3
SOURCE OF ENGINEER 31 JAN 2017 FOOD FOCUS THAILAND ข้อความข้างต้นนี้ เป็นเนื้อหาช่วงหนึ่งในบทความที่เขียนโดย คุณ Taiichi Ohno ในหนังสือชื่อว่า Workplace Management 1 แสดง ให้เห็นได้ถึงการให้ความส�าคัญอย่างยิ่งต่อการลดต้นทุนในองค์กร ส�าหรับท่านที่ยังไม่คุ ้นกับชื่อนี้ ก็ขอแนะน�าว่า คุณ Ohno นั้น เป็นผู ้บริหาร คนส�าคัญของ Toyota Motor Corp. ที่ได้รับการยกย่อง ในฐานะผู้บุกเบิก ระบบการผลิตของโตโยต้า หรือเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าในปัจจุบันว่า ระบบลีน (Lean system) หากเคยได้ยินการถาม “ท�าไม 5 ครั้ง (5 Whys)” เพื่อสาวให้ถึงต้นตอของปัญหา (Root cause) ก็มาจากคนนี้นั่นแหละครับ ต�าแหน่งสุดท้ายในบริษัทของคุณ Ohno คือ Executive Vice President แนวคิดพื้นฐานที่เป็นที่มาของค�าว่า ลีน คือ การขจัดความสูญเสียใน กระบวนการท�างาน เพื่อให้การใช้ทรัพยากรขององค์กรนั ้นเป็นไปเพื่อสร้าง คุณค่าให้กับลูกค้าอย่างแท้จริง กระบวนการท�างานใดที่ไม่ได้ท�าไปเพื่อลูกค้า คือ ”ความสูญเสีย (Waste)” ความสูญเสียถูกเปรียบเทียบเหมือนกับไขมันที่ต้องขจัดหรือท�าให้ลดลง เพื่อให้เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ มีความกระชับคล่องตัว เคลื่อนไหวได้ อย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนไปของปัจจัยสภาวะแวดล้อม การขจัดไขมัน ที่ไม่เป็นประโยชน์นี้คือ สิ่งเดียวกับการลดต้นทุนเพื่อรักษาความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจนั่นเอง ในบทความ ได้กล่าวถึงการสร้างความตระหนักถึงความส�าคัญของการ- ลดต้นทุน (Cost reduction awareness) ว่าคือ ความอยู่รอดของธุรกิจ ด้วยการหยิบสมการง่ายๆ 2 สมการ ที่ดูแล้วก็น่าจะเหมือนกันเพียงแค่ เปลี่ยนข้างซ้ายขวามาอธิบายเพื่อสะท้อนให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันอย่าง สิ้นเชิงพร้อมกับกล่าวว่า สมการแรก เป็นสมการที่ผิดจากความเป็นจริงด้วย สมการทั้ง 2 คือ 1. ราคาขาย (Selling price) = ต้นทุน (Cost) + ก�าไร (Profit) 2. ก�าไร (Profit) = ราคาขาย (Selling Price) - ต้นทุน (Cost) กฤชชัย อนรรฆมณี Kritchai Anakamanee Lean and Productivity Consultant [email protected] “…We are always thinking about ways to cut costs. For us, costs are things to be lowered rather than things to be calculated. No matter what we do, the single most important issue for us is whether costs have been lowered…” การตั้งเป้าหมายต้นทุน แนวคิดพื้นฐานในระบบ ลีน 31 JAN 2017 FOOD FOCUS THAILAND

Setting Target Cost and Lean System

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Setting Target Cost and Lean System

SOURCE OF ENGINEER

31JAN 2017 FOOD FOCUS THAILAND

ข้อความข้างต ้นน้ี เป ็นเนื้อหาช่วงหน่ึงในบทความที่ เ ขียนโดย คุณ Taiichi Ohno ในหนังสือชื่อว่า Workplace Management1 แสดง ให้เห็นได้ถึงการให้ความส�าคัญอย่างยิ่งต่อการลดต้นทุนในองค์กร

ส�าหรบัท่านทียั่งไม่คุน้กับชือ่นี ้ก็ขอแนะน�าว่า คณุ Ohno นัน้ เป็นผูบ้รหิารคนส�าคัญของ Toyota Motor Corp. ที่ได้รับการยกย่อง ในฐานะผู้บุกเบิกระบบการผลิตของโตโยต้า หรือเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าในปัจจุบันว่า ระบบลีน (Lean system) หากเคยได้ยินการถาม “ท�าไม 5 ครั้ง (5 Whys)” เพื่อสาวให้ถึงต้นตอของปัญหา (Root cause) ก็มาจากคนนี้นั่นแหละครับ ต�าแหน่งสุดท้ายในบริษัทของคุณ Ohno คือ Executive Vice President

