1
กิจกรรมของสมองขณะหลับ สูง ต่ำ เร็ม น็อนเร็ม สมอง ยาม หลับใหล การหลับไม่ได้หมายถึงช่วงเวลา ที่เราไม่รู้สึกตัวอีกต่อไป แต่เป็น สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของ ระดับกระแสไฟฟ้าสมอง และการ เพิ่มขึ้นหรือลดลงของสารเคมี ในสมองส่วนต่างๆ องค์ประกอบ สำาคัญของการเปลี่ยนแปลงทาง เคมีและไฟฟ้าในสมองระหว่าง การหลับนี้ คือโครงสร้างขนาด จิ๋วสองส่วนในไฮโปทาลามัส ซึ่ง อยู่ลึกเข้าไปในสมอง การทำางาน ของพวกมันมีส่วนกำาหนดว่า เราจะนอนหลับหรือตื่นขึ้นเมื่อใด การนอนหลับ การนอนหลับขึ้นอยู่กับกลุ่มเซลล์ขนาดเท่าหัวเข็มหมุด ที่ชื่อว่า เวนโทรแลเทอรัลพรีออปติกนิวเคลียส หรือ วีแอลพีโอ (ventrolateral preoptic nucleus: VLPO) เมื่อถูก กระตุ้นจากอะดีโนซีน (adenosine) ซึ่งเป็นสารเคมีในสมองทีสะสมในแต่ละวัน วีแอลพีโอจะส่งสัญญาณไปยังศูนย์ควบคุม การตื่นให้หยุดสร้างฮิสตามีน (histamine) และสารเคมีอื่นๆ ที่ทำาให้เราตื่นตัว การตื่นนอน การตื่นนอนถูกกระตุ้นโดยนาฬิกาชีวภาพ (biological clock) เรือนหลักของร่างกายที่อยู่ในกลุ่มเซลล์เล็กๆชื่อว่า ซูพราไคแอสเมติกนิวเคลียสหรือเอสซีเอ็น (suprachiasmatic nucleus: SCN) ซึ ่งจะตอบสนองต่อแสงสว่างโดยส่งสัญญาณ “ตื่นนอน” ที่สั่งการให้วีแอลพีโอหยุดทำางาน ศูนย์ควบคุม การตื่นจึงกลับมาทำางานอีกครั้ง เปลือก สมอง อะดีโนซีน ศูนย์ ควบคุม การตื่น เปลือก สมอง อะดีโนซีน วีแอล พีโอ เอสซีเอ็น ศูนย์ควบคุม การตื่น เปลือก สมอง ทาลามัส ไฮโปทาลามัส ฮิปโปแคมปัส พอนส์ ก้านสมอง จอตา ไฮโปทาลามัส: เป็นกลไกที่มีความสำาคัญ อย่างยิ่งต่อการหลับ ประกอบไปด้วยกลุ่มเซลล์ ประสาท (วีแอลพีโอและเอสซีเอ็น) ที่ควบคุม รอบการนอนและสารเคมีที่กระตุ้นการหลับ และการตื่น ทาลามัส: สกัดกั้นสัญญาณจากประสาทสัมผัส เพื่อให้สมองสามารถจัดการกับข้อมูลที่ได้รับ มาตลอดทั้งวันอย่างเต็มทีต่อมไพเนียล: สร้างสารเมลาโทนินเมื่อ นาฬิกาชีวภาพรับรู้ถึงความมืด เพื่อเตรียม สมองให้พร้อมสำาหรับการนอนหลับ ฮิปโปแคมปัส: เป็นส่วนสำาคัญในการสร้าง ความทรงจำา โดยทบทวนความจำาเพื่อจัดเก็บ ระหว่างการหลับช่วงเร็ม พอนส์: เกี่ยวข้องกับทั้งการตื่นและการฝัน โดยพอนส์จะยับยั้งสัญญาณที่ส่งไปยังไขสันหลัง ในระหว่างการหลับช่วงเร็ม ทำาให้เราไม่ลุก ขึ้นมาทำาท่าทางเหมือนอย่างที่ฝัน เปลือกสมอง: ได้รับสัญญาณกระตุ้นจาก พอนส์ขณะหลับช่วงเร็ม การฝันอาจเป็นภาวะ ที่เปลือกสมองพยายามสร้าง “เรื่องราว” จากข้อมูลที่รวบรวมไว้ขณะตื่น เรตินา: มีเซลล์พิเศษที่ส่งสัญญาณการตื่น ไปยังสมองเมื่อรับรู้หรือสัมผัสกับแสงสว่าง ระยะของการนอนหลับ ในตอนกลางคืน เราจะเข้าสู ่วงจรการหลับหลายช่วงที ่ดิ ่งลึกลงเรื ่อยๆ ในระยะที ่ 1 (หลับตื ้น) เป็นช่วงที่เราครึ่งหลับครึ่งตื่น ในระยะที่ 2 คลื่นสมองจะช้าลงและมีช่วงที่คลื่นเร็วขึ้นเป็น ครั้งคราว ระยะที่ 3 (แบ่งออกได้เป็น 3 และ 4 ในบางกรณี) คือช่วงหลับลึก คลื่นสมอง ช่วงนี้จะช้ามาก การหลับช่วงเร็ม (rapid eye movement – การกลอกตาอย่างรวดเร็ว) จะขัดจังหวะช่วงการนอนเหล่านีทำาให้อัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจเร็วขึ้น ความฝันส่วนใหญ่เกิดขึ้นในช่วงนี้ (การหลับช่วงเร็มจึงมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า ช่วงหลับฝัน) อีรัม เอนรีเกซ และโรบิน ที. รีด ศิลปกรรม: บรูซ มอร์เซอร์ ที่มา: คลิฟฟอร์ด บี. เซเพอร์, HARVARD MEDICAL SCHOOL; ทิโมที เอช. มังก์ และเอริก เอ. นอฟซิงเกอร์, UNIVERSITY OF PITTSBURGH MEDICAL CENTER; แคโรล แอล. มาร์คัส, UNIVERSITY OF PENSYLVANIA วีแอลพีโอ ต่อม ไพเนียล กายวิภาคของการนอนหลับ การนอนหลับในวัยผู้ใหญ่ ตื่น เร็ม ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 เที่ยงคืน 1:00 น. 2:00 น. 3:00 น. 4:00 น. 5:00 น. 6:00 น. 6:40 น.

