3
โครงการจัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ด้วยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) มีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ โดยเฉพาะผู้ประกาศ พิธีกร ผู้ดาเนินรายการ และประชาชน เพื่อให้เป็นผู้ประกอบกิจการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ทางคณะนิเทศ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เป็นหนึ่งหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติให้เป็นเป็นหน่วยงานในการดาเนินการ จัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศภายใต้หลักเกณฑ์และหลักสูตรที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กาหนด จากการจัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศในกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พบว่า การฝึกฝนด้านการอ่านเพื่อการดาเนินรายการนั้น ต้องอาศัย ระยะเวลาในการฝึกฝนเพื่อการชานาญการ ดังนั้น ผู้จัดทาโครงการจึงสรุปรายละเอียดเพื่อการฝึกฝนแนว ทางการพัฒนาทักษะการอ่านเพื่อการดาเนินรายการให้ผู้ที่สนใจสามารถนาไปฝึกฝนเพิ่มเติมได้ ดังนีสิ่งที่ผู้ดาเนินรายการควรตระหนัก เพื่อความสาเร็จในการสื่อสารไปยังผู้ฟังผู้ชมรายการ คือ การมีความรู้พื้นฐานในการใช้ภาษาไทย ความรู้พื้นฐานในการใช้ภาษาไทยสาหรับผู้ดาเนินรายการ ได้แก่ การรู้หลักและวิธีการออกเสียง พยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ได้ถูกต้องตามมาตรฐาน รู้จักเลือกใช้คา ความให้เหมาะสม รวมทั้งการใช้อวัจน ภาษา ได้แก่ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคา แต่สามารถสื่อสาร และช่วยส่งเสริมการดาเนินรายการของเราได้ เช่น น้าเสียง สาเนียง การเว้นวรรคตอนจังหวะลีลาการพูด ระดับเสียงสูงต่เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะในภาษาไทย แบ่งได้ 7 ประเภท คือ เสียงกักหรือเสียงระเบิด เสียง เสียดแทรก เสียงกักเสียดแทรก เสียงนาสิก เสียงข้างลิ้น เสียงกระทบ และเสียงกึ่งสระ ในที่นี่ขอยกข้อสังเกต ลักษณะการอ่านที่พบเห็นการผิดพลาดบ่อยครั้ง ได้แก่ ถ้าลองออกเสียงพยัญชนะเหล่านี้ เช่น พ (ผ ภ) ป ท เป็นต้น จะพบว่าอวัยวะในการเปล่ง เสียงจะอยู่ชิดสนิทกัน เมื่อเปล่งเสียงจะต้องเปิดที่กัก ให้ลมผ่านออกมา จึงเกิดเป็น เสียงกักหรือเสียงระเบิด เสียงพยัญชนะอีกกลุ่มหนึ่ง เช่น ซ (ศ ษ) ส นั้น เวลาออกเสียงอวัยวะในการเปล่งเสียงจะ อยู่ใกล้กันมากเมื่อเปล่งเสียง ลมจะต้องเสียดแทรกออกมา จึงเรียกว่าเสียงเสียดแทรก พยัญชนะที่มีปัญหาพบบ่อยคือ ซึ่งเป็นเสียงกระทบ ในการเปล่งเสียงปลายลิ้นจะกระทบ ปุ่มเหงือกแล้วสะบัดอย่างรวดเร็วเกิดเป็นเสียงพยัญชนะ ร แต่มักพบการออกเสียงผิดเพี้ยน จากเสียง ร เป็นเสียง ล ซึ่งเป็นเสียงข้างลิ้น ซึ่งบางครั้งการสื่อสารอาจจะทาให้ความหมาย ผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น o “วันนี้อยากชวนท่านผู้ฟังลาลึกถึงเชียงลาย

องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ

โครงการจัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์

ด้วยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) มีอ านาจหน้าที่ในการก ากับดูแลการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พร้อมทั้งส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ โดยเฉพาะผู้ประกาศ พิธีกร ผู้ด าเนินรายการ และประชาชน เพ่ือให้เป็นผู้ประกอบกิจการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ทางคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เป็นหนึ่งหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติให้เป็นเป็นหน่วยงานในการด าเนินการจัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศภายใต้หลักเกณฑ์และหลักสูตรที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ก าหนด จากการจัดอบรมหลักสูตรผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พบว่า การฝึกฝนด้านการอ่านเพ่ือการด าเนินรายการนั้น ต้องอาศัยระยะเวลาในการฝึกฝนเพ่ือการช านาญการ ดังนั้น ผู้จัดท าโครงการจึงสรุปรายละเอียดเพ่ือการฝึกฝนแนวทางการพัฒนาทักษะการอ่านเพ่ือการด าเนินรายการให้ผู้ที่สนใจสามารถน าไปฝึกฝนเพิ่มเติมได้ ดังนี้

