การศึกษา - moe.go.th · PDF fileการศึกษา ผลการใช...

Preview:

Citation preview

การศึกษา

ผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

นางสุมาลิน ทองเจือ คร ู คศ.3

โรงเรียนบานบางจัน อําเภอตะก่ัวทุง สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาพังงา

รายงานการวิจัยในช้ันเรียน หลักสูตรการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู

รหัสนักศึกษา 491003000007 ภาคใต จังหวัดพังงา

ชื่องานวิจัย การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

ช่ือนักศึกษา นางสุมาลิน ทองเจือ ช่ือโรงเรียน / สถานศึกษา โรงเรียนบานบางจัน ช่ืออาจารยท่ีปรึกษา นางสาวนวลจติ ถิรพัฒนพันธ ปท่ีทําการวจิยั 2550

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวตัถุประสงคเพ่ือ (1) ทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก (3) ศึกษาความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน โดย สมมุติฐานการวิจัย คือ (1) แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80 / 80 (2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดานการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบันของนักเรียนสูงขึ้นหลังการใช แบบฝก (3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกท่ีใชในระดับเฉล่ียมากขึ้นไป ประชากร เปนนักเรียนโรงเรียนบานบางจัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 8 คน เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก (1) แบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน (2) คูมือการใชแบบฝกฯ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรยีนและหลังเรียน (4) แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คา t – test ผลการศึกษาพบวา

1. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีคะแนนแบบฝกระหวางเรยีนมีคาเฉล่ียรอยละ 91.54 สวนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเฉล่ียรอยละ 82.50 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 สูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนหลังใชแบบฝกสูงกวากอนใชแบบฝก มีคาเฉล่ียของคะแนนกอนเรียนเทากับ 6 คาเฉล่ียของคะแนนหลังเรียนมีคาเทากับ 8.25 ผลการทดสอบ

ความแตกตางของคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนสรุปวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนกัเรียนท่ีเรยีนรูดวยแบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบัน ช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 3 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 เปนไปตามสมมุตฐิาน

3. ความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ียเทากับ 4.72

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ไดรับความอนเุคราะหชวยเหลือและใหคําแนะนําอยางดียิ่งจาก นางสาวนวลจิต ถิรพฒันพนัธ ศกึษานเิทศกสํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาพงังา ซึง่เปนอาจารยทีป่รึกษา ประจาํหลักสูตรการวิจัยเพื่อพฒันาการเรียนรู (ภาคใต) ผูวิจัยขอขอบพระคณุไว ณ โอกาสนี ้

ประโยชนและคุณคาของงานวิจัยในชั้นเรียนเลมนี้ คงเปนประโยชนแกผูรวมวิชาชีพครูและผูสนใจทีจ่ะรวมกนัพัฒนาคุณภาพการศกึษาตามแนวทางการปฏิรูปการศกึษา อันจะชวยพฒันาคุณภาพการจดัการเรียนการสอนใหมปีระสิทธภิาพสูงสุดตอไป สุมาลิน ทองเจือ มีนาคม 2550

สารบัญตาราง หนา

ตารางท่ี 1 แสดงผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49 ตารางท่ี 2 แสดงผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนกอนเรียน และหลังเรียน 50 ตารางท่ี 3 แสดงผลความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝก 51

สารบัญภาพ

หนา แผนภาพท่ี 2.1 แสดงกรอบแนวคดิและทฤษฎีในการศึกษา 35 แผนภาพท่ี 3.1 แสดงขั้นตอนการสรางและทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝก 40 แผนภาพท่ี 3.2 แสดงขั้นตอนการสรางแผนการเรียนรู 42 แผนภาพท่ี 3.3 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ 43 แผนภาพท่ี 3.4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม 45 แผนภาพท่ี 3.5 แสดงการวิเคราะหเครื่องมือและสถิติท่ีใช 48

สารบัญ หนา บทคัดยอ ข กิตตกิรรมประกาศ ง สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการวจิยั 3 สมมุติฐานของการวิจัย 3 ขอบเขตของการวจิยั 3 นิยามคําศัพท 4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 5 บทที่ 2 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ 6 แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 7 แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 14 ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน 21 แนวคิดเกี่ยวกับแบบฝก 22 เอกสารท่ีเกี่ยวของกับความพึงพอใจ 31 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก 32 บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจยั 36 ประชากรและกลุมตวัอยาง 36 รูปแบบการวจิยั 36 เครื่องมือท่ีใชในการวจิัย 37 การเก็บรวบรวมขอมูล 45 การวิเคราะหขอมูล 45 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 49 การวิเคราะหประสิทธิภาพของแบบฝกฯ 49 การวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฯ 50

การวิเคราะหผลการศึกษาความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอการใชแบบฝกฯ 51 บทที่ 5 สรปุการวิจยั อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 52 สรปุการวิจยั 52 อภิปรายผล 54 ขอเสนอแนะ 55 บรรณานกุรม 57 ภาคผนวก 62 1 เครื่องมือท่ีเปนนวัตกรรม 62 2 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 104 3 ตารางแสดงคะแนน 113 ประวตัิผูวจิยั 116

บทท่ี 1 บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

พระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชาต ิพ.ศ.2542 มาตราท่ี 22 กาํหนดแนวทางในการจดัการเรียนการสอนไววา “ การจัดการศึกษาตองยึดหลัก ผูเรยีนทุกคนมีความสามารถในการเรยีนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรยีนมีความสําคัญ ” ( กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 21 ) กระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรยีนสําคัญท่ีสุด จึงเปนจดุมุงหมายในการศึกษาเพ่ือมุงพัฒนาคนและชีวิตใหเกิดประสบการณการเรียนรูเต็มความสามารถ สอดคลองกับความถนัด ความสนใจและความตองการของผูเรียน

ดวยเหตุผลดงักลาวขางตน การเรยีนรูภาษาไทยซ่ึงเปนทักษะพ้ืนฐานท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูของผูเรยีนท่ีจะตองไดรับการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ เพราะเปนวิชาพ้ืนฐานในการเช่ือมโยงสูการเรยีนรูในสาระการเรยีนรูอ่ืนๆ หากผูเรยีนมีพัฒนาการดานภาษาไทยออน จะสงผลกระทบตอกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ ไปดวย ดังนัน้การพัฒนาทักษะการเรยีนรูดานภาษาไทยจงึมีความจาํเปนอยางยิ่ง กระแสความหวงใยของคนไทยเกี่ยวกบัการเรียนการสอนภาษาไทยและการใชภาษาไทยไดปรากฏผลอยูเนื่องๆ โดยพบวา ผูเรยีนท่ีจบช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 บางคนยังอานหนังสือไมออกเขียนไมได ใชคําเขียนผิดความหมาย ผูเรียนในระดับมัธยมศึกษาบางคน มีปญหาเรื่องความเขาใจการอานและความออนดอยเรื่องการเขียน มีความสามารถทางภาษายังไมเพียงพอท่ีจะกาวไปสูการศึกษาในช้ันท่ีสูงขึ้น กอใหเกิดปญหาในการเรียนรู ความจาํเปนในการพัฒนาผูเรยีนตั้งแตระดบัช้ันประถมศึกษา โดยเฉพาะระดับชวงช้ันท่ี 1 (ป.1 -3 ) จึงเปนการสรางความเขมแข็งทางภาษาไทยใหแกผูเรียนเพ่ือใหสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการเรียนรู และพัฒนาตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือเปนการแกไขปญหาท่ีเกดิขึ้นในระหวางเรยีนใหแกผูเรยีน การฝกใหผูเรยีนไดเรียนรูซํ้าๆ หลายครั้ง ท้ังการฝกดวยตนเองหรือใหครูผูสอนคอยฝกฝนอยางตอเนื่อง จึงเปนส่ิงจําเปนและควรทําทันทีท่ีพบวาผูเรียนมีปญหาในการเรียนเนื้อหายอยๆ ในแตละเรื่อง หากปลอยไวตอนเนื้อหารวมหรือเนื้อหาใหญๆ ก็จะยิ่งสะสมปญหามากขึ้น ผูเรียนจะเกิดความเบ่ือหนาย ทอถอยและมีเจตคติท่ีไมดีตอวิชาภาษาไทยในอนาคต

การใชวิธีการสอนแบบเดิมๆ ไมมีส่ือในการเรียน ส่ือไมเราความสนใจ ขาดแรงจงูใจ ครูผูสอนมักจะนําเอาหนังสือ หรือแบบฝกหัดท่ีมีอยูท่ัวๆ ไปมาเปนคูมือการสอนโดยไมไดวิเคราะหถึงความเหมาะสม ซ่ึงบางอยางกใ็ชได แตบางอยางไมสอดคลองกับสภาพและปญหาของนักเรียน เชน ยากเกินไปหรอืงายเกินไป หากครูผูสอนสรางแบบฝกการอานและการเขียนขึ้นมาใชเอง โดยสรางจากสภาพปญหาท่ีเกิดจากการเรียนรูของนกัเรียน นาจะมีผลดกีวาการใชแบบฝกท่ีคนอ่ืนสรางให เกี่ยวกับเรื่องนีก้รมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2536 : คํานํา) ไดใหขอเสนอแนะไววา “ การจัดทําแบบฝกหัดเพ่ือพัฒนาทักษะทางภาษานัน้ ครูอาจคิดเพ่ิมเตมิขึน้เองและทําแบบฝกหัดเพ่ิมเติมได ” การท่ีนักเรียนไดเรียนเรื่องการอานและเขียนคําซ่ึงเปนปญหาการเรียนรูของผูเรยีนจากแบบฝกหัดบอยๆ จะทําใหนกัเรียนจดจําสามารถอานและเขียนคําเหลานั้นไดถูกตอง และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกจ็ะดขีึ้น ซ่ึงสอดคลองกับสุรางค จันทนเอม (2514: 30) ท่ีไดกลาวไววา “การท่ีมีแบบฝกหัดชวยใหผูเรยีนไดฝกซํ้า และการทบทวนในส่ิงท่ีฝกซํ้าอยูเสมอนั้นจะทําใหนักเรยีนจดจําในเรื่องท่ีเรียนได...” และกรรณกิาร ศุกรเวทยศิริ (2533: 2) ท่ีกลาววา “แบบฝกหัดเปนส่ือการเรยีนอยางหนึ่ง ครูสามารถนาํไปใชประกอบกจิกรรมการเรยีนการสอนได”

จากการทดสอบหลักเกณฑทางภาษากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ดานการอานและเขยีนคําของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานบางจนั ปรากฏผลไมนาพึงพอใจ โดยเฉพาะทักษะการอานและการเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน นักเรยีนสวนใหญเขยีนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ผิด ทําใหความหมายของคาํผิดไป เนือ่งจากไมไดรับการฝกฝนอยางตอเนื่อง ขาดส่ือในการฝกเฉพาะเรื่อง จึงสงผลใหนกัเรียนไมเขาใจหลักการอานและการเขียนรวมท้ังการนําคําไปใชใหตรงกบัรูปประโยคและความหมาย ผูสอนเห็นวาจําเปนตองแกไขอยางเรงดวน

จากท่ีกลาวมาสรุปไดวา การอานและการเขียนคําตางๆ ตามหลักเกณฑทางภาษาท่ีถูกตองมีความสําคัญเปนพ้ืนฐานในการเรียนภาษาและเรียนวิชาอ่ืนๆ ถาเดก็มีทักษะการอานและการเขยีนดียอมทําใหผลสัมฤทธ์ิการเรียนภาษาไทยดีไปดวย ครูจะตองฝกการอานและการเขียนตามหลักเกณฑทางภาษาท่ีถูกตองใหแกเดก็อยางถูกวธีิ โดยพยายามหาวิธีสอนและจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับนักเรียนแตละระดับ ควรจัดกิจกรรมในการสอนการอานและการเขียนคําใหเกิดความรูและสนุกสนาน การฝกอยางถูกวิธีเทานั้นท่ีจะทําใหเด็กเกิดความชํานาญคลองแคลววองไว และการฝกท่ีดนีั้นจะตองมีส่ือคือ แบบฝกท่ีมีคณุภาพ ดังนั้นผูวิจยัจึงสรางแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ขึ้นใชฝกกับนกัเรียนท่ีมีปญหาในเรื่องดังกลาว ซ่ึงผลท่ีไดนั้นจะเปนแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพ่ือแกปญหาท่ีนักเรียนอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ไมถูกตองใหไดผลดียิ่งขึ้น และยังสงผลใหคณุภาพผลสัมฤทธ์ิดานทักษะภาษาไทยของนกัเรียนดีขึน้กวาเดมิ

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร

รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

3. สมมติฐานการวิจัย 1. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร( ร หัน) และ บัน มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ 80 / 80 2. ทักษะการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบันของนกัเรียนสูงขึน้หลังการ

ใช แบบฝก 3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกท่ีใชในระดับเฉล่ียตั้งแตมากขึน้ไป 4. ขอบเขตการวิจัย 4.1 รูปแบบการวจิยั เปนการวิจยัเชิงทดลอง 4.2 ตัวแปรท่ีศึกษา ตัวแปรท่ีศึกษาในการวจิยัครั้งนี้ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 4.2.1 ตัวแปรตน คือ การจดัการเรียนการสอนโดยใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 4.2.2 ตัวแปรตาม คือ - ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

- ความพึงพอใจของผูเรียนท่ีมีตอแบบฝก 4.3 ประชากร เปนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานบางจัน

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 8 คน 4.4 ขอบขายเนื้อหา เรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บันสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 4.5 เครื่องมือในการวจิยั ประกอบดวย 1) แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ช้ันประถมศึกษา ปท่ี 3

2) แผนการจัดการเรียนรู( คูมือการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ) จํานวน 5 แผน แผนละ 1 ช่ัวโมง 3) แบบทดสอบกอนและหลังเรียน (ใชแบบทดสอบฉบับเดียวกัน จํานวน 10 ขอ) 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีแบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช

บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 5. นิยามคําศัพท

แบบฝก หมายถึง แบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ซ่ึงมีองคประกอบ ดังนี้ วตัถุประสงค แบบทดสอบกอนเรียน ใบความรู แบบฝกการอาน แบบฝกการเขียน แบบทดสอบหลังเรียน ประสิทธิภาพของแบบฝก ตามเกณฑ 80 / 80 หมายถึง นักเรียนทําแบบฝกในระหวางเรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 % และหลังการใชแบบฝกในการพัฒนา นักเรยีนมีคะแนนผลการทดสอบหลังเรียนไดคะแนนอยูในระดับ 80 %

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผูเรยีนมีความรูความเขาใจในการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน วดัเปนคะแนน โดยใชแบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

ความพึงพอใจของผูเรียน หมายถึง ความช่ืนชอบ / ช่ืนชม ความรูสึกท่ีมีความสุขในการเรียนรูเม่ือไดใชแบบฝกการอานและเขียนคาํท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ความนาสนใจ เนื้อหาสาระทําใหผูเรยีนมีความรูเพ่ิมขึน้ ซ่ึงแปลผลจากระดับเฉล่ีย จากแบบสอบถามความพึงพอใจ

6. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 6.1 ชวยพัฒนานักเรียนใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะในการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน 6.2 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนเพ่ือใชแกปญหาการเรียนรูใหกับผูเรียนในเนื้อหาตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6.3 เปนแนวทางในการพัฒนาการสอนใหผูเรยีนไดรับการแกปญหาท่ีถูกทาง และเพ่ิมทักษะเฉพาะดานท่ีเปนปญหาของผูเรยีนใหสูงขึ้น

6.4 เพ่ือเปนแนวทางสําหรับประยุกตใชในวชิาอ่ืน ๆ 6.5 เพ่ือเปนแนวทางสําหรับการวจิยัครั้งตอไป

บทท่ี 2 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

การวจิยัครั้งนี้ผูวิจยัไดตรวจสอบเอกสารวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ และกรอบความคดิ ทฤษฎีอันเปนพ้ืนฐานในการดําเนนิการวิจยั ดังนี ้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 1.1 ความหมายของการอาน 1.2 จุดมุงหมายของการอาน 1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนกัเรยีน 1.4 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการอาน 1.5 ความสําคัญของการอาน 1.6 ประโยชนของการอาน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน 2.1 ความหมายของการเขียน 2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขียนของนักเรยีน 2.3 องคประกอบสําคัญเกี่ยวกับการเขียน 2.4 ความสําคัญและประโยชนของการเขียน 3. ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน 4. แนวคิดเกี่ยวกับการฝก 4.1 ความหมายและความสําคัญของแบบฝกหรือแบบฝกหัด 4.2 ประโยชนของแบบฝก 4.3 จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางแบบฝก 4.4 ลักษณะของแบบฝกท่ีด ี 4.5 แนวทางการพัฒนาแบบฝก 4.5.1 สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด 4.5.2 รูปแบบของการสรางแบบฝก 4.5.3 ขั้นตอนในการสรางแบบฝก 5. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับความพึงพอใจ 6. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก

1. แนวคิดเกี่ยวกับการอาน 1.1 ความหมายของการอาน การอานเปนทักษะหนึ่งท่ีมีความสําคัญในการเรยีนการสอนในวิชาภาษาไทย นักวชิาการหรอืนกัการศึกษา และนกัจติวิทยาหลายทาน ไดใหความหมายของการอานไวหลากหลายความหมาย ดังตอไปนี ้ อัญชัญ เผาพัฒน (2534 : 10) ไดใหความหมายการอานไววา การอานคือการแปลความของสัญลักษณท่ีใชแทนคําพูดใหไดความหมายอยางสมบูรณ โดยอาศัยประสบการณเดิมของผูอานเขาชวยแปล และรวบรวมความคิดเขาดวยกันจนเกิดภาพในส่ิงท่ีอานชัดเจน ท่ีเราเรียกวามโนภาพ แตบางครั้งความรูท่ีไดรับของแตละคนอาจจะไดไมเทากัน ท้ังนี้เนื่องจากความแตกตางระหวางบุคคล

แมนมาส ชวลิต (2534 : 232) ไดใหความหมายการอานวา “การอานคือ การใชศักยภาพของสมองเพ่ือรบัรู แปลความหมายและเขาใจปรากฎการณขอมูล ขาวสาร เรื่องราว ประสบการณ ความคดิ ความรูสึกและจนิตนาการตลอดจนสาระอ่ืนๆ ซ่ึงมีผูแสดงออกโดยใชสัญลักษณท่ีเปนลายลักษณท่ีมนุษยประดษิฐขึ้นเพ่ือการส่ือสาร การอานเปนทักษะพ้ืนฐาน ซ่ึงตองเรียนเชนเดียวกับทักษะพ้ืนฐานอ่ืนๆ การเรยีนรูเทานัน้ไมเพียงพอตองฝกฝนหรือพัฒนาระดับความสามารถใหเพ่ิมขึน้อยูเสมอ ใหสามารถอานเนื้อหาซ่ึงยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใชการได ใหมีนิสัยรกัการอานรูจกัวิเคราะหและเลือกส่ิงท่ีอานไดอยางมีประสิทธิภาพ” ศศิธร อินตุน (2535 : 12) กลาววาการอาน ไมใชเพียงสะกดถูกเทานั้นหากยังตองสามารถวนิิจฉัยพิจารณาความหมายท่ีไดจากการอานนัน้ไดอยางลึกซ่ึงและแตกฉานเกดิความรู ความคดิ และสามารถนาํเอาความคดิจากการอานไปใชในชีวิตประจําวนัได นภดล จันทรเพ็ญ (2535 : 73) กลาววา การอานเปนการแปลความหมายของตัวอักษร เครื่องหมายสัญลักษณ เครื่องส่ือความหมายตางๆ ท่ีปรากฏแกตาออกมาเปนความคิด ความเขาใจเชิงส่ือสาร แลวผูอานสามารถนาํความคดิ ความเขาใจนั้นไปใชประโยชนไดตอไป ศรีรัตน เจิงกล่ินจันทร (2544 : 3) ไดใหความหมายการอานวา “การอานมิใชแตเพียงการอานออกเสียงตามตวัอักษรอยางเดยีว การอานเปนกระบวนการถายทอดความหมายจากตัวอักษรออกมาเปนความคดิ และจากความคดิท่ีไดจากการอานผสานกับประสบการณเดมิท่ีมีอยูเปนเครื่องชวยพิจารณาตดัสินใจนาํแนวคิดท่ีไดจากการอานไปใชประโยชนตอไป” จากการศึกษาความหมายของการอาน สรุปไดวา การอานคือ การใชศักยภาพของสมองเพ่ือรับรู แปลความหมายและเขาใจปรากฏการณ ขอมูล ขาวสาร เรื่องราว ประสบการณ

ความคดิ ความรูสึก จนิตนาการตลอดจนสาระอ่ืนๆ และเปนทักษะพ้ืนฐาน ซ่ึงตองเรียนเชนเดียวกับทักษะพ้ืนฐานอ่ืนๆ การเรียนรูการอานไมใชเปนการอานออกเสียงตามตัวอักษรอยางเดียวไมเพียงพอตองฝกฝนหรอืพัฒนาระดับความสามารถใหเพ่ิมขึ้นอยูเสมอ ใหสามารถอานเนื้อหาซ่ึงยากและซับซอน ใหเขาใจและนํามาใชการได ใหมีนิสัยรักการอานรูจกัวเิคราะหและเลือกส่ิงท่ีอานไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงจะสามารถแปลความหมายจากตัวอักษรหรือภาพใหเปนเรื่องราวเปนแนวคิด โดยผสานกับประสบการณเดิมท่ีมีอยู ในการแปลความหมายของตัวอักษรและสัญลักษณถายทอดออกมาเปนคําพูด และส่ือความหมายไดถูกตองตามจดุหมายของผูเขยีนท่ีใชตัวอักษรหรอืภาพเปนส่ือกลางในการถายทอดการเรียนรูใหแกผูเรยีน

1.2 จุดมุงหมายของการอาน การอานเปนทักษะท่ีจําเปนในการดาํรงชีวิต ชวยทําใหเกดิความงอกงามทางสติปญญาเปนวิธีการหนึ่งท่ีมนษุยใชศึกษาหาความรูใหแกตนเองตลอดมา การอานมีจดุมุงหมายท่ีแตกตางกัน เชน อานเพ่ือพัฒนาสติปญญา อานเพ่ือพัฒนาความคดิ และเพ่ิมพูนประสบการณ นอกเหนอืความบันเทิงทางอารมณท่ีไดรับนักการศึกษาหลายๆ ทานไดใหความคดิเห็นตอจุดมุงหมายของการอาน ไวดงันี ้ กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 12) ไดแบงจดุมุงหมายของการอานออกเปน 4 ประเภทดังนี ้ 1. อานเพ่ือความรู เปนการอานเพ่ือตองการรูในส่ิงท่ีผูอานพบปญหา หรือตองการใหความรูงอกเงย 2. อานเพ่ือใหเกิดความคดิ เปนการอานส่ิงพิมพท่ีแสดงทรรศนะ ซ่ึงไดแกบทความ บทวจิารณ วิจัยตางๆ 3. อานเพ่ือความบันเทิง เปนการอานท่ีชวยใหเกดิความบันเทิงควบคูไปกบัการคิด 4. อานเพ่ือตอบสนองความตองการอ่ืนๆ เปนการอานท่ีตองชดเชยความตองการท่ียังขาดอยู เชน เม่ือเกิดความรูสึกเบ่ือ ไมสบาย เปนตน วรรณี โสมประยูร (2542 : 127) ไดตั้งจดุมุงหมายในการอานดังนี ้ 1. การอานเพ่ือคนควาหาความรูเพ่ิมเติม 2. การอานเพ่ือความบันเทิง 3. การอานเพ่ือใชเวลาวางใหเปนประโยชน 4. การอานเพ่ือหารายละเอียดของเรื่อง

5. การอานเพ่ือวิเคราะหวิจารณจากขอมูลท่ีได 6. การอานเพ่ือหาประเด็นวาสวนไหนเปนขอเท็จจริง สวนใดเปนจริง 7. การอานเพ่ือจับใจความสําคัญของเรื่องท่ีอาน 8. การอานเพ่ือปฏิบัติตาม 9. การอานเพ่ือออกเสียงใหถูกตองชัดเจน มีน้ําเสียงเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง ยุพิน จันทรเรือง (2544 : 43) ไดแบงจดุมุงหมายของการอานดังนี ้ 1. อานเพ่ือความรู 2. อานเพ่ือความคิด 3. อานเพ่ือความบันเทิง ศรีรัตน เจิ่งกล่ินจันทร (2544 : 7-8) ไดแบงจุดมุงหมายของการอานไดดังนี ้ 1. อานเพ่ือความรู 2. อานเพ่ือใหเกิดความคดิ 3. อานเพ่ือความเพลิดเพลิน 4. อานเพ่ือความจรรโลงใจ 5. อานเพ่ือสนองความตองการอ่ืนๆ ดังนั้นจึงสรุปไดวา จดุมุงหมายของการอานท่ัวไปถาจะจําแนกประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คืออานเพ่ือความรู และอานเพ่ือความบันเทิง โดยการอานท้ัง 2 ประเภทเปนการอานท่ีสรางความรูความคดิผูอานสามารถนาํไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางทางเลือกในการดําเนินชีวิตตลอดจนเปนการฝกใหมีนิสัยรักการอาน 1.3 จุดมุงหมายในการสอนอานของนักเรียน หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2546 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงช้ันท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูท่ีคาดหวงัรายปและสาระการเรียนรูรายป เกี่ยวกับการอานของช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ดังนี ้ สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐาน 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรู และความคดิไปใชตดัสินใจ แกปญหาและสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรกัการอาน ผลการเรยีนรูท่ีคาดหวังรายป 1. อานไดถูกตองตามหลักการอาน 2. อานไดถูกตองคลองแคลว

