31
รร.รร.รรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร บบบบบ 2 บบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบ รรรรรรรรรร 352323 รรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร (Community and Agricultural Development) รร.รร.รรรรร รรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร

รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

  • Upload
    oihane

  • View
    70

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กระบวนวิชา 352323 การ พัฒนาชุมชนและการพัฒนาการเกษตร ( Community and Agricultural Development). บทที่ 2 ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชน. - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

Page 1: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

รศ.ดร.สรุพล เศรษฐบุตรภาควชิาสง่เสรมิและเผยแพรก่ารเกษตร คณะเกษตรศาสตร ์มหาวทิยาลัยเชยีงใหม่

บทท่ี 2 ความเขา้ใจเก่ียวกับชุมชน

กระบวนวชิา 352323 การพฒันาชุมชนและการพฒันาการเกษตร

(Community and Agricultural Development)

รศ.ดร.สรุพล เศรษฐบุตร ภาควชิาเศรษฐศาสตรเ์กษตรและสง่เสรมิเผยแพรก่ารเกษตร คณะเกษตรศาสตร ์มหาวทิยาลัยเชยีงใหม่

Page 2: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ความเขา้ใจเก่ียวกับชุมชน ความเป็นมาของชุมชน ความหมาย องค์ประกอบ โครงสรา้ง ประเภท หน้าท่ี การต้ังถ่ินฐาน

Page 3: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ประวติัประชากรมนุษย์ (Human population history)

Homo habilis(ความสามารถในการใชม้อื ใช ้Simple stone tools)

3 ล้านปีมาแล้ว

Homo erectus(ลำาตัวตรง อพยพสูยุ่โรป เอเชยี เรยีกวา่

Neanderthal man)

กวา่ 1 ล้านปีมาแล้ว

Homo sapiensมนุษยยุ์คใหม ่หรอืยุคปัจจุบนั พบในอัฟรกิา

1.25 ล้านปีมาแล้ว

Page 4: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

Homo sapiens อพยพสู ่ยุโรป เอเชยี ออสเตรเลีย

40,000-100,000 ปีมาแล้ว

อพยพแพรก่ระจายไปทัว่โลกประชากรประมาณ 10 ล้านคน

13,000 ปีมาแล้ว

จำานวนประชากรมนุษย ์600 ล้านคน

300 ปีท่ีผ่านมา(ค.ศ. 1700)

จำานวนประชากรมนุษย ์6,700 ล้านคน

ปัจจุบนั (ค. ศ. 2009)

จำานวนประชากรมนุษย ์1,600 ล้านคนจำานวนประชากรมนุษย ์

2,500 ล้านคน

ค.ศ. 1900ค.ศ. 1950

http://www.worldometers.info/population/

Page 5: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

Human activities(Energy, Material,

information)

Ecosystem services(Energy, Material,

Information)

Social system

Ecosystem

ภาพแสดงปฏิกิรยิาสมัพนัธ(์Interaction)ระหวา่ง Human ,Social system กับ Ecosystem

-Knowledge-Technology-Social organization-Values-Population

-Plants -Animal-Air -Water-Soil -Human built structure-Micro-organism

Page 6: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ความหมายชุมชนกลุ่มชนท่ีอยูร่ว่มกันในพื้นท่ีใดพื้นท่ีหนึ่ง รวมถึงพื้นท่ีทำากินท่ีจะต้องออกไปทำากิจกรรมนัน้อยา่งต่อเน่ืองและผูกพนักับชุมชนท่ีอยูอ่าศัย

คนในชุมชนนัน้มกีารใชป้ระโยชน์จากทรพัยากรและการการบรกิารทางสงัคมรว่มกัน

มคีวามผูกพนัในทางเชื้อชาติ เผ่าพนัธุ ์ศาสนาเดียวกัน จนสามารถบง่บอกลักษณะสำาคัญของชุมชนนัน้ได้

Page 7: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

1. ความหมายเก่ียวกับชุมชน (Meaning of The Community)

1.1 “ ชุมชน ”(Community) หมายถึง หมู่ชน, กลุ่มคนท่ีอยูร่วมกันเป็นสงัคมขนาดเล็ก อาศัยอยูใ่นอาณาบรเิวณเดียวกัน และมผีลประโยชน์รว่มกัน

(ราชบณัฑิตยสถาน.2525. พจนานุกรมฉบบัราชบญัฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ: ราชบณัฑิตยสถาน)