แนวคิดพ้ืนฐานท่ีเป็นท่ีมาของค�าว่า ลีน คือ การขจัดความสูญเสียในกระบวนการท�างาน เพ่ือให้การใช้ทรัพยากรขององค์กรน้ันเป็นไปเพ่ือสร้างคณุค่าให้กับลกูค้าอย่างแท้จรงิ กระบวนการท�างานใดท่ีไม่ได้ท�าไปเพ่ือลกูค้าคือ ”ความสูญเสีย (Waste)”

ความสูญเสียถูกเปรียบเทียบเหมือนกับไขมันท่ีต้องขจัดหรือท�าให้ลดลง เพ่ือให้เป็นองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพ มีความกระชับคล่องตัว เคลื่อนไหวได้ อย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนไปของปัจจัยสภาวะแวดล้อม การขจัดไขมัน ท่ีไม่เป็นประโยชน์น้ีคือ สิ่งเดียวกับการลดต้นทุนเพ่ือรักษาความสามารถ ในการแข่งขันของธุรกิจนั่นเอง

ในบทความ ได้กล่าวถึงการสร้างความตระหนักถึงความส�าคัญของการ- ลดต้นทุน (Cost reduction awareness) ว่าคือ ความอยู่รอดของธุรกิจ ด้วยการหยิบสมการง่ายๆ 2 สมการ ท่ีดูแล้วก็น่าจะเหมือนกันเพียงแค่ เปลี่ยนข้างซ้ายขวามาอธิบายเพ่ือสะท้อนให้เห็นแนวคิดที่แตกต่างกันอย่าง สิ้นเชิงพร้อมกับกล่าวว่า สมการแรก เป็นสมการท่ีผิดจากความเป็นจริงด้วย สมการทั้ง 2 คือ

1. ราคาขาย (Selling price) = ต้นทุน (Cost) + ก�าไร (Profit)2. ก�าไร (Profit) = ราคาขาย (Selling Price) - ต้นทุน (Cost)

กฤชชัย อนรรฆมณี

Kritchai AnakamaneeLean and Productivity [email protected]

“…We are always thinking about ways to cut costs. For us, costs are things to be lowered rather than things to be calculated. No matter what we do, the single most important issue for us is whether costs have been lowered…”

การตั้งเป้าหมายต้นทุนแนวคิดพื้นฐานในระบบ ลีน

31JAN 2017 FOOD FOCUS THAILAND

31-33_Source of Engineer_Cost.indd 31 12/21/16 2:37 PM

Page 2: Setting Target Cost and Lean System

32 JAN 2017FOOD FOCUS THAILAND

SOURCE OF ENGINEER

ดูแล้วก็อาจจะชวนงงๆ ใช่ไหมครับว่ามันต่างกันตรงไหน และสมการแรกเป็นสมการท่ีผิด ความจรงิไปได้อย่างไร จ�าได้ว่าสมยัเดก็ๆ ยังเคยท�าโจทย์เลขง่ายๆ ด้วยค�าถามท�านองว่า ผลติสนิค้าต้นทุน 100 บาท ต้องการก�าไร 10 บาท ดังนั้นราคาขายจะเป็นเท่าไหร่ ซึ่งทุกคนก็ตอบได้อยู่แล้วว่าคือ 110 ก่อนอ่านต่อไป ลองชวนคิดกันครับว่าสมการแรกผิดตรงไหน?

ค�าอธิบายคอื ในโลกแห่งความเป็นจรงินัน้ ผูผ้ลติหรือธุรกิจมอี�านาจในการตัง้ราคาได้จรงิหรือ? ค�าตอบน้ีอาจจะตอบว่าใช่ ถ้าผู ้ผลิตนั้นอยู่ในธุรกิจผูกขาดท่ีลูกค้าไม่มีทางเลือกอื่น ต้องซื้อ ผลิตภัณฑ์ตามราคาที่ผู้ผลิตก�าหนดเท่าน้ัน แต่ในโลกท่ีเต็มไปด้วยการแข่งขันทุกวันน้ี ถ้ามีคู่แข่ง ท่ีมีสินค้าท่ีใกล้เคียงแต่ตั้งราคาถูกกว่า สินค้าของเราอาจจะขายไม่ออก และต้องลดราคาลงมา ตามกลไกตลาดในที่สุด