3. เขาใจความหมายของคําและขอความท่ีอาน 4. เขาใจความสําคัญและรายละเอียดของเรื่อง 5. หาคําสําคัญของเรื่องได 6. ใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนภาพความคิดเปนเครื่องมือพัฒนาความเขาใจ 7. รูจักใชคําถามจากเรื่องท่ีอานกําหนดแนวทางปฏิบัติได 8. สามารถอานในใจและอานออกเสียงบทรอยกรองและรอยแกวท่ียากขึ้นไดรวดเร็วตามลักษณะคําประพันธและอักขรวิธีได 9. จําบทรอยกรองท่ีไพเราะได 10. เลือกอานหนังสือท่ีเปนประโยชนได 11. มีมารยาทในการอาน 12. มีนิสัยรักการอาน สาระการเรียนรู 1. การอานคําพ้ืนฐานซ่ึงเปนคําท่ีใชในชีวติประจําวนั และรวมคําท่ีใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ 2. การอานแจกลูกและสะกดคําในมาตราแม ก กา แมกง กน กม เกย เกอว กก กด และแมกบท้ังคําท่ีสะกดตรงตามมาตราตวัสะกด และคําท่ีสะกดไมตรงตามมาตราตวัสะกด คําท่ีมีตัวการันต ตวัอักษรควบ อักษรนํา คําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบัน 3. การผันวรรณยกุต คําท่ีมีพยัญชนะตน เปนอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ํา 4. การอานและเขาใจความหมายของคําในประโยคและขอความ 5. การอานในใจ การจบัใจความของเรื่องท่ีอาน โดยหาคาํสําคัญตั้งคาํถามคาดคะเนเหตุการณท่ีใชแผนภาพโครงเรื่อง หรือแผนความคิด 6. การแสดงความรู และความคิดตอเรื่องท่ีอาน 7. การนําความรูและขอคิดท่ีไดรับจากการอานไปใชในชีวติประจําวนั 8. การอานออกเสียงรอยแกว และรอยกรองถูกตองตามอักขรวิธีและลักษณะคําประพันธและการอานทํานองเสนาะ 9. การทองจําบทอาขยานและบทรอยกรอง สรุปไดวา จุดมุงหมายในการสอนอานมี 3 ประการหลัก คือ 1. มุงพัฒนาศัพทใหมๆ โดยใหนกัเรียนอานและเขียนคําใหถูกตอง 2. มุงใหนกัเรียนมีความเขาใจเรื่องท่ีอาน สามารถเรยีงลําดบัเหตกุารณ เลาเรื่องใหผูอานเขาใจได

3. มุงใหนักเรยีนอานเพ่ือฝกคิดอยางมีวจิารณญาน นําผลการอานไปใชในชีวิตประจําวันได 1.4 องคประกอบสําคญัเกี่ยวกับการอาน การอาน เปนทักษะท่ีจําเปนสําหรับมนุษยท่ีใชเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูส่ิงตางๆ เปนทักษะท่ีมีความสําคญัซ่ึง นักการศึกษา ผูท่ีมีสวนเกี่ยวของไดกลาวไว ดังนี ้ บันลือ พฤกษะวนั (2534 : 7) กลาววา ทักษะการอานนั้นเปนงานท่ียิ่งใหญในการจัดการเรียนการสอน และเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญแกการเรียนรูสรรพวิทยาการท้ังปวง องคประกอบท่ีจะชวยใหเกิดความพรอมในการอาน ควรพิจารณาดังนี ้ 1. ความพรอมทางกาย 2. ความพรอมทางจติใจหรอืสตปิญญา 3. ความพรอมทางอารมณ – สังคม 4. ความพรอมทางจติวทิยา 5. ความพรอมทางพ้ืนฐานประสบการณ อันเกดิจากการเล้ียงดูจากทางบานและสภาพแวดลอม กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 31) ไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญท่ีมีผลตอการเรียนรูจากการอาน ซ่ึงขึ้นอยูกับปจจัยเบ้ืองตนในตัวผูอานดงันี ้ 1. ประสบการณของผูอานในเรื่องท่ีอาน 2. ความสามารถดานภาษา คือรูคําศัพท ถอยคํา สํานวน โวหาร และความหมายตางๆ 3. ความสามารถในการคิด 4. ความสนใจและความเช่ือ 5. จุดประสงคในการอาน สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย (2539 : 5) กลาววาองคประกอบท่ีสําคัญเกี่ยวกับการอานมีอยู 3 ดาน คือ 1. ดานสังคม หมายถึง ส่ิงแวดลอมท่ีอยูรอบตัวนกัเรียน ในการสอนครคูวรนาํเรื่องท่ีเกี่ยวของกับวัฒนธรรมและความเปนอยูของนักเรยีนในทองถ่ินนัน้ๆ มาจัดทําเปนหนังสือแบบเรียน หรือหนังสืออานประกอบ 2. ดานความพรอม หมายถึง ความพรอมทางดานรางกาย อารมณ และสติปญญาท่ีสามารถเริ่มอานได

3. ดานโรงเรียน โรงเรียนเปนสถานท่ีสําคัญในการจัดบรรยากาศหรอืกจิกรรมใหตอบสนองกับความตองการของนักเรียน โดยเฉพาะการปลูกฝงใหมีทัศนคติท่ีดตีอการอานและการรกัการอาน วรรณ ี โสมประยรู (2542 : 122) ไดกลาวถึงองคประกอบท่ีสําคัญในการอานของเด็กสรปุไดดังนี ้ 1. ทางดานรางกาย เชน สายตา ปาก และหู 2. ทางดานจิตใจ เชน ความตองการ ความสนใจ และความศรัทธา 3. ทางดานสติปญญา เชน การรับรู การนําประสบการณเดมิมาใช การใชภาษาใหถูกตอง และความสามารถในการเรียน 4. ทางดานประสบการณพ้ืนฐาน 5. ดานวุฒภิาวะ อารมณ แรงจูงใจ และบุคลิกภาพ 6. ดานส่ิงแวดลอม ศรรีัตน เจิ่งกล่ินจนัทร (2544 : 15) กลาววาองคประกอบท่ีสําคัญท่ีจะชวยใหเกดิความพรอมในการอานขึน้อยูกับองคประกอบ 4 ดาน คือ 1. ดานสมอง 2. ดานรางกาย 3. ดานอารมณและสังคม 4. ดานประสบการณและอ่ืนๆ สรปุไดวา เด็กท่ีจะสามารถอานหนังสือและมีทักษะในการอานท่ีดี ตองมี องคประกอบในดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม และประสบการณในการอานพรอมทุกดาน เดก็จึงจะประสบผลสําเร็จในการอาน 1.5 ความสําคัญของการอาน ทักษะการอาน เปนทักษะท่ีมนษุยใชเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูส่ิงตางๆ โดยมีจุดมุงหมายหลัก 2 ประเด็นใหญๆ คือ อานเพ่ือความรู และอานเพ่ือความบันเทิง ความสําคัญของการอานจะนอย หรือมากเพียงใด ยอมขึ้นอยูกับจุดมุงหมายในการอานแตละครั้ง ดังท่ีนักการศึกษาหลายๆ ไดกลาวถึงความสําคญั ดังนี ้ ชุติมา สัจจานนท (2525 : 9 อางใน ดวงคดิ ดวงภักดิ์ 2539 : 13) กลาวถึงความสําคัญในการอานไววา “การอานทําใหผูอานไดรับความรูเพ่ิมขึ้น พัฒนาความคิด และชวยปรับปรุงบุคลิกภาพ นอกจากนี้ยังทําใหเกิดความกาวหนาในอาชีพชวยแกปญหา ใชเวลาวางใหเกิด

ประโยชนเกดิความจรรโลงใจไดคติธรรมจากเรื่องท่ีอานไดพักผอนและไดรับความเพลิดเพลิน ทันตอเหตกุารณสนองความพอใจสวนตวั สงเสริมความสนใจทางวิชาการและอาชีพ” ศิริพร ลิมตระการ (2539: 6) ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานสรุปไดดังนี ้ 1. การอานหนังสือทําใหไดเนื้อหาสาระความรูมากกวาการศึกษาหาความรูดวยวิธีอ่ืน เชน การฟง 2. ผูอานสามารถอานหนังสือไดโดยไมจัดเวลาและสถานท่ี 3. หนังสือเก็บไวไดนานกวาอยางอ่ืน 4. ผูอานสามารถฝกการคดิและจินตนาการไดเองในการอาน 5. การอานสงเสริมใหสมองดีและมีสมาธินาน 6. ผูอานเปนผูกําหนดการอานไดดวยตนเองวาจะอานคราวๆ อานละเอียด หรืออานทุกตัวอักษรก็ได 7. หนังสือมีหลายรูปแบบและราคาถูก 8. ผูอานเกิดความคดิเห็นไดดวยตัวเองในการอาน 9. ผูรักการอานจะรูสึกมีความสุข เม่ือไดสัมผัสหนังสือ สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย (2539: 1) ไดกลาวถึงความสําคญัของการอานวา “การอานเปนเครื่องมือสําคัญในการเสาะแสวงหาความรู การรูและใชวิธีการอานท่ีถูกตองจึงเปนส่ิงจําเปนสําหรับผูอานทุกคน การรูจักฝกฝนการอานอยางสมํ่าเสมอจะชวยใหผูอานมีพ้ืนฐานในการอานท่ีดี ท้ังจะชวยใหเกดิความชํานาญ และมีความรูกวางขวางดวย” จากแนวคิดของนกัศึกษาดังกลาว สรุปไดวาการอานมีความสําคัญตอมนุษยเปนอยางมาก ใชเปนเครื่องมือในการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ราคาถูก เกบ็รักษางายและผูอานสามารถกําหนดวิธีการอานไดดวยตนเอง หากไดรับการฝกฝนการอานอยางสมํ่าเสมอ ผูอานก็จะเปนผูท่ีมีความรูกวางขวาง พัฒนาความคดิ ชวยแกปญหา มีความสามารถนาํความรูท่ีไดมาใชในการดาํเนนิชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ

1.6 ประโยชนของการอาน อัญชัญ เผาพัฒน (2534: 12) กลาวถึงประโยชนของการอานวา “การอานมี

ประโยชนมากมายหลายประการ ผูอานจะไดรับประโยชนจากการอานมากนอยเพียงใดจากการอานยอมขึ้นอยูกับความเขาใจของผูอานเปนสําคัญ กลาวคอื สามารถผสมผสานความรูเดมิประสบการณเดิมท่ีไดรับเขากับความรูใหมท่ีไดอานแลวขยายความรู ความจาํใหไกลไปจากเดมิ

อยางสมเหต ุสมผล ซ่ึงความเขาใจดงักลาวจะแสดงออกดวยพฤติกรรม 3 ประการ คือ การแปลความ การตีความ และการขยายความ”

วรรณี โสมประยูร (2542 : 121) กลาววา การอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุกวัยและทุกสาขาอาชีพ ซ่ึงอาจสรุปไดดังนี ้

1. การอานมีประโยชนยิ่งในการศึกษาทุกระดับ 2. ในชีวติประจําวันท่ัวไป คนเราตองอาศัยการอานเพ่ือตดิตอส่ือสาร เพ่ือทําความเขาใจรวมกนั 3. การอานชวยใหบุคคลนําความรูและประสบการณจากส่ิงท่ีอานไปพัฒนาอาชีพใหประสบผลสําเร็จ 4. การอานชวยสนองความตองการพ้ืนฐานของบุคคลในดานตางๆ 5. การอานทําใหเปนผูรอบรู เกดิความม่ันใจในการพูดปราศรัย 6. การอานชวยใหเกดิความเพลิดเพลิน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน 7. การคดิเรื่องราวในอดีต ทําใหอนุชนรูจักอนรุักษมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยเอาไว และสามารถพัฒนาใหเจริญรุงเรืองตอไปได สรปุไดวา การอานมีประโยชนตอคนทุกเพศทุกวัย การอานชวยใหผูอานไดรับความรูเพ่ิมขึน้ พัฒนาความคดิ ชวยปรับปรุงบุคลิกภาพ และชวยใหประสบผลสําเร็จในการดํารงชีวิตในทุกดาน ท้ังดานการเรียน การดแูลตนเอง การใชชีวิตในสังคมและการประกอบอาชีพ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียน

2.1 ความหมายของการเขียน นภดล จันทรเพ็ญ (2535 : 91) ไดใหความหมายวาการเขยีน คือ การแสดงออกในการติดตอส่ือสารอยางหนึ่งของมนษุยโดยอาศัยภาษาตัวอักษรเปนส่ือเพ่ือถายทอดความรูสึกนกึคิด ความตองการ และความในใจของเราใหกับผูอ่ืนทราบ การเขยีนนี้มีลักษณะเปนการส่ือสารท่ีถาวรสามารถคงอยูนาน ตรวจสอบได เปนหลักฐานอางอิงนานนับพันนับหม่ืนป ถามีการเกบ็รักษาใหคงสภาพเดิมไวได

ศิริพร ลิมตระการ (2539: 18) ไดใหความหมายการเขียนวา การเขียนคือ “กระบวนการแหงคดิในการแสดงออกเพ่ือส่ือสารใหผูอ่ืนรับรู ในการเขยีนมีองคประกอบตางๆ เขามาเกี่ยวของคือ ไวยากรณ หรือโครงสรางทางภาษา ความเขาใจในการฟง การอาน หรือแมแตการพูด”

อวยพร พานิช (2539 : 2) กลาววา การเขียน วาเปนการเรยีบเรียงความคดิออกมาเปนตวัสาร ผูเขยีนตองเรียนรูกลวิธีในการเขยีนเรื่องการใชคํา ประโยค และหลักภาษาตางๆ ท้ังตองผานการฝกฝน เพ่ือส่ือสารกบับุคคลระดับตางๆ และผานส่ือตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ดนยา วงศธนะชัย (2542 : 24) กลาววา การเขียนวาหมายถึง การถายทอดความรู ประสบการณ ความคิด ความรูสึกหรือจินตนาการออกมาเปนตัวหนงัสือ โดยวิธีการตางๆ กัน จากความหมายของการเขียนสรุปไดวา การเขยีนเปนส่ิงสําคัญและจําเปนตอชีวติ เพราะเปนเครื่องมืออันสําคัญท่ีจะบันทึก หรือถายทอดเรื่องราวตางๆ โดยใชตวัหนงัสือและเครื่องหมายตางๆ เปนสัญลักษณ ถายทอดความรู ความคดิ และประสบการณตางๆ ท่ีไดรับ ออกมาเปนอักษรเปนสัญลักษณ เพ่ือใชเปนหลักฐาน หรอืใหผูท่ีสนใจในการอานไดศึกษา และรับรูเรื่องราวท่ีผูเขียนตองการใหทราบ สามารถใชขอมูลท่ีเขยีนเปนหลักฐานอางอิงได 2.2 จุดมุงหมายของการสอนเขยีนของนักเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 สาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงช้ันท่ี 1 ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ไดกําหนดผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายและสาระการเรียนรูรายป เกี่ยวกับการเขียนของช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ดังนี ้ สาระท่ี 2 การเขียน มาตรฐานการเรยีนรูท่ี ท 1.2 ใชกระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขยีนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลการเรยีนรูท่ีคาดหวังรายป 1. เขียนคําท่ียากขึน้ไดถูกความหมาย 2. เขียนสะกดการนัตถูกตอง 3. เขียนประโยค ขอความ เรื่องราว ความรูสึก ความตองการได 4. ใชกระบวนการเขยีนพัฒนางานเขยีนของตนเอง 5. มีมารยาทในการเขยีน 6. มีนิสัยรักการเขียน 7. มีทักษะการเขยีนบันทึกความรู ประสบการณเรื่องราวในชีวิตประจําวันส้ันๆ สาระการเรียนรูรายป 1. เขียนคําไดถูกความหมายและสะกดการันตถูกตอง ใชความรูและประสบการณ

เขียนประโยคขอความและเรื่องราวแสดงความคดิ ความรูสึก และความตองการและจินตนาการรวม ท้ังใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขยีน 2. มีมารยาทในการเขยีน และนิสัยรกัการเขียน และใชทักษะการเขยีนจดบันทึกความรูประสบการณและเรื่องราวในชีวิตประจําวัน เนื่องจากการเขียนมีความสําคญัตอบุคคลเปนอยางมาก ในการใชติดตอส่ือสาร บันทึกระบายความรูสึก ถายทอดเรื่องราวในแตละยคุแตละสมัย ใหผูอาน หรือผูท่ีตองการศึกษาไดรูถึงเรื่องราวตางๆ ดังนัน้การเขียนจึงมีจุดมุงหมายหลายอยางแตกตางกันไป ดังท่ีมีผูกลาวไว ดังตอไปนี ้

กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 116) ไดแบงจดุมุงหมายของการเขียนตามลักษณะตามวตัถุประสงคของผูเขยีนดังนี ้ 1. เขียนเพ่ือเลาเรื่อง คือนําเหตุการณหรือเรื่องราวตางๆ มาถายทอดออกมาดวยการเขียน 2. เขียนเพ่ืออธิบาย เพ่ือใหผูอานเขาใจและปฏิบัติตาม 3. การเขียนเพ่ือโฆษณา – จูงใจ คือการเขียนเพ่ือใหผูอานเกิดความรูสึกคลอยตาม 4. การเขียนเพ่ือแสดงความคดิเห็นในจุดใดจุดหนึ่ง เพ่ือเปนเครื่องชวยในการตัดสินใจ 5. เขียนเพ่ือปลุกใจ เพ่ือใหเกิดความม่ันคง หรือใหเกิดกําลังในการท่ีจะตอสูกับส่ิงใดส่ิงหนึ่ง 6. การเขียนเพ่ือสรางจินตนาการ การเขียนลักษณะนี้ตองใชถอยคําท่ีสละสลวยประณีตงดงาม หรือใชคําท่ีชวนใหผูอานสรางจินตนาการ 7. การเขียนเพ่ือลอเลียนหรือเสียดสี เขยีนเพ่ือตําหนิ หรือทักทวงแตใชวิธีการนุมนวล เอกฉัท จาระเมธีธน (2539 : 117) กลาววา จุดมุงหมายของการเขียน คือ การถายทอดความรู ความตองการ ความรูสึกออกเปนตวัหนังสือใหผูอาน และเขาใจจดุประสงคของการเขียน การเขียนทุกครั้งตองคํานึงถึงผูอานเปนสําคัญวาผูอาน มีพ้ืนฐานความรู ความคดิอยางไร ควรเขยีนอยางไรจงึจะเกดิผลตามความประสงค ตอจากนัน้จึงกาํหนดรูปแบบ วิธีการเขยีน การใชภาษาและเนื้อหาใหเหมาะสมกับผูอาน การเขียนจึงประสบความสําเร็จตามความตั้งใจ

อลิสา วานิชดี (2539 : 44) ไดกลาวถึงจดุมุงหมายของการเขียน ไวดงันี ้ 1. งานเขียนเชิงแสดงออก (Expressive) เชน บทสนทนา บันทึกสวนตัว คําประกาศความเช่ือ คําประกาศอิสรภาพ และระเบียบขอตกลง

2. งานเขียนเชิงสํารวจใหขอมูล (Referential) เชน ขาว รายงาน สรุป สาระนุกรม ตําราวิชาการ 3. งานวรรณกรรม (Literary) เชน เรื่องส้ัน นวนิยาย กวนีิพนธ ละคร รายการโทรทัศน ภาพยนตร 4. งานเขียนเชิงโนมนาวจิตใจ (Persuasive) เชนโฆษณา สุนทรพจนทางการเมือง บทบรรณาธิการ คําส่ังสอนทางศาสนา

ดนยา วงศธนะชัย (2542 : 24) กลาววา การเขียน คือการถายทอดความรู ประสบการณ ความคดิ ความรูสึกหรือจนิตนาการออกเปนตวัหนงัสือ โดยวิธีการตางๆ กัน การจะใชวิธีการใดในการเขียนนั้นยอมแลวแตจุมุงหมายในการเขียน ดังนี้ คือ 1. การเขียนเพ่ือเลาเรื่อง คือการเขียนเพ่ือถายทอดเรื่องราว เหตุการณ ประสบการณและความรู 2. การเขียนเพ่ืออธิบาย คือการเขียนท่ีทําใหผูอานเขาใจเรื่องท่ีเขียน 3. การเขียนเพ่ือแสดงความคดิเห็น คือการเขยีนเพ่ือบอกความคดิเห็นของผูเขยีนเกี่ยวกับเรื่องราวตางๆ อาจประกอบดวยคําแนะนํา ขอคดิ ขอเตอืนใจ 4. การเขียนเพ่ือโนมนาวและโฆษณา คือการเขยีนท่ีมีจดุมุงหมายจะทําใหผูอานยอมรับส่ิงท่ีผูเขียนเสนอ 5. การเขียนเพ่ือสรางจนิตนาการ คือการเขยีนเพ่ือถายทอดอารมณและความรูสึกสูผูอาน ใหผูอานสรางจินตนาการหรือสรางอารมณ และมโนภาพตามท่ีผูเขียนตองการ

วรรณี โสมประยูร (2542 : 139) ไดกลาวถึงจดุมุงหมายในการเขยีนหลายอยางดังนี ้

1. เพ่ือคัดลายมือหรือเขยีนใหถูกตองตามลักษณะตวัอักษร ใหเปนระเบียบ ชัดเจนและอานเขาใจงาย

2. เพ่ือเปนการฝกฝนทักษะการเรียนใหพัฒนางอกงามขึ้นตามควรแกวัย 3. เพ่ือใหมีทักษะการเขยีนสะกดคําถูกตองตามอักขรวิธี เขียนวรรคตอนถูกตอง

และเขียนไดรวดเร็ว 4. เพ่ือใหรูจักเลือกภาษาเขียนท่ีดี มีคุณภาพเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส 5. เพ่ือใหสามารถรวบรวมและลําดับความคดิ แลวบันทึก สรุป และยอใจความ

เรื่องท่ีอานหรือฟงได 6. เพ่ือถายทอดใหมีจินตนาการ ความคดิริเริ่มสรางสรรค และความรูสึกนกึคดิ

เปนเรื่องราวใหผูอ่ืนเขาใจความหมายอยางแจมแจง

7. เพ่ือใหสามารถสังเกต จดจาํ และเลือกเฟนถอยคํา หรอืสํานวนโวหารใหถูกตองตามหลักภาษา และส่ือความหมายไดตรงตามท่ีตองการ

8. เพ่ือใหมีทักษะการเขยีนประเภทตางๆ และสามารถนาํหลักการเขยีนไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน

9. เพ่ือเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชนดวยการเขยีนตามท่ีตนเองสนใจและมีความถนัด

10. เพ่ือใหเห็นความสําคัญและคุณคาของการเขียนวามีประโยชนตอการประกอบอาชีพ การศึกษาหาความรู และอ่ืนๆ ผอบ โปษกฤษณะ (2544 : 52-53) กลาววา จดุมุงหมายในการเขยีนมีดังนี ้ 1. เพ่ืออธิบาย 2. เพ่ือพรรณนา 3. เพ่ือเปรียบความรูสึก 4. เพ่ือเลาเรื่องใหผูอ่ืนทราบ สรุปไดวา จุดมุงหมายในการเขยีนมีดังนี้ เขยีนเพ่ือเลาเรื่องราว เขยีนเพ่ืออธิบาย แสดงความคดิเห็น เขียนเพ่ือโฆษณา จูงใจ และเขียนเพ่ือถายทอดอารมณ ความรูสึก รวมท้ังเพ่ือถายทอดความรูท่ีไดเรยีนรู ผูวจิยัจึงเลือกเอาจุดมุงหมายดังกลาวมาเปนแนวทางในการจัดทําแบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใชบรร รร (ร หัน) และบัน เพ่ือนาํมาใช เปนส่ือการเรียน ใหผูเรียนไดเขียนถายทอดส่ิงท่ีเรียนรูใหผูอ่ืนไดรับทราบ เพ่ือยืนยันวาไดเกิดการเรียนรูหรือเพ่ือประเมินผลการเรียนรูท่ีเกิดขึ้นในตวัผูเรยีน 2.3 องคประกอบสําคญัเกี่ยวกับการเขยีน การเขียนถือเปนการส่ือสารท่ีมีองคประกอบหลายประการซ่ึงมีผูกลาวไวดังตอไปนี ้ อวยพร พานิช (2539 : 9-15) ไดกลาวถึงองคประกอบของการส่ือสารดวยการเขียน ซ่ึงพอสรุปไดดังตอไปนี ้

1. ผูสงสาร – ผูรับสาร - ผูสงสาร ไดแกนกัเขยีน นักพูด นกัจดัรายการ - ผูรับสาร ไดแก ผูท่ีท่ีรับขอมูลโดยการฟง อาน และการดู แลวนมา ตีความ

2. สาร คือ เนื้อหาท่ีผูเขยีนเพ่ือตองการจะส่ือใหผูอานไดรู

3. ส่ือ / ชองทางการส่ือสาร เชน ส่ือธรรมชาติ ส่ือมนุษย ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือ อิเล็กทรอนิกส ส่ือเคล่ือนท่ี และส่ือพ้ืนบาน

4. ผลของการส่ือสาร คือพฤติกรรม ทาทีของผูรับสารท่ีแสดงออกตอ ขอความท่ีผูเขียนส่ือใหรู ฐะปะนีย สาครทรรพ (2539 : 357-359) ไดกลาวถึงองคประกอบของการส่ือสารท่ีสําคัญวา ไดแกส่ิงตอไปนี ้ 1. ผูสงสาร ไดแก ผูเขียน ผูพูด 2. สารท่ีสงออกไป ไดแก ขอความท่ีเขียน หรือ คําพูด 3. ผูรับสาร ไดแก ผูอาน ผูฟง