หลับใหล - · PDF fileกิจกรรมของสมองขณะหลับ สูง ต่ำ เร็ม น็อนเร็ม สมอง ยาม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลับใหล - · PDF fileกิจกรรมของสมองขณะหลับ สูง ต่ำ เร็ม น็อนเร็ม สมอง ยาม

กจกรรมของสมองขณะหลบสง ตำ

เรม นอนเรม

สมอง

ยาม

หลบใหลการหลบไมไดหมายถงชวงเวลา

ทเราไมรสกตวอกตอไป แตเปน

สภาวะทมการเปลยนแปลงของ

ระดบกระแสไฟฟาสมอง และการ

เพมขนหรอลดลงของสารเคม

ในสมองสวนตางๆ องคประกอบ

สำาคญของการเปลยนแปลงทาง

เคมและไฟฟาในสมองระหวาง

การหลบน คอโครงสรางขนาด

จวสองสวนในไฮโปทาลามส ซง

อยลกเขาไปในสมอง การทำางาน

ของพวกมนมสวนกำาหนดวา

เราจะนอนหลบหรอตนขนเมอใด

การนอนหลบ

การนอนหลบขนอยกบกลมเซลลขนาดเทาหวเขมหมด ทชอวา เวนโทรแลเทอรลพรออปตกนวเคลยส หรอ วแอลพโอ (ventrolateral preoptic nucleus: VLPO) เมอถก กระตนจากอะดโนซน (adenosine) ซงเปนสารเคมในสมองทสะสมในแตละวน วแอลพโอจะสงสญญาณไปยงศนยควบคม การตนใหหยดสรางฮสตามน (histamine) และสารเคมอนๆ ททำาใหเราตนตว