สิ่งที่ผู้ด าเนินรายการควรตระหนัก เพื่อความส าเร็จในการสื่อสารไปยังผู้ฟังผู้ชมรายการ คือ การมีความรู้พื้นฐานในการใช้ภาษาไทย

ความรู้พ้ืนฐานในการใช้ภาษาไทยส าหรับผู้ด าเนินรายการ ได้แก่ การรู้หลักและวิธีการออกเสียงพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ได้ถูกต้องตามมาตรฐาน รู้จักเลือกใช้ค า ความให้เหมาะสม รวมทั้งการใช้อวัจนภาษา ได้แก่ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยค า แต่สามารถสื่อสาร และช่วยส่งเสริมการด าเนินรายการของเราได้ เช่น น้ าเสียง ส าเนียง การเว้นวรรคตอนจังหวะลีลาการพูด ระดับเสียงสูงต่ า

เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะในภาษาไทย แบ่งได้ 7 ประเภท คือ เสียงกักหรือเสียงระเบิด เสียงเสียดแทรก เสียงกักเสียดแทรก เสียงนาสิก เสียงข้างลิ้น เสียงกระทบ และเสียงก่ึงสระ ในที่นี่ขอยกข้อสังเกตลักษณะการอ่านที่พบเห็นการผิดพลาดบ่อยครั้ง ได้แก่

ถ้าลองออกเสียงพยัญชนะเหล่านี้ เช่น พ (ผ ภ) ป ท เป็นต้น จะพบว่าอวัยวะในการเปล่งเสียงจะอยู่ชิดสนิทกัน เมื่อเปล่งเสียงจะต้องเปิดที่กัก ให้ลมผ่านออกมา จึงเกิดเป็น

เสียงกักหรือเสียงระเบิด

เสียงพยัญชนะอีกกลุ่มหนึ่ง เช่น ซ (ศ ษ) ส นั้น เวลาออกเสียงอวัยวะในการเปล่งเสียงจะอยู่ใกล้กันมากเมื่อเปล่งเสียง ลมจะต้องเสียดแทรกออกมา จึงเรียกว่าเสียงเสียดแทรก

พยัญชนะท่ีมีปัญหาพบบ่อยคือ ร ซึ่งเป็นเสียงกระทบ ในการเปล่งเสียงปลายลิ้นจะกระทบปุ่มเหงือกแล้วสะบัดอย่างรวดเร็วเกิดเป็นเสียงพยัญชนะ ร แต่มักพบการออกเสียงผิดเพ้ียนจากเสียง ร เป็นเสียง ล ซึ่งเป็นเสียงข้างลิ้น ซึ่งบางครั้งการสื่อสารอาจจะท าให้ความหมายผิดเพี้ยนตามไปด้วย เช่น o “วันนี้อยากชวนท่านผู้ฟังล าลึกถึงเชียงลาย”

Page 2: องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ

o “ท่านผู้ฟังคะ โรคเลือดเป็นปัญหาสุขภาพที่ถือเป็นภัยเงียบ เพราะมักมาเยี่ยมเยือนโดยไม่รู้ตัว และบางโรคก็เป็นโรคที่เกิดจากพันธุกรรม เราจะมาส ารวจเกี่ยวกับ โรคเลือดท่ีคนไทยเป็นกันมากไปพร้อมๆ กัน เพ่ือจะได้ป้องกันและรักษาอย่างทันท่วงที” ถ้าผู้ด าเนินรายการ สับสน ออกเสียง ล เป็น ร โรคเลือดจะกลายเป็น โรคเรือด หรือโรคภัยไข้เจ็บ ก็จะกลายเป็นโลกภัยไข้เจ็บ เป็นต้น ซึ่งค าว่า “โรก” ไม่มีความหมาย ดังนั้นการออกเสียง ร เรือ ไม่ได้ หรือออกเสียงสับสน ร เป็น ล บ้าง ร เป็น ล ถือเป็นปัญหาส าคัญมากกว่าพยัญชนะตัวอื่นๆ ที่กล่าวมา

