11
ททททททททททท ททททททททททท ททททททททททท ททททททททททท ทททททททททททท ทททททททททททท ทททท ทททท

ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

  • Upload
    6phepho

  • View
    118

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

ทฤษฏีการวางทฤษฏีการวางเง่ือนไขแบบเง่ือนไขแบบ

คลาสสคิของพาคลาสสคิของพาฟลอฟฟลอฟ

Page 2: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

ชื่อ อีวาน เปโตรวชิ ปาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)เกิด 14 กันยายน ค.ศ.1849 เสยีชวีติ 27 กมุภาพนัธ ์ค.ศ.1936 (อายุ 86 ปี )ท่ีพำานัก จกัรวรรดิรสัเซยี , สหภาพโซเวยีต เชื้อชาติ รสัเซยี , โซเวยีต สาขาวชิา สรรีวทิยา , จติวทิยา , แพทย์สถาบนัท่ีอยู ่ สถาบนัการแพทย์ทหารเกียรติประวติั รางวลัโนเบล สาขาสรรีวทิยา หรอืการแพทย ์ ( ค.ศ.1904 )

Page 3: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

พาฟลอฟ เชื่อวา่ การเรยีนรูข้องสิง่มีชวีติเกิดจากการวาง

เง่ือนไข(Conditioning) กล่าวคือ การตอบสนองหรอืการเรยีนรูท่ี้เกิดขึ้นต่อสิง่เรา้

นัน้ ๆ ต้องมเีง่ือนไขหรอืมกีารสรา้งสถานการณ์ใหเ้กิดขึ้น ซึ่งในธรรมชาติหรอืใน

ชวีติประจำาวนัจะไมต่อบสนองเชน่นัน้เลย เชน่ คนได้ยนิเสยีงไซเรน จะคิดถึงไฟไหม ้เป็นต้น เสยีงไซเรน เป็นสิง่เรา้ พาฟลอฟ

เรยีกวา่ สิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไข(Conditioned stumulus) และการคิดถึงไฟไหม ้เป็นการตอบสนอง ท่ีเรยีก

วา่การตอบสนองท่ีถกูวางเง่ือนไข(Conditioned response) ซึ่งเป็นพฤติกรรมแสดงถึงการเรยีนรูจ้ากการ

วางเง่ือนไข

Page 4: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

ก่อนวางเง่ือนไขเสยีงกระด่ิง (cs) ไมม่นีำ้าลายเนื้อ (ucs) นำ้าลายไหล (ucr)

วางเง่ือนไข เนื้อ+ กระดิ่ง นำ้าลายไหล

หลังวางเง่ือนไขเสยีงกระด่ิง (cs) นำ้าลายไหล (cr)

แผนภมูแิสดงการทดลองทฤษฎี เง่ือนไขแบบคลาสสคิ

Page 5: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
Page 6: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

UCS : Unconditioning Stimulus

สิง่เรา้ท่ีไมต้่องวางเง่ือนไขUCR : Unconditioning

Response การตอบสนองท่ีไมต้่องวาง

เง่ือนไขCS : Conditioning

Stimulus สิง่เรา้ท่ีต้องวางเง่ือนไข

CR : Conditioning Response

การตอบสนองท่ีต้องวางเง่ือนไข

การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมโดยวางเง่ือนไข

Page 7: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

จากสิง่ท่ีเกิดขึน้ในการทดลอง พาฟลอฟ ได้สรุปเป็นกฎ 4 ขอ้ คือ

1.กฎการลบพฤติกรรม (Law of extinction)มคีวามวา่ ความเขม้ขน้ของการตอบสนอง จะลดน้อยลงเรื่อยๆถ้าใหร้า่งกายได้รบัสิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไข

อยา่งเดียว

Page 8: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

2.กฎแห่งการคืนกลับ (Low of spontaneous recovery) การตอบสนองท่ีเกิดจากการวางเง่ือนไข (CR) ท่ีลดลงเพราะได้รบัแต่สิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไข (CS) เพยีงอยา่งเดียว จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิม่มากขึ้นๆ ถ้ารา่งกายมี

การเรยีนรูอ้ยา่งแท้จรงิ โดยไมต้่องมสีิง่เรา้ท่ีไมว่างเง่ือนไข (UCS) มาเขา้ชว่ย

Page 9: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

3. กฎความคล้ายคลึงกัน ถ้ารา่งกายมกีารเรยีนรูโ้ดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวางเง่ือนไขต่อสิง่เรา้ ท่ีวางเง่ือนไขหนึ่งแล้ว ถ้ามสีิง่เรา้อ่ืนท่ีมี

คณุสมบติัคล้ายคลึงกันกับสิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไข เดิม รา่งกายจะตอบสนองเหมอืนกับสิง่

เรา้ท่ีวางเง่ือนไขนัน้

Page 10: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

4. กฎแห่งการจำาแนก ถ้ารา่งกายมกีารเรยีนรูโ้ดยแสดงอาการตอบสนอง จากการวางเง่ือนไขต่อสิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไขเดิม ถ้าสิง่เรา้อ่ืนท่ีมคีณุสมบติัแตกต่าง

จากสิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไขเดิม รา่งกายจะตอบสนองแตกต่างไปจากสิง่เรา้ท่ีวางเง่ือนไขนัน้

Page 11: ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ

ขอบจบการนำาเสนอเพยีงเท่าน้ีค่ะขอบคณุค่ะ