Page 8: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

1.2 “ชุมชน หมายถึง” การท่ีคนจำานวนหน่ึงท่ีอาศัยอยูพ่ื้นท่ี

แห่งหน่ึง มคีวามเชื่อผลประโยชน์ กิจกรรม

และมคีณุสมบติัอ่ืนๆ ท่ีคล้ายคลึงกัน คณุลักษณะเหล่านี้มลัีกษณะเด่นเพยีงพอท่ีจะทำาให้สมาชกินัน้ ตระหนัก และเก้ือกลูกัน (Mask S. Homan , 1994: 82 อ้างใน ปารชิาติ, 2543: 26) ปารชิาติ วลัยเสถียร และคณะ. 2543.กระบวนการและเทคนิคการทำางานของ นักพฒันา. กรุงเทพ: สำานักงานกองทนุสนับสนุนการวจิยั. หน้า 26

Page 9: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

1.3 “ชุมชน หมายถึง” กลุ่มทางสงัคมท่ีอยูอ่าศัยรว่มกันในอาณาบรเิวณเดียวกัน เชน่ ครอบครวั ละแวกบา้น หมูบ่า้น ตำาบล หรอืเรยีกเป็นอยา่งอ่ืน

มคีวามเก่ียวขอ้งกันสมัพนัธกั์น มกีารติดต่อสื่อสารและเรยีนรูร้ว่มกัน มคีวามผูกพนั เอ้ืออาทรกันภายใต้บรรทัดฐานและวฒันธรรมเดียวกัน รว่มมอืและพึง่พา อาศัยกัน เพื่อบรรลวุตัถปุระสงค์และเป้าหมายรว่มกัน

(สนธยา พลศร.ี 2545. พมิพค์รัง้ท่ี 4. ทฤษฎีและหลักการพฒันาชุมชน. กรุงเทพ: โอเดียนสโตร.์ หน้า 22)

Page 10: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

1.4 “ชุมชน หมายถึง” เป็นหน่วยของสงัคมหรอืหน่วยทางการ

ปกครองขนาดเล็กในระดับพื้นท่ี มกีารรวมกันของกลุ่มคนจำานวนหนึ่งมาอาศัย

อยูร่วมกันในพื้นท่ีแห่งหนึ่งเพื่ออาศัยทรพัยากรธรรมชาติในบรเิวณนัน้ในการดำารงชวีติ โดยใชท้รพัยากรเพื่อการผลิต

มกีารกำาหนดรูปแบบความสมัพนัธซ์ึง่กันและกันขึน้

มอีงค์กร หรอื สถาบนัของชุมชนและกฎเกณฑ์ต่างๆ รวมถึง กลุ่มความสนใจ (ชมรม) กลุ่มวฒันธรรม และศาสนา สมาคมอนุรกัษ์หรอืพฒันาสงัคม/ กลุ่ม

(ชยนัต์ วรรธนะภติู. 2536. “การกำาหนดกรอบคิดในการวจิยั" .ใน อุทัย ดลุยเกษม, คู่มอืการวจิยัเชงิคณุภาพเพื่อการพฒันา.หน้า 44. กรุงเทพ: สถาบนัวจิยัและพฒันา มหาวทิยาลัยขอนแก่น)

Page 11: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

1.5 “ชุมชน หมายถึง” กลุ่มบุคคลหลายๆ กลุ่มมารวมกันอยู ่ใน

อาณาเขต ภายใต้กฎหมายหรอืขอ้บงัคับเดียวกัน มกีารสงัสรรค์กัน มคีวามสนใจรว่มกัน และ

มผีลประโยชน์คล้ายๆ กัน มแีนวพฤติกรรมเป็นอยา่งเดียวกัน เชน่

ภาษาพูด ขนบธรรมเนียม ประเพณี หรอืพูดอีกอยา่งหน่ึง คือ มวีฒันธรรมรว่มกันนัน่เอง

(จรีพรรณ กาญจนะจติรา, 2525: 11 อ้างในขบวน พลตร,ี 2529: 1) ทฤษฎีและหลักการพฒันาชุมชน. สกลนคร:วทิยาลัยครูสกลนคร. หน้า 1

Page 12: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

จากความหมายต่างๆ ของชุมชนๆ พอท่ีจะสรุปลักษณะท่ีสำาคัญของชุมชนได้ดังต่อไปน้ี

1. เป็นการรวมกันของกลุ่มคน (Group of People) ในรูปของกลุ่มสงัคม กล่าวคือ สมาชกิมีการปฏิบติัต่อกันทางสงัคม หรอืมปีฏิกิรยิา โต้ตอบต่อกันทางสงัคม (Social Interaction) เอ้ืออาทรต่อกันและพึง่พาอาศัยซึง่กันและกัน

2. มอีาณาบรเิวณ ( Area ) สำาหรบัเป็นท่ีอยูอ่าศัย หรอืประกอบกิจกรรม ต่างๆ ของสมาชกิและกลุ่มสงัคม ขนาดของชุมชน อาจมขีนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ขึน้อยูกั่บจำานวนของสมาชกิในกลุ่มสงัคม