วรรณี โสมประยูร (2542 : 142) ไดกลาวถึงองคประกอบใหญๆ 4 ประการ ดังนี ้ 1. ผูเขียน (ผูสงสาร) 2. ภาษา (สาร) 3. เครื่องมือท่ีทําใหเกิดสาร (เชนอักษร ดินสอ สมุด ปากกา) 4. ผูอาน (ผูรับสาร) จากการศึกษาองคประกอบสําคัญท่ีเกี่ยวของกับการเขียน สรุปไดวา การเขียนมีองคประกอบท่ีสําคัญดังนี้ คือ ผูเขยีนขอความ เนื้อหาท่ีใชเขยีน ส่ือหรืออุปกรณท่ีใชในการทําใหเกิดสารและผูอาน ดังนั้นในการจดัทําแบบฝกการอานและการเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบันผูวิจัย คือ ผูเขยีนขอความ เนื้อหาท่ีใชเขยีนคือเนื้อหาจากแบบเรียนภาษาไทยภาษาพาทีและวรรณคดีลํานํา ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ส่ือหรืออุปกรณคือแบบฝก ประกอบไปดวย สาระความรู แบบฝก และผูอาน คือ นักเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 2.4 ความสําคญัและประโยชนของการเขยีน การเขียนมีความสําคัญและมีประโยชนเปนอยางมากในการใชส่ือสารอยางหนึ่ง การเขียนเปนการใชขอความเปนส่ือใหผูอานไดเขาใจตรงกบัผูเขยีน การเขยีนวกวน ไมชัดเจน หรือเยิ่นเยอ อานจับใจความยาก ผูอานก็ไมสามารถเขาใจไดชัดเจนและไมสามารถปฏิบัติไดตาม วัตถุประสงคของการเรียน ดังนั้นการเขยีนจึงมีความสําคญัและมีประโยชนเปนอยางมากดงัท่ีไดมีนักศึกษาไดกลาวไวดงันี ้ นภดล จันทรเพ็ญ (2335 : 91) ไดกลาวถึงประโยชนและความสําคัญของการเขียน ดังนี ้

1. การเขียนเปนการส่ือสารของมนุษย 2. การเขียนเปนการถายทอดความรูและสติปญญาของมนษุย 3. การเขียนสามารถสรางความสามัคคีในมนุษยชาต ิ 4. การเขียนเปนเครื่องระบายออกทางอารมณของมนษุย 5. การเขียนสามารถทําใหมนษุยประสบความสําเร็จในชีวติ อวยพร พานิช (2539 : 29) กลาววา การเขียนมีความสําคญัดังนี ้ 1. เปนการเขารหัสเพ่ือการส่ือสาร เพ่ือบันทึกความคดิเปนตวัอักษร 2. เปนวิธีการในการส่ือสารระหวางบุคคล กลุม และส่ือสารมวลชน 3. ชวยใหขอมูล ชวยโนมนาวจติใจ และชวยใหเกดิความบันเทิง 4. ชวยใหเกดิความเขาใจอันดี กวาการพูด 5. ใชเปนหลักฐาน คนควา อางอิงได วัลยา ชางขวัญยนื (2539 : 41) กลาววาการเขยีนมีความสําคัญและประโยชนดังนี ้ 1. ทําใหคนเราไมตองใชวิธีการจําอีกตอไป 2. ทําใหเกิดการวิเคราะหวจิารณขึ้น 3. ทําใหเกิดพัฒนาการทางความคิดของมนษุย 4. ทําใหคนในสังคมสามารถรวบรวมความรูเก็บไวใหคนรุนตอมาไดศึกษาหาความรู 5. ทําใหการบันทึกแมนยํา และถาวรไมจํากดัเวลาและสถานท่ี กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 223) ไดกลาวถึงความสําคัญของการเขียนวา “การเขียนงานชนิดใดก็ตาม กอนลงมือเขยีนจะตองคิด ขั้นตอนการคดิมีหลากหลาย และดําเนินไปตามธรรมชาตขิองการคิด เม่ือคดิแลวจงึลงมือกระทําและนําไปใชใหเหมาะสมกับสถานการณ ถานกัเรียนคดิไมได วางแผนการดําเนนิการไมเปน นําไปใชไมถูกตอง ก็ยอมไมเกิดผลหรอืเกิดผลอยางไรประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการเขยีนเรียงความนั้นนักเรียนตองใชศาสตรและศิลปทุมเทในการเขียนอยางเตม็ความสามารถ งานเขียนนั้นจึงมีคุณคา นาสนใจ มีผูกลาววาผูใดเขียนเรียงความไดดยีอมสามารถเขยีนงานอ่ืนไดดีเชนกนั ดังนั้นครูจึงควรช้ีแนะ สงเสริมใหนักเรียนคิดและเขียนอยางถูกแนวทาง ก็จะทําใหนกัเรียนเขาใจ คิดเปน นําความรู ความคดิไปใชในการเขียนไดอยางถูกตอง” นภาลัย สุวรรณธาดา (2546 : 1) กลาววาการเขยีนหนังสือท่ีดีมีความสําคญัดังตอไปนี ้ 1. ส่ือความหมายไดถูกตอง ตรงประเด็น ผูอานและผูเขียนเขาใจตรงกัน

2. สรางความเขาใจและมนษุยสัมพันธท่ีดีตอกัน 3. ประหยัดเวลาในการตีความหรือตรวจสอบขอมูล 4. งายตอการปฏิบัต ิ 5. ทําใหงานมีประสบความสําเร็จตามความมุงหมาย 6. เปนภาพลักษณท่ีดขีองหนวยงาน 7. เปนตัวอยางตอไป 8. เปนการธํารงรกัษาภาษา ซ่ึงเปนเอกลักษณของชาต ิ จากการศึกษาความสําคัญและประโยชนของการเขียนทําใหทราบวาการเขียนมีความสําคัญและมีประโยชนตอมนษุยมากในการใชส่ือสาร บันทึกเรื่องราว เก็บไวเปนหลักฐานอางอิงได ดังนั้นควรจะมีการฝกฝนการเขยีนอยางถูกตอง เพ่ือใหสามารถเขยีนขอความตางๆ ไดถูกตอง อานแลวส่ือความหมายไดชัดเจน ถูกตอง เขาใจไดงาย 3. ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน การอานและการเขียนมีความสัมพันธเกี่ยวของกัน ท้ังนี้เพราะ 2 ทักษะนี้เปนปฏิสัมพันธกัน กลาวคือ การท่ีจะเขาใจเรื่องท่ีอานนั้น ผูอานตองเขาใจความคดิผูเขียนและเพ่ือท่ีจะเขาใจวาผูเขียนเขียนอยางไร จะตองเริ่มตนโดยพยายามรวบรวมและเรียบเรียงขอมูลท้ังหมดท่ีผูอานไดมาจากความเขาใจ ออกเปนโครงสรางของขอความ ซ่ึงจะทําใหเห็นโครงเรื่องของผูเขยีน เพ่ือแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางการอานกับการเขยีน กัลยา ยวนมาลัย (2539 : 137) กลาวถึงความสัมพันธระหวางการอานและ การเขียนวา “เม่ือผูเขยีนไดเขยีนเรื่องราวตางๆ รูปแบบตางๆ หรือดวยจุดประสงคตางๆ ออกมา ผูอานมีความสามารถและมีความพรอมในการรับรูเขาใจเรือ่งราวท่ีอานไดดีเพียงใด เขาใจ ความประสงคของผูเขยีนหรือไม ท้ังนี้ผูอานตองมีความตองการท่ีจะอาน มีประสบการณในเรื่องท่ีอาน และมีทัศนคติตอเรื่องราวท่ีอาน และการเขียนสําเร็จตามความมุงหมาย”

ศิริพร ลิมตระการ (อางใน ดนยา วงศธนะชัย 2542 : 20) ไดกลาวถึงความสัมพันธระหวางการอานกับการเขียนวา 1. กระบวนการอาน – การเขียน ประกอบดวยสวนยอย 4 สวน คือ ผูเขียนหรือผูสรางรหัส (encoder) เรื่องท่ีผูเขยีนแตงขึน้ (texe) ผูอานหรือผูแปลรหัส (decoder) บริบท หรือ ส่ิงแวดลอม (context)

1.1 ความสัมพันธระหวางผูเขยีนและอาน ในดานการส่ือความหมายผูเขียนเปนแหลงขอมูล มีความคิดท่ีตองการจะส่ือออกไปใหผูอานทราบ 1.2 ความสัมพันธของเรื่องกับส่ิงแวดลอม เรื่องประกอบดวยความคิดความหมายซ่ึงผูแตงไดแตงขึน้เพ่ือส่ือความหมาย ซ่ึงประกอบไปดวยส่ิงตางๆ เชน สังคม วัฒนธรรม เวลา และสถานการณ เปนตน 2. การอานและการเขียนสงเสริมซ่ึงกนัและกนั ดนยา วงศธนะชัย (2542 : 23) ไดกลาวถึงความสัมพันธของการอานและการเขียนวา 1. นักเขียนท่ีดีมักจะเปนนักอานท่ีด ี 2. นักเขียนเกง มักจะอานมากกวานกัเขยีนท่ีไมเกง 3. นักอานท่ีเกงมักเขยีนประโยคไดดีกวานกัอานท่ีไมเกง สรุปจากการศึกษา ความสัมพันธระหวางการอานและการเขียน จึงไดนํามาเปนแนวทางในกาจัดทําแบบฝกการอานและการเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบัน โดยนกัเรียนไดอานและไดเขียนในแบบฝกพรอมกันเพ่ือพัฒนาทักษะการอานและการเขียนไปพรอมๆ กัน ซ่ึงจะทําใหการพัฒนาทักษะท้ัง 2 ดานสําเร็จตามจุดมุงหมาย 4. แนวคิดเกี่ยวกับแบบฝก 4.1 ความหมายและความสําคญัของแบบฝก ไดมีผูกลาวถึงความหมายและความสําคญัของแบบฝกหรือแบบฝกหัดไวดงันี ้ ศศิธร สุทธิแพทย (2517 : 63) กลาววาแบบฝกหัดเปนส่ิงจําเปนอยางยิ่ง ครูตองใหแบบฝกหัดท่ีเหมาะสม เพ่ือฝกหลังจากท่ีไดเรียนเนื้อหาจากแบบเรียนไปแลว ใหมีความรูกวางขวาง จึงถือวาแบบฝกหัดเปนอุปกรณการเรียนการสอนอยางหนึ่ง ซ่ึงครูสามารถนาํไปใชประกอบกจิกรรมการสอนไดเปนอยางด ี ชวยใหการเรียนการสอนของครูประสบผลสําเร็จ

ออมนอย เจริญธรรม (2533 : 54) กลาววา แบบฝกเปนอุปกรณการสอนอยางหนึ่ง ท่ีสรางขึ้นมาเพ่ือฝกทักษะนกัเรยีนหลังจากเรยีนเนื้อหาไปแลว ชวยทําใหเดก็มีพัฒนาการทางภาษาดขีึ้น เพราะทําใหนกัเรียนมีโอกาสนําความรูท่ีไดเรยีนมาแลวฝกใหเกิดความเขาใจกวางขวางมากขึ้น แบบฝกสามารถฝกทักษะทางภาษาไดทุกๆ ดาน ถานักเรียนมีโอกาสฝกหัดจนเกดิ ความเขาใจจริงๆ แบบฝกชวยใหการสอนของครูและการเรียนของนกัเรียนประสบความสําเร็จ

ขจีรัตน หงสประสงค (2534 : 15) กลาววาแบบฝกเปนอุปกรณการเรียนการสอนอยางหนึ่ง ท่ีครูใชฝกทักษะหลังจากท่ีนักเรียนไดเรยีนเนื้อหาจากแบบเรยีนแลว โดยสรางขึน้เพ่ือเสริมสรางทักษะใหแกนักเรยีน มีลักษณะเปนแบบฝกหัดท่ีมีกิจกรรมใหนกัเรียนกระทํา โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาความสามารถของนกัเรียน จินตนา ใบกาซูยี (2535 : 17) กลาววา แบบฝกหรือแบบฝกหัดเปนส่ือการเรียนสําหรับใหผูเรยีนไดฝกปฏิบัติ เพ่ือชวยเสริมใหเกดิทักษะและความแตกฉานในบทเรยีน นอมศรี เคท (2536 : 54) กลาววา เม่ือครูไดสอนเนื้อหา แนวคิดหรือหลักการเรื่องใดเรื่องหนึ่งใหกับนกัเรียน และนกัเรียนมีความรูความเขาใจในเรื่องนัน้แลว ขั้นตอไปครูจําเปนตองจัดกิจกรรมใหนกัเรียนไดฝกฝน เพ่ือใหมีความชํานาญ คลองแคลว ถูกตอง แมนยํา และรวดเรว็ หรือท่ีเรียกวาฝกฝนเพ่ือใหเกดิทักษะ วรสุดา บุญยไวโรจน (2536 : 37) กลาววา แบบฝกหัดเปนส่ือการสอนที่จัดทําขึ้นเพ่ือใหผูเรยีนไดศึกษา ทําความเขาใจ และฝกฝนจนเกดิแนวคดิท่ีถูกตอง และเกดิทักษะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนั้นแบบฝกหัดยังเปนเครื่องชวยบงช้ีใหครูทราบวาผูเรยีนหรือผูใชแบบฝกหัดมีความรูความเขาใจในบทเรียน และสามารถนาํความรูนั้นไปใชไดมากนอยเพียงใด ผูเรยีนมีจุดเดนท่ีควรสงเสริมหรือมีจุดดอยท่ีตองปรบัปรุงแกไข ตรงไหน อยางไร แบบฝกหัดจึงเปนเครื่องมือสําคัญท่ีครูทุกคนใชในการตรวจสอบความรู ความเขาใจ และพัฒนาทักษะของนักเรียนในวิชาตางๆ สงบ ลักษณะ (2536 : 61) กลาววา ชุดแบบฝกเปนส่ือใชฝกทักษะการคดิ การวิเคราะห การแกปญหา และการปฏิบัติของนกัเรียน นิยมใชในกลุมวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร จากความเห็นของนกัวชิาการเกี่ยวกับความหมายและความสําคัญของแบบฝกหรือ แบบฝกหัด จึงพอสรุปไดวา แบบฝกหรือแบบฝกหัด คือส่ือการเรียนการสอนชนิดหนึ่ง ท่ีใชฝกทักษะใหกับผูเรยีน หลังจากเรยีนจบเนื้อหาในชวงหนึ่งๆ เพ่ือฝกฝนใหเกดิความรูความเขาใจ รวมท้ังเกิดความชํานาญในเรื่องนั้นๆ อยางกวางขวางมากขึ้นดังนั้นแบบฝกจึงมีความสําคัญตอผูเรยีนไมนอย ในการท่ีจะชวยเสริมสรางทักษะใหกับผูเรียนไดเกดิการเรียนรูและเขาใจเรว็ขึ้น ชัดเจนขึน้ กวางขวางขึ้น ทําใหการสอนของครูและการเรยีนของนกัเรียนประสบผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ 4.2 ประโยชนของแบบฝก

แพตตี้ (Patty. 1963 : 469-472 อางใน ประภา ตนัตวิุฒิ 2542 : 28) ไดกลาวถึงแบบฝกกับการเรียนรูไว 10 ประการ สรุปไดดังนี ้ 1. เปนสวนเพ่ิมเตมิหรอืเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนท่ีชวยลดภาระครไูดมาก เพราะแบบฝกเปนส่ิงท่ีจดัทําขึ้นอยางเปนระบบและมีระเบียบ 2. ชวยเสริมทักษะ แบบฝกหัดเปนเครื่องมือท่ีชวยเดก็ในการฝกทักษะ แตท้ังนีจ้ะตองอาศัยการสงเสริมและความเอาใจใสจากครูผูสอนดวย 3. ชวยในเรื่องตามแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากเดก็มีความสามารถทางภาษาแตกตางกัน การใหเดก็ทําแบบฝกหัดท่ีเหมาะสมกับความสามารถของเขา จะชวยใหเดก็ประสบผลสําเร็จในดานจิตใจมากขึน้ ดังนัน้แบบฝกหัดจึงไมใชสมุดฝกท่ีครูจะใหแกเดก็บทตอบท หรือหนาตอหนา แตเปนแหลงประสบการณเฉพาะสําหรับเด็กท่ีตองการความชวยเหลือพิเศษ และเปนเครื่องมือชวยท่ีมีคาของครูท่ีจะสนองความตองการเปนรายบุคคลในช้ัน 4. แบบฝกหัดชวยเสริมใหทักษะคงทน ลักษณะการฝกเพ่ือชวยใหเกิดผลดังกลาวนั้นไดแก 1) ฝกทันทีหลังจากท่ีเด็กไดเรียนรูในเรื่องนั้นๆ 2) ฝกซํ้าหลายๆ ครั้ง 3) เนนเฉพาะในเรื่องท่ีผิด 5. แบบฝกหัดท่ีใชจะเปนเครื่องมือวดัผลการเรยีนหลังจากจบบทเรยีนในแตละครั้ง 6. แบบฝกหัดท่ีจัดทําขึ้นเปนรูปเลมเดก็สามารถเกบ็ไวใชเปนแนวทางเพื่อทบทวนดวยตัวเองไดตอไป 7. การใหเดก็ทําแบบฝกหัดชวยใหครูมองเห็นจดุเดนหรอืปญหาตางๆ ของเดก็ไดชัดเจน ซ่ึงจะชวยใหครูดําเนนิการปรับปรุงแกไขปญหานัน้ๆ ไดทันทวงที 8. แบบฝกหัดท่ีจัดขึ้นนอกเหนอืจากท่ีมีอยูในหนงัสือแบบเรียนจะชวยใหเดก็ไดฝกฝนอยางเต็มท่ี 9. แบบฝกท่ีจัดพิมพไวเรียบรอยแลว จะชวยทําใหครูประหยัดท้ังแรงงานและเวลาใน การท่ีจะตองเตรยีมสรางแบบฝกอยูเสมอ ในดานผูเรยีนก็ไมตองเสียเวลาในการลอกแบบฝกหัดจากตําราเรียนหรือกระดานดําทําใหมีเวลาและโอกาสไดฝกฝนทักษะตางๆ มากขึน้ 10. แบบฝกหัดชวยประหยัดคาใชจาย เพราะการจัดพิมพขึน้เปนรูปเลมท่ีแนนอน ยอมลงทุนต่ํากวาการท่ีจะใชวิธีพิมพลงกระดาษไขทุกครั้งไป นอกจากนี้มีประโยชนในการท่ีผูเรียนสามารถบันทึกและมองเห็นความกาวหนาของตนเองไดอยางมีระบบและเปนระเบียบ

4.3 หลักจิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางแบบฝก การสรางแบบฝกท่ีด ี จําเปนตองคํานึงถึงหลักจติวิทยาเปนสําคัญ เพราะจะชวยไดแบบฝก ท่ีเหมาะสมกับผูเรียนมากขึ้น ดังนั้น ในการสรางแบบฝก ครั้งนี้ ไดอาศัยหลักสําคัญตามทฤษฎีการเรียนรูทางจิตวิทยามาใช พรรณ ี ชูทัย (2522 : 192-195) ไดเสนอแนวคิดของนักจิตวิทยาท่ีเกี่ยวของกับแบบฝก สรุปไดดังนี ้ 1. กฎการเรยีนรู ของธอรนไดค (Thomdike) แบบฝก ท่ีสรางตามหลักจิตวทิยานี้ นักเรยีนควรรูคําตอบการทําแบบฝก หลังทําแบบฝกเสร็จ 2. การฝกหัดของวตัสัน (Watson) แบบฝก ตามหลักจติวทิยานี้เนน การทําซํ้าๆ เพ่ือจําไดนานและเขียนไดถูกตอง เพราะการเขียนเปนทักษะท่ีตองฝกหัดอยูเสมอ 3. การเสริมแรงของ ธอรนไดค (Thomdike) ในการสอนฝกทักษะ ครูตองใหกําลังใจนกัเรียน เพ่ือใหนักเรียนเกดิความภมิูใจในตนเองและรูสึกประสบความสําเร็จในงานท่ีทํา 4. แรงจูงใจ เปนส่ิงสําคัญในการเรียน ครตูองกระตุนใหนักเรียนตื่นตวั อยากรูอยากเรียน แบบฝก ตองมีส่ิงท่ีนาสนใจใหนกัเรียนอยากฝกและเกิดการเรียนรู สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย (2523:52-62) กลาวถึงหลักจิตวทิยาท่ีใชในการสรางแบบฝก สรุปไดดังนี ้ 1. กฎการเรยีนรูของ ธอรนไดค (Thomdike) เกี่ยวกับการฝกหัดซ่ึงสอดคลองกับการทดลองของ วตัสัน (Watson) นั่นคือ ส่ิงใดกต็ามท่ีมีการฝกหัดหรือกระทําบอยๆ ยอมทําใหผูฝกคลองแคลวสามารถทําไดด ี 2. ความแตกตางระหวางบุคคล เปนส่ิงท่ีควรคาํนึงดวย นกัเรียนมี ความถนัด ความสามารถ และความสนใจตางกนั การสรางแบบฝก ท่ีเหมาะสมตองไมยากหรืองายเกินไป และควรมีหลายแบบ ใหเหมาะสมกับความแตกตางระหวางบุคคล 3. การจูงใจนกัเรียนในการทําแบบฝก ควรจัดแบบฝก จากงายไปหายาก เพ่ือดึงดูดความสนใจทําใหนกัเรียนประสบความสําเร็จในการทําแบบฝก 4. การนําส่ิงท่ีมีความหมายตอชีวิตและการเรียนรูมาใหนกัเรียนทํา ภาษาท่ีใชพูดใชเขียนในชีวิตประจําวัน ทําใหผูเรยีนไดเรียนจากส่ิงใกลตัว ทําใหจําแมนและนําความรูไปใชประโยชนไดดวย จากแนวคิดดังกลาวขางตน ผูวิจยัไดใชแนวทางตามหลักจติวทิยาในการสรางแบบฝก ดังนี ้

1. กฎการเรยีนรูของธอรนไดค (Thomdike) คือการสรางแบบฝก หลายๆ แบบฝก ใหนกัเรียนไดทําซํ้าๆ ทําใหเกิดทักษะ 2. ความแตกตางระหวางบุคคล คือการสรางแบบฝกท่ีไมยากหรือไมงายเกินไป 3. กฎแหงผล คือการท่ีนกัเรียนไดทราบผลการทํางานของตน ดวยการเฉลยคําตอบให จะชวยใหนักเรยีนทราบขอบกพรองเพ่ือปรับปรุงแกไข และเปนการสรางความพอใจใหแกนกัเรียน 4. การจูงใจคือการจดัแบบฝก เรียงตามลําดับจากแบบฝก งายไปสูเรื่องท่ียากขึ้น การใชภาพและรูปแบบการจัดทําท่ีหลากหลายเปนส่ิงเราใหนักเรียนอยากรู อยากเรยีน

4.4 ลักษณะของแบบฝกที่ด ี แบบฝกเปนเครื่องมือสําคัญท่ีจะชวยเสริมทางทักษะใหกับผูเรยีน การสรางแบบฝกใหมีประสิทธิภาพจึงจําเปนจะตองศึกษาองคประกอบและลักษณะของแบบฝก เพ่ือเลือกใชใหเหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรยีน วรสุดา บญยไวโรจน (2536 : 37) กลาวแนะนําใหผูสรางแบบฝกไดยึดลักษณะของแบบฝกท่ีดีไวดงันี ้ 1. แบบฝกหัดท่ีดีควรมีความชัดเจนท้ังคําส่ังและวิธีทํา คําส่ังหรือตัวอยางแสงดวิธีทําท่ี ไมใชไมควรยาวเกินไปเพราะจะทําใหเขาใจยาก ควรปรับใหงายเหมาะสมกับผูใช ท้ังนี้เพ่ือใหนักเรียนสามารถศึกษาดวยตนเองไดถาตองการ 2. แบบฝกหัดท่ีดีควรมีความหมายตอผูเรยีนและตรงตามจดุมุงหมายของการฝก ลงทุนนอยใชไดนานๆ และทันสมัยอยูเสมอ 3. ภาษาและภาพท่ีใชในแบบฝกหัดควรเหมาะสมกบัวยัและพ้ืนฐานความรูของผูเรียน 4. แบบฝกหัดท่ีดีควรแยกฝกเปนเรื่องๆ แตละเรื่องไมควรยาวเกินไป แตควรมีกจิกรรมหลายรูปแบบ เพ่ือเราใหนักเรียนเกิดความสนใจและไมนาเบ่ือหนายในการทํา และเพ่ือฝกทักษะใดทักษะหนึ่งจนเกดิความชํานาญ 5. แบบฝกหัดท่ีดีควรมีท่ังแบบกําหนดใหแบบใหตอบโดยเสร ี การเลือกใชคํา ขอความหรือรูปภาพในแบบฝกหัด ควรเปนส่ิงท่ีนกัเรียนคุนเคยและตรงกบัความในใจของนกัเรียน เพ่ือวาแบบฝกหัดท่ีสรางขึ้นจะไดกอนใหเกิดความเพลิดเพลินและพอใจแกผูใช ซ่ึงตรงกบัหลักการเรยีนรูท่ีวาเด็กมักจะเรียนรูไดเรว็ในการกระทําท่ีกอนใหเกิดความถึงพอใจ 6. แบบฝกหัดท่ีดีควรเปดโอกาสใหผูเรยีนไดศึกษาดวยตนเอง ใหรูจักคนควา รวบรวมส่ิงท่ีพบเห็นบอยๆ หรือท่ีตัวเองเคยใช จะทําใหนกัเรียนเขาใจเรื่องนั้นๆ มากยิ่งขึ้น และจะรูจักนํา

ความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง มีหลักเกณฑและมองเห็นวาส่ิงท่ีเขาไดฝกฝนนัน้มีความหมายตอเขาตลอดไป 7. แบบฝกหัดท่ีดีควรตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล ผูเรยีนแตละคนมี ความแตกตางกันในหลายๆ ดาน เชน ความตองการ ความสนใจ ความพรอม ระดับสติปญญาและประสบการณ ฯลฯ ฉะนัน้การทําแบบฝกหัดแตละเรือ่งควรจดัทําใหมากพอและมีทุกระดับตั้งแตงาย ปานกลาง จนถึงระดับคอนขางยาก เพ่ือวาท้ังเด็กเกง กลาง และออนจะไดเลิกทําไดตามความสามารถ ท้ังนี้เพ่ือใหเดก็ทุกคนประสบความสําเร็จในการทําแบบฝกหัด 8. แบบฝกหัดท่ีดีควรสามารถเราความสนใจของนกัเรียนไดตั้งแตหนาปกไปจนถึงหนาสุดทาย 9. แบบฝกหัดท่ีดีควรไดรับการปรบัปรุงควบคูไปกบัหนงัสือแบบเรียนอยูเสมอ และควรใชไดดีท้ังในและนอกหองเรียน 10. แบบฝกหัดท่ีดีควรเปนแบบฝกหัดท่ีสามารถประเมิน และจําแนกความเจรญิงอกงามของเด็กไดดวย ดังนั้นลักษณะของแบบฝกท่ีดี จึงควรคํานึงถึงหลักจติวิทยาการเรียนรูผูเรยีนไดศึกษาดวยตนเอง ความครอบคลุมและสอดคลองกับเนื้อหา รูปแบบนาสนใจ คําส่ังชัดเจน

บิลโลว (Billow 1962 : 87 อางในประภา ตันติวุฒ ิ 2542 : 26) กลาวถึงลักษณะของแบบฝกท่ีดีไว สรุปไดวา แบบฝกท่ีดีตองดึงดูดความสนใจและสมาธิของเดก็ เรียงลําดับจากงายไปหายาก เปดโอกาสใหเด็กฝกเฉพาะอยาง ใชภาษเหมาะสมกับวยั วฒันธรรม ประเพณี ภูมิหลังทางภาษาใหเด็ก รีเวอร (River 1968 97-705 อางในประภา ตันติวุฒ ิ 2542 : 26) กลาวถึงลักษณะของแบบฝกไว สรปุไดวา บทเรียนทุกเรื่องควรมีแบบฝกใหนักเรียนฝกมากพอ การฝกแตละครั้งควรเปนบทฝกส้ันๆ การใชประโยคและคําศัพทสอดคลองกับชีวิตประจําวนั เปนแบบฝกท่ีสงเสรมิความคดิ ควรเปนแบบฝกหลายๆ รูปแบบ และควรฝกจากส่ิงท่ีนกัเรียนเรียนมาแลว และสามารถนาํไปใชประโยชนในชีวิตประจําวนัได สรุปไดวา แบบฝกท่ีดคีวรดึงดดูความสนใจของผูเรียนได โดยใชภาพ หรือขอความท่ีตรงกับความสนใจของผูเรียน เรียงลําดับจากงายไปยาก ใชภาษาท่ีเหมาะสมกับวัย สามารถใชกับผูเรียนท่ีเรียนเกงและเรียนออนได สงเสริมความคดิและสามารถนาํไปใชในชีวิตประจําวันของผูเรียนได สอดคลองกับแนวทางปฏิบัต ิดังนี้ ใชหลักจิตวิทยา ใชภาษาถูกตอง ใหความหมายตอชีวิต คิดไดเรว็และสนุก ปลุกความสนใจ เหมาะสมกับวัยและความสามารถ อาจศึกษาไดดวยตนเอง

4.5 แนวทางการพัฒนาแบบฝก 4.5.1 สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544 : 11) กลาวถึง สวนประกอบของแบบฝกหรือแบบฝกหัด ไวดังนี ้

1. คูมือการใชแบบฝก เปนเอกสารสําคญัประกอบการใชแบบฝกวาใชเพ่ืออะไร และมีวิธีการใชอยางไร เชน ใชเปนงานฝกทายบทเรียน ใชเปนการบาน หรือใชสอนซอมเสริม ควรประกอบดวย - สวนประกอบของแบบฝก จะระบุวาในแบบฝกชุดนี้มีแบบฝกท้ังหมดกี่ชุด อะไรบาง และมีสวนประกอบอ่ืนๆ หรือไม เชน แบบทดสอบ หรือแบบบันทึกผลการประเมิน - ส่ิงท่ีครูหรือนักเรยีนตองเตรยีม (ถามี) จะเปนการบอกใหครูหรือนักเรียนเตรียมตัวใหพรอมลวงหนากอนเรียน - จุดประสงคในการใชแบบฝก - ขั้นตอนในการใชบอกขอๆ ตามลําดับการใช และอาจเขียนในรูปของแนว การสอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยิ่งขึ้น - เฉลยแบบฝกในแตละชุด

2. แบบฝก เปนส่ือท่ีสรางขึ้นเพ่ือใหผูเรยีนฝกทักษะเพ่ือใหเกิดการเรยีนรูท่ีถาวร ควรมีสวนประกอบดังนี ้ - ช่ือแบบฝกในแตละชุดยอย - จุดประสงคหรือผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั - คําส่ัง - ตัวอยาง - แบบฝก - ภาพประกอบ - ขอสอบกอนและหลังเรียน - แบบประเมินบันทึกผลการใช 4.5.2 รูปแบบของการสรางแบบฝก

สุนันทา สุนทรประเสริฐ (2544 : 12 – 17) กลาวถึง การสรางแบบฝกเพ่ือใชประกอบในการจดัการเรยีนการสอน ในวชิาตางๆ นั้น จะเนนส่ือการสอนในลักษณะ

เอกสารแบบฝกหัดเปนสวนสําคญั ดังนัน้การสรางจึงควรใหมีความสมบูรณท่ีสุดท้ังในดานเนื้อหา รูปแบบและกลวิธีในการนําไปใช ซ่ึงควรเปนเทคนคิของแตละคน โดยไดใหขอเสนอแนะไวดังนี ้ 1. พึงระลึกเสมอวาตองใหผูเรยีนศึกษาเนื้อหากอนใชแบบฝก 2. ในแตละแบบฝกอาจมีเนื้อหาสรุปยอหรือเปนหลักเกณฑไวในผูเรยีนไดศึกษาทบทวนกอนก็ได 3. ควรสรางแบบฝกใหครอบคลุมเนื้อหาและจุดประสงคท่ีตองการและไมยากหรืองายจนเกินไป 4. คํานึงถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรูของเดก็ใหเหมาะสมกบัวฒุิภาวะ และความแตกตางของผูเรียน 5. ควรศึกษาแนวทางการสรางแบบฝกใหเขาใจกอนปฏิบัติการสราง อาจนาํหลักการของผูอ่ืน หรือทฤษฎีการเรียนรูของนกัการศึกษา หรือนกัจติวทิยามาประยกุตใช ใหเหมาะสมกับเนื้อหา และสภาพการณได 6. ควรมีคูมือการใชแบบฝก เพ่ือใหผูสอนคนอ่ืนนําไปใชไดอยางกวางขวาง หากไมมีคูมือตองมีคําช้ีแจงขัน้ตอนการใชท่ีชัดเจน แนบไปในแบบฝกหัดดวย 7. การสรางแบบฝก ควรพิจารณารูปแบบใหเหมาะสมกับธรรมชาติของแตละเนื้อหาวิชา รูปแบบจึงควรแตกตางกนัตามสภาพการณ 8. การออกแบบชุดฝกควรมีความหลากหลาย ไมซํ้าซาก ไมใชรูปแบบเดยีวเพราะจําทําใหผูเรยีนเกดิความเบ่ือหนาย ควรมีแบบฝกหลายๆ แบบ เพ่ือฝกใหผูเรยีนไดเกิดทักษะอยางกวางขวาง และสงเสริมความคดิสรางสรรคอีกดวย 9. การใชภาพประกอบเปนส่ิงสําคัญท่ีจะชวยใหแบบฝกนัน้นาสนใจ และยังเปนการพักสายตาใหกับผูเรียนอีกดวย 10. การสรางแบบฝกหากตองการใหสมบูรณครบถวน ควรสรางในลักษณะของเอกสารประกอบการสอน (ศึกษารายละเอียดจากคูมือการฝกอบรมปฏิบัติการ “การผลิตเอกสารประกอบการสอน”) แตเนนความหลากหลายของแบบฝกมากกวา และเนื้อหาท่ีสรุปไวจะมีเพียงยอๆ 11. แบบฝกตองมีความถูกตอง อยาใหมีขอผิดพลาดโดยเด็ดขาด เพราะเหมือนกับยืน่ ยาพิษใหกับลูกศิษยโดยรูเทาไมถึงการณ เขาจะจาํในส่ิงท่ีผิดๆ ตลอดไป 12. คําส่ังในแบบฝกเปนส่ิงสําคัญ ท่ีมิควรมองขามไป เพราะคําส่ังคอืประตูบานใหญท่ีจะไขความรูความเขาใจของผูเรียนเขาไปสูความสําเร็จ คําส่ังจึงตองส้ันกะทัดรัด ชัดเจน และเขาใจไดงาย ไมทําใหผูเรียนสับสน

13. การกําหนดเวลาในการใชแบบฝกในแตละชุดควรใหเหมาะสมกับเนื้อหา และ ความสนใจของผูเรียน 14. กระดาษท่ีใชควรมีคุณภาพเหมาะสม มีความเหนยีวและทนทาน ไมเปราะบาง หรือขาดงายจนเกินไป

4.4.3 ขั้นตอนการสรางแบบฝก สํานักคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต ิ(2531 : 174 อางใน ดวงคดิ วงศภกัดิ์ 2539 : 23) ไดเสนอขันตอนการสรางแบบฝกสําหรับขาราชการครู เปนเอกสารแนวทางการทําผลงานวิชาการ มีขั้นตอนดังนี ้ 1. ศึกษาปญหาและความตองการ โดยศึกษาจากการผานจดุประสงคการเรียนและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หากเปนไปไดศึกษาความตอเนื่องของปญหาทุกระดับช้ัน 2. วิเคราะหเนื้อหาหรือทักษะท่ีเปนปญหาออกเปนเนื้อหาทักษะยอยๆ เพ่ือใชในการสรางแบบฝก แบบทดสอบ 3. พิจารณาวตัถุประสงค รูปแบบ และขั้นตอนการใชแบบฝกการอาน 4. สรางแบบทดสอบ เชน แบบทดสอบเชิงสํารวจ แบบทดสอบเพ่ือวินิจฉัยขอบกพรอง แบบทดสอบความกาวหนาเฉพาะเรื่อง 5. สรางบัตรฝกหัด เพ่ือพัฒนาทักษะยอย แตละทักษะในแตละบัตรจะมีคําถาม ใหนักเรยีนตอบ การกําหนดรูปแบบ พิจารณาตามความเหมาะสม 6. สรางบัตรอางอิง เพ่ือใชอธิบายคําตอบ หรือแนวการตอบแตละเรื่อง 7. สรางแบบบันทึกความกาวหนา เพ่ือใชบันทึกผลการทดลอง 8. นําแบบฝกหัดไปทดลองใช เพ่ือหาขอบกพรอง 9. ปรับปรุงแกไข 10. รวบรวมเปนชุด จัดทําคาํช้ีแจง คูมือการใช สารบัญ เพ่ือเปนประโยชนตอไป 5. เอกสารท่ีเกี่ยวของกับความพึงพอใจ

ความหมายของความพึงพอใจ

กิตติมา ปรดีีดิลก (2529 : 321 – 322) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกชอบหรือพอใจท่ีมีตอองคประกอบและส่ิงจูงใจในดานตางๆ และไดรับการตอบสนองความตองการท่ีเหมาะสม จรัส โพธ์ิจันทร (2531 : 17) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง ความรูของบุคคลตอหนวยหรือองคกร ซ่ึงอาจเปนความรูสึกทางบวก เปนกลางหรอืทางลบ ความรูสึกเหลานี้มีผลตองาน กลาวคือ หากโนมเอียงไปในทางบวกในทางปฏิบัติงานจะสงผลตอกําลังใจผูปฏิบัติงานในทางท่ีดี แตหากความรูสึกเอียงไปในทางลบการปฏิบัติงานจะตองปรบัปรุงพัฒนา ยุคล ทองตัน (2533 : 14) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ ไววา ความพึงพอใจเปนเรื่องของความรูสึกท่ีดี ความสุขของบุคคลท่ีเกดิจากไดรับบริการท่ีจะสงผลดีตองาน สวน ความ ไมพอใจนั้นจะมีผลตรงกันขาม มาลิน ี เชษฐโชติศักดิ์ (2534 : 28) กลาววาความพึงพอใจ เปนความรูสึกหรือทัศนคติทางบวกของบุคคลท่ีมีตอส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ซ่ึงจะเกิดขึ้นก็ตอเม่ือส่ิงนั้นตอบสนองความตองการใหแกบุคคลนั้นได สมยศ นาวีการ (2534 : 39) ไดใหความหมายความพึงพอใจวา หมายถึงความรุนแรงของความตองการของผูใชบรกิารเพ่ือผลลัพธอยางใดอยางหนึ่ง ความพึงพอใจอาจเปนไดท้ังทางบวกและทางลบภายใตสถานการณการทํางาน การใหบริการ การปรับปรุงพัฒนา กอใหเกดิ ความพึงพอใจในทางบวก สวนความขดัแยงการตําหนิหรอืการลงโทษแบบตาง ๆ ยอมกอใหเกิดความพึงพอใจในทางลบ พิน คงพูล (2535 : 21) ไดสรุปความหมายความพึงพอใจ ไววา ความรูสึกรกั ชอบ ยินดี เต็มใจ หรือเจตคติท่ีดีตองานท่ีบุคคลไดรับบรกิาร ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคคลหรือองคกรและเกิดจากการไดรับการตอบสนองความตองการท้ังดานวัตถุและดานจิตใจ ธารา เครือละมาย ไดใหความหมายของความพึงพอใจวา เปนเรื่องท่ีเกี่ยวกับสภาพจิตใจหรือทาทีของจิตใจ หรือทัศนคติของบุคลท่ีมีตอลักษณะงานท่ีปฏิบัต ิ รวมท้ังส่ิงแวดลอมท่ีเกี่ยวของกับงานท่ีปฏิบัติ ซ่ึงส่ิงแวดลอมดังกลาวมีสวนเกีย่วของกับขวญัของบุคคลนัน้ดวย จากความหมายของความพึงพอใจท่ีรวบรวมมานี้สวนใหญจะมีความคดิเห็นคลายคลึงกนัหากพิจารณาความหมายท่ีกลาวขางตน พอจะสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทาทีหรอืทัศนคติของบุคคล ท่ีมีตอส่ิงใดส่ิงหนึ่งหรือปจจยัตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เปนความรูสึกท่ีมีความสุขเม่ือไดรับความสําเร็จ ตามความมุงหมายตามความตองการ เปนระดับความพอใจท่ีมีตองานท่ีกระทํา ซ่ึงเกดิขึน้จากความสนใจและทัศนคตขิองบุคคลท่ีมีตอสภาพการทํางานหรือ การปฏิบัตินั้นๆ ความรูสึกพึงพอใจจะเกดิขึ้นเม่ือความตองการของบุคคลไดรับการตอบสนองหรือ

บรรลุตามจุดมุงหมายในระดับหนึ่ง ความรูสึกดังกลาวจะลดลง หรือไมเกิดขึ้นหากความตองการ หรือจุดหมายนั้นไมไดรับการตอบสนอง และความพึงพอใจหรอืทัศนคติ นัน้เปนคําท่ีใชแทนกนัได 6. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการอาน การเขียนภาษาไทยและแบบฝก 6.1 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการอานและแบบฝก ดวงคดิ ดวงภักดิ์ (2539) การพัฒนาชุดฝกทักษะการอานจบัใจความสําคญัสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีใชภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง โรงเรียนสันตคิีรี จังหวดัเลย จํานวน 40 คน ผลการวจิยัพบวา ชุดฝกทักษะการอานจบัใจความสําคัญท่ีพัฒนาขึน้มีประสิทธิภาพ 95.50/63.15 ซ่ึงสูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว 60/60 คะแนนเฉล่ียของการทดสอบกอนเรียน และหลังเรียนแตกตางกนัอยางไรมีนัยสําคญัท่ีระดับ .05 และจากการสังเกตพฤตกิรรมการเรียนนักเรียนมีความสนใจ ตั้งใจแลกระตือรือรนท่ีจะเรียน นิตยา เดชแล (2540) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอานเพ่ือจับใจความและความคงทนในการเรยีนรูวิชาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ระหวางการสอนแบบกลุมเพ่ือนและการสอนปกติ โรงเรียนวังนอยวิทยาภูมิ จังหวดัอยธุยา จํานวนนกัเรียน 48 คน ผลการวิจยัพบวา ผลสัมฤทธ์ิการอานเพ่ือจับใจความ วิชาภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีนักเรียนโดยการสอนแบบกลุมเพ่ือนชวยเพ่ือนสูงกวานักเรยีนท่ีเรียนโดยการสอนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ความคงทนในการเรยีนรูภาษาไทย ดานการอานเพ่ือจับใจความของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีเรียนโดยการสอนแบบกลุมเพ่ือนชวยเพ่ือน และนักเรียนท่ีเรียนโดยการสอนแบบปกติ ไมแตกตางกนั ทิพยสุดา จงกล (2541) การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานและการเขียนสะกดคาํยากวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 กลุมทดลองนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนบานคําปาหวาน จํานวน 30 คน ผลการวจิยัและพัฒนาในครั้งนี้พบวาแบบฝกมีประสิทธิภาพ ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามเกณฑท่ีตั้งไวจรงิ แบบฝกชวยใหผูเรยีนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น บุปผา ลวนเล็ก (2541 : บทคัดยอ) การพัฒนาชุดการสอนการอานจบัใจความวิชาภาษาไทยสําหรับนักเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โดยใชหนังสือสําหรับเด็กเปนส่ือหลัก กลุมตัวอยางท่ีใชในการวจิยัเปนนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนบานรวมไทย สํานกังาน การประถมศึกษาจังหวัดประจวบครีีขนัธ ปการศึกษา 2538 จํานวน 30 คน ไดมาดวยวิธีการสุมตัวอยางงาย ผลการวิจยัพบวา ชุดการสอนท่ีสรางขึ้นท้ัง 6 หนวยมีประสิทธิภาพ 81.11/80.00

79.33/80.33 79.66/81.00 78.24/79.67 และ 81.00/80.33 เปนไปตามเกณฑ 80/80 ท่ีตั้งไว ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนจากชุดการสอนเพ่ิมขึ้นอยามีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และนักเรียนมีความคดิเห็นตอการเรียนจากชุดการสอนในระดับดมีาก สมเดช เจริญชนม (2541) การเปรียบเทียบความสามารถและเจตคติท่ีมีตอการอานภาษาไทยของนักเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีเรียนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอานดานการรูจกัคําแบบฝกท่ัวไป ของโรงเรียนบานโพหวาย อําเภอเมืองสุราษฎรธานี จังหวดัสุราษฎรธาน ี จํานวน 60 คน แบบแผนในการทดลองครั้งนี้คือ Randomized control Group Posttest only design ผลการทดลองพบวา นกัเรียนท่ีเรียนซอมเสริมดวยแบบฝกท่ัวไปมีความสามารถใน การอานสูงกวา นกัเรียนท่ีเรียนซอมเสริมดวยแบบฝกท่ัวไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และดานการวัดเจตคตท่ีิมีตอการอานภาษาไทยของนักเรยีนพบวาหลังการทดลองนักเรียนท่ีเรยีนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอานดานการรูจักคํามีเจตคตท่ีิดีตอการอานภาษาไทยสูงกวานักเรียนท่ีเรยีนซอมเสริมดวยแบบฝกท่ัวไปอยางมีนัยสําคญัทางสถิติท่ีระดับ .01 จากเอกสารงานวิจยัท่ีเกี่ยวของท่ีนักการศึกษาไดทําการวิจยั เกี่ยวกับการอานจะเห็นวาแบบฝกชวยพัฒนาการอานและเจตคติตอการอานของนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาทําใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น และมีเจตคติท่ีดีตอการอานภาษาไทย

6.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเขยีนและแบบฝก วันเพ็ญ เนียมสุข (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธ์ิและเจตคติตอการเขียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใชแบบฝกการเขียนเชิงสรางสรรคและแบบฝกการเขียนท่ีครูเปนผูกําหนดเนื้อเรื่อง โรงเรยีนศีลขนัธาราม จังหวัดอางทอง จํานวน 60 คน ผลการวิจยัพบวานกัเรียนท่ีเรียนโดยใชแบบฝกการเขยีนเชิงสรางสรรค มีผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนและเจตคตติอการเขียนสูงกวานกัเรียนท่ีเรียนโดยใชแบบฝกการเขียนท่ีครูเปนผูกําหนดเนื้อเรื่องอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นอกจากนี้ยังพบวานักเรียนท้ังสองกลุมมีผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนและเจตคตติอการเขียนสูงขึน้เม่ือไดเรียนโดยใชแบบฝกท้ังสองแบบแลว สมจิตร เสารศรีจันทร (2538 : บทคัดยอ) เปรยีบเทียบผลสัมฤทธ์ิของการฝกทักษะการเขยีนสะกดคําภาษาไทยของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลเชียงใหมโดยใชแบบฝกทักษะท่ีสรางขึน้ กับการสอนปกติ จํานวนนกัเรียน 80 คน ผลการวิจยัพบวาผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ท้ังกลุมทดลองท่ีเรียนโดยใชแบบฝกทักษะการเขยีนสะกดคํา และกลุมควบคมุท่ีเรียนตามปกต ิ ผลสัมฤทธ์ิของกลุมทดลอง ซ่ึงเรียนโดยใชแบบฝกทักษะ

กก

การเขียนสะกดคําสูงกวากลุมควบคุมท่ีเรียนตามปกต ิ โดยมีคาความตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 จํานง โปธาเกี๋ยง (2538 : บทคัดยอ) ศึกษาผลการใชแบบฝกการเขียนสะกดคํายากเพ่ือ การสอนซอมเสริม สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีใชภาษาอ่ืนมากกวาภาษาไทย กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจยัคือนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานเมืองนะ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม จํานวน 28 คน ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนสะกดคํากอนและหลังเรียน โดยใชคา ที (t-test) พบวา แบบฝกการเขียนสะกดคํายากท่ีสรางขึ้น ไดยดึหลักการคือมีจดุมุงหมายในการฝกท่ีชัดเจน เปนไปตามลําดับความยากงาย คํานึงถึงความแตกตางของเดก็ มีคําช้ีแจงท่ีชัดเจน มีความถูกตอง มีหลายแบบ เหมาะสมกับเวลา และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการฝกฝนหลายๆ ครั้ง เพ่ือใหเกิดทักษะในการเขยีนสะกดคําท่ีถูกตอง และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 วรรณา แซตั้ง (2541 บทคัดยอ) การสรางแบบฝกหัดการเขยีนสะกดคํา สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 โรงเรยีนวดัทรพัยสโมสร สํานักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ตามเกณฑมาตรฐาน รอยละ 80/80 และศึกษาผลสัมฤทธ์ิการเขียนสะกดคําของนักเรียนภายหลังการเรียนดวยแบบฝกหัดการเขยีนสะกดคาํ ผลการทดลองพบวา 1) แบบฝกหัดการเขียนสะกดคํามีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐานรอยละ 80/80 ตามท่ีตั้งไว 2) นกัเรียนท่ีไดรับการเรยีนดวยแบบฝกหัดการเขียนสะกดคํามีผลสัมฤทธ์ิการเขยีนสะกดคาํสูงกวากอนสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 จากเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวของซ่ึงไดศึกษามา จะพบวาแบบฝกชวยพัฒนาการเขียนและเจตคตติอการเขียนของนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาทําใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น และมีเจตคตท่ีิดีตอการเขียนภาษาไทย ท้ังนี้ผูวจิยัไดสรุปเปนกรอบแนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาได ดังนี ้ ความสําคัญของการอานและการเขียน

- กระบวนการอานและการเขียน - ความสามารถในการอานและการเขียน - เปนเคร่ืองมือสําคัญในการเรียนและ

สภาพการจัดกิจกรรมการอานและการเขียน - ครูไมใชส่ือการเรียนรูที่เหมาะสม - นักเรียนอานและเขียนหนังสือไมถูกตอง - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยคอนขางต่ํา

ขข

แผนภาพท่ี 2.1 กรอบแนวคดิและทฤษฎีในการศึกษา

กระตุนใหผูเรียน เกิดพัฒนาการการอาน และการเขียน

เนื้อเรื่องการอานและการเขียน คําที่ใชบรร รร (ร หัน) และ บัน

การจัดการเรียนการสอน

โดยใชแบบฝกเปนส่ือการเรียนรู

นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์สาระการเรียนรูภาษาไทยสูงขึ้น

นักเรียนมีความรูความสามารถการอานและการเขียนคําที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บันสูงขึ้น

คค

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานบางจัน จังหวัดพังงา มีวตัถุประสงค (1) เพ่ือทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน)และบัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 (2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก (3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ดังนัน้เพ่ือใหการศึกษาในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงคและมีประสิทธิภาพสูงสุด ผูวิจัยจึงกําหนด วิธีการวจิยั ดงัรายละเอียดท่ีจะเสนอตามลําดับตอไปนี้

1. ประชากรและกลุมตวัอยาง 2. รูปแบบการวจิยั 3. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.1 ประชากร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ นกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี

2 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนบานบางจัน จังหวดัพังงา จาํนวน 8 คน 2. รูปแบบการวจิัย รูปแบบการวจิยัเปนการวิจยัเชิงกึ่งทดลองศึกษาผลกอนและหลังการทดลอง ดังนี ้

เม่ือกําหนดให X หมายถึง ส่ือแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน O1 หมายถึง ทดสอบกอนการทดลอง O2 หมายถึง ทดสอบหลังการทดลอง

