4
โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial Pain Syndrome : MPS) นางสาวอรทัย อามาตย์ ตำแหน่ง พนักงานราชการ ปัจจุบันมีประชากรกว่าร้อยละ ๓๐ มีปัญหาเรื่อง โรคปวดเรื้อรัง โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ทำงาน ในสำนักงาน ที่ต้องนั่งทำงานและใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน เมื่อกล้ามเนื้อต ้อง หดเกร็งเป ็นเวลา ๑๐ ชั่วโมงทุกวัน เมื่อกลับบ้านไปพักผ ่อน รุ่งเช้ามาก็ต้องนั่งทำงานท ่าเดิม กล้ามเนื้อชุดเดิมก็จะมีการหดเกร็งไปอีก กล้ามเนื้อจากที่เคยยืดหยุ่น ก็จะไม่ยืด มีอาการเกร็งสะสมอยูอย่างนั้น โดยอาจจะเป็นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการดำเนินกิจกรรมในแต่ละวัน ถ้าไม่รีบทำการรักษา ตั้งแต่เนิ่น จะทำให้เกิดโรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังตามมา โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง หรือเรียกว่า Myofascial pain syndrome (MPS) ซึ่งเป็นโรค ปวดกล้ามเนื้อที่เป็นอาการปวดเรื้อรัง โดยอาการปวดของโรคนี้จะเกิดขึ้นในบริเวณของศูนย์รวม ความปวดของกล้ามเนื้อ หรือที่เรียกกันว่า จุดกดเจ็บ (Trigger points) มีลักษณะสำคัญ คือ เมื่อเราใช้ นิ้วคลำบริเวณกล้ามเนื้อที่มีอาการปวด จะพบปุ่มก้อนนูนอยู่ในบริเวณกล้ามเนื้อ ถ้ากดลงที่ก้อนนั้นจะ มีอาการปวดร้าวไปยังบริเวณอื่น เช่น ปวดบ่าแต่เมื่อกดก้อนนั้นตรงบ่า อาการปวดจะร้าวลงแขนหรือ ร้าวไปยังขมับ ส่วนใหญ่คนทุก คน มักเคยมีอาการปวดกล้ามเนื้อ ลักษณะทางคลินิก อาการ : ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณส่วนบนของลำตัวข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ปวดแขน ปวดสะบัก ปวดต้นคอ หรือแผ่นหลัง มักจะปวดล้า ที่กล้ามเนื้อโดยไม่สามารถระบุ ตำแหน่งของอาการปวดได้ชัดเจน บางรายมาด้วยอาการปวดหลังตอนล่างส่วนต่อกับสะโพก หรือปวดขา เวลาที่ปวดมักจะไม่แน่นอนบางครั้งปวดหลังทำงานนานๆ บางครั้งปวดกลางคืนขณะนอน จนทำให้นอนไม่หลับ ดีขึ้นบ้างเมื่อกินยาแก้ปวดแต่มักจะกลับเป็นซ้ำอีก แต่ที่สำคัญคือผู้ป่วยจะต้อง ไม่มี systemic symptom เช่น ไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย หรือ น้ำหนักลด ภญ.มาลินี อุทิตานนท์ คอลัมน์ ดูแลสุขภาพตนเองวารสารสุขภาพดีกับพรีมา ปีทฉบับทีตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๕ สืบค้น เมื่อวันทีธันวาคม ๒๕๕๙ http://doobody.com/บทความ-25443-ปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง-โรคสุดฮิตวัยทำงาน.html สืบค้นเมื่อวันทีธันวาคม ๒๕๕๙ Klipple JH, Dieppe PA. eds. Rheumatology 3 rd ed, Mosby : Philadelphia 1997 สืบค้นเมื่อวันทีธันวาคม ๒๕๕๙

โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial ...speciallampang.go.th/pdf/Special Education Articles...ถ าปวดร นแรงผ ป

  • Upload
    ngongoc

  • View
    228

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial ...speciallampang.go.th/pdf/Special Education Articles...ถ าปวดร นแรงผ ป

โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial Pain Syndrome : MPS)