นอกจากนี้ปัญหาการออกเสียงซึ่งพบบ่อย และมีผลต่อความหมาย ท าให้เปลี่ยนแปลงไป นั่นคือ การออกเสียงพยัญชนะควบกล้ าไม่ได้ เช่น

o ท่านผู้ฟังครับ ขณะนี้บ้านครึ่งตึกครึ่งไม้ ต้นเพลิงก็ถูกไฟเผาผลาญไปหมดแล้วนะครับ

ส่วนเสียงสระ ที่พบว่าเป็นปัญหาในการออกเสียง และอาจมีผลท าให้สื่อสารคลาดเคลื่อน ที่พบบ่อย ได้แก่สระเสียงยาว แต่ ออกเสียงเป็นสระเสียงสั้น เช่น

o “ต่อจากนี้ไป ขอเชิญชมข่าวในพระราชส านัก” ค าว่า ข่าว นั้น เป็นสระเสียงยาว แต่ถ้าออกเสียงสระเสียงยาว เป็นสระเสียงสั้น ค าว่าข่าว จะกลายเป็น เข่า

ตัวอย่างแบบฝึกหัดเพื่อการอ่านออกเสียง ฝึกออกเสียง ร, ล โดยรองศาสตราจารย์นภาลัย สุวรรณธาดา

“จะเรียนก็ไม่เรียนแกล้งเลียนล้อ น้ าหมึกก็เทราดประหลาดเหลือ ใครหนอมาต่อโลงในโรงเรือ ท ารกเรื้อรุงรังไม่ล้างเท นกท ารังในลังยาว่าเหมือนปด ข้าขับรถชักลดเลี้ยวเที่ยวหันเห พบตารุ่งแบกลุ้งโตเดินโลเล คนตาเหล่ที่จะลักดอกรักเรา ครั้งไล่รุกก็ลุกหนีตาลีตาเหลือก หักรั้วเรือกคุยก้อร่อเกาเหลา มีร่านบุ้งยุงริ้นกัดลิ้นเรา ตึกสุเหร่าเรียงรายเขียนลายทอง หยิบชามเบญจรงค์ลงมานี่ นับวันนี้เป็นวันแรกเราแลกของ อันเรื่องราวลาวเชียงใหม่ให้ตรึกตรอง วานนายรองช าระอย่าละเลย” เพลงอักษรควบ โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุจริต เพียรชอบ

“เขาขวนขวายว่าความเรื่องงามหน้า ความตาสาขวิดยายพริ้งวิ่งตาขวาง

Page 3: องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ

ฝ่ายแม่แพรวลูกตาพร้อมไม่ยอมวาง ถือขวานพลางไขว่คว้าไล่ล่าควาย วิ่งเวียนวนจวบจนจวนโพล้เพล้ จึงไขว้เขวหาเชือกคล้องใช่ของง่าย ฝ่ายเจ้าเผือกเพลี่ยงพล้ าถล ากาย ถูกจับได้เพราะแม่แพรวแกล้วกล้าจริง” แบบฝึกหัดการอ่านออกเสียง โดย คณะกรรมการกิจการวิทยุการะจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์

“นักเรียนชอบล้อเลียน พ้ืนโล่งเตียนเลี่ยนเรียบดี ลีลาอย่ารอรี เราเริงรื่นลื่นล้มลง พวกเราเล่าเรื่องราว ร้องเพลงลาวคราวชมดง ไปไร่วิ่งไล่หลง ร้องเรียกเพ่ือนเลื่อนลอยหาย ลมโชยโรยกลิ่นอวล มาลีล้วนงามเรียงราย รื่นรมย์ชมลวดลาย วิไลลักษณ์น่ารักจริง ของรักใครลอบลัก ลุกลนนักนะลูกลิง เรือล่องร้องประวิง เหล่านักเลงเร่งราวี รักเร่เล่ห์ลมลวง ดอกโรยร่วงปวงมาลี ร่ าไรอาลัยมี มาโลมเร้าเราร้อนรน เรไรร้องจ าเรียง ลองไล่เรียงเสียงสับสน รูปร่างช่างชอบกล คนเรียบเรียงเลี่ยงแล้วเอย”