O1 X O2

งง

3. เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3.1 เคร่ืองมือที่เปนนวัตกรรม 3.1.1 แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบัน จํานวน 13 แบบฝก 3.1.2 แผนจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรยีนรูภาษาไทย เรือ่งแบบฝกการอานและเขียน

คําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 (คูมือการใชแบบฝกของคร ู) จํานวน 5 แผน ใชเวลาสอนแผนละ 1 ช่ัวโมง

3.2 เคร่ืองมือวัด 3.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ฉบับกอนเรียนและหลังเรียน โดยเปนแบบทดสอบปรนัยท่ีมีขอคําถามเหมือนกนัแตสลับลําดับขอกัน จํานวนฉบับละ 10 ขอ 3.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

การดาํเนนิการสรางเคร่ืองมือทีใ่ชในการวิจัย ผูวจิยัไดดําเนินการสรางเครื่องมือท่ีใชในการวจิยั ตามขัน้ตอนดงันี ้

1. สรางแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ตามขั้นตอนตอไปนี ้

1) วิเคราะหปญหาและสาเหตุจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน - ปญหาท่ีเกิดขึ้นในขณะทําการสอน - ปญหาการไมผานผลการเรียนรูท่ีคาดหวังของนกัเรียน - ผลจากการสังเกตพฤตกิรรมท่ีไมพึงประสงค - ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

2) ศึกษารายละเอียดในหลักสูตรการศึกษาขัน้พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2546 เพ่ือทราบขอบขายสาระและมาตรฐานการเรียนรู.กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ท่ีหลักสูตรกําหนดสําหรับนกัเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 เพ่ือวิเคราะหเนื้อหา ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังท่ีเกีย่วของกับปญหาท่ีจะนาํมาทําการวจิยั 3) กําหนดแนวทางแกปญหาท่ีเกิดขึ้นจากขอ 1 โดยการสรางแบบฝก และเลือกเนื้อหาในสวนท่ีจะสรางแบบฝกนัน้ วาจะทําเรื่องใด กําหนดเนื้อหาสาระและรางโครงเรื่องไว

จจ

4) ศึกษาทฤษฏีหรือหลักการท่ีเกี่ยวของกับการอานและการเขียนคําในภาษาไทย ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวกับแบบฝก เพ่ือทราบแนวทางการจัดทําแบบฝก ขั้นตอนการเขียนและรายละเอียดในแตละขั้นตอน แบบฝกเลมนี้ผูวิจัยไดนําแนวทางการจดัทําแบบฝกของนางสุนันทา สุนทรประเสริฐ อาจารย 3 ระดับ 9 มาประยุกตใชในการจดัทําเปนแบบฝก 5) ออกแบบ แบบฝกแตละชุดใหมีรูปแบบท่ีหลากหลาย นาสนใจ การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน โดย มีการฝกท้ังการอานและการเขียน มีลักษณะส้ันๆ งายๆ เรียงลําดับเนื้อหาจากงายไปหายากมีความหลากหลายในวธีิการทําแบบฝก มีภาพประกอบเพ่ือเราความสนใจ มีคําส่ังท่ีชัดเจน งายตอการปฏิบัติ มีขนาดตวัอักษรท่ีเหมาะสมกับวัย จํานวน 13 แบบฝก ใชเวลาฝกท้ังหมด 5 ช่ัวโมง โดยเรียนรูตามคูมือการใชแบบฝกของคร ู (แผนการจัด การเรียนรูการใชแบบฝก) สวนประกอบของแบบฝกท่ีจัดทํา ประกอบไปดวย 1. หนาปก 2. คํานํา 3. คําช้ีแจง

4. ขั้นตอนการฝก 5. แบบทดสอบกอน/ หลังเรียน 6. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั 7. สาระความรูคําท่ีใช บรร ,รร (ร หัน) 8. การฝกอานคําท่ีใช บรร , รร (ร หัน) 9. แบบฝก ท่ี 1 - 8 10. สาระความรูคําไทยท่ีใช “ บัน” นําหนา 11. การฝกอานคําท่ีใชบัน 12. แบบฝก ท่ี 9 - 13 13. เฉลย

6) ลงมือสรางแบบฝกในแตละแบบฝก พรอมท้ังขอสอบกอนและหลังเรียน ใหสอดคลองกับเนื้อหาและผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 7) จัดทําฉบับรางตามรูปแบบใหครบถวน 8) สงใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบ นําแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช ท่ีสรางเสรจ็แลวไปใหผูเช่ียวชาญ จํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหากับระดับช้ันการสอน การจัดลําดับเนื้อหา การใชภาษา การใชภาพประกอบและสอดคลองกับผลการเรยีนรูท่ีคาดหวงั แลวปรับปรุงแกไข ตามคําแนะนําของผูเช่ียวชาญท้ัง 3 ทาน และหาคาความสอดคลองของ แบบฝก

ฉฉ

การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ไดคาความสอดคลองของแบบฝก การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน 1.00 9) นําไปทดลองใช แลวบันทึกผลเพ่ือนํามาปรบัปรุงแกไขสวนท่ีบกพรอง นํา แบบฝกการอานและเขยีนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน โดยทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 3 คน โรงเรียนวัดนากลางมิตรภาพท่ี 163 อําเภอตะกัว่ทุง จังหวดัพังงา ทดลองอานเพ่ือตรวจสอบการส่ือความภาษา 10) ปรับปรุงตนฉบับแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน จนมีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีตั้งไว 11) จัดพิมพตนฉบับแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน 12) นําไปใชจริงและเผยแพรตอไป

ซ่ึงผูวิจยัไดสรปุขัน้ตอนการสรางแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บันเปนแผนภาพ ตอไปนี ้( แผนภาพท่ี 3.1 )

ชช

แผนภาพท่ี 3.1 แสดงขั้นตอนการสรางและทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝก

สรุปขั้นตอนการสรางและทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝก

เรื่อง การสรางแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

ข้ันวางแผน

กําหนดแนวทางการสรางแบบฝก การทดลอง แกไขปรับปรุง ปรับปรุง

-ศึกษาหลักสูตร -ศึกษาการจัดทําแบบฝก

ตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบโดยผูเช่ียวชาญ

3 ทาน

- กําหนดจุดประสงคในการจัดทํา - กําหนดเนื้อหาและรางโครงเรื่องแบบฝก - สรางแบบฝก - สรางคูมือการใช (แผนการเรียนรูจํานวน 5 แผน) - สรางเครื่องมือหาความสอดคลอง - สรางเครื่องมือหาประสิทธิภาพ (แบบทดสอบ / แบบสอบถามความพึงพอใจ))

ปฏิบัติการตอเนื่อง

ปรับปรุงแกไข

ทดลองและหาประสิทธิภาพ

- กลุมยอย 3 คน - กลุมประชากร 8 คน

-เก็บรวบรวมขอมูล -จัดกระทําขอมูล -วิเคราะหขอมูล -อภิปราย / สรุปผล

-นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน -นักเรียนมีแบบฝกท่ีมีประสิทธิภาพ -ผูสอนมีสื่อการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ -เผยแพรผลงาน

ศึกษาปญหา

วิธีดําเนินการ ผลการดําเนินการ

ซซ

2. สรางแผนการจดัการเรยีนรู ตามขั้นตอนตอไปนี ้ ขั้นท่ี 1 วิเคราะหหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยีนบานบางจนั พุทธศักราช 2546 เพ่ือทราบขอบขายของคําอธิบายรายวิชา นํามาจดัทํา สาระการเรียนรูเฉพาะเรื่องท่ีสอดคลองกับปญหาการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน จัดทํากําหนดขอบขายสาระการเรียนรู กําหนดเวลาเรียน

ขั้นท่ี 2 ศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของกับการเขยีนแผนการจดัการเรยีนรู ขั้นท่ี 3 เขียนแผนจัดการเรียนรู โดยใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร

หัน) และ บนั จํานวน 5 แผน ซ่ึงมีหัวขอ ดังนี ้ 3.3.1 สาระสําคัญ 3.3.2 ผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั 3.3.3 สาระการเรียนรู 3.3.4 กระบวนการจัดการเรียนรู 3.3.5 ส่ือการเรียนรู 3.3.6 การวดัและประเมินผล

3.3.7 บันทึกผลการจัดการเรียนรู 3.3.8 ขอเสนอแนะ

ขั้นท่ี 4 นําแผนการจดัการเรยีนรูทุกแผนท่ีสรางเสรจ็แลวไปใหผูเช่ียวชาญ จํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหา กับผลการเรยีนรูท่ีคาดหวงั กระบวนการจัด การเรียนรู การใชส่ือการเรียนรูและการวัดและประเมินผล ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเช่ียวชาญท้ัง 3 ทาน หาคาความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรู ไดคาความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูท้ัง 5 แผนอยูในระหวาง 0.80 – 1.00

ขั้นท่ี 5 จัดทําแผนการสอนฉบับสมบูรณ ( นาํไปใชจริง ) ซ่ึงสรุปขั้นตอนการสรางแผนการจัดการเรียนรู ไดดังแผนภาพตอไปนี ้( แผนภาพท่ี 3.2 )

ฌฌ

1.0 วิเคราะหหลักสูตร/สาระการเรียนรูปญหาการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

2.0

ศึกษาเอกสารวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนรู

3.0 เขียนแผนจดัการเรียนรูโดยใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

4.0

ตรวจสอบความถูกตอง / ปรับปรุงแกไข

5.0 จัดทําจัดทําแผนการสอนฉบับสมบูรณ

แผนภาพที ่3.2 แสดงขั้นตอนการสรางแผนการเรียนรู

3. สรางแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ผูวิจัยไดสรางแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ตามขั้นตอน ตอไปนี ้ ขั้นท่ี 1 กําหนดรูปแบบของแบบทดสอบ โดยศึกษาจากหนังสือและผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการสรางแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแลวกําหนดรูปแบบเปนขอสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ขั้นท่ี 2 สรางตารางวเิคราะหขอสอบ เพ่ือเปนแนวทางในการออกขอสอบใหตรงกับเนื้อหาและผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง วัดพฤตกิรรมการเรียนรูดาน ความรูความจาํ ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินคา ขั้นท่ี 3 สรางแบบทดสอบเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู โดยการออกแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพ่ือใหสอดคลองกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวังและเนื้อหา ตามตารางวิเคราะหขอสอบ โดยสรางเปนแบบปรนัยชนดิเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 15 ขอ

ข้ันที่ 4 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนเร่ืองการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บนั ที่สรางเสร็จแลวหาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบเปนรายขอโดยใชผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความสอดคลองและความเหมาะสมของเนื้อหา คําถาม คําส่ัง และการกําหนดเวลาในการจัดทํา คําเฉลยที่ถกูตอง แลวปรับปรุงแกไขแบบทดสอบ

ญญ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ในเรื่องของภาษาท่ีใช ใหงายเหมาะสมกับวยัของนักเรียน เพ่ือใหนกัเรียนเขาใจคําถามและแกไขคําตอบบางขอท่ีไมชัดเจนใหเปนคําตอบท่ีชัดเจนยิ่งขึน้แลวจึงหาความสอดคลอง ไดแบบทดสอบไวจํานวน 10 ขอ มคีาความสอดคลองของแบบทดสอบฯ ทั้งฉบับ เทากับ 1.00 ขั้นท่ี 5 จัดทําแบบทดสอบฉบับสมบูรณ ( นาํไปใชจริง ) ซ่ึงผูวิจยัไดสรปุขัน้ตอนการสรางแบบทดสอบเปนแผนภาพ ไดดังนี ้( แผนภาพท่ี 3.3 )

1.0 กําหนดรูปแบบของแบบทดสอบ

2.0

สรางตารางวิเคราะหขอสอบตรงกับเนื้อหาและผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

3.0 สรางแบบทดสอบ

4.0

ตรวจสอบความถูกตอง / ปรับปรุงแกไข

5.0 จัดทําแบบทดสอบฉบับจริง

แผนภาพที ่3.3 แสดงขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ

4. สรางแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ตามขั้นตอน ตอไปนี ้ ขั้นท่ี 1 วิเคราะหลักษณะของขอมูลท่ีตองการ โดยวิเคราะหจากวัตถุประสงคในการวิจัย แลวกําหนดโครงสรางเนื้อหาของแบบสอบถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงคใน การวจิยั

ฎฎ

ขั้นท่ี 2 กําหนดรูปแบบของคําถาม ศึกษาวิธีการสรางแบบสอบถามจากตํารา และของผูวจิยัคนอ่ืน ๆ ท่ีทําการวิจัยในเรื่องคลาย ๆ กัน กําหนดรูปแบบสอบถามเปนขอคําถามชนิดมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale ) 5 อันดับ (โกวิทย ประวาลพฤกษ 2536 : 635) และกําหนดคาน้ําหนักดังนี ้ มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด 5 คะแนน มีความพึงพอใจในระดับมาก 4 คะแนน มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 3 คะแนน มีความพึงพอใจในระดับนอย 2 คะแนน มีความพึงพอใจในระดับนอยท่ีสุด 1 คะแนน จากนัน้นํามาคาํนวณคาเฉล่ีย กําหนดเกณฑในการแปลความหมายขอมูลท่ีเปนคาเฉล่ีย คาเฉล่ียระหวาง

4.51 - 5.00 3.51 - 4.50 2.51 - 3.50 1.51 - 2.50 1.00 - 1.50

แปลผล มีความพึงพอใจอยูในระดับมากท่ีสุด มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง มีความพึงพอใจอยูในระดับนอย มีความพึงพอใจอยูในระดับนอยท่ีสุด

ขั้นท่ี 3 เขียนแบบสอบถามฉบับราง โดยเขียนตามเนื้อหาของแบบ สอบถามใน ขั้นท่ี 1 และหลักในการสราง รูปแบบท่ีกําหนด จํานวน 10 ขอ ใหครอบคลุมรายการท่ีตองการ ประเมินท้ังนี้ตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวจิยั ขั้นท่ี 4 ทดลองใชและปรับปรุง โดยการนําแบบสอบถามไปทดลองใชกับผูท่ีมีลักษณะคลายกลุมตัวอยาง เพ่ือพิจารณาความชัดเจนของขอคําถาม เวลาในการทําแบบทดสอบ สัมภาษณผูตอบดานความเขาใจขอคําถาม ปญหาท่ีพบ วิจารณแบบสอบถาม แลวนําขอมูลท่ีไดมาพิจารณาปรับปรุงแบบสอบถามโดยปรับปรุงเรื่องภาษาท่ีอานเขาใจยากใหอานแลวเขาใจงาย พิจารณาคัดเลือกตามขอมูลท่ีไดจากการทดลองใชในครั้งนีไ้ดจํานวน 7 ขอ ขั้นท่ี 5 พิมพแบบสอบถามฉบับจริง หลังจากปรับปรุงแบบสอบถามแลว ใน การพิมพตองคํานงึถึงความชัดเจนในการอธิบายจุดประสงควธีิตอบการจดัรปูแบบใหสวยงาม ซ่ึงผูวิจยัไดสรปุขัน้ตอนสรางแบบสอบถามความพึงพอใจ ตามรูปแบบของบุญชม ศรีสะอาด ดังแผนภาพ ตอไปนี ้ ตามรูปแบบของบุญชม ศรีสะอาด ( แผนภาพท่ี 3.4 )

ฏฏ

1.0 วิเคราะหลักษณะของขอมูลท่ีตองการ

2.0

ศึกษาวิธีการสรางแบบสอบถามและกําหนดรูปแบบของแบบสอบถาม

3.0 เขียนแบบสอบถามฉบับราง

4.0

ทดลองใชและปรับปรุง

5.0 พิมพแบบสอบถามฉบับจริง

แผนภาพที ่3.4 แสดงขั้นตอนการสรางแบบสอบถาม

ท่ีมา : บุญชม ศรีสะอาด การวิจัยเบือ้งตน พิมพครั้งท่ี 2 กรุงเทพมหานคร สํานักพิมพสุวีริยาสาสน 2535 หนา 66 4. การเก็บรวบรวมขอมูล

1. เก็บคะแนนทดสอบกอนเรียน ( กอนใชแบบฝก ) 2. เก็บคะแนนแบบฝกทุกแบบฝก (คะแนนระหวางเรียน)

3. เก็บคะแนนทดสอบหลังเรียน ( หลังใชแบบฝก ) 4. เก็บรวบรวมผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกฯ 5. การวิเคราะหขอมูล

5.1 หาประสิทธิภาพของแบบฝกฯ ( E1/ E 2 ) โดยกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ 80 / 80 5.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนและหลังเรียน / ผลการพัฒนา

ฐฐ

5.3 หาคาเฉล่ีย ของผลการสอบถามความพึงพอใจของผูเรียนแลวแปลผลตามเกณฑท่ีกําหนด

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 1) การหาประสิทธิภาพของแบบฝก

ใชวิธีการคํานวณธรรมดา หาคา E1 และ E2 ไดดังนี ้ การหาคา E1 คือ คาประสิทธภิาพของงานหรือแบบฝกหัด กระทาํไดโดยการเอาคะแนนงานทุกชิ้นของนกัเรียนแตละคนมารวมกนั แลวหาคาเฉล่ียและเทียบสวนเปนรอยละ การหาคา E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ จะไมมปีญหาในการคํานวณมากนกั เพราะอาจทาํไดโดยการเอาคะแนนการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมดรวมกนั หาคาเฉล่ียแลวเทียบสวนเพื่อหาคารอยละ

2 ) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติทีใ่ชหาคาความเบีย่งเบนมาตรฐาน ใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2528) การวิเคราะหขอมูล คํานวณคาคะแนนเฉล่ีย ( Mean ) และสวนเบ่ียงแบนมาตรฐาน (Standard Deviation หรือ S.D.) ของคะแนนกอนการทดลองและหลังการทดลองใชนวัตกรรมการเรียนการสอน โดยใชสูตรคํานวณ ดังนี ้ X = ∑

NX

S.D. = Σ(X – X)2 N เม่ือ X คือ คาคะแนนเฉล่ีย S.D. คือ คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน Σ คือ ผลรวมหรือผลบวก X คือ คาคะแนนของนกัเรียนแตละคน N คือ จํานวนนกัเรยีนท้ังหมด

สถิติท่ีใชทดสอบสมมติฐาน เปรียบเทยีบผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนกัเรียนกอนใชแบบฝกฯและหลังการใชแบบฝกฯ ใชสูตร t – dependent (ลวน สายยศ 2545)

ฑฑ

เมื่อ df = n-1 t =

( )∑

−∑ ∑2

2

1nDDn

D

D แทน ความแตกตางของคะแนนกอนและหลังการใชแบบฝก D2 แทน ความแตกตางของคะแนนกอนและหลังการใชแบบฝกยก

กําลังสอง ∑ D แทน ผลรวมของคะแนนความแตกตาง ∑ 2D แทน ผลรวมของคะแนนความแตกตางยกกําลังสอง N แทน จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

3) การวิเคราะหแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝกฯ หาคาเฉล่ีย (Mean) โดยคํานวณจากสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2528) X = ∑

NX

X แทนคาเฉล่ีย ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนกลุมตัวอยาง N แทน จํานวนนักเรียนกลุมตัวอยาง

ซ่ึงผูวิจัยไดสรุปแสดงการวิเคราะหเครื่องมือและสถิติท่ีใช ดังแผนภาพ ตอไปนี ้

( แผนภาพท่ี 3.5 )

ฒฒ

แผนภาพที ่ 3.5 แสดงการวิเคราะหเคร่ืองมือและสถิตทิีใ่ช

จุดประสงคการวิจัย

วิธีการ

เครื่องมือ

สถิติท่ีใช

วิธีการนําเสนอ

1. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถม ศึกษาปท่ี 3 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

-ทดสอบประสิทธิภาพ ทดสอบกอนเรียน/หลังเรียน -หาคาเฉลี่ยความพึงพอใจของผูเรียน

- แบบฝกระหวางเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน -แบบทดสอบกอนเรียน -แบบทดสอบหลังเรียน แบบวัดความพึงพอใจ

E1 / E2 (80/80)

คาเฉลี่ย X รอยละ

คาเฉลี่ย X หาคา S.D. หาคา t -dependent

คาเฉลี่ย X

ตารางสรุป เชิงบรรยาย ตารางสรุป เชิงบรรยาย ตารางสรุป เชิงบรรยาย

ณณ

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาวิจยัในคร้ังนี้มวัีตถปุระสงค ดังนี้ 1. เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และ

บัน ชั้นประถมศกึษาปที่ 3 2. เพื่อเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก 3. เพื่อศึกษาความพงึพอใจของนักเรียนที่มตีอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชัน้ประถมศึกษาปที่ 3

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมลู โดยไดแยกเปน 3 ตอน ดังนี ้ ตอนที่ 1 ทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน)

และบัน ชั้นประถมศกึษาปที่ 3 ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบ

ฝก ตอนที่ 3 ศึกษาความพงึพอใจของนกัเรียนที่มตีอแบบฝกการอานและเขียนคําทีใ่ช บรร รร(ร หัน) และบัน ชัน้ประถมศกึษาปที่ 3

1. การวิเคราะหประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน

ตารางที่ 1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษาปที ่3

จํานวนนกัเรียน คะแนนแบบฝกระหวางเรียน คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน

8 1677 66

ดด

เฉล่ียรอยละ 91.54 82.50

จากตารางที่ 1 ผลการทดสอบประสิทธภิาพแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และบัน ชัน้ประถมศกึษาปที่ 3 มคีะแนนแบบฝกระหวางเรียนมคีาเฉล่ียรอยละ 91.54 และมีคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมคีาเฉล่ียรอยละ 82.50 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 2. การวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนักเรียนกอนและหลัง การใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน)และบนัชัน้ประถมศกึษาปที่ 3

การทดสอบ

จํานวน(N )

คาเฉล่ีย −

X

คา S.D.

t คะแนนกอนเรียน 8 6 1.31 คะแนนหลังเรียน 8 8.25 1.23

13.74

จากตารางที่ 2 การเปรียบคะแนนผลสมัฤทธิท์างการเรียนระหวางกอน

เรียนและ หลังเรียน พบวาคาเฉล่ียของคะแนนกอนเรียนเทากบั 6 คาเฉล่ียของคะแนนหลังเรียนมี

คาเทากบั 8.25 ผลการทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิท์างการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนสรุปวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนรูดวยแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้น ประถมศกึษาปที่ 3 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมตุฐาน

ตต

3. การวิเคราะหผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอาน และเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และบัน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

ตารางที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มตีอแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร(ร หนั) และบนั ชั้นประถมศกึษาปที่ 3

รายการประเมิน นักเรียนชัน้ ป. 3 (N=8)

X ระดับความคิดเห็น 1. แบบฝกเลมนีช้วยใหนกัเรียนมคีวามรูความเขาใจ เร่ืองการอานและเขียนคําทีใ่ชบรร รร(ร หัน) และบัน มากข้ึน 5.00 เห็นดวยมากที่สุด 2. แบบฝกเลมนีช้วยใหนกัเรียนเขาใจส่ิงที่เรียนไดเร็วข้ึน 4.50 เหน็ดวยมาก 3. คําส่ังและวิธทีําในแตละแบบฝก ชัดเจน 4.75 เห็นดวยมากที่สุด 4. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน 4.63 เห็นดวยมากที่สุด 5. มีภาพประกอบ ทําใหเกิดความสวยงาม ดูไมนาเบื่อ 4.88 เห็นดวยมากที่สุด 6. มีขนาดที่ถูกใจ ใชสะดวก 4.63 เห็นดวยมากที่สุด 7. นักเรียนนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันได 4.63 เห็นดวยมากที่สุด รวมเฉลี่ยท้ังหมด 4.72 เห็นดวยมากท่ีสุด

จากตารางที่ 3 ความพงึพอใจของนักเรียนที่มตีอแบบฝกการอานและเขียนคําทีใ่ช

บรร รร(ร หนั) และบัน ชัน้ประถมศึกษาปที่ 3 พบวา เห็นดวยมากจํานวน 1 รายการ และเห็นดวยมากที่สุดจํานวน 6 รายการ ทั้งนี้เมื่อวิเคราะหภาพรวมแลว พบวา นักเรียนเหน็ดวยอยูในระดับมากที่สุดโดยมคีาเฉล่ีย 4.72

ถถ

บทท่ี 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บนั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานบางจนั ผูวิจยั ไดสรุปการวจิยั อภิปรายผล และขอเสนอแนะไวดังนี ้ 1. สรุปการวิจัย สรปุการศึกษาผลการใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บนั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนบานบางจนั

1.1 วัตถุประสงคของการวิจัย 1) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน)

และบัน ชั้นประถมศึกษาปที ่3 2) เพื่อเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิท์างการเรียนของนกัเรียนกอนและหลังการใชแบบฝก 3) เพื่อศึกษาความพงึพอใจของนกัเรียนทีม่ตีอแบบฝกการอานและเขียนคําทีใ่ช บรร

รร (ร หัน) และ บนั ชั้นประถมศึกษาปที ่3

1.2 สมมติฐานการวิจัย 1) แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บนั มีประสิทธิภาพ ตาม

เกณฑ 80 / 80 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดานการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หนั) และ บัน ของ นักเรียนสูงขึ้นหลังการใช แบบฝก

3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอแบบฝกท่ีใชในระดับเฉล่ียมากขึ้นไป

1.3 วิธีดําเนินการวิจัย

ทท

1) ประชากร เปนนกัเรียนโรงเรียนบานบางจัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2549 จํานวน 8 คน

2) เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา มีดังนี้ - แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หนั) และ บัน จํานวน 13 แบบฝก - แผนจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องแบบฝกการอานและเขียน

คําท่ีใช บรร รร (ร หนั) และ บนั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 (คูมือการใชแบบฝกของครหูรือแผนการจัดการเรียนรู ) จํานวน 5 แผน ใชเวลาสอนแผนละ 1 ช่ัวโมง

- แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และบนั ฉบับกอนเรียนและหลังเรียน โดยเปนแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตวัเลือกท่ีมีขอคําตอบเหมือนกันแตสลับขอกัน จํานวนฉบับละ 10 ขอ

- แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บนั

1.4 การเกบ็รวบรวมขอมูล 1) เก็บคะแนนทดสอบกอนเรยีน ( กอนใชแบบฝก )

2) เก็บคะแนนแบบฝกทุกแบบฝก (คะแนนระหวางเรียน) 3) เก็บคะแนนทดสอบหลังเรียน ( หลังใชแบบฝก )

4) เก็บรวบรวมผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอแบบฝกฯ 1.5 การวิเคราะหขอมูล

1) หาประสิทธิภาพของแบบฝกฯ ( E1/ E 2 ) ประสิทธิภาพ 80 / 80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนและหลังเรียน ใช คาเฉล่ีย S.D. และ

การทดสอบดวยคา t – dependent 3) หาคาเฉล่ีย ผลการสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน

1.6 สรุปผลการวิจัย

1) แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หนั) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีคะแนนแบบฝกระหวางเรียนมีคาเฉล่ียรอยละ 91.54 สวนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเฉล่ียรอยละ 82.50 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 สูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว

ธธ

2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยีนหลังใชแบบฝกสูงกวากอนใชแบบฝก มีคาเฉล่ียของคะแนนกอนเรียนเทากับ 6 คาเฉล่ียของคะแนนหลังเรียนมีคาเทากับ 8.25 ผลการทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนสรุปวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนของนกัเรียนทีเ่รียนรูดวยแบบฝกการอานและเขียนคําทีใ่ช บรร รร(ร หัน) และบนั ชัน้ ประถมศกึษาปที่ 3 สูงกวากอนเรียนอยางมนียัสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมุตฐาน

3) ความพึงพอใจของนกัเรียนท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ีย 4.72

2. อภิปรายผล

1) แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 มีคะแนนแบบฝกระหวางเรยีนมีคาเฉล่ียรอยละ 91.54 กําหนดเกณฑไว 80 ผลการทดสอบสูงกวาเกณฑท่ีกําหนด สวนคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนมีคาเฉล่ียรอยละ 82.50 สูงกวาเกณฑท่ีกําหนด ผลการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝกเลมนี้เทากับ 91.54 / 82.50 สูงกวาเกณฑท่ีตั้งไว แสดงใหเห็นวาแบบฝกเลมนี้มีความเหมาะสมท่ีจะนํามาใชกับผูเรียน ทําใหผูเรยีนเกิดการเรียนรูและพัฒนาความบกพรองในดานการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บันได ซ่ึงสอดคลองกับ วรสุดา บุญยไวโรจน (2529: 57-58) ไดเสนอแนะลักษณะของแบบฝกท่ีดีสรุปไดวา แบบฝกท่ีดีควรมีคําส่ังท่ีไมยาวเกนิไปและชัดเจนควรมีความหมายตอผูเรยีนและตรงตามจดุมุงหมายของ การฝก ภาษาท่ีใชควรเหมาะสมกับวยัและพ้ืนฐานความรูของผูเรยีน, ควรแยกฝกเปนเรื่องๆ มีกิจกรรมหลายรูปแบบ และขอความหรอืรูปภาพในแบบฝกควรเปนส่ิงท่ีนักเรยีนคุนเคยและตรงกบัความสนใจของผูเรียน

2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยีนกอนใชแบบฝก มีคาเฉล่ียเทากับ 6 และหลัง การใชแบบฝก มีคาเฉล่ียเทากับ 8.25 ผลการทดสอบความแตกตางของคะแนนคาเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนใชแบบฝกและหลังการใชแบบฝก สรุปผลไดวาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใชแบบฝกสูงกวากอนใชแบบฝกอยางมีนัยสําคัญทางสถิตท่ีระดับ .05 เปนไปตามสมมุติฐานท่ีวางไว แสดงใหเห็นวาเม่ือผูเรยีนเรียนรูดวยแบบฝกเลมนี้ทําใหผูเรยีนมีความสามารถในการเรียนรูเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร(ร หัน) และ บันเพ่ิมขึ้น สอดคลองกับงานวิจัยของ สมเดช เจริญชนม (2541) การเปรยีบเทียบความสามารถและเจตคตท่ีิมีตอการอานภาษาไทยของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีเรียนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอานดานการรูจกัคาํกับแบบฝกท่ัวไป

นน

ของโรงเรียนบานโพหวาย อําเภอเมืองสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธาน ีผลการทดลองพบวา นักเรียนท่ีเรยีนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอานดานการรูจักคํา มีความสามารถในการอานสูงกวานกัเรียนท่ีเรยีนซอมเสริมดวยแบบฝกท่ัวไป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และดานการวัดเจตคตท่ีิมีตอการอานภาษาไทยของนักเรียนพบวาหลังการทดลองนักเรียนท่ีเรยีนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอานดานการรูจักคํามีเจตคตท่ีิดตีอการอานภาษาไทยสูงกวานักเรียนท่ีเรียนซอมเสริมดวย แบบฝกท่ัวไปอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และ ผลการวิจัยของจํานง โปธาเกี๋ยง(2538 : บทคัดยอ) การใชแบบฝกการเขียนสะกดคํายากเพ่ือการสอนซอมเสริม สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีใชภาษาอ่ืนมากกวาภาษาไทย กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจยัคือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรยีนบานเมืองนะ อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชียงใหม เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนสะกดคํากอนและหลังเรียน โดยใชคา ที (t-test) ผลการวิจัยพบวา แบบฝกการเขียนสะกดคํายากท่ีสรางขึ้น ไดยึดหลักการ คือมีจุดมุงหมายในการฝกท่ีชัดเจน เปนไปตามลําดับความยากงาย คํานึงถึงความแตกตางของเดก็ มีคําช้ีแจงท่ีชัดเจน มีความถูกตอง มีหลายแบบ เหมาะสมกับเวลา และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการฝกฝนหลายๆ ครั้ง เพ่ือให เกิดทักษะในการเขียนสะกดคําท่ีถูกตอง และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 รวมท้ังงานวิจัยของทิพยสุดา จงกล (2541) การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานและการเขียนสะกดคาํยากวิชาภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 กลุมทดลองนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนบานคําปาหวาน ผลการวจิยัและพัฒนาในครั้งนี้พบวาแบบฝกมีประสิทธิภาพ ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูตามเกณฑท่ีตั้งไวจริง และแบบฝกชวยใหผูเรยีนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น

3) ความพงึพอใจของนกัเรียนที่มตีอแบบฝกการอานและเขียนคําทีใ่ช บรร รร(ร หนั) และ บัน ชั้นประถมศึกษาปที ่3 มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด คาเฉล่ีย 4.72 แสดงใหเห็นวาผูเรียนชอบวิธกีารเรียนรูดวยแบบฝก เกิดความพงึพอใจทีจ่ะเรียนรูและชอบแบบฝกที่มีภาพประกอบ ทําใหเกิดความสวยงาม ดูไมนาเบื่อ 3. ขอเสนอแนะ

3.1 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช 1) การจัดทําแบบฝกในแตละคร้ัง ครูตองศึกษาวิเคราะหเนื้อหาของกลุมวิชาวามีความเหมาะสมทีจ่ะนาํมาใชจัดทําเปนแบบฝกหรือไม เพราะบางเนื้อหาการฝกใหผูเรียนกระทาํดวย แบบฝกจะไมสามารถฝกผูเรียนได ตองอาศัยการอธิบายจากผูสอน ดังนั้นจึงตองจดัทําแบบฝกใหมี

บบ

ความเหมาะสมกบัเนื้อหาของกลุมสาระการเรียนรู ซ่ึงนักเรยีนสามารถเรยีนรูดวยตนเองได มิฉะนั้นผลที่เกดิข้ึนจะไมสามารถพฒันาผูเรียนไดตามทีค่าดหวัง 2) กอนการจดัทําแบบฝกควรวิเคราะหผูเรียนกอนวามทีักษะในการอานมากนอยเพียงใด หากความสามารถในการอานคอนขางต่ํา การเรียนรูดวยแบบฝกกไ็มเกิดประโยชน เพราะผูเรียนตองศึกษาดวยตนเองเปนสวนใหญ ถาผูเรยีนอานไมได ก็ไมสามารถใชแบบฝกไดดวยตนเอง ครูตองคอยชวยเหลือ ทําใหไมเกดิผลดีนกั ควรเรยีนรูดวยวิธีอ่ืนจะเหมาะสมกวา 3) การศึกษาวิจยัในคร้ังนีจ้ะเปนแนวทางในการพฒันาการสอนเพื่อใชแกปญหาการเรียนรูใหกบัผูเรียนในเนื้อหาตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ ตอไป ผูเรียนไดรับการแกปญหาที่ถกูทาง และเพิ่มทกัษะเฉพาะดานทีเ่ปนปญหาของผูเรียนใหสูงข้ึน 3.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยขั้นตอไป 1) การศึกษาในครั้งนีจ้ะเปนแนวทางในการพัฒนาการสอนเพ่ือใชแกปญหาการเรียนรูใหกับผูเรียนในเนื้อหาตางๆ ในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ ตอไป

2) ควรมีการศึกษาวจิยัเพ่ือพัฒนาการอานและการเขียนโดยใชการวจิยัประเภทอ่ืนๆ เชน การทดลองสอนอานและเขียนโดยวิธีอ่ืนๆ เชน วิธีการใชกจิกรรม เกม เพลง และนิทาน

ปป

บรรณานุกรม กรรณกิาร พวงเกษม (2534) การสอนเขียนเรื่องโดยใชจนิตนาการทางสรางสรรคใน ระดับประถมศึกษา พิมพครั้งท่ี 4 กรุงเทพมหานคร ไทยวัฒนาพานิช กิตติมา ปรีดีดิลก (2529) ทฤษฎีบริหารองคการ กรุงเทพมหานคร ชนะการพิมพ กัลยา ยวนมาลัย (2539) การอานเพ่ือชีวิต (Reading for Life) กรุงเทพมหานคร โอเดียนสโตร โกวิท ประวาลพฤกษ และคณะ (2520) การประเมินผลแนวใหม คูมือสําหรับครูประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร องคการสงเคราะหทหารผานศึก กรมวิชาการ (2546) การจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตร

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 กรุงเทพมหานคร คุรุสภาลาดพราว ----------. (2544) คูมือการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กรุงเทพมหานคร องคการรับสงสินคาและพัสดภุัณฑ (ร.ส.พ.) คณะกรรมการการศึกษาแหงชาต,ิ สํานกังาน (2543) ปฎิรปูการเรียนรูผูเรยีนสําคัญท่ีสุด พิมพครั้งท่ี 4 กรุงเทพมหานคร คุรุสภา จรัส โพธิจันทร (2531) “ความพึงพอใจในการทํางานของอาจารยวิทยาลัยพยาบาลใน

ภาคเหนือ” ปริญญานพินธการศกึษามหาบณัฑิต บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ

จํานง โปธาเกี๋ยง (2538) “การใชแบบฝกการเขียนสะกดคาํยากเพ่ือการสอนซอมเสริมสําหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 3” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ชโลบล ทัศวิล (2541) “ผลการใชแบบฝกการเขียนเชิงสรางสรรคทางภาษาไทยสําหรับนกัเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การ

ประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม ฐะปะนีย นาครทรรพ (2539) “การสอนทักษะเพ่ือการส่ือสาร” ใน เอกสารการสอนชุด การสอนภาษาไทย หนวยท่ี 6 หนาท่ี 351-365 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดนยา วงศธนะชัย (2542) การอานเพ่ือชีวิต (Reading for Life) หนา 20 – 30 พิษณโุลก สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ดวงคดิ วงศภกัดิ์ (2539) “การพัฒนาชุดฝกทักษะการอานจบัใจความสําคญั สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีใชภาษาไทยเปนภาษาท่ี 2” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร

ผผ

มหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทิพยสุดา จงกล (2541) “การพัฒนาแบบฝกทักษะการอานและการเขียนสะกดคํายากวิชา ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นภดล จันทรเพ็ญ (2535) การใชภาษาไทย กรุงเทพมหานคร ตนออ นภาลัย สุวรรณธาดา (2539) “หนวยท่ี 3 กระบวนการเขยีนเชิงปฏิบัติการ” ในเอกสารการสอน ชุดวิชาการใชภาษาไทย (ฉบับปรับปรุง) นนทบุร ี สาขาวิชาศึกษาศาสตร นิตยา เดชแล (2540) “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอานเพ่ือจับใจความและความคงทนในการ

เรียนรูวิชาภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 ระหวางการสอนแบบกลุมเพ่ือนชวยเพ่ือนและการสอนปกติ โรงเรียนวังนอยวิทยาภูมิ จังหวดัอยธุยา” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขา การประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรนีครนิทรวิโรฒ มหาสารคาม

นิตยาวดี คงไพฑูรย (2542) “การพัฒนาแบบฝกการเขียนเพ่ือสงเสริมความคดิสรางสรรคของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 กลุมโรงเรียนเขาพนม จังหวัดกระบ่ี” วิทยานิพนธ

ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ศึกษาศาสตร(หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย

บุญธรรม กิจปรดีาบรสุิทธ์ิ (2535) ระเบียบวิจัยทางสังคมศาสตร พิมพครั้งท่ี 7 กรุงเทพมหานคร การพิมพพระนคร บันลือ พฤกษะวนั (2534) มิติใหมในการสอนอาน ภาคปฏิบัติ อันดับท่ี 3 การพัฒนาความ พรอมในการอาน พิมพครั้งท่ี 2 กรุงเทพมหานคร ไทยวฒันาพานิช ประภา ตันติวุฒิ (2542) “การศึกษาผลสัมฤทธ์ิและเจตคติในการเขียนเชิงสรางสรรค โดยใช แบบฝกท่ีสรางจากนทิานพ้ืนบาน สําหรับนักเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 5 อําเภอเมือง จังหวัดชลบุร”ี วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปทมา แตงอวบ 2538 “การใชนาฎการเพ่ือสรางเจตคตท่ีิดีในการเรยีนวรรณดคไีทย เรื่อง ขุนชาง ขุนแผน ของนกัเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนวัดพุทธบูชา กรุงเทพมหานคร” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผะอบ โปษกฤษณ (2544) ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย พิมพครั้งท่ี 7 กรุงเทพมหานคร อักษรพิทยา

ฝฝ

พิน คงพูล (2535) “ความพึงพอใจตอบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัด 14 จังหวัดภาคใต” วิทยานพินธปริญญาคุรุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑติวิทยาลัย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย

พรรณี ชูทัย (2522) จิตวิทยาการเรียนการสอน กรุงเทพมหานคร ภาควชิาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พรรณี ชูทัย เจนจิต (2538) จิตวิทยาการเรียนการสอน กรงุเทพมหานคร ตนออ แกรมม่ี พิยดา วันเพ็ญ (2538) “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุม สปช. เรื่อง ส่ิงแวดลอม ทางสังคม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ดวยการสอนโดยใชทักษะกระบวนการ 9 ประการ กับการสอนปกต”ิ วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ภูริภัทร ทิศร (2543) “การอานมีประโยชน โปรดมารักการอาน” วารสารวิชาการ 3 , 7 (กรกฎาคม) : 10 – 13 มาลิน ี เชษฐโชติศักดิ์ (2534) “ปจจยัที่มผีลตอการทําประกนัชีวิตในประเทศไทย” วิทยานิพนธ

ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบณัฑติ บัณฑติวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แมนมาส ชวลิต (2534) กิจกรรมสงเสริมการอาน ในการรณรงคเพ่ือสงเสริมนิสัยรักการอาน กรุงเทพมหานคร การศาสนา ยุคล ทองตัน (2533) “ความพงึพอใจในการปฏิบัตงิานของขาราชการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร

ยุพิน จันทรเรือง (2544) “ทักษะทางภาษาเพ่ือพัฒนาปญญา” ใน ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร และการสืบคน คณะมนษุยศาสตร และสังคมศาสตร สถาบันราชภฎัเชียงราย วรรณา แซตั้ง (2541) “การสรางแบบฝกหัดการเขียนสะกดคําสําหรับนกัเรียนช้ันประถมศึกษา ปท่ี 1” ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วรรณี โสมประยูร (2542) การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา พิมพครั้งท่ี 3 กรุงเทพมหานคร ไทยวัฒนาพานิช วันเพ็ญ เนียมสุข (2538) “การศึกษาผลสัมฤทธ์ิและเจตคตติอการเขยีนของนกัเรียนช้ันประถม ศึกษาปท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใชแบบฝกการเขียนเชิงสรางสรรคและแบบฝกการเขียนท่ี ครูเปนผูกําหนดเนื้อเรื่อง” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พพ

วัลยา ชางขวัญยนื (2539) “ลักษณะภาษาเขียน” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการอาน ภาษาไทยหนวยท่ี 2 หนา 37 – 39 นนทบุร ี สาขาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วิชาการ,กรม (2546) การจัดสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2544 กรงุเทพมหานคร คุรุสภาลาดพราว วิทยา ดํารงเกียรติ (2531) การเขียนในงานสงเสริม เชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแมโจ ศรีรัตน เจิงกล่ินจันทร (2544) การอานและการสรางนิสัยรักการอาน พิมพครั้งท่ี 5 กรุงเทพมหานคร ไทยวัฒนาพานิช ศศิธร อินตุน (2535) “การพัฒนาแบบฝกการอานการจับใจความสําคัญสําหรับนกัเรียนช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 3” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ศิริพร ลิมตระการ (2539) “ความรูเบ้ืองตนเกีย่วกับการอาน” ใน เอกสารประกอบการสอนชุด วิชา การอานภาษาไทย หนวยท่ี 1 หนา 1-36 นนทบุร ีศึกษาธิการ กระทรวง (2542) การสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร การศาสนา __________ . (2520) คูมือหนงัสือเรียนภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 เลมท่ี 1 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพสวนทองถ่ิน __________ . (2545) หลักสูตรการศึกษาขัน้พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 พิมพครั้งท่ี 2 กรุงเทพมหานคร องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ สมจิตร เสารศรีจันทร (2538) “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิของการฝกทักษะการเขียนสะกดคํา ภาษาไทยของนกัเรยีนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม โดยใชแบบ

ฝกทักษะท่ีสรางขึน้ กับการสอนปกต”ิ วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑสาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สมเดช เจริญชนม (2541) “การเปรียบเทียบความสามารถ และเจตคติท่ีมีตอการอานภาษาไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีเรียนซอมเสริมดวยแบบฝกทักษะการอาน ดานการรูจกัคํากับแบบฝกท่ัวไป” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควชิาการประถมศึกษา มหาวทิยาลัยศรีนครินทรทราวโิรฒ สมยศ นาวีการ (2534) การบริหารองคกรหรือหนวยงาน พิมพคร้ังที ่2 กรุงเทพมหานคร

บรรณกิจ

ฟฟ

สวนา พรพัฒนกุล (2522) จิตวิทยาท่ัวไป กรุงเทพมหานคร แสงรุงการพิมพ สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2523) วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร วัฒนาพานิช สุนันทา ม่ันเศรษฐวิทย (2544) การประเมินผลภาษาไทย กรุงเทพมหานคร สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อลิสา วานิชดี (2539) “หลักการเขียน” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการเขียนเพ่ือการส่ือสาร ธุรกิจ หนวยท่ี 2 หนา 35-65 นนทบุรี มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปะศาสตร อวยพร พานิช (2539) “ความรูท่ัวไปเกี่ยวกบัการเขยีนเพ่ือการส่ือสาร” ใน เอกสารการสอน ชุดวิชา การเขียนเพ่ือการส่ือสารธุรกิจ หนวยท่ี 1 หนา 1-34 นนทบุร ี สาขาวิชาศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อัญชัญ เผาพัฒน (2534) “การพัฒนาบทเรียนเพ่ือสงเสริมการสอนอานโดยใชนิทานพ้ืนบานใน ระดับประถมศึกษาปท่ี 2” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม เอกฉัท จารุเมธีชน (2539) การใชภาษาไทย กรุงเทพมหานคร โอเดียนสโตร

ภภ

ภาคผนวก 1

เครื่องมือท่ีเปนนวัตกรรม - แบบฝก - แผนการจัดการเรียนรู

มม

แบบฝก การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

ช้ันประถมศึกษาปที ่ 3

นางสุมาลิน ทองเจือ โรงเรียนบานบางจัน

ยย

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาพังงา

คํานํา

การเรียนการสอนภาษาไทยในช้ันประถมศึกษาปที่ 3 มีจุดเนนที่ผูเรียนจะตองฝกการอานและการเขียนอยางถูกตองมีความแมนยําในหลกัเกณฑทางภาษาเพือ่ใชเปนทักษะพื้นฐานในการเรยีนรูในช้ันตอ ๆ ไป พฤติกรรมของผูเรียนในช้ันประถมศึกษาปที่ 3 สวนใหญพบวาชอบทําแบบฝกหัดและมักจะแขงขันการนับคะแนนที่ไดจากการทําแบบฝกหัดถูกตองวาใครทําไดถูกตองมากนอยกวากัน แบบฝกหัดนาจะเปนแนวทางหนึ่งที่จะพัฒนาผูเรียนได จากการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนที่ผานมาพบปญหาดานการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บัน ผูสอนจึงคิดคนวิธีการแกปญหาดังกลาวโดยใชแบบฝก สุมาลิน ทองเจือ

รร

คําชี้แจง

แบบฝกหัดการอานและเขียนคําที่ใชใชบรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ไดจัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาทกัษะการอานและเขียนคาํที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บัน ใหผูเรียนไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลนิ สนองพฤตกิรรมของผูเรยีนที่ชอบทาํแบบฝกหดั แบบฝกฉบับนี้ประกอบดวยเนื้อหาความรูหลักเกณฑการอานคําที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บัน การเขียนคําที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บัน จํานวน 13 แบบฝก คําแนะนําในการใชแบบฝก

1. ครูควรเตรยีมอปุกรณในการฝกใหพรอม เชน แบบฝก/แบบบนัทึกพฤตกิรรมการอาน

2. ครูควรอธิบายใหนักเรียนทราบจุดประสงคของการฝกแตละครั้งและใหนักเรียนไดเหน็ประโยชนทีน่ักเรียนจะไดรับจากการใชแบบฝกฉบับนี ้

3. ในการฝกครคูวรใหนักเรยีนมีสวนรวมมากที่สุด เชน รวมเฉลยคาํตอบ/พฤติกรรมการฝกอาน

4. ครูสามารถจัดกิจกรรมการฝกไดทัง้ในเวลาเรยีนและนอกเวลาเรยีน 5. กอนฝกในแตละแบบฝก ควรมกีารทดสอบกอนฝก บันทึกพฤตกิรรมการ

อาน และหลงัจากทาํแบบฝกจนเกิดทักษะแลว ควรมีการทดสอบหลงัเรยีนอีกครัง้เพือ่เปรยีบเทยีบถึงพัฒนาการของผูเรยีนกอนและหลงัฝก

ลล

ข้ันตอนการฝก

1. ทดสอบกอนเรยีน 2. อานเนื้อหาคําที่ใช บรร รร (ร หัน) 3. ฝกอานคําที่ใช บรร รร (ร หัน) 4. ทําแบบฝก 5. อานเนื้อหาคําที่ใช บัน 6. ฝกอานคําที่ใชบัน 7. ทําแบบฝก 8. ทดสอบหลงัเรยีน

วว

แบบทดสอบกอนเรียน

เขียน Å ลอมรอบตัวอักษรหนาคําตอบที่ถกูตอง

1. คําที่ใช รร ร ตัวหนาทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

2. คําที่ใช รร ร ตัวหลังทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

3. ถามีพยัญชนะตวัอืน่ตามหลงั รร เวลาอานจะออกเสยีงเปนตวัอะไร ก. ไมหันอากาศ ข. ตัวการันต ค. ตัวสะกด

4. คําในขอใดเขียนถูก ก. บันได ข. บันทัด ค. บันจุ

5. คําในขอใดเขียนผิด ก. บรรทม ข. บรรเทิง ค. บรรจุ

6. คําในขอใดที่ รร ออกเสยีง อัน ทุกคํา ก. กรรแสง กรรต ุ ข. บรรเทา สรรพสิ่ง ค. สรรหา กรรมการ

7. ขอใดใช “ บัน ” ไดถูกตอง ก. เลาขานกุารกาํลังจดบันทกึ ข. นักเรยีนกําลังฟงครูบนัยาย ค. ขอใหทุกคนเขยีนลายมอืบนัจงหนอย

ศศ

8. “ แมใชไม.............วัดผาแลวจึงตัด ” ก. บรรทัด ข. บันทัด ค. บัณทัด

9 “ ชางถายรูปคนหนึ่งขึน้ไปยืนบนเวทีเพื่อ.........ภาพการแสดงของประกายและ เพื่อน ๆ ” ก. บันเทิง ข. บันดาล ค. บันทึก

10. “ วิไลกาํลงั.............น้ําหวานลงในขวด ” ก. บันจุ ข. บรรจุ ค. บรรเลง

ษษ

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. บอกลกัษณะของคาํที่ใชบรร รร (ร หัน) และ บันได 2. อานออกเสียงคําที่ใชบรร รร (ร หัน) และบันได 3. เขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ไดถูกตอง

สส

สาระความรู

การอานคําที่มี รร (ร หัน)

รร เรยีกกวา ร หนั เมื่อผสมกบัพยัญชนะมีหลกัการในการอานดงันี ้1. เมื่ออยูหลังพยัญชนะตน ใหอานออกเสียง อัน (รร เปลีย่นรูปเปนไมหนัอากาศ และ น เปนตวัสะกด) เชน กรร อานวา กัน เชน กรรเชียง บรร อานวา บัน เชน บรรจง 2. เมื่อมตีวัสะกด ใหอานออกเสยีง อะ ผสมเสียงตวัสะกด เชน กรรมการ อานวา กํา-มะ-กาน (ม สะกด จึงออกเสียง มะ) สรรพสิ่ง อานวา สับ-พะ-สิ่ง (พ สะกด จึงออกเสียง พะ) 3. ยกเวนตวัสะกดมไีมทัณฑฆาตกาํกบัอยู ใหอานออกเสยีง อัน ตามเดมิ เชน สรรค อานวา สัน ดึกดําบรรพ อานวา ดึก-ดํา-บัน อัศจรรย อานวา อัด-สะ-จัน

หห

ฝกอานคําท่ีม ี บรร , รร (ร หัน)

เมื่อ รร อยูหลังพยัญชนะตน ใหอานออกเสียง อัน ดังนี ้ กรรไกร อานวา กัน-ไกร บรรทัด อานวา บัน-ทัด กรรเชียง อานวา กัน-เชียง บรรทกุ อานวา บัน-ทุก กรรโชก อานวา กัน-โชก บรรพต อานวา บัน-พต จรรยา อานวา จัน-ยา บรรยาย อานวา บัน-ยาย จรรโลง อานวา จัน-โลง บรรเลง อานวา บัน-เลง จัดสรร อานวา จัด-สัน พรรษา อานวา พัน-สา จํานรรจา อานวา จํา-นัน-จา มรรยาท อานวา มัน-ยาด บรรจง อานวา บัน-จง สรรเสริญ อานวา สัน-เสิน บรรจบ อานวา บัน-จบ หรรษา อานวา หัน-สา บรรจ ุ อานวา บัน-จ ุ อรรณพ อานวา อัน-นบ เมื่อมีตวัสะกด ใหอานออกเสียง อะ ผสมเสียงตวัสะกด เชน (ยกเวนบางคํายังคงอานออกเสยีง อัน เชนคําที่ตวัสะกด มีทัณฑฆาตกาํกบัอยูเปนตน)

กรรมกร อานวา กํา-มะ-กอน รัฐธรรมนูญ อานวา รัด-ถะ-ทํา-มะนูน กรรมการ อานวา กํา-มะ-กาน วรรณคด ี อานวา วัน-นะ-คะ-ด ีดึกดําบรรพ อานวา ดึก-ดํา-บัน สรรพส่ิง อานวา สับ-พะ-ส่ิง ธรรมชาติ อานวา ทํา-มะ-ชาด สรางสรรค อานวา สาง-สัน ธรรมดา อานวา ทํา-มะ-ดา สวรรค อานวา สะ-หวัน ผิวพรรณ อานวา ผิว-พัน สุวรรณภูมิ อานวา สุ-วัน-นะ-พูม พระขรรค อานวา พระ-ขัน มหัศจรรย อานวา มะ-หัด-สะ-จัน มีครรภ อานวา มี-คัน อัศจรรย อานวา อัด-สะ-จัน

ฬฬ

แบบฝกท่ี 1

ใหนักเรียนฝกการเขียนสะกดคําและแจกลกูจากคาํตอไปนี ้1. กรร อานวา ................................................................ 2. ขรร อานวา ................................................................ 3. ครร อานวา ................................................................ 4. สรร อานวา ................................................................ 5. จรร อานวา ................................................................ 6. บรร อานวา ................................................................ 7. พรร อานวา ................................................................ 8. มรร อานวา ................................................................ 9. วรร อานวา ................................................................ 10. หรร อานวา ................................................................