3. มกีารจดัระเบยีบทางสงัคม ( Social Organization ) เพื่อควบคมุความสมัพนัธข์องสมาชกิในชุมชน เชน่ บรรทัดฐานทางสงัคม สถาบนัทางสงัคม ฯลฯ

Page 13: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

4. สมาชกิมคีวามสมัพนัธกั์นทางสงัคม ( Social Relationship ) ม ี การติดต่อสมัพนัธกั์น มกิีจกรรมรว่มกัน มคีวามสนิทสนมกัน มคีวามสมัพนัธกั์นแบบพบปะกัน มีวถีิชวีติคล้ายคลึงกัน (Sense of commonality among a group of people) มมีติรภาพ ความเอ้ืออาทร ความมัน่คงและความผูกพนั มวีฒันธรรมประเพณีของตนเอง

5. สมาชกิมวีตัถปุระสงค์และเป้าหมายในการดำาเนินชวีติรวมทั้ง ได้รบัผลกระทบท่ีเกิดขึน้รว่มกัน (Common Interest)

6. สมาชกิมรีะบบการติดต่อสื่อสารและการเรยีนรูร้ว่มกัน เพื่อทำาให้เกิดความเขา้ใจในสิง่ต่างๆ รว่มกัน

Page 14: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

สรุป ชุมชนจะต้องประกอบด้วยลักษณะ 5 ประการ คือ

กลุ่มคนท่ีมาอยูร่วมกันในพื้นท่ี หรอืบรเิวณหนึ่ง (Geo-graphic area )

สมาชกิมกีารติดต่อระหวา่งกันทางสงัคม ( Social Interaction )

สมาชกิมคีวามสมัพนัธต่์อกันทางสงัคม (Social Relationship )

มคีวามผูกพนัทางด้านจติใจต่อระบบนิเวศ (Psycho-Ecological Relationship )

มกิีจกรรมสว่นรวม เพื่อใชป้ระโยชน์ ( Central activities for unilization )

Page 15: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

องค์ประกอบของชุมชน องค์ประกอบด้าน

มนุษย(์Human Component)

องค์ประกอบท่ีมนุษยส์รา้งขึน้(Man-Made Component)

องค์ประกอบท่ีธรรมชาติสรา้งขึน้(Natural Component)

Page 16: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ตัวบงการหรอืกลไกท่ีควบคมุหรอืสนับสนุนองค์ประกอบทั้ง 3 ให้มีการพฒันาหรอืเปลี่ยนแปลงคือ ระบบการปกครอง

ระบบเศรษฐกิจ ระบบการศึกษา ศาสนา ตัวบงการอ่ืน ๆ เชน่ สภาพแวดล้อมและ

การเปลี่ยนแปลง

Page 17: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

โครงสรา้งของชุมชน

โครงสรา้งด้านสงัคมมนุษย์1. บุคคล 2. กลุ่มคน

3. สถานภาพและบทบาท4. ระบบสงัคม 5. สถาบนัสงัคม

6. การแบง่ชัน้ทางสงัคมโครงสรา้ทางสภาพแวดล้อมธรรมชาติ1. ด้านกายภาพ2. ด้านภมูอิากาศ 3. ด้านชวีวทิยาและความหลากหลายของชวีติ

Page 18: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

อิทธพิลของสภาพแวดล้อมธรรมชาติต่อชุมชน การเลือกถ่ินฐานหรอืทำาเล รูปแบบการตั้งถ่ินฐาน ลักษณะบา้นเรอืนท่ีอยูอ่าศัย ลักษณะการประกอบอาชพี การอพยพเคลื่อนยา้ยถิ่นฐาน การกำาหนดขอบเขตของชุมชน ลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณี วฒันะธรรม

ความเชื่อ นิสยั

Page 19: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ประเภทของชุมชน1.แบง่ตามจำานวนพลเมอืง

หมูบ่า้นเล็ก(Hamlet) พลเมอืงน้อยกวา่ 250 คน

หมูบ่า้น(Village) พลเมอืง 250-1,000 คน

เมอืง(Town) พลเมอืง 1,000-5,000 คน

นครเล็ก(City) พลเมอืง 5,000-100,000 คน

นครใหญ่(Metropolis) พลเมอืง 100,000-1,000,000 คน

มหานคร(Great Metropolis)พลเมอืง มากกวา่ 1,000,000 คน

Page 20: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

2.แบง่ตามพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ชุมชนหัตกรรม ชุมชนอุตสาหกรรม ชุมชนเกษตร ชุมชนชนบท ชุมชนศูนยก์าร

ศึกษา ชุมชนเหมอืงแร ่

Page 21: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

3.แบง่ตามลักษณะพเิศษของประชากร นิคมต่าง ๆ เชน่ นิคมชาวเขา หมูบ่า้นสหกรณ์ต่างๆ หมูบ่า้นจดัสรร ทาวเฮ้าส ์