การตนนอน

การตนนอนถกกระตนโดยนาฬกาชวภาพ (biological clock) เรอนหลกของรางกายทอยในกลมเซลลเลกๆชอวา ซพราไคแอสเมตกนวเคลยสหรอเอสซเอน (suprachiasmatic nucleus: SCN) ซงจะตอบสนองตอแสงสวางโดยสงสญญาณ “ตนนอน” ทสงการใหวแอลพโอหยดทำางาน ศนยควบคมการตนจงกลบมาทำางานอกครง

เปลอก สมอง

อะดโนซน

ศนยควบคม การตน

เปลอก สมอง

อะดโนซน

วแอล พโอ

เอสซเอน

ศนยควบคม การตน

เปลอก สมอง

ทาลามส

ไฮโปทาลามส

ฮปโปแคมปส

พอนส

กานสมอง

จอตา

ไฮโปทาลามส: เปนกลไกทมความสำาคญ อยางยงตอการหลบ ประกอบไปดวยกลมเซลลประสาท (วแอลพโอและเอสซเอน) ทควบคม รอบการนอนและสารเคมทกระตนการหลบ และการตน

ทาลามส: สกดกนสญญาณจากประสาทสมผสเพอใหสมองสามารถจดการกบขอมลทไดรบ มาตลอดทงวนอยางเตมท

ตอมไพเนยล: สรางสารเมลาโทนนเมอ นาฬกาชวภาพรบรถงความมด เพอเตรยม สมองใหพรอมสำาหรบการนอนหลบ

ฮปโปแคมปส: เปนสวนสำาคญในการสราง ความทรงจำา โดยทบทวนความจำาเพอจดเกบระหวางการหลบชวงเรม

พอนส: เกยวของกบทงการตนและการฝน โดยพอนสจะยบยงสญญาณทสงไปยงไขสนหลง ในระหวางการหลบชวงเรม ทำาใหเราไมลก ขนมาทำาทาทางเหมอนอยางทฝน

เปลอกสมอง: ไดรบสญญาณกระตนจาก พอนสขณะหลบชวงเรม การฝนอาจเปนภาวะ ทเปลอกสมองพยายามสราง “เรองราว” จากขอมลทรวบรวมไวขณะตน

เรตนา: มเซลลพเศษทสงสญญาณการตน ไปยงสมองเมอรบรหรอสมผสกบแสงสวาง

ระยะของการนอนหลบ

ในตอนกลางคน เราจะเขาสวงจรการหลบหลายชวงทดงลกลงเรอยๆ ในระยะท 1 (หลบตน) เปนชวงทเราครงหลบครงตน ในระยะท 2 คลนสมองจะชาลงและมชวงทคลนเรวขนเปน ครงคราว ระยะท 3 (แบงออกไดเปน 3 และ 4 ในบางกรณ) คอชวงหลบลก คลนสมอง ชวงนจะชามาก การหลบชวงเรม (rapid eye movement – การกลอกตาอยางรวดเรว) จะขดจงหวะชวงการนอนเหลาน ทำาใหอตราการเตนของหวใจและการหายใจเรวขน ความฝนสวนใหญเกดขนในชวงน (การหลบชวงเรมจงมชออกอยางหนงวา ชวงหลบฝน)

อรม เอนรเกซ และโรบน ท. รดศลปกรรม: บรซ มอรเซอร

ทมา: คลฟฟอรด บ. เซเพอร, HARVARD MEDICAL SCHOOL; ทโมท เอช. มงก และเอรก เอ. นอฟซงเกอร, UNIVERSITY OF PITTSBURGH MEDICAL CENTER; แคโรล แอล. มารคส, UNIVERSITY OF PENSYLVANIA

วแอลพโอ

ตอม ไพเนยล

กายวภาคของการนอนหลบ

การนอนหลบในวยผใหญ

ตน

เรม

ระยะท 1

ระยะท 2

ระยะท 3เทยงคน 1:00

น.2:00น.

3:00น.

4:00น.

5:00น.

6:00น.

6:40น.