10
ขอเท็จจริงและความรูสําหรับประชาชน กรณี ปญหาพื้นทางสนามบินสุวรรณภูมิ ดิฉันไดรับบทความจากผูไมประสงคออกนามทานหนึ่ง ที่มีจุดประสงคที่จะใหขอเท็จจริง และสาระที่จะเปนวิทยาทานแก ประชาชนที่ตองการทราบความจริงเกี่ยวกับกรณีปญหาพื้นทางสนามบินสุวรรณภูมิ โดยมิไดมีจุดประสงคที่จะซ้ําเติม หรือ แกขอกลาวหาใหแกผูใด รายงานเบื้องตน 1. เกิดรอยแตกและการยุบตัวเปนรองลอ (rutting) ที่บริเวณทางขับ(taxiway) และ ทางขับเขาหลุมจอด (taxilane) เปน จํานวนหลายจุด โดยเริ่มปรากฏประมาณ 3 อาทิตยหลังจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปดใช และเกิดเพิ่มอีกจํานวนมาก โดยเฉพาะบริเวณทางขับเขาหลุมจอด ในเบื้องตน ไมพบมีรอยแตกลักษณะเดียวกันที่ทางวิ่ง (runway) แตภายหลังพบวา บริเวณหัว runway บริเวณหัวโคงทางเชื่อมจากทางขับเพื่อบินขึ้น ที่ผิวแอสฟลท เกิดการทนแรงตะกุยของลอเครื่องบินไม ไหว ผิวจึงถูกดันเยิ้มไปอีกขางหนึ่ง

Taxiway

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: Taxiway

ขอเท็จจริงและความรูสําหรับประชาชน กรณี ปญหาพื้นทางสนามบินสุวรรณภูมิดิฉันไดรับบทความจากผูไมประสงคออกนามทานหนึ่ง ที่มีจุดประสงคที่จะใหขอเท็จจริง และสาระที่จะเปนวิทยาทานแกประชาชนที่ตองการทราบความจริงเกี่ยวกับกรณีปญหาพื้นทางสนามบินสุวรรณภูมิ โดยมิไดมีจุดประสงคที่จะซ้ําเติม หรือแกขอกลาวหาใหแกผูใด

รายงานเบ้ืองตน

1. เกิดรอยแตกและการยุบตัวเปนรองลอ (rutting) ที่บริเวณทางขับ(taxiway) และ ทางขับเขาหลุมจอด (taxilane) เปนจํานวนหลายจุด โดยเริ่มปรากฏประมาณ 3 อาทิตยหลังจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปดใช และเกิดเพิ่มอีกจํานวนมากโดยเฉพาะบริเวณทางขับเขาหลุมจอด ในเบื้องตน ไมพบมีรอยแตกลักษณะเดียวกันที่ทางวิ่ง (runway) แตภายหลังพบวาบริเวณหัว runway บริเวณหัวโคงทางเชื่อมจากทางขับเพื่อบินขึ้น ที่ผิวแอสฟลท เกิดการทนแรงตะกุยของลอเครื่องบินไมไหว ผิวจึงถูกดันเยิ้มไปอีกขางหนึ่ง

Page 2: Taxiway

2. รายการของจุดที่เกิดปญหา จนถึงวันที่ 25 มกราคม 2550 ไดปรากฏในตารางขางลางนี้

3. เพื่อความเขาใจแกทานผูอาน ขอใหดูภาพ แสดงความแตกตางระหวาง ทางวิ่ง (Runway) กับ ทางขับ (Taxiway)

Page 3: Taxiway

• ภาพของทางขับเขาหลุมจอด (Taxi lane) และ ลานจอด (Apron)

• แผนผังและการเรียกชื่อของทาอากาศยาน อางอิงไดจากรูปขางลางนี้

Page 4: Taxiway

4. โครงสรางของพื้นทางประเภททางวิ่ง ทางขับ และ ทางขับสูหลุมจอด เปนแบบ Flexible Pavement โดยใชแอสฟลท 3ชั้น หนา 33 ซม วางบนฐานซีเมนต (Cement Treated Base) หรือ CTB หนา 72 ซม ทั้งหมดนี้ ปูบนดินอัดแนนโดยการเรงดึงน้ําใตดินออก (consolidation) โดยวิธี PVD (Prefabricate Vertical Drain) โดยมีชั้นทราย Sand Blanket หนาประมาณ1.5 ม ซึ่งเปนชั้นที่สามารถระบายน้ําที่อาจไหลตามทอ PVD ที่ถูกทิ้งคางไวได โครงสรางพื้นทางที่วา สามารถดูไดจากรูป

Page 5: Taxiway

5. วิศวกรของ ทอท. ไดทําการเจาะทดสอบกอนตัวอยาง (coring) เสนผาศูนยกลาง 100 มม ตลอดความหนาของชั้นแอสฟสท 3 ชั้น บริเวณที่มีปญหาที่ทางขับ พบวา กอนตัวอยางบริเวณ 2 ชั้นบน ยังอยูในสภาพสมบูรณ แตชั้นลางสุด คือ ชั้นbase course หนา 230 มม. มีสภาพแตกหลุดรอนออกจากกัน โดยเฉพาะชั้นลางสุดพบวา มีน้ําแทรกอยู (ดูภาพแสดง)จากการทดสอบในหองทดลองของผูรับเหมา IOT JV เพื่อหาสัดสวนผสมของ Asphaltic concrete โดยวธิีสารละลายสกัดพบวา สัดสวนผสมของยางแอสฟลทและสัดสวนคละ (gradation) ของวัสดุหิน อยูในเกณฑที่กําหนด