ลองมาพิจารณากรณีอุตสาหกรรมอาหารกันครับ แม้ว่าผลิตภัณฑ์อาหารสามารถสร้าง จุดแตกต่างจากคู่แข่งให้กับตนเองได้ด้วยรสชาติ รูปลักษณ์ดึงดูด และบรรจุหีบห่อสวยงาม แต่เมื่อมองอีกมุมหน่ึงแล้ว คู่แข่งก็มีอยู่มากมาย ลูกค้าสามารถเปรียบเทียบสินค้าพร้อมกับราคาของเรากับคู่แข่งท่ีวางอยู่บนชั้นได้อย่างง่ายดาย ทั้งคู่แข่งตรงๆ คือผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกัน หรือ คู่แข่งทางอ้อมคือ สินค้าที่ลูกค้ารู้สึกว่าทดแทนกันได้

ดังน้ัน อ�านาจการตั้งราคานั้นอยู่ท่ี “ลูกค้า” หรือ “ตลาด” ต่างหาก ด้วยการเลือกว่าจะซื้อผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตรายใด ราคาขายจึงเป็น “ปัจจัยภายนอก” ท่ีผู้ผลิตไม่สามารถควบคุมได้ อย่างสมบูรณ์ การเริ่มต้นธุรกิจโดยการมองต้นทุนแล้วบวกก�าไร ด้วยความคาดหวังว่าตลาดจะยอมรับ เป็นวิธีคิดที่ผิดทาง

สมการทีส่อง เป็นแนวคดิท่ีสอดคล้องกบัโลกแห่งการแข่งขนัมากกว่า โดยการเปลีย่นจดุเริม่ต้นใหม่ จากการมองตนเองไปสู่ภายนอก (Inside-out) มาเป็นการมองภายนอกหรือตลาดมาสู่ภายใน (Outside-in)

องค์กรต้องประเมินว่าลูกค้ามองคุณค่าหรือมลูค่าของผลติภัณฑ์ท่ีต�าแหน่งใด เปรยีบได้กับราคาที่จะสามารถขายได้ด้วยมุมมองของตลาด จากนั้น จึงน�ามาก�าหนดเป้าหมายของต้นทุน (Cost target) เพื่อให้ได้ก�าไรตามที่ต้องการในท้ายที่สุด เป้าหมายต้นทนุทีว่่านี ้ต้องแยกย่อยลงไปตามโครงสร้างต้นทนุที่มีด้วย

ตัวอย ่างเช ่น ถ ้าการประเมินด ้วยมุมมอง ของลกูค้าแล้ว ผลติภัณฑ์ของเรามมีลูค่าท่ี 100 บาท หากเราสามารถควบคุมกระบวนการท�างานให้มีต้นทนุได้ที ่90 บาท เราจงึจะมกี�าไรได้ 10 บาท ต้นทุน 90 บาท จึงเป็นเป้าหมายรวมท่ีต้องท�าให้ได้ และ แตกลงไปเป็นเป้าหมายย่อยของแต่ละหน่วยงาน

เรายังมองลึกต่อไปได้อีกครับว่า “ต้นทุน” กับ “ก�าไร” สามารถเปรียบเทียบเป็นสิ่งเดียวกัน เหมือนกับเหรียญ 1 เหรียญ ที่มี 2 ด้าน แล้วแต่จะมอง ด้านไหน เพราะต้นทุนทีล่ดลงไปได้เท่าไหร่ ก็คอืก�าไรที่มากข้ึนเท่านั้น หากสามารถปรับปรุงกระบวนการให้ต้นทุนลดลงจาก 90 เป็น 85 บาท ก�าไรก็จะ เพิ่มขึ้นเป็น 15 บาท นั่นเอง

แนวคิดเช่นนี้ ผมมองว่ามีประโยชน์มากในการ-อธิบายให้บคุลากรในองค์กรเข้าใจ ว่าการสร้างความเจริญเติบโตทางธุรกิจอย่างย่ังยืนจะเกิดขึ้นได้ ต้องมาจากการมองไปทีล่กูค้าก่อน แล้วจงึค่อยมาหาทางบริการจัดการควบคุมตนเอง และปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ดังน้ัน สิ่งท่ีได้เรียนรู ้จากวิถีการปฏิบัติของ องค์กรแห่งลีน คือ การก�าหนดมูลค่าของผลิตภัณฑ์หรือราคาในมุมมองของลูกค้า อย่างมีหลักการ มี เหตุผล จากน้ันจึงตั้งเป ้าหมายต้นทุนท้ังต ่อผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว และผลิตภัณฑ์ใหม่ก่อนที่จะลงสูต่ลาด จากน้ันต้นทุนน้ีต้องลดลงไปผ่านกจิกรรมการปรับปรุงต่างๆ ในองค์กร ซึ่งจะน�าไปสู่ก�าไรที่จะมีให้กับธุรกิจ เพ่ือการกระจายอย่างเหมาะสม ให้กับพนักงาน ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น ลูกค้า และสังคมต่อไปครับ