นางสาวอรทัย อามาตย ์ ตำแหน่ง พนักงานราชการ

ปัจจุบันมีประชากรกว่าร้อยละ ๓๐ มีปัญหาเรื่อง โรคปวดเรื้อรัง โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ทำงาน ใน ส ำน ัก งาน ท ี่ต ้อ งน ั่งท ำงาน และ ใช ค้ อ มพ ิว เต อ ร ์เป ็น เวล าน าน เม ื่อ ก ล ้าม เน ื้อ ต ้อ ง หดเกร็งเป็นเวลา ๘ – ๑๐ ชั่วโมงทุกวัน เมื่อกลับบ้านไปพักผ่อน รุ่งเช้ามาก็ต้องนั่งทำงานท่าเดิม กล้ามเนื้อชุดเดิมกจ็ะมีการหดเกร็งไปอีก กล้ามเนื้อจากที่เคยยืดหยุ่น ก็จะไม่ยืด มีอาการเกร็งสะสมอยู่อย่างนั้น โดยอาจจะเป็นมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการดำเนินกิจกรรมในแต่ละวัน ถ้าไม่รีบทำการรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ จะทำให้เกิดโรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังตามมา๑

โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง หรือเรียกว่า Myofascial pain syndrome (MPS) ซึ่งเป็นโรค ปวดกล้ามเนื้อที่เป็นอาการปวดเรื้อรัง โดยอาการปวดของโรคนี้จะเกิดขึ้นในบริเวณของศูนย์รวม ความปวดของกล้ามเนื้อ หรือที่เรียกกันว่า จุดกดเจ็บ (Trigger points) มีลักษณะสำคัญ คือ เมื่อเราใช้นิ้วคลำบริเวณกล้ามเนื้อที่มีอาการปวด จะพบปุ่มก้อนนูนอยู่ในบริเวณกล้ามเนื้อ ถ้ากดลงที่ก้อนนั้นจะมีอาการปวดร้าวไปยังบริเวณอื่น เช่น ปวดบ่าแต่เมื่อกดก้อนนั้นตรงบ่า อาการปวดจะร้าวลงแขนหรือร้าวไปยังขมับ ส่วนใหญ่คนทุก ๆ คน มักเคยมีอาการปวดกล้ามเนื้อ๒

ลักษณะทางคลินิก

อาการ : ผู้ป่วยส่วนใหญ่มาด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อบริเวณส่วนบนของลำตัวข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ปวดแขน ปวดสะบัก ปวดต้นคอ หรือแผ่นหลัง มักจะปวดล้า ๆ ที่กล้ามเนื้อโดยไม่สามารถระบุตำแหน่งของอาการปวดได้ช ัดเจน บางรายมาด้วยอาการปวดหลังตอนล่างส ่วนต่อก ับสะโพก หรือปวดขา เวลาที่ปวดมักจะไม่แน่นอนบางครั้งปวดหลังทำงานนานๆ บางครั้งปวดกลางคนืขณะนอนจนทำให้นอนไม่หลับ ดีขึ้นบ้างเมื่อกินยาแก้ปวดแต่มักจะกลับเป็นซ้ำอีก แต่ที่สำคัญคือผู้ป่วยจะต้อง ไม่มี systemic symptom เช่น ไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย หรือ น้ำหนักลด๓

๑ ภญ.มาลินี อุทิตานนท์ คอลัมน ์“ดูแลสุขภาพตนเอง” วารสารสุขภาพดีกับพรีมา ปีที ่๑ ฉบับที ่๙ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๕ สืบค้น เมื่อวันที ่๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๒ http://doobody.com/บทความ-25443-ปวดกล้ามเนื้อเรือ้รัง-โรคสุดฮิตวัยทำงาน.html สืบค้นเมื่อวันที ่๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๓ Klipple JH, Dieppe PA. eds. Rheumatology 3rd ed, Mosby : Philadelphia 1997 สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙

Page 2: โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial ...speciallampang.go.th/pdf/Special Education Articles...ถ าปวดร นแรงผ ป

ถ้าปวดรุนแรงผู้ป ่วยมักจะเกร็งไม่ยอมขยับเขยื่อน การขยับจะกระตุ้นให้ปวดมากขึ้น บางรายเดินคอแข็งไม่สามารถเหลียวหน้าไปมาได ้ อิริยาบทที่ไม่เป็นธรรมชาติจะส่งผลต่อไปยังการทำงานของกล้ามเนื้อมัดอื่นๆที่อยู่ข้างเคียงทำให้เสียสมดุลย์ในการทำงานและเพิ่มความเครียดให้แก่กล้ามเนื้ออื่นๆ ทำให้อาการปวดทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น

ตรวจร่างกาย : ตรวจไม่พบ sign of inflammation ในบริเวณที่ปวดไม่ว่าจะเป็นที่ข้อต่อหรือผิวหนัง แต่จะคลำได้จุดกดเจ็บเป็นก้อนขนาด ๑ เซนติเมตร (เกิดจากกล้ามเนื้อหดเกร็ง) อยู่ลึก ลงไปในมักกล ้ามเน ื้อ เร ียกว่า trigger point ถ้าเพ ิ่มแรงกดไปท ี่จ ุดน ั้นม ักจะทำให ้ผ ู้ป ่วยสะด ุ้ง จากอาการปวดรุนแรง เร ียกว ่า jump sign และม ักปวดร้าวไปตามตำแหน ่งท ี่ผ ู้ป ่วยร ู้ส ึกปวด ในระยะแรก ซึ่งเรียกเป็น reference zone ของ trigger point นั้น ๆ

โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง อาจเกิดขึ้นเองในคนปกติที่ไม ่ม ีโรคประจำตัวใด ๆ เรียกกว่า เป็น primary MPS หรือ พบร่วมกับโรคอื่น เช่น พบร่วมกับการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย พบในผู้ป่วยโรคลูปุส โรคผิวหนังแข็ง หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ กลุ่มนี้เรียกว่าเป็น secondary MPS ซึ่งการรักษาในกลุ่มนี้จะขึ้นกับการรักษา underlying disease เป็นหลัก๔

สาเหตุที่ทำให้มีอาการปวดเรื้อรัง

เกิดจากการหดเกร็งสะสมของกล้ามเนื้อ จนเป็นก้อนเล็ก ๆ ขนาด ๐.๕ – ๑ เซนติเมตร ที่เร ียกว่า Trigger Point หรือ จุดกดเจ็บจำนวนมากซ่อนอยู่ในกล้ามเน ื้อและเน ื้อเย ื่อ การเก ิด Trigger Point ทำให ้กล้ามเน ื้อน ั้นขาดเลือดและออกซิเจนเข้าไปเล ี้ยง จนทำให ้เก ิดการอักเสบ และเกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อรอบ บริเวณที่ม ีTrigger Point โดยการอักเสบของ Trigger Point จะส ่งอาการปวดไปท ี่กล ้ามเน ื้อบร ิเวณจ ุดรวมของ Trigger Point และปวดร ้าวไปย ังบร ิเวณ ที่อยู่ใกล้เคียง

อาการและอาการแสดงมีดังนี้

๑. มีอาการปวดร้าวล ึก ๆ ของกล้ามเน ื้อ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยอาจปวดตลอดเวลาหรือปวดเฉพาะเวลาทำงาน

๒. ความรุนแรงของการปวดม ีได ้ต ั้งแต ่แค ่เม ื่อยล ้าพอรำคาญ จนไปถ ึงปวดทรมาน จนไม่สามารถขยับกล้ามเนื้อบริเวณที่ปวดได้

๓. บางกรณีมีอาการชามือและชาขาร่วมด้วย ๔. บางรายมีอาการปวดศีรษะเรื้อรัง อาการนอนไม่หลับ ๕. มีอาการผิดปกติของโครงสร้างร่างกาย เช ่น ไหล่ส ูง ตำ่ ไม ่เท ่าก ัน หลังงอ คอตก

ขาสั้นยาวไม่เท่ากัน

๔ Ball GB, Koopman WJ. Clinical Rheumatology. Philadelphia : WB Saunders, 1986 สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙

Page 3: โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial ...speciallampang.go.th/pdf/Special Education Articles...ถ าปวดร นแรงผ ป

ปจัจัยเสี่ยงการเกิดโรค MPS

๑. กล้ามเน ื้อท ี่ได ้ร ับบาดเจ ็บ เช ่น การออกกำลังท ี่ห ักโหม จนอาจเก ิดกล ้ามเน ื้อฉ ีก การใช้งานกล้ามเนื้อหนักจนเกินไป

๒. การขาดการออกกำลังกาย ถ้าไม่ได้ออกกำลังกล้ามเนื้อเลย เช่น อาจเกิดหลังผ่าตัด ทำให้ต้องนอนติดเตียงนาน เมื่อฟื้นก็ทำให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังได้

๓. ความเครียด มีความเชื่อกันว่า ผู้ป ่วยกลุ่มนี้ม ีโอกาสที่จะบีบนวดแบบเค้นกล้ามเนื้อ ตัวเองสูงทำให้กล้ามเนื้อสร้างจุดกดเจ็บขึ้น

๔. อายุ ส่วนใหญ่ ผู้ป่วยมักอยูใ่นวัยทำงาน ต้องมีการทำงานที่เกี่ยวข้องกับความเครียด นั่งนาน เช่น ทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

๕. เพศ พบว่าส่วนใหญ่ผู้หญิงมักมีโอกาสเป็นมากกว่าผู้ชาย การรักษาทางกายภาพบำบัด

นักกายภาพจะใช้วธิีที่ทำให้อาการปวดดีขึ้น เพื่อบรรเทาอาการปวดโดยทำให้กล้ามเนื้อบริเวณ trigger point คลายตัว ทำได้หลายวิธ ีคือ

