - โครงการอบรมคุณธรรมทางชาติ ศาสนา

พระมหากษัตริย

8. การจัดงบประมาณจัดซื้อวัสดุ - จัดทํารายงานประจําป

9. การจัดทําสรุปผล รายงานผลการระดมทรัพยากร

ทั้งภายในและภายนอก

- จัดทํารายงานประจําป

Page 134: 1 บทสรุปสําหรับผู บริหาร พ.ศ. 2537 ...1 ตอนท 1 บทสร ปส าหร บผ บร หาร 1. ประว ต สถานศ

134

ตอนท่ี 6

ภาคผนวก

ขอมูลเพ่ิมเติมของสถานศึกษา

ภาคผนวก ก คําสั่งคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย / คณะกรรมการวิทยาลัย

ภาคผนวก ข รายงานผลการประกันคุณภาพภายใน ประจําปการศึกษา 2553

ภาคผนวก ค รายงานผลการประกันคุณภาพภายในโดยตนสังกัด