ข้อมูลเพิ่มเติม1 มีการแปลหนังสือ เป็นภาษาไทยในชื่อว่า สุดยอด ลีน ของคุณโอโน

31-33_Source of Engineer_Cost.indd 32 12/21/16 2:37 PM

Page 3: Setting Target Cost and Lean System

SOURCE OF ENGINEER

33JAN 2017 FOOD FOCUS THAILAND

The above statement is part of an article written by Taiichi Ohno in a book called “Workplace Management”, which highlights the importance of cost reduction.

For any of you who are not familiar with the name, Mr. Ohno is among the prominent executives of Toyota Motor Corps, who has been honoured as the pioneer of Toyota’s production supply chain. The system is today famously known as “lean system”. If you ever heard of finding the root cause by asking “5 Whys”, this is the man behind the idea. Mr. Ohno’s last position before retirement is Executive Vice President of the motor company.

The basic idea behind the word “lean” is the attempt to eliminate losses in the work process, and to effectively use the resources to create value for customers. Any process that does not yield value for customers is considered a “waste”.

Waste is considerably similar to fat that needs to be gotten rid of or reduce, in order to be lean, effective, agile, and flexible to changing environments. Eliminating these wasteful fat is similar to reducing costs, in order to maintain the business competitiveness.

Mr. Ohno’s article talks about how cost reduction awareness is the company’s key to survival. Using two simple equations, which may seem identical switching from left to right, to explain two different ideas. He even added that the first equation distorted the truth. And the equations are

1. Selling Price = Cost + Profit2. Profit = Selling Price - Cost Some of you may be confused whether how the two equations could

be different, and how can the first one misinterpret the truth. Let’s recall our childhood memory when we solve simple mathematic question says, producing goods at 100 baht costs and expect for 10 baht profit on every sale, how much is the selling price? Well, the answer to this question is, of course, 110 baht. But before we move further, let’s figure out what’s wrong with the first equation?

Here’s the explanation. In reality, does manufacturers or the business sector really have the power to set the price? You might say the answer is yes, if the business is a monopoly game and the consumers have no other choice apart from one particular company. However, the world is a competitive arena these days, and if there a closely similar product with a cheaper price, our product may be abandoned and we must eventually cut the price down to balance the demand and supply.

Now let’s focus on the food industry. Even though food products can be unique by its distinctive taste, attractive looks or beautiful packagings, still there are many competitors. Customers can compare our products with those of our competitors grabbed from the same supermarket shelves. There are, moreover, direct competitors - products that are similar to ours, and indirect competitors - products that consumers feel are replaceable.

Thus, the power to set the price is actually relied on “customers” or “market” by choosing the products from any company. This makes selling price an “external factor” which manufacturers cannot fully control. Starting the business by only focusing on cost and profit, with the expectation of a warm welcome from the market, is the wrong way around.

The second equation, however, is more consistent with the competitive world. By changing from an ‘inside-out’ perspective to be ‘outside-in’.

The company must evaluate how the customers value its products, and compare to the possible selling price perceive by the market. Then, cost target can be set to earn desire profits. However, cost target must be broken down to available cost structure.

For example, if we evaluate our products with the view of the customers, our product should cost around 100 baht. If we can control the cost of production to be at 90 baht, then we can earn the profit of 10 baht. The 90 baht cost is the compulsory goal, which breaks down into small goals of each organ.

We can look beyond this and see that “cost” and “profit” are actually the same thing like two sides of a coin. That is because the more we invest, the better profit we can get. And if we can decrease the cost down from 90 baht to 85 baht, we can have a bigger profit of 15 baht.

I personally think this concept is very beneficial when you need to explain to your employee how to sustainably build a business by focusing first on the customers before controlling the cost, and continuous development.

In this manner, what we have learned from lean organisation is that we must rationally set our selling price in accordance with customers value. After that, we can set target costs for the existing products and future products. Then we must try to reduce costs through improvement activities in order to increase bigger profits, which will be appropriately distributed to employees, executives, stockholders, customers and the society.

“…We are always thinking about ways to cut costs. For us, costs are things to be lowered rather than things to be calculated. No matter what we do, the single most important issue for us is whether costs have been lowered…”

Setting Target Cost, The Basic Concept of Lean System

31-33_Source of Engineer_Cost.indd 33 12/21/16 2:37 PM