๑. การประคบร้อนหรือประคบเย็น ๒. การนวดคลึงกล้ามเนื้อเฉพาะที่ ๓. การใช้ความร้อนลึก (Ultrasound) ๔. การรักษาด้วยเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า ๕. การสอนท่าการออกกำลังกายที่เหมาะสม

ผู้ป่วยควรปรับปรุงชีวิตประจำวัน การดูแลตัวเองมีความสำคัญมาก เนื่องจากโรคนี้มีความเกี่ยวพัน กับการใช้ชีวิตประจำวันสูง ได้แก ่

๑. ออกกำลังกายอย่างสมำ่เสมอ ๒. หากิจกรรมผ่อนคลายความเครียด ๓. ไม่ควรทำงานอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งติดต่อกันเป็นเวลานาน ๔. ยืดคลายกล้ามเนื้อเมื่อต้องทำงานติดต่อกันเป็นเวลานาน ๕. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ควรอดหลับอดนอน หรือนอนดึกติดต่อกันหลายวัน ๖. เลือกใช้เตียงนอนที่ไม่นุ่มหรือแข็งมากเกินไป ๗. ปรับความสูง - ต่ำของหมอนหนุนให้รองรับพอดีกับคอ ๘. ปรับความสูง - ต่ำของโต๊ะ-เก้าอี้ที่ทำงานให้นั่งแล้วสบาย หรือรู้สึกเมื่อยน้อยที่สุด ๙. ดูแลเรื่องอาหารการกิน ควรรับประทานอาหารที่มีกากสูง

พยาธิสรีรวิทยา

ขณะนี้ยังไม่ทราบว่า โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังนั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร แต่พบว่าไม่เกี่ยวกับ การอักเสบของกล้ามเน ื้อหรือเส ้นประสาท เช ื่อก ันว่ากล้ามเน ื้อตอบสนองไวผิดปกติต ่อส ิ่งเร ้า

Page 4: โรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง (Myofacial ...speciallampang.go.th/pdf/Special Education Articles...ถ าปวดร นแรงผ ป

หรือปัจจัยชักนำต่างจากกลไกการเกิด fibromyalgia syndrome ที่เชื่อว่าความผิดปกติอยู่ที่ระบบประสาทกลาง ไวต่อการรับรู้ผิดปกต ิส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเมตาโบลิสมในเซลล์กล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรภายหลัง

การบริหารกล้ามเนื้อ

วัตถุประสงค์: เพื่อลดอาการปวดและป้องกันไม่ให้โรคเกิดซ้ำ แบ่งออกเป็น ๑ . การบริหารเพ ื่อย ืดกล ้ามเน ื้อ (stretching exercise) ควรให ้ผ ู้ป ่วยเร ิ่มทำต ั้งแต ่

ระยะแรกเพื่อตัด vicious cycle ของอาการปวด การยืดกล้ามเนื้อโดยเฉพาะตำแหน่งที่มีอาการปวดจะช่วยบรรเทาอาการปวดได้มาก

๒. การบริหารเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (strengthening exercise) ต้องทำควบคู่ไปกับการบริหารเพื่อยืดกล้ามเนื้อเสมอ การเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อจะช่วยป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อบาดเจ็บง่ายขณะใช้งาน

๓. การออกกำลังกายชนิดแอโรบิก เป็นการรกัษาในระยะยาว เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ของร่างกายและระบบไหลเวียนเลือด การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยลดอุบ ัต ิการณ ์ ของการเกิดโรคปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังลงได ้

สรุป

โรคปวดกล ้ามเน ื้อเร ื้อร ัง เป ็นโรคท ี่พบบ ่อยและถ ือเป ็นป ัญหาสาธารณส ุขท ี่สำค ัญ ของประเทศ โรคนี้เป็นโรคที่จัดได้ว่ารักษาให้หายขาดและป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำได้หากผู้ป่วยได้รับคำแนะนำและฝึกฝนให้รู้จักวธิีการปฏิบตัิตัวที่ถูกต้อง ความสูญเสียทางเศรษฐกิจเกิดจากความล้มเหลว ในการรักษา เนื่องจากแพทย์มีเวลาให้กับผู้ป่วยน้อยเกินไปมุ่งแต่จะใช้ยาเพื่อบรรเทาอาการปวดเท่านั้น ความสำเร็จของการรักษาอยู่ท ี่แผนการรักษาในระยะยาวซึ่งจะต้องครอบคลุมปัญหาของผู้ป ่วย อย่างครบถ้วนโดยเฉพาะปัจจัยชักนำที่ทำให้เกิดโรค