ออ

แบบฝกท่ี 2

เขียนคําอานคําที่มี รร (ร หัน) ที่กําหนดให ใหถูกตอง 1. หรรษา ..................................................................................... 2. ธรรม ..................................................................................... 3. บรรยาย ..................................................................................... 4. สรรเสริญ ..................................................................................... 5. มรรยาท ..................................................................................... 6. วัฒนธรรม ..................................................................................... 7. วรรณคด ี ..................................................................................... 8. ธรรมชาต ิ ..................................................................................... 9. กระทรวงธรรมการ ..................................................................................... 10. หฤหรรษ ..................................................................................... 11. พระขรรค ..................................................................................... 12. ทรงครรภ ..................................................................................... 13. ยุติธรรม ..................................................................................... 14. อนิจกรรม ..................................................................................... 15. หัตถกรรม ..................................................................................... 16. สวรรค ..................................................................................... 17. ธรรมดา ..................................................................................... 18. กรรมการ ..................................................................................... 19. บรรทกุ ..................................................................................... 20. กรรเชียง .....................................................................................

ฮฮ

แบบฝกท่ี 3

เขียนคําที่มี รร (ร หัน) ตามเสียงอาน ใหถูกตอง

คําอาน คํา 1 หะ – รึ– หัน 2 จํา – นัน – จา 3 บัน – ทัด 4 ทํา 5 พระ – ขัน 6 ซง – คัน 7 ยุด – ต ิ– ทํา 8 อะ – นิด – จะ – กํา 9 สัน – เสิน

10 หดั – ถะ – กํา 11 สะ – หวัน 12 กํา – มะ – กาน 13 บัน – ทุก 14 มัน – ยาด 15 วัด – ทะ – นะ – ทํา 16 ทํา – มะ – ดา 17 กัน – เชียง 18 วัน – นะ – คะ – ดี 19 บัน – ยาย 20 ทํา – มะ – ชาด

กกก

คําอาน คํา 21 บัน – ดา – สัก 22 อะ – นิด – จะ – กํา 23 ซง – ทํา 24 บัน – ทม 25 อา – ทัน 26 บัน – ไล 27 แพร – พัน 28 เวน – กํา 29 สิน – ละ – ปะ – กํา 30 ผิว – พัน 31 คํา – สับ – พะ – นาม 32 รัด – ถะ – ทํา – มะ – นูน 33 บัน – จง 34 บัน – ยา – กาด 35 บัน – ยาย

ขขข

แบบฝกท่ี 4

ทําเคร่ืองหมา X ขอที ่ ร ไมใช ร หัน

1. ก. ทรงครรภ ข. รัชสมัย ค. สวรรค ง. ธรรมดา 2. ก. บรรยาย ข. พรรษา ค. ระยา ง. กรรมการ 3. ก. รวดเร็ว ข. เวรกรรม ค. สรรเสริญ ง. อาธรรม 4. ก. รวบรัด ข. พระธรรม ค. รัฐธรรมนูญ ง. ธรรมดา 5. ก. ยุติธรรม ข. รุงเรอืง ค. บรรทม ง. บรรทุก 6. ก. จํานรรจา ข. อนิจกรรม ค. มรรยาท ง. รวบรวม 7. ก. บรรลัย ข. หัตถกรรม ค. บรรดาศักดิ ์ ง. เหรียญ 8. ก. หฤหรรษ ข. แพรพรรณ ค. แรงงาน ง. กรรเชียง 9. ก. พระขรรค ข. วรรณคด ี ค. ระเบียง ง. บรรณานกุรม 10. ก. ธรรมชาต ิ ข. รัฐบาล ค. วัฒนธรรม ง. บรรพบรุุษ

ใหนักเรียนฝกเขียนคําอานตอไปนี ้ คําอาน คําเขียน

1. บัน – ทัด บรรทัด 2. บัน – ทุก ................................................. 3. บัน – เทา ................................................. 4. บัน – จุ ................................................. 5. บัน – จง ................................................. 6. บัน – จบ ................................................. 7. บัน – เลง ................................................. 8. บัน – ยาย ................................................. 9. บัน – ดา ................................................. 10. กัน – ไกร .................................................

คคค

แบบฝกท่ี 5

นําความหมายทางขวามอื มาเติมลงหนาขอความใหถูกตองสัมพนัธกนั

1. ..................... สีของผิว ชนิด ธรรมดา 2. ..................... อยูประจําทีว่ัดชวง 3 เดอืนในฤดูฝน ศิลปกรรม 3. ..................... กิริยาวาจา มีความหมายวาเรียบรอย ครรภ 4. ..................... อาการหรือความเปนไปแหงธรรมชาต ิ ธรรมชาต ิ5. ..................... ทอง พรรณ 6. ..................... สิ่งที่เกิดมีและเปนอยูตามธรรมดาของสิ่งนั้น ๆ จําพรรษา ภาพภูมิประเทศ 7. ..................... สิ่งที่เปนศิลปะ สิ่งที่ผิดสรางขึ้นเปนศิลปะ วัฒนธรรม 8. ..................... ยกยอง พระขรรค 9. ..................... สิ่งที่ทําใหเกิดความเจริญงอกงามแกหมูคณะ มรรยาท 10. ..................... ดาบ หอก มีด อาวุธคลายหอกแตดามสั้น สรรเสริญ

ตอนที ่ 2 เติมคํา รร (ร หัน) ในชองวางใหถูกตอง

1. ........................ดาศักดิ์ 11. อา........................ 2. อนิจ........................ 12. ..........................จุ 3. ทรง........................ 13. คํา.....................นาม 4. ..........................ทม 14. รัฐ.....................นูญ 5. จํา.......................จา 15. ..........................จง 6. ...........................ลัย 16. ..........................ยากาศ 7. แพร....................... 17. ...........................ยาย 8. เวร......................... 18. ...........................บุรุษ 9. ศิลป.................... 19. ...........................เลง 10. ผิว....................... 20. ............................ณานุกรม

งงง

แบบฝกท่ี 6 หาคําที่มีความหมาย รร (ร หัน) ไมมีตวัสะกด และคาํ รร(ร หัน) มีตวัสะกดมาเตมิตามปายที่กําหนดใหในตารางอยางละ 5 คํา คํา รร (ร หัน)ไมมีตัวสะกด คํา รร (ร หัน) มีตัวสะกด 1. ...................................................... 1. ...................................................... 2. ...................................................... 2. ...................................................... 3. ...................................................... 3. ...................................................... 4. ...................................................... 4. ...................................................... 5. ...................................................... 5. ......................................................

จจจ

แบบฝกท่ี 7

นักเรียนโยงเสนคําทีม่ี รร (ร หัน) กับคาํอานใหถกูตอง

1. จํา – นัน – จา ก. ธรรมดา

2. ทํา – มะ – ดา ข. บรรทัด

3. กํา – มะ – กาน ค. จํานรรจา

4. บัน – ทัด ง. กรรมการ

5. กัน – ไกร จ. บรรยาย

6. เวน – วัก ฉ. เวนวรรค

7. บัน – ยาย ช. กรรไกร

ฉฉฉ

แบบฝกท่ี 8 ตอนที่ 1 ใหนักเรียนเลือกคํา * ที่มีความหมายสมัพนัธกับคําหรือขอความตอไปนี้ บรรจ ุ บรรทัด บรรทกุ บรรเทา บรรดา บรรยาย บรรเลง

1. ไม ...........................อันนี้หัก 2. รถ ..........................ขนของหนักเกินไป 3. ............................นักเรยีนกําลงัฟงคาํ ..........................ของคร ู4. อยาซื้อยา..........................ปวดมากินเอง 5. มีการ ......................เพลงชาติที่หนาเสาธง

ตอนที ่ 2 นักเรียนเขียนคําที่ม ี รร (ร หัน) ในประโยคตามเสียงอานใหถูกตอง 1. พอซื้อบาน.......................ในเมือง (จัด – สัน) 2. เทวดาอยูบน.......................(สะ – หวัน) 3. โดเรมอนมีของนา..........................มากมายในกระเปา (อัด – สะ – จัน) 4. ฉันชอบไปเที่ยวน้ําตกด ู..............................(ทํา – มะ – ชาด) 5. ครูพานักเรยีนไปแหเทยีนในวนั ............................(เขา – พัน – สา) 6. ครูใหนักเรยีนคัดลายมือดวยตวั.........................เต็มบรรทัด (บัน – จง) 7. นักดนตร.ี........................เพลงสรรเสริญพระบารมี (บัน – เลง) 8. .............................เปนคําสั่งสอนของพระพทุธเจา (พระ – ทํา) 9. ทุกคนที่มางานเลี้ยงฉลองตางสุขสันต ..........................กันทั่วหนา (หัน – สา) 10. สามี ..........................คูนี้ชวยกันทํามาหากินจนร่ํารวย (พัน – ระ – ยา)

ชชช

สาระความรู

คําไทยท่ีใช “บัน” นําหนา บันดาลลงบันได บันทึกใหดจูงด ี รื่นเริงบนัเทงิม ี เสียงบนัลอืสนัน่ดัง บันโดยบันโหยไห บันเหนิไปจากรวงรัง บันทึงถึงความหลงั บันเดนินัง่นอนบนัดล บันกวดเอาลวดรัด บันจวบจัดตกแตงตน คําบันนัน้ฉงน ระวังปนกบั “ร – หัน”

ฝกอานคําที่ใช บัน

บันดาลลงบันได บันทึกใหดูจงด ี รื่นเริงบันเทิงม ี เสียงบันลือสนั่นดัง

ซซซ

แบบฝกท่ี 9

เขียนคําที่ใช “บัน” ลงในภาพ

ฌฌฌ

แบบฝกท่ี 10

ใหนักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด 1 จบ และคร่ึงบรรทัด 1 จบ

บันดาลลงบันได บันทึกใหดูจงด ี รื่นเริงบันเทิงม ี เสียงบันลือสนั่นดัง

.............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

ใหนักเรียนแตงประโยคจากคําที่กําหนดให

บันดาล บันได บันทึก บันเทิง บันลือ

..................................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

ญญญ

แบบฝกท่ี 11

การใช บัน, รร(ร หัน)

บ.......เทิง บ..........พชา บ.......ได บ.......ลือ ค........ชิต บ.........ทัดฐาน บ........ดาล บ..........ทึก บ.......ทุก พระข...........ค ไอศว..........ย ศตว.......ษ อาถ..........พณ บ........จถรณ

พี่ขาหนูอยากกินทอฟฟจังเลย พี่ชวยเติม รร (ร หัน) หรือ _ ัน ลงในทอฟฟหนอยซิคะ

ฎฎฎ

แบบฝกท่ี 12 จงเขียนเคร่ืองหมาย (ü) ไวหลังคําที่เขียนถูก และเติมเคร่ืองหมายผิด ( X) ไวหลังคําที่เขียนผิด คําแนะนํา ถาเด็กไมสามารถทําได ควรใหยอนกลับไปดูเรือ่ง ฝกอาน – ฝกเขียน คําที่ใช บัน ซึ่งในปจจุบนัมีใชอยู 5 คํา ดังนั้น คําอื่น ๆ ตองใช บรร จึงจะถกูตอง บรรจง.................. บันจง ...................... บรรพต................... บันพ................. บรรจบ................. บันจบ ...................... บรรพบุรุษ............. บันพบุรุ............ บรรจุ.... ............... บันจุ ....................... บรรยง .................. บันยง................. บรรเจิด ............... บันเจิด...................... บรรยากาศ............ บันยากาศ.......... บรรณาการ.......... บันณาการ............... บรรยาย................. บันยาย................ บรรณาธิการ....... บันณาธิการ............. บรรลัย.................. บันลัย................. บรรณารักษ......... บันณารักษ............... บรรลุ.................... บันลุ.................. บรรดา................. บันดา....................... บรรเลง................. บันเลง................ บรรทม................ บันทม..................... บรรหาร............... บันหาร............... บรรทัด................ บันทัด..................... บรรดาล............... บันดาล.............. บรรทกุ................ บันทุก..................... บรรได................. บันได................ บรรเทา............... บันเทา.................... บรรทึก................ บันทึก............... บรรพชา.............. บันพชา.................. บรรเทิง............... บันเทิง.............. บรรพชิต.............. บันพชิต................. บรรลือ................ บันลือ...............

ฏฏฏ

แบบฝกท่ี 13

ทําเครื่องหมาย ü หนาคาํที่เขียนถูกตอง และ X หนาคาํที่เขียนไมถูกตอง 1. .....................บันทม ....................บรรทม 2. .....................บันทึก ....................บรรทึก 3. .....................บันยากาศ ....................บรรยากาศ

4 ......................บันเทา ....................บรรเทา 5 ......................บันโดย ....................บรรโดย 6 ......................บันจง ....................บรรจง 7. ......................บันจุ ....................บรรจุ 8. ......................บัณณาการ ....................บรรณาการ 9. ......................บันดาล ....................บรรดาล 10. ......................บนัดาศักด์ิ ....................บรรดาศักด์ิ 11. ......................บนัณารักษ ....................บรรณารักษ 12. ......................บนัณาธิการ ....................บรรณาธิการ 13. ......................บนัทัด ....................บรรทัด 14. .......................บนัได ....................บรรได 15. .......................บนัจบ ....................บรรจบ 16. .......................บนัเลง ....................บรรเลง 17. .......................บนัเทิง ....................บรรเทิง 18. .......................บนัทุก ....................บรรทุก 19. .......................บนัลอื ....................บรรลือ 20. .......................บนัณานุกรม ....................บรรณานุกรม 21. .......................บนัพบุรุษ ....................บรรพบุรุษ 22. .......................บนัจถรณ ....................บรรจถรณ 23. .......................บนัพชา ....................บรรพชา 24. .......................บนัพต ....................บรรพต 25. ....................... บันพชิต ....................บรรพชิต

ฐฐฐ

แบบทดสอบหลังเรียน

เขียน Å ลอมรอบตวัอักษรหนาคาํตอบที่ถกูตอง

1. คําที่ใช รร ร ตัวหนาทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

2. คําที่ใช รร ร ตัวหลังทําหนาทีอ่ะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

3. ถามีพยัญชนะตวัอืน่ตามหลงั รร เวลาอานจะออกเสยีงเปนตวัอะไร ก. ไมหันอากาศ ข. ตัวการันต ค. ตัวสะกด

4. คําในขอใดที่ รร ออกเสยีง อัน ทุกคํา ก. กรรแสง กรรต ุ ข. บรรเทา สรรพสิ่ง ค. สรรหา กรรมการ

5. คําในขอใดเขียนถูก ก. บันได ข. บันทัด ค. บันจุ

6. คําในขอใดเขียนผิด ก. บรรทม ข. บรรเทิง ค. บรรจุ 7. “ แมใชไม.............วัดผาแลวจึงตัด ” ก. บรรทัด ข. บันทัด ค. บัณทัด

8. “ ชางถายรูปคนหนึง่ขึน้ไปยนืบนเวทีเพือ่.........ภาพการแสดงของประกายและ เพื่อน ๆ ” ก. บันเทิง ข. บันดาล ค. บันทึก

ฑฑฑ

9. “ วิไลกาํลงั.............น้ําหวานลงในขวด ” ก. บันจุ ข. บรรจุ ค. บรรเลง

10. ขอใดใช “ บัน ” ไดถูกตอง ก. เลาขานกุารกาํลังจดบันทกึ ข. นักเรียนกําลังฟงครูบนัยาย ค. ขอใหทุกคนเขยีนลายมอืบนัจงหนอย

ฒฒฒ

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียน 1. ค. 6. ก. 2. ก. 7. ก. 3. ค. 8. ก. 4. ก. 9. ค. 5. ข. 10. ข. แบบฝกที ่ 1 กรร อานวา กัน ขรร อานวา ขัน ครร อานวา คัน สรร อานวา สัน จรร อานวา จัน บรร อานวา บัน พรร อานวา พัน มรร อานวา มัน วรร อานวา วัน หรร อานวา หัน

แบบฝกที ่ 2 1. พัน – สา 2. ทํา 3. บัน – ยาย 4. สัน – เสิน 5. มัน – ยาด 6. วัด – ทะ – นะ - ทํา 7. วัน – นะ – คะ ดี 8. ทํา – มะ – ชาด 9. กระ – ซวง – ทํา – มะ – กาน 10. หะ – รึ – หัน 11. พระ – ขัน 12. ซง – คัน 13. ยุด – ต ิ– ทํา 14. อะ – นิด – จะ – กํา 15. หัด – ถะ – กํา 16. สะ – หวัน 17. ทํา – มะ – ดา 18. กํา – มะ – กาน 19. บัน – ทุก 20. กัน – เชียง

ณณณ

แบบฝกที ่3

1. หฤหรรษ 2. จํานรรจา 3. บรรทัด 4. ธรรมะ 5. พระขรรค 6. ทรงครรภ 7. ยุติธรรม 8. อนิจกรรม 9. สรรเสริญ 10. หัตถกรรม 11. สวรรค 12. กรรมการ 13. บรรทุก 14. มรรยาท 15. วัฒนธรรม 16. ธรรมดา 17. กรรเชียง 18. วรรณคด ี 19. บรรยาย 20. ธรรมชาติ 21. บรรดาศักดิ์ 22. อนิจกรรม 23. ทรงธรรม 24. บรรทม 25. อาธรรม 26. บรรลัย 27. แพรพรรณ 28. เวรกรรม 29. ศิลปกรรม 30. ผิวพรรณ 31. คําสรรพนาม 32. รัฐธรรมนูญ 33. บรรจง 34. บรรยากาศ 35. บรรยาย

แบบฝกที ่ 4

1. ข 2. ค 3. ก 4. ก 5. ข 6. ง 7. ง 8. ค 9. ค 10. ข

1. บรรทัด 6. บรรจบ 2. บรรทุก 7. บรรเลง 3. บรรเทา 8. บรรยาย 4. บรรจุ 9. บรรดา 5. บรรจง 10. กรรไกร

แบบฝกที ่ 5

1. พรรณ 2. จําพรรษา 3. มรรยาท 4. ธรรมดา 5. ครรภ หรือ ธรรม 6. ธรรมชาติ 7. ศิลปกรรม 8. สรรเสริญ 9. วัฒนธรรม 10. พระขรรค

ดดด

ตอนที ่2 1. บรรดาศักดิ์ 2. อนิจกรรม 3. ทรงธรรม 4. บรรทม 5. จํานรรจา 6. บรรลัย 7. แพรพรรณ 8. เวรกรรม 9. ศิลปกรรม 10. ผิวพรรณ 11. อาธรรม 12. บรรจ ุ13. คําสรรพนาม 14. รัฐธรรมนูญ 15. บรรจง 16. บรรยากาศ 17. บรรยาย 18. บรรพบรุุษ 19. บรรเลง 20. บรรณานุกรม

แบบฝกที ่ 6 ครูตรวจเฉลย

แบบฝกที ่ 7 1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ช 6. ฉ 7. จ

แบบฝกที ่8

ตอนที่ 1 1. บรรทัด 2. บรรทุก 3. บรรดา, บรรยาย 4. บรรเทา 5. บรรเลง

ตตต

ตอนที ่ 2 1. จัดสรร 6. บรรจง 2. สวรรค 7. บรรเลง 3. อัศจรรย 8. พระธรรม 4. ธรรมชาติ 9. หรรษา 5. เขาพรรษา 10. ภรรยา

แบบฝกที ่ 9 ครูตรวจเฉลย

แบบฝกที ่ 10 ครูตรวจเฉลย

แบบฝกที ่ 11

1. บันได 8. ครรชิต 2. บันเทิง 9. พระขรรค 3. บันทึก 10. ศตวรรษ 4. บันลือ 11. บรรทัดฐาน 5. บันดาล 12. บรรจถรณ 6. บรรพชา 13. อาถรรพณ 7. ไอศวรรย 14. บรรทุก

ถถถ

แบบฝกที ่ 12

เฉลยคําที่ถกูคอื บรรจง – บรรจบ – บรรจุ – บรรเจิด – บรรณาการ – บรรณาธิการ – บรรณารักษ - บรรดา บรรทม – บรรทัด – บรรทุก – บรรเทา – บรรพชา – บรรพชิต – บรรพต – บรรพบรุุษ บรรยง – บรรยากาศ – บรรยาย – บรรลัย – บรรลุ – บรรเลง – บรรหาร – และ บันดาล บันได – บันทึก – บันเทิง – บันลือ

แบบฝกที ่ 13

1. X, ü 2. ü, X 3. X, ü 4. X, ü 5. ü, X 6. X, ü 7 X, ü 8. X, ü 9. ü, X 10. X, ü 11. X, ü 12. X, ü 13. X, ü 14. ü, X 15. X, ü 16. X, ü 17. ü, X 18. X, ü 19. ü, X 20. X, ü 21. X, ü 22. X, ü 23. X, ü 24. X, ü 25. X, ü

แบบทดสอบหลังเรียน 1. ค. 6. ข. 2. ก. 7. ก. 3. ค. 8. ค. 4. ก. 9. ข. 5. ก. 10. ก.

ททท

แผนการจัดการเรียนรูโดย ใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที ่3

แผนการจัดการเรียนรูที ่1 เวลา 1 ช่ัวโมง *********************************************************************

แนวคิด การเรียนรูหลักเกณฑการอานท่ีถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา ชวยใหผูเรียนอานไดอยางถูกตอง การ

ฝกอานอยางสมํ่าเสมอชวยใหอานไดถูกตอง ชัดเจนและเกิดความม่ันใจ เปนการอนุรักษการใชภาษาในภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. บอกลักษณะของคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ได

2. อานออกเสียงคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ไดถูกตอง

สาระการเรียนรู ลักษณะของคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)

การอานออกเสียงคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)

กระบวนการจัดการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ครูนําบัตรคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) มาใหนักเรียนอานท่ีละคํา ( โดยไมตองช้ีแนะ ) 2. ครูนําอภิปรายเกี่ยวกับคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) จากบัตรคําท่ีนักเรียนอานวาอานถูกตองหรือไม / ทําไมถึงอานอยางนั้น ขั้นการเรียนรู 1. ครูอานบัตรคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ใหนักเรียนฟงท่ีละคํา แลวใหนักเรียนอานตาม 2. ครูใหนักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี 3. ครูรวมสรุปความรูท่ีนักเรียนอาน ขั้นสรุป 1. ครูใหนักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี โดยอานออกเสียงพรอมๆ กันอีกครั้ง 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 1 , 2

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. นักเรียนอานคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) จากบัตรคําท่ีละคํา ( ตามความเขาใจของตนเอง ) 2. นักเรียนรวมอภิปรายเกี่ยวกับคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) จากบัตรคําท่ีนักเรียนอานวาอานถูกตองหรือไม / เหตุผลท่ีอานอยางนั้น ขั้นการเรียนรู 1. นักเรียนอานออกเสียงบัตรคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ตามครู 2. นักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี 3. นักเรียนรวมสรุปความรูท่ีอาน ขั้นสรุป 1. นักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี โดยอานออกเสียงพรอมๆ กัน 2. นักเรียนทําแบบฝกท่ี 1 , 2

ธธธ

ส่ือการเรียน วิธีการประเมินผล เคร่ืองมือการประเมินผล ช้ินงานของผูเรียน 1. บัตรคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) 2. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

1. สังเกต - การอาน - การรวมอภิปราย

แสดงความคิดเห็น - การปฏิบัติงาน

ระหวางเรียน 2. ตรวจผลงาน

1. แบบสังเกต - การอาน - การรวมอภิปราย

แสดงความคิดเห็น - การปฏิบัติงาน ระหวางเรียน 2. แบบฝกท่ี 1 , 2

1. แบบฝกท่ี 1 2. แบบฝกท่ี 2

บันทึกผลการจัดการเรียนรู ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ .

นนน

แผนการจัดการเรียนรูโดย ใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที ่3

แผนการจัดการเรียนรูที ่2 เวลา 1 ช่ัวโมง *********************************************************************

แนวคิด การเรียนรูหลักเกณฑการเขียนท่ีถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา ชวยใหผูเรียนเขียนไดอยางถูกตอง การ

ฝกเขียนอยางสมํ่าเสมอชวยใหเขียนไดถูกตอง และเกิดความม่ันใจ เปนการอนุรักษภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)ไดถูกตอง

สาระการเรียนรู การเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)

กระบวนการจัดการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ครูใหนักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี โดยอานออกเสียงพรอมๆ กันอีกครั้ง 2. ครูรวมอภิปรายสรุปสาระความรูท่ีนักเรียนอาน ขั้นการเรียนรู 1. ครูแบงนักเรียนเปน 2 กลุม 2. ครูแจกบัญชีคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)ใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด ใหฝกอานและจาํลักษณะการเขียนคํารวมกันในกลุมโดยใหเวลาศึกษากลุมละ 15 นาที 3. ครูเก็บบัญชีคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)จากนักเรียนแตละกลุม 4. ครูใหนักเรียนแตละกลุมแขงขันการเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) จากบัญชีคําท่ีครูแจกใหศึกษา โดยครูใหเขียนตามคําบอกในกระดานดํา และมีกติกาวาผูเขียนท่ีออกมาเขียนคําแตละคําตองไมซ้ํากัน กลุมใดเขียนไดถูกตองมากกวากลุมนั้นชนะ ขั้นสรุป 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 3 , 4

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. นักเรียนอานสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี โดยอานออกเสียงพรอมๆ กัน 2. นักเรียนรวมอภปิรายสรุปสาระความรูท่ีอาน ขั้นการเรียนรู 1. นักเรียนแบงกลุมเปน 2 กลุม 2. นักเรียนรับบัญชีคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)กลุมละ 1 ชุด ฝกอานและจําลักษณะการเขียนคํารวมกันในกลุม โดยใหเวลาศึกษากลุมละ 15 นาที 3. นักเรียนท้ัง 2 กลุม คืนบัญชีคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ใหคุณครู 4. นักเรียนแตละกลุมแขงขันการเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ตามคําบอกของครูในกระดานดํา โดยผูเขียนท่ีออกไปเขียนคําแตละคําตองไมซ้ํากัน กลุมใดเขียนไดถูกตองมากกวากลุมนั้นชนะ ขั้นสรุป 1. นักเรียนทําแบบฝกท่ี 3 , 4

บบบ

ส่ือการเรียน วิธีการประเมินผล เคร่ืองมือการประเมินผล ช้ินงานของผูเรียน 1. บัญชีคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) 2. เกมแขงขันเขียนคํา 3. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

1. สังเกต - การอาน - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงานระหวางเรียน

2. ตรวจผลงาน

1. แบบสังเกต - การอาน - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงาน ระหวางเรียน 2. แบบฝกท่ี 3 , 4

1. แบบฝกท่ี 3 2. แบบฝกท่ี 4

บันทึกผลการจัดการเรียนรู ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ปปป

แผนการจัดการเรียนรู โดย ใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที ่3

แผนการจัดการเรียนรูที ่3 เวลา 1 ช่ัวโมง ************************************************************************

แนวคิด การฝกอานและการเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) อยางสมํ่าเสมอ และเรยีนรูเกี่ยวกับความหมายของคํา

ท่ีใช บรร รร (ร หัน) แตละคํา ชวยใหผูเรยีนอานและเขียนไดอยางถูกตอง ชัดเจนและเกิดความม่ันใจในการใชภาษามากข้ึน เปนการอนุรักษภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) ไดถูกตอง

สาระการเรียนรู การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน)

กระบวนการจัดการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ครูใหนักเรียนแบงกลุม 2 กลุม 2. ครูแจกบัตรคําใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด 3. ครูใหนักเรียนเลนเกมคูฉันอยูไหน โดยใหนักเรียนจับคูบัตรคําใหตรงกับความหมายของคํา กลุมใดจับคูไดเสร็จกอนและถูกตองมากท่ีสุดเปนผูชนะ ขั้นการเรียนรู 1. ครูใหนักเรียนรวมอภิปรายเกี่ยวกับเกมท่ีเลนวาใหประโยชนอยางไร มีความสัมพันธกันอยางไรระหวางการเรียนรูถึงความหมายของคําและการเขียนคํา 2. ครูสรุปใหนักเรียนฟงสั้นๆ อีกครั้ง ขั้นสรุป 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 5 , 6 , 7 , 8

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. นักเรียนแบงกลุม 2 กลุม ( จํานวนเทาๆ กัน ) 2. นักเรียนรับบัตรคํากลุมละ 1 ชุด 3. นักเรียนฟงกติกาการเลนเกมคูฉันอยูไหน และเริ่มเลนเม่ือครูใหสัญญาณ ขั้นการเรียนรู 1. นักเรียนรวมอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมท่ีเลนวาใหประโยชนอยางไร มีความสัมพันธกันอยางไรระหวางการเรียนรูถึงความหมายของคําและการเขียนคํา 2. นักเรียนฟงสรุปสาระความรูจากการเลนเกม ขั้นสรุป 1. นักเรียนทําแบบฝกท่ี 5 , 6 , 7 , 8

ผผผ

ส่ือการเรียน วิธีการประเมินผล เคร่ืองมือการประเมินผล ช้ินงานของผูเรียน 1. บัตรคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) 2. เกมคูฉันอยูไหน 3. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใชบรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

1. สังเกต - การอาน - การรวมอภิปราย

แสดงความคิดเห็น - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงานระหวางเรียน

2. ตรวจผลงาน

1. แบบสังเกต - การอาน - การรวมอภิปราย

แสดงความคิดเห็น - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงาน ระหวางเรียน 2. แบบฝกท่ี 5 , 6 ,7 , 8

1. แบบฝกท่ี 5 2. แบบฝกท่ี 6 3. แบบฝกท่ี 7 4. แบบฝกท่ี 8

บันทึกผลการจัดการเรียนรู ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ฝฝฝ

แผนการจัดการเรียนรูโดย ใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที ่3

แผนการจัดการเรียนรูที ่4 เวลา 1 ช่ัวโมง ************************************************************************

แนวคิด การเรียนรูหลักเกณฑทางภาษาเกี่ยวกับการใช บัน อยางถูกตอง รวมท้ังการฝกการอานและเขียนอยาง

สมํ่าเสมอ จะ ชวยใหผูเรยีนอานไดอยางถูกตอง ชัดเจนและเกิดความม่ันใจในการใชภาษามากข้ึน เปนการอนุรักษภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อานและเขียนคําท่ีใช บัน ไดถูกตอง

สาระการเรียนรู การอานและเขียนคําท่ีใช บัน

กระบวนการจัดการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ครูใหนักเรียนอานคําไทยท่ีใช บัน นําหนาจากสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี .... ขั้นการเรียนรู 1. ครูแบงนักเรียนเปน 2 กลุม ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาเขียนคําท่ีใช บัน ท่ีปรากฏในแผนภูมิ ( กาพย )ใหไดมากท่ีสุด กลุมใดเสร็จกอนและไดจํานวนคํามากท่ีสุดกลุมนั้นชนะ 2. ครูสนทนากับนักเรียนถึงความหมายของคําท่ีใช บัน ท้ัง 13 คํา 3. ครูช้ีแนะใหนักเรียนสังเกตวาถาจํากาพยบทนี้ไดนักเรียนก็จะเขียนคํา บัน ไดถูกคํา นอกจากนัน้ก็จะเปน บรร ใหพยายามทองกาพยบทนี้ใหได ขั้นสรุป 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 9 , 10

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. นักเรียนอานคําไทยท่ีใช บัน นําหนาจากสาระความรูในแบบฝกหนาท่ี .... พรอมกัน ขั้นการเรียนรู 1. นักเรียนแบงกลุม 2 กลุม แตละกลุมสงตัวแทนออกมาเขียนคําท่ีใช บัน 2. นักเรียนรวมสนทนาถึงความหมายของคําท่ีใช บัน ท้ัง 13 คํา 3. นักเรียนฟงคําช้ีแนะและรวมสังเกตกาพยท่ีอาน ขั้นสรุป 1. นักเรียนทําแบบฝกท่ี 9 , 10

พพพ

ส่ือการเรียน วิธีการประเมินผล เคร่ืองมือการประเมินผล ช้ินงานของผูเรียน 1. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศกึษาปท่ี 3

1. สังเกต - การอาน - การปฏิบัติงาน

ระหวางเรียน 2. ตรวจผลงาน

1. แบบสังเกต - การอาน - การปฏิบัติงาน ระหวางเรียน - แบบฝกท่ี 1 , 2

1. แบบฝกท่ี 9 2. แบบฝกท่ี 10

บันทึกผลการจัดการเรียนรู ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ฟฟฟ

แผนการจัดการเรียนรูโดย ใชแบบฝกการอานและเขียนคําที่ใชบรร รร(ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปที ่3 แผนการจัดการเรียนรูที ่5 เวลา 1 ช่ัวโมง

************************************************************************ แนวคิด

การฝกอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน อยางสมํ่าเสมอ และเรยีนรูเกี่ยวกับความหมายของคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน แตละคํา จะชวยใหผูเรยีนอาน , เขียน และใชคํา บรร รร (ร หัน) และ บัน ไดอยางถูกตอง ชัดเจนและเกิดความม่ันใจในการใชภาษามากข้ึน เปนการอนุรักษภาษาไทยรูปแบบหนึ่ง

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน ไดถูกตอง

สาระการเรียนรู การอานและเขียนคําท่ีใช บรร รร (ร หัน) และ บัน

กระบวนการจัดการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ครูใหนักเรียนรองเพลง การใช “บัน น หน ูสะกด” จากแผนภูมิเพลง พรอมทําจังหวะประกอบโดยครูรองนํา ขั้นการเรียนรู 1. ครูสรุปความรูจากเนื้อเพลงใหนักเรียนฟงวา คําท่ีใช บัน ท่ีใชอยูเปนประจํามีอยู 5 คํา คือ บันดาล , บันได , บันทึก , บันเทิง , บันลือ 2. ครูใหนักเรียนแบงเปน 2 กลุม 3. ครูใหนักเรียนแตละกลุมแขงขันกันเขียนคําท่ีใช บัน กลุมใดเสร็จกอน ถูกตองมากท่ีสุด กลุมนั้นชนะ ขั้นสรุป 1. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกท่ี 11 , 12 , 13

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. นักเรียนรองเพลง การใช “บัน น หน ูสะกด” จากแผนภูมิเพลงตามครู พรอมทําจังหวะประกอบ ขั้นการเรียนรู 1. นักเรียนฟงสรุปความรูจากเนื้อเพลง คําท่ีใช บัน ท่ีใชอยูเปนประจํามีอยู 5 คํา คือ บันดาล , บันได , บันทึก , บันเทิง , บันลือ 2. นักเรียนแบงเปน 2 กลุม 3. นักเรียนแตละกลุมแขงขันกันเขียนคําท่ีใช บัน ขั้นสรุป 1. นักเรียนทําแบบฝกท่ี 11 , 12 , 13

ภภภ

ส่ือการเรียน วิธีการประเมินผล เคร่ืองมือการประเมินผล ช้ินงานของผูเรียน 1. แผนภูมิเพลง การใช “บัน น หนู สะกด” 2. เกมแขงขันเขียนคํา 3. แบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร , รร (ร หัน ) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

1. สังเกต - การรองเพลง - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงานระหวางเรียน

2. ตรวจผลงาน

1. แบบสังเกต - การรองเพลง - การเลนเกม ( เนนคุณธรรมการ

ปฏิบัติตามกติกา / ความรวมมือในหมูคณะ/การยอมรับความสามารถของผูอื่น / ช่ืนชมยินดี)

- การปฏิบัติงาน ระหวางเรียน 2. แบบฝกท่ี 11 , 12 , 13

1. แบบฝกท่ี 11 2. แบบฝกท่ี 12 3. แบบฝกท่ี 13

บันทึกผลการจัดการเรียนรู ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ขอเสนอแนะ .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

มมม

ภาคผนวก 2

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย - แบบประเมินแบบฝกฯ โดย ผูเช่ียวชาญ - แบบประเมินคณุภาพของแผนการจัดการเรียนรู โดย ผูเช่ียวชาญ - แบบทดสอบกอนเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - แบบสอบถามความพึงพอใจ

ยยย

แบบประเมินแบบฝกการอานและเขยีนคาํทีใ่ช บรร , รร (ร หัน) และ บัน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดย ผูเชี่ยวชาญ ...............................................................................................................................................คําชี้แจง ใหทานพิจารณาความเหมาะสมของการพัฒนาแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร , รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยกาเครื่องหมาย ü ลงในชอง +1 , 0 หรือ -1 ท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน ดังนี ้ +1 เม่ือแนใจวารายการประเมินท่ีระบุมีความเหมาะสม

0 เม่ือไมแนใจวารายการประเมินท่ีระบุมีความเหมาะสม / ไมมีความเหมาะสม -1 เม่ือแนใจวารายการประเมินท่ีระบุไมมีความเหมาะสม

ความเห็นของผูเชี่ยวชาญ

รายการประเมิน

ดานเนื้อหา

+1 0

-1

หมายเหต ุ

1. ตรงตามเนื้อหาของหนังสอืเรียนทักษะทางภาษา กลุมสาระการเรยีนรูภาษาไทยของกระทรวงศึกษาธิการ

2. สอดคลองกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวังของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา

3. ชวยใหนักเรียนเขาใจบทเรยีนไดเรว็ข้ึน 4. ชวยใหนักเรียนเขาใจบทเรียนไดดีข้ึน 5. มีความเหมาะสมกับพื้นฐานความรูเดิมของผูเรียน 6. มีความเหมาะสมกับวัยและระดับช้ันของผูเรียน 7. ภาษาท่ีใชมีความเหมาะสม เขาใจงาย ชัดเจน 8. คําสั่งและวิธีทําในแตละแบบฝกมีความชัดเจน ผูเรียนเขาใจงาย เม่ืออานแลวสามารถปฏิบัติตามได

9.แบบฝกในแตละแบบฝกมีความยากงายเหมาะสมกับวัยของผูเรียน สนองความแตกตางระหวางบุคคลต้ังแตงาย ปานกลางจนถึงระดับคอนขางยาก

10.แบบฝกแตละแบบฝกมีรูปแบบหลากหลายในการฝก ท้ังแบบเลือกตอบ เลือกใชคํา ขอความ เติมคํา เขียนคําอาน หาความสัมพันธ แตงประโยค ฯลฯ

รรร

ความเห็นของผูเชี่ยวชาญ

หมายเหต ุ

รายการประเมิน

ดานลกัษณะรูปเลม

+ 1 0

- 1

1. ขนาดตัวอักษรมีความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 2. ภาพประกอบกอใหเกิดความเพลิดเพลิน เราความสนใจ ไมนา เบ่ือใน

การฝก

3. ขนาดเหมาะสมกับวัยของผูเรียน กะทัดรัด สะดวกในการใช 4. รูปเลมสวยงาม ดานคณุคาและประโยชนที่ผูเรียนจะไดรับ 1. มีความรูความเขาใจในเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใชบรร ,รร (ร หัน)

และ บัน มากข้ึน

2. ชวยใหนักเรียนเกดิทักษะในการอานและเขียนคําท่ีใชบรร ,รร (ร หัน) และ บัน มากข้ึน

3. นําความรูไปใชในชีวิตประจําวันได 4. ผูเรียน มีสื่อชวยในการเรียนรู 5. สงเสรมิใหผูเรยีนรกัการทํางาน มีความรับผิดชอบ ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลงัเรียน 1. สอดคลองกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 2. ตรงตามเนื้อหา 3. มีความยาก งายเหมาะกับผูเรียน

( ลงช่ือ ) ................................................................ ผูตรวจสอบ ( ............................................................ )

ตําแหนง ......................................................................

ลลล

แบบประเมินคณุภาพของแผนการจัดการเรียนรู

โดยใชแบบฝกการอานและเขยีนคาํทีใ่ช บรร ,รร (ร หัน) และ บัน ชั้นประถมศกึษาปที่ 3 โดย ผูเชี่ยวชาญ

...............................................................................................................................................คําชี้แจง ใหทานพิจารณาความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูการสอนซอมเสริม ท่ีใชแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร , รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 โดยกาเครื่องหมาย ü ลงในชอง +1 , 0 หรือ -1 ท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน ดังนี ้ +1 เม่ือแนใจวารายการประเมินท่ีระบุมีความเหมาะสม

0 เม่ือไมแนใจวารายการประเมินท่ีระบุมีความเหมาะสม / ไมมีความเหมาะสม -1 เม่ือแนใจวารายการประเมินท่ีระบุไมมีความเหมาะสม

ความเห็นของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

+ 1 0 - 1

หมายเหตุ

1. องคประกอบของแผนการจัดการเรียนรูครบถวน 2. ความสอดคลองระหวางแนวคิดกับเนื้อหา 3. ความสัมพันธระหวางเนื้อหากับผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 4. ความสัมพันธระหวางผลการเรียนรูท่ีคาดหวังกับกระบวนการจัดการเรียนรู

5. ข้ันตอนการจัดกระบวนการจัดการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรูสื่อความหมายชัดเจน เขาใจงาย

6. นําสื่อแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร ,รร (ร หัน) และ บัน ท่ีผลิต มาใชไดสอดคลองกับกระบวนการจัดการเรียนรู

7. ระบุวิธีการและ เครื่องมือการประเมินผลไดเหมาะสม 8. วิธีการประเมินผลสอดคลองกับผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 9. กําหนดภาระงานใหผูเรยีนปฏิบัติงานในแตละแผนการจัดการเรยีนรูไวอยางชัดเจน

( ลงช่ือ ) ................................................................ ผูตรวจสอบ

( ............................................................ )

ววว

ตําแหนง ....................................................................

แบบทดสอบกอนเรียน

เขียน Å ลอมรอบตวัอักษรหนาคาํตอบที่ถกูตอง

1. คําที่ใช รร ร ตัวหนาทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

2. คําที่ใช รร ร ตัวหลังทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

3. ถามีพยัญชนะตวัอืน่ตามหลงั รร เวลาอานจะออกเสยีงเปนตวัอะไร ก. ไมหันอากาศ ข. ตัวการันต ค. ตัวสะกด

4. คําในขอใดเขียนถูก ก. บันได ข. บันทัด ค. บันจุ

5. คําในขอใดเขียนผิด ก. บรรทม ข. บรรเทิง ค. บรรจุ

6. คําในขอใดที่ รร ออกเสยีง อัน ทุกคํา ก. กรรแสง กรรต ุ ข. บรรเทา สรรพสิ่ง ค. สรรหา กรรมการ

7. ขอใดใช “ บัน ” ไดถูกตอง ก. เลาขานกุารกาํลังจดบันทกึ ข. นักเรยีนกําลังฟงครูบนัยาย ค. ขอใหทุกคนเขยีนลายมอืบนัจงหนอย

8. “ แมใชไม.............วัดผาแลวจึงตัด ” ก. บรรทัด ข. บันทัด ค. บัณทัด

ศศศ

9 “ ชางถายรูปคนหนึ่งขึน้ไปยืนบนเวทเีพื่อ.........ภาพการแสดงของประกายและ เพื่อน ๆ ” ก. บันเทิง ข. บันดาล ค. บันทึก

10. “ วิไลกาํลงั.............น้ําหวานลงในขวด ” ก. บันจุ ข. บรรจุ ค. บรรเลง

ษษษ

แบบทดสอบหลังเรียน

เขียน Å ลอมรอบตวัอักษรหนาคาํตอบที่ถกูตอง

1. คําที่ใช รร ร ตัวหนาทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

2. คําที่ใช รร ร ตัวหลังทําหนาที่อะไร ก. ตัวสะกด ข. ตัวการันต ค. ไมหันอากาศ

3. ถามีพยัญชนะตวัอืน่ตามหลงั รร เวลาอานจะออกเสยีงเปนตวัอะไร ก. ไมหันอากาศ ข. ตัวการันต ค. ตัวสะกด

4. คําในขอใดที่ รร ออกเสยีง อัน ทุกคํา ก. กรรแสง กรรต ุ ข. บรรเทา สรรพสิ่ง ค. สรรหา กรรมการ

5. คําในขอใดเขียนถูก ก. บันได ข. บันทัด ค. บันจุ

6. คําในขอใดเขียนผิด ก. บรรทม ข. บรรเทิง ค. บรรจุ 7. “ แมใชไม.............วัดผาแลวจึงตัด ” ก. บรรทัด ข. บันทัด ค. บัณทัด

8. “ ชางถายรูปคนหนึง่ขึน้ไปยนืบนเวทีเพือ่.........ภาพการแสดงของประกายและ เพื่อน ๆ ” ก. บันเทิง ข. บันดาล ค. บันทึก

สสส

9. “ วิไลกาํลงั.............น้ําหวานลงในขวด ” ก. บันจุ ข. บรรจุ ค. บรรเลง

10. ขอใดใช “ บัน ” ไดถูกตอง ก. เลาขานกุารกาํลังจดบันทกึ ข. นักเรยีนกําลังฟงครูบนัยาย ค. ขอใหทุกคนเขยีนลายมอืบนัจงหนอย

หหห

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝก การอานและเขยีนคาํทีใ่ช บรร , รร (ร หัน) และ บัน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ...............................................................................................................................................

คําชี้แจง ใหนกัเรียนเขียน ü แสดงความพึงพอใจในชองท่ีตรงกับระดับความพึงพอใจของตน ท่ีมีตอแบบฝกการอานและเขียนคําท่ีใช บรร , รร (ร หัน) และ บัน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

ระดับความพึงพอใจ

รายการประเมิน มากที่ สุด

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย 2

นอยที่สุด

1

หมาย เหต ุ

1. แบบฝกเลมนี้ชวยใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใชบรร ,รร (ร หัน) และ บัน มากขึ้น

2. แบบฝกเลมนี้ชวยใหนักเรียนเขาใจส่ิงท่ีเรียนไดเร็วขึน้ 3. คําส่ังและวิธีทําในแตละแบบฝก ชัดเจน 4. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน 5. มีภาพประกอบ ทําใหเกิดความสวยงาม ดูไมนาเบ่ือ 6. มีขนาดท่ีถูกใจ ใชสะดวก 7. นักเรียนนําความรูไปใชในชีวิตประจําวนัได

ฬฬฬ

ภาคผนวก 3

ตารางแสดงคะแนน - ตารางคะแนนจากแบบสอบถามความพึงพอใจ - ตารางคะแนนทดสอบกอนเรยีน / ระหวางเรยีน / ทดสอบหลังเรียน

อออ

วิเคราะหแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอแบบฝก การอานและเขยีนคาํทีใ่ช บรร , รร (ร หัน) และ บัน

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3

ระดับความพึงพอใจ

รายการประเมิน มากท่ีสุด

5

มาก

4

ปานกลาง

3

นอย

2

นอยท่ีสุด

1

คาเฉล่ีย

1. แบบฝกเลมนี้ชวยใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องการอานและเขียนคําท่ีใชบรร ,รร (ร หัน) และ บัน มากขึ้น

8

-

-

-

-

5

2. แบบฝกเลมนี้ชวยใหนักเรียนเขาใจส่ิงท่ีเรียนไดเร็วขึน้ 5 2 1 - - 4.50 3. คําส่ังและวิธีทําในแตละแบบฝก ชัดเจน 6 2 - - - 4.75 4. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน 5 3 - - - 4.63 5. มีภาพประกอบ ทําใหเกิดความสวยงาม ดูไมนาเบ่ือ 7 1 - - - 4.88 6. มีขนาดท่ีถูกใจ ใชสะดวก 6 1 1 - - 4.63 7. นักเรียนนําความรูไปใชในชีวิตประจําวนัได 6 1 1 - - 4.63

ระดับเฉล่ีย 215 40 9 - - 4.72

ฮฮฮ

กกกก

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ นางสุมาลิน ทองเจือ ประวัตกิารศึกษา จบการศึกษา ปริญญาตรี (ศษ.บ) จากมหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วิชาเอก ประถมศึกษา จบการศึกษา ปริญญาโท (ศษ.ม.) จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร แขนงวิชา หลักสูตรและการสอน สถานท่ีทํางาน โรงเรียนบานบางจัน อําเภอตะกั่วทุง สํานกังานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาพังงา โทร. 081 – 1778 - 522 ตําแหนง ครู คศ. 3

Recommended