คอนโดมเินียม บา้นญวน บา้นแขก

Page 22: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

4. แบง่ตามลักษณะความสมัพนัธข์องบุคคลและองค์ประกอบในระบบนิเวศ

นักสงัคมวทิยาได้แบง่ เป็น2 ประเภท • ชุมชนชนบท(Rural Community)

• ชุมชนเมอืง(Urban Community)

Page 23: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ชุมชนชนบท(Rural Community)

หมายถึง สว่นท่ีอยูน่อกเขตเมอืงหรอืเขตเทศบาล มปีระชากรท่ีเล้ียงชพีด้วยการเกษตรกรรมเป็นสำาคัญ มรีะเบยีบสงัคมท่ีสอดคล้องกับลักษณะชุมชนแบบหมูบ่า้น ตั้งบา้นเรอืนเป็นกลุ่มก้อน หรอืกระจดักระจายตามลักษณะภมูปิระเทศหรอืตามประเพณีนิยม

Page 24: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

ชุมชนเมอืง(Urban Community)

คือถ่ินต้ังรกรากของประชากรท่ีมีความหลากหลายทางด้านสงัคม มีขนาดใหญ่และหนาแน่น

เป็นสงัคมบรโิภคมากกวา่สงัคมผลิต (สงัคมชนบท)

สมาชกิมอีาชพีหลากหลายเน้นด้านการบรกิาร เศรษฐศาสตร ์การศึกษา และการปกครอง แต่ขาดความสมัพนัธร์ะดับบุคคล

Page 25: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

Differentiation of Rural and Urban communityCharacteristics Rural community Urban community Population Aspest 1.Size Low High 2.Density Low High 3.Age Low High 4.Culture Consolidation Differentiation 5.No. of Children High Low

Page 26: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

Characteristics Rural community Urban community 6.No. of Male Low High 7.Age of marriage Low(17-25 years) High(25-35 years) 8.Incomes Low High 9.Occupation Mainly agriculture Diversity 10.Sustainable income High low 11.Residence size Large small 12.Natural environment Good Not good 13.Family size High Low

Page 27: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

Characteristics Rural community Urban community 14.Family Type Extended family Nuclear family 15.Culture Strong Not strong 16.Social relation Strong Not strong

Page 28: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

หน้าท่ีของชุมชนนักสงัคมวทิยาได้แบง่หน้าท่ีของชุมชนออก

เป็น 4 ประการคือ การบรกิารขัน้ต้นสำาหรบัสมาชกิในชุมชน

เชน่ สถานีอนามยั โรงเรยีน สถาบนัทางศาสนา เป็นต้น

จดัให้มสีิง่อำานวยความสะดวกเบื้องต้น เชน่ ถนน นำ้าใช ้ ไฟฟา้ สถานท่ีพกัผ่อน สนามกีฬา เป็นต้น

จดัให้มหีน่วยปกครองท้องถ่ิน จดัให้มกีารรกัษาคุ้มครองสวสัดิภาพของ

สมาชกิ ทั้งชวีติและ ทรพัยส์นิ

Page 29: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

การต้ังถ่ินฐานของชุมชนลักษณะและรูปแบบม ี3 ลักษณะ โดยถือระยะเวลาของการอยู่

อาศัยคือ การต้ังถ่ินฐานแบบชัว่คราว การต้ังถ่ินฐานแบบก่ึงถาวร การต้ังถ่ินฐานแบบถาวรรูปแบบการตั้งถ่ินฐาน ม ี2 อยา่งคือ แบบมกีารวางแผน(Planned

Settlement) เชน่ นิคมต่างๆ แบบไมม่กีารวางแผน(Unplanned

Settlement) เชน่ หมูบ่า้นเกษตรกรรม

Page 30: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

รูปแบบของการตั้งถ่ินฐานชุมชนเกษตรเป็นแบบไมม่กีารวางแผน ม ี3

ประเภทคือ การต้ังบา้นถ่ินฐานอยูใ่นท่ีนาโดด

เด่ียว(Isolated Farmstead) ต้ังเป็นกลุ่มหมูบ่า้น

เกษตรกรรม(Farm Village) ต้ังบา้นเรอืนอยูต่ามเสน้ทาง

คมนาคม(Line Village) เชน่ ทางนำ้า ตามรมิฝ่ังแมน่ำ้า ทางบก ตามถนน

Page 31: รศ.ดร. สุ รพล เศรษฐ บุตร ภาควิชา ส่งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะ เกษตรศาสตร์

การต้ังถ่ินฐาน• ปัจจยัผลักดัน เชน่ความเสื่อมโทรม

ของสภาพแวดล้อม• ปัจจยัดึงดดูเชน่ สภาพแวดล้อมดีกวา่

คำาชกัชวน