Page 6: Taxiway

6. จากการไถเปดชั้นแอสฟลทออก เพื่อตรวจสอบชั้น CTB พบวา ผิวหนาอยูในสภาพที่ใชงานไดดี ไมมีความเสียหายใดๆเวนแตมีน้ําซึมขึ้นมาตรงรอยตะเข็บ (joint) รอยตะเข็บนี้ เกิดจากการออกแบบเพื่อให CTB ขยายตัวได โดยการกอสรางCTB ไดทําเปนชั้นๆ รวม 4 ชั้นๆละ 180 มม. จึงมีสมมติฐานวา ถามีน้ําขังอยูบริเวณทรายชั้น Sand Blanket ชั้นนี้ ก็เปรียบเหมือนเปนฟองน้ํา เมื่อมีน้ําหนักของลอเครื่องบินกดดานบน ดวยความดนัใตลอประมาณ 14 bar น้ําหนักนี้ถายมาถึงผิวลางของ CTB จะเหลือประมาณ 1 bar ความดันนี้ ก็นาจะพอเพียงที่จะสงใหน้ําซึมไปตามรอยตะเข็บ ไปถึงชั้น basecourse ทําใหแอสฟลทชั้นนี้ ตองแขอยูในน้ําเปนระยะเวลาหนึ่ง ก็จะเส่ือมสภาพในลักษณะที่ภาษาชางเรียกวา AsphaltStriping ได สวนบริเวณที่ไมไดรับน้ําหนักลอเครื่องบินมาก ความเสียหายก็อาจจะไมเกิด

Page 7: Taxiway

ชวงกอสราง

การปูชั้นฐานซีเมนต (CTB) หนา 720 มม. ทําโดยปูเปน 4 ชั้น ชั้นละ 180 มม แตละชั้น มีการตัดเปนรอยตอ (joints) เปนระยะหางชวงละ 5 เมตร ซึ่งรอยตอนี้ พบวา มีน้ําใตดินซึมขึ้นมาเปนรอยอยางเห็นไดชัด

Page 8: Taxiway

7. สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ตั้งสมมติฐานเบื้องตนวา ความเสียหายในชั้น asphaltic base course ซึ่งตามขอเท็จจริง พบวา มีน้ําแทรกอยูในชองวางของกอนตัวอยาง น้ํานี้จึงนาจะมาจากน้ําใตดิน ที่ซึมผานชั้น cement treatedbase ขึ้นมา ทําใหคุณสมบัติในการรับน้ําหนักของ asphaltic base course เสียไป จนเปนสาเหตุของความเสียหายที่ปรากฏบนผิวทางขับและทางขับสูหลุมจอดดังกลาว

Page 9: Taxiway

8. สวนความเสียหายที่เกิดบนบริเวณหัวทางวิ่ง เปนความเสียหายที่เกิดที่ผิวบนของพื้นทางเทานั้น และเกิดในบริเวณที่เครื่องบินกําลังเลี้ยวเขาจากลูทางขับไปสูลูทางวิ่ง จึงทําใหเกิดแรงเฉือนที่ผิวหนาของทางวิ่ง แตปญหาดังกลาวไมเปนสาระตอความปลอดภัยของการบินขึ้นหรือบินลง และแกไขไดไมยาก เขาใจวา ไดรับการซอมแซมจากผูรับเหมาไปเรียบรอยแลว

ขาวที่ออกไป ทําใหประเทศไทยเสียหายมาก จากตารางนี้ ความเสียหายจะเกิดมากคือ ทางขับยอยที่จะไปหลุมจอด taxi lane แตหนังสือพิมพ จะเขียนปนกันไปหมด จนคนเขาใจวา runway แตกราวมากมาย เพราะถาrunway แตกราว จะอันตรายมาก

Page 10: Taxiway

ในเอกสารรายงานเบื้องตนของฝายเจาหนาที่ มีขอหนึ่งที่นาสนใจดังนี้

"การแกไขปญหาแบบถาวร จําเปนตองมีการควบคุมระดับน้ําในระบบระบายน้ํา drainage system ทั้งหมดในทาอากาศยาน โดยจําเปนตองลดระดับน้ําในรองระบายน้ําใหมีระดับต่ํากวาระดับช้ัน cement treated base ตลอดเวลา ทั้งนี้ ในคูมือควบคุมระบบการระบายน้ําทั้งหมดและรายงานการออกแบบของผูออกแบบทางวิ่ง ทางขับและลานจอดอากาศยาน ไดกําหนดไวเปนขอปฎิบัติอยูแลว"

แปลวา มีคูมือกําหนดเรื่องน้ําชัดเจน การปฎิบัติงานชวงน้ําทวม คงไมไดทําตามคูมือเปนแน

http://www.pantip.com/cafe/rajdumnern/topic/P5094870